Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วันสำคัญทางศาสนา

วันสำคัญทางศาสนา

Published by samsrtnan, 2018-06-27 05:25:33

Description: punsa

Search

Read the Text Version

เนือ่ งในวันอาสาฬหบูชา ๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๖และวันเข้าพรรษาพระสงฆ์ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๖ ขออนุโมทนาบญุ กับท่านผู้บรหิ าร คุณครูและนกั เรียนทกุ ทา่ น พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

เจาคัณฑีสถูป สถานทพี่ ระพุทธเจา้ พบปญั จวัคคีย์ทัง้ ๕ อย่หู ่างป่าอิสิปตนะ ๑ กม.สงู ๗๔ ฟุตตอ่ มา พ.ศ.๒๐๓๑ พระเจา้ อกั บาร์ซ่อมแซมเปน็ รปู ๖ เหลี่ยม อนุสรณพ์ ระเจา้ หะมายนุ พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

ธมั เมกขสถูป สถานท่ีพระพทุ ธเจา้ ทรงแสดงธมั มจักกัปปวัตตนสูตร ไมค่ วรหมกมุ่นติดอย่ใู นกามคุณไม่ควรทรมานตน จิงจงั กบั สิ่งที่ไม่จรี ัง จนเกิดทกุ ขห์ าสุขไม่ได้ พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

วนั อาสาฬหบูชา ต ร ง กั บ วั น ข้ึ น ๑ ๕ คา่ เ ดื อ น ๘• วนั ข้ึน ๑๕ ค่ำ เดอื น ๘ เป็นวันทพี ระพุทธองคท์ รงแสดงธรรมหรือ หลักธรรมทีทรงตรสั รู้ เปน็ ครง้ั แรกแก่เบญจวัคคยี ท์ ้ัง ๕ ณ มฤคทำยวัน ตำ่ บลอิสิปตนะ เมืองพำรำณสี ในชมพูทวีปสมัยโบรำณ• ธรรมเทศนำทีทรงแสดงคร้ังแรกจงึ ได้ชอื ว่ำ ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร แปลว่ำ พระสตู รแห่งกำรหมนุ วงล้อธรรม หรือพระสูตรแหง่ กำรแผ่ ขยำยธรรมจักร กล่ำวคือดนิ แดนแห่งธรรม พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

ใจความ สาคญั ของปฐมเทศนาก. มัชฌมิ าปฏปิ ทาหรอื ทางสายกลาง เป็นข้อปฏบิ ตั ิทีเปน็ กลำง ๆ ถูกต้องและเหมำะสมทีจะใหบ้ รรลุถงึ จุดหมำยได้ มใิ ชก่ ำรดำ่ เนินชวี ติ ทีเอยี งสุด ๒ อย่ำง หรอื อยำ่ งหนึงอย่ำงใด คือ๑. กำรหมกมนุ่ ในควำมสุขทำงกำย มัวเมำในรูป รส กลิน เสยี ง เปน็ กำรหลง เพลิดเพลินหมกมุ่นในกำมสขุ หรือ กามสุขลั ลิกานโุ ยค๒. กำรสร้ำงควำมลำ่ บำกแก่ตนดำ่ เนินชวี ิตอย่ำงเลอื นลอย เชน่ บำ่ เพ็ญตบะกำร ทรมำนตน คอยพงึ อำ่ นำจสิงศักดส์ิ ทิ ธ์ิ เป็นต้น กำรด่ำเนินชวี ิตแบบทีกอ่ ควำมทกุ ข์ใหต้ นเหนอื ยแรงกำย แรงสมอง แรงควำมคดิ รวมเรยี กว่ำ อตั ตกิ ลมถานโุ ยค พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

• เพอื ละเวน้ ห่ำงจำกกำรปฏิบตั ทิ ำงสุดเหลำ่ นี้ ต้องใช้ทำงสำย กลำง เป็นกำรดำ่ เนนิ ชวี ิตดว้ ยปญั ญำ โดยมีหลัก ๘ ประกำร เรียกวำ่ อริยัฏฐังคกิ มัคค์ หรอื มรรคมีองค์ ๘ ไดแ้ ก่๑. สมั มาทิฏฐิ เหน็ ชอบ คือ รู้เขำ้ ใจถูกตอ้ ง เหน็ ตำมทเี ปน็ จริง๒. สัมมาสังกัปปะ ด่ำรชิ อบ คอื คิดสุจรติ ตง้ั ใจทำ่ สิงทีดีงำม๓. สัมมาวาจา เจรจำชอบ คอื กล่ำวค่ำสจุ ริต๔. สัมมากัมมันตะ กระท่ำชอบ คอื ทำ่ กำรทีสจุ รติ พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

๕. สัมมาอาชวี ะ อำชีพชอบ คอื ประกอบสมั มำชีพหรืออำชพี ที สุจริต๖. สมั มาวายามะ พยำยำมชอบ คือ เพียรละชัวบ่ำเพ็ญดี๗. สัมมาสติ ระลกึ ชอบ คอื ทำ่ กำรดว้ ยจิตส่ำนกึ เสมอ ไม่เผลอพลำด๘. สัมมาสมาธิ ตงั้ จติ มันชอบ คอื คุมจิตให้แนว่ แนม่ นั คงไม่ฟุ้งซำ่ น พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

ข. อริยสัจ ๔ แปลว่า ความจรงิ อันประเสรฐิ ของอริยะ ซงึ คอื บคุ คลทหี ่างไกลจากกเิ ลส ไดแ้ ก่๑. ทุกข์ ได้แก่ ปญั หำท้ังหลำยทีเกิดขึ้นกับมนษุ ย์ บุคคลตอ้ ง กำ่ หนดรใู้ ห้เท่ำทันตำมควำมเปน็ จรงิ ว่ำมนั คอื อะไร ต้อง ยอมรบั รู้กลำ้ สกู้ ับปัญหำ กล้ำเผชญิ ควำมจรงิ ต้องเข้ำใจใน สภำวะโลกว่ำทกุ สิงไม่เทียง มกี ำรเปลียนแปลงไปเป็นอย่ำง อืน ไม่ยดึ ตดิ พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

๒. สมทุ ัย ได้แก่ เหตุเกดิ แหง่ ทกุ ข์ หรอื สำเหตุของปัญหำ ตวั กำรสำ่ คญั ของทุกข์ คือ ตัณหำหรือเส้นเชอื กแห่งควำม อยำกซึงสัมพนั ธก์ บั ปจั จยั อนื ๆ๓. นิโรธ ไดแ้ ก่ ควำมดับทกุ ข์ เริมด้วยชวี ติ ทีอสิ ระ อยู่อยำ่ ง ร้เู ทำ่ ทนั โลกและชวี ติ ด่ำเนินชวี ิตด้วยกำรใช้ปัญญำ๔. มรรค ได้แก่ กระบวนวิธีกำรแกป้ ัญหำ อนั ได้แก่ มรรคมี องค์ ๘ ประกำรดงั กล่ำวข้ำงตน้ พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

ผลจากการ แ ส ด ง ป ฐ ม เท ศ น าปรำกฏวำ่ โกณฑญั ญะได้เกดิ เข้ำใจธรรม เกิดดวงตำในธรรมจักษุบรรลุเปน็ โสดำบันจึ ง ทู ล ข อ บ ร ร พ ช ำ แ ล ะ ถื อ เ ป็ นพ ร ะ ภิ ก ษุ ส ำ ว ก รู ป แ ร ก ใ นพระพทุ ธศำสนำมชี ือว่ำ อญั ญำโกณฑัญญะ พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

ควำมหมำยของอำสำฬหบูชำ (อำ-สำน-หะ-บู-ชำ/อำ-สำน-ละ-หะ-บู-ชำ)• กำรบูชำเพือระลกึ ถงึ เหตุกำรณ์สำ่ คัญในเดือน ๘ หรือเรยี กให้ เตม็ วำ่ อำสำฬหบรู ณมีบชู ำ• โดยสรปุ วันอำสำฬหบชู ำ แปลว่ำ กำรบูชำในวนั เพ็ญ เดือน ๘ พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

วนั เขา้ พรรษา ตรงกบั วันแรม ๑ คา่ เดอื น ๘• \"เขำ้ พรรษำ\" แปลว่ำ \"พกั ฝน\" หมำยถงึ พระภิกษุสงฆต์ อ้ ง อยูป่ ระจำ่ ณ วดั ใดวดั หนงึ ระหว่ำงฤดูฝน• โดยทพี ระภิกษุในสมัยพุทธกำล มีหนำ้ ทีจะตอ้ งจำรกิ โปรด สตั ว์ และเผยแผพ่ ระธรรมค่ำสังสอนแกป่ ระชำชนไปในที ต่ำง ๆ ไม่จำ่ เปน็ ต้องมที ีอยูป่ ระจำ่ แมใ้ นฤดูฝน พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

• ชำวบำ้ นจงึ ต่ำหนิว่ำไปเหยยี บข้ำวกลำ้ และพชื อนื ๆ จน เสียหำย• พระพทุ ธเจำ้ จึงทรงวำงระเบียบกำรจ่ำพรรษำให้พระภิกษุ อยู่ประจำ่ ทีตลอด ๓ เดอื น ในฤดฝู น คอื• เริมตั้งแตว่ นั แรม ๑ คำ่ เดือน ๘ ของทุกปี ถ้ำปใี ดมเี ดือน ๘ สองคร้งั ก็เลอื นมำเป็นวนั แรม ๑ คำ่ เดอื นแปดหลัง และ ออกพรรษำในวนั ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดอื น ๑๑ พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

ผ้านอกจากบริขารแปด• \"ผำ้ อำบน้่ำฝน\" คือผำ้ สำ่ หรับอธิษฐำนไว้ใช้นุง่ อำบนำ้่ ฝน ตลอด ๔ เดือนแห่งฤดูฝน เรยี กอกี อยำ่ งว่ำ \"ผ้ำวสั สกิ สำฏกิ ำ\"• \"ผ้ำจำ่ นำ่ พรรษำ\" คือผำ้ ทีทำยกถวำยแก่พระสงฆ์ผู้อยจู่ ่ำ พรรษำครบแล้วในวัดน้นั ภำยในเขตจีวรกำลเรยี กอกี อย่ำง วำ่ \"ผ้ำวัสสำวำสกิ สำฎิกำ\" พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

การปฏบิ ัติตนของชาวพทุ ธ• กำรปฏิบตั ิตน ในวันนี้หรือก่อนวันน้หี นึงวนั พุทธศำสนกิ ชนมกั จะ จัดเครอื งสกั กำระเชน่ ดอกไม้ ธูปเทยี น เครืองใช้ เช่น สบู่ ยำสฟี ัน เปน็ ตน้ มำถวำยพระภกิ ษุ สำมเณร ทีตนเคำรพนบั ถือ• ทีส่ำคัญคอื มีประเพณีหลอ่ เทียนขนำดใหญ่เพอื ใหจ้ ดุ บูชำพระ ประธำนในวัดอยู่ไดต้ ลอด ๓ เดอื น• มีกำรประกวดเทียนพรรษำ โดยจดั เป็นขบวนแหท่ ัง้ ทำงบกและ ทำงนำ่้ ในชมุ ชนทมี คี วำมพร้อม พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

กจิ กรรมต่างๆทีค่ วรปฏิบัตใิ นวันเขา้ พรรษา๑. ร่วมกิจกรรมท่ำเทยี นเพือจุดบูชำพระให้แสงสวำ่ งในพรรษำ๒. รว่ มพธิ เี วยี นเทียนเนอื งในวนั อำสำฬหบูชำ๓. รว่ มกจิ กรรมถวำยผำ้ อำบน่ำ้ ฝน และจตุปจั จัย แก่ภิกษสุ ำมเณร๔. รว่ มท่ำบุญ ตกั บำตร ฟังธรรมเทศนำ รกั ษำอุโบสถศีล๕. อธษิ ฐำน งดเว้นอบำยมขุ ต่ำง ๆ๖. ละชวั ท่ำดี สร้ำงประโยชนใ์ ห้สมบูรณ์ท้ังแกต่ นและคนอนื พระครูสธุ ีวรสาร ดร.

ขอความสขุ สวัสดี จงมีแด่ทุกท่านตลอดกาลนาน พระครูสธุ ีวรสาร ดร.