รายงานผลทเี่ กดิ จากการปฏิบัตหิ นา้ ท่ี การจดั การองคค์ วามร้งู านพฒั นาชุมชน ของขา้ ราชการสานักงานพฒั นาชมุ ชนอาเภอหล่มสกั
แบบบันทกึ องค์ความรู้ ชอื่ – สกลุ นางธนินท์รฐั รุ่งพพิ ฒั น์สุข ตําแหน่ง เจา้ พนกั งานพฒั นาชุมชนชำนาญงาน สงั กดั สํานักงานพัฒนาชุมชนอาํ เภอหล่มสัก เบอร์โทรศัพทท์ ี่ตดิ ต่อไดส้ ะดวก 088-2547898 ความรู้เร่อื ง การขับเคลอ่ื นการพัฒนาหมบู่ ้านตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จุดมุง่ หมาย สําหรับปฏิบตั ิงานด้าน การใช้ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารวัดความสุขมวลรวมของ ประชาชน สอดคลอ้ งกับประเด็นยุทธศาสตร์ สรา้ งสรรค์ชมุ ชนอยูเ่ ยน็ เป็นสุข สถานทเ่ี กดิ เหตุการณ์ บ้านหวายเหนือ หมู่ท่ี 4 ตําบลบ้านหวาย อําเภอหลม่ สกั จังหวดั เพชรบูรณ์ เน้ือเร่ือง หรือ ข้ันตอนการปฏบิ ัติงาน การขับเคล่อื นปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง โดยนอ้ มนาํ แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปน็ หลักในการ ดําเนินวถิ ชี วี ติ เพือ่ แกไ้ ขปญั หาความยากจนและการเสริมสร้างกระบวนการพัฒนาชุมชนเข้มแขง็ มงุ่ พฒั นา ชุมชนให้เข้มแขง็ และสามารถพ่ึงตนเองได้อย่างยง่ั ยืนด้วยการสง่ เสริมพัฒนาเศรษฐกิจชมุ ชน เพ่อื ให้ชุมชน พอ อย่พู อกนิ อยู่ดีกนิ ดี และม่ังมศี รสี ขุ ตามลําดบั เปน็ การสง่ ผลใหป้ ระชาชน ได้ดําเนนิ ชวี ติ ตามแนวปรัชญา เศรษฐกจิ พอเพียงอย่างมีความสขุ ทงั้ ในระดบั ครัวเรือน และระดับชมุ ชน มีการปฏิบตั ติ นอยา่ งพอประมาณ มเี หตุผล และสร้างภูมคิ มุ้ กนั ใหก้ ับตนเองและชมุ ชนบนพน้ื ฐานความรู้ค่คู ณุ ธรรม จนเกดิ ความก้าวหน้าอยา่ ง สมดุล มนั่ คงและย่งั ยืน มีการประเมนิ ความสขุ มวลรวมของชุมชน เพอ่ื วิเคราะห์ความสขุ ความต้องการของ ชมุ ชนใน แต่ละดา้ น ชมุ ชนกินอ่มิ นอนอนุ่ ทกุ ครวั เรอื น มีความสุขในชีวิต หมู่บา้ นไมม่ ีคนจน ไมม่ ีหนี้ นอกระบบ ไม่มียาเสพติด มกี ารจดสวัสดกิ ารชมุ ชน มกี ารอนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติ สามารถขยายผลเปน็ แบบอย่าง แก่หมบู่ ้านใกล้เคียงได้ บา้ นหวายเหนือ หม่ทู ่ี 4 ตําบลบา้ นหวาย อาํ เภอหล่มสัก จังหวดั เพชรบูรณ์ เปน็ หมู่บ้านที่ได้รับ การคัดเลอื กเป็นหมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพยี งต้นแบบ ปี ๒๕63 ทุกครวั เรอื นในหมบู่ า้ นจะรเู้ รือ่ งหลกั เศรษฐกิจ พอเพยี งเปน็ เบ้อื งตน้ อยูแ่ ล้ว มีการปฏบิ ตั ิตนการดําเนนิ ชีวิต โดยยึดหลักตัวชีว้ ัด ๖ X ๒ มกี ารประเมนิ หมบู่ ้านตามตัวชว้ี ดั ของกระทรวงมหาดไทย ๔ ด้าน ๒๓ ตัวช้ีวดั มกี ารพัฒนาตนเองในการดํารงชวี ิต มกี าร ดาํ เนินกจิ กรรมท่สี นับสนุนครอบครวั พัฒนา มกี ารสรา้ งความรคู้ วาม เข้าใจเรอ่ื งเศรษฐกจิ พอเพียง มีการ ประเมนิ ผลหมบู่ ้านต้นแบบตามตัวชว้ี ัด มกี ารทําบัญชคี รัวเรอื นเพ่อื วาง แผนการพฒั นาชวี ิตและหมู่บา้ น มี กจิ กรรมสาธติ การดํารงชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการลดรายจ่ายใน ครัวเรอื น และเชือ่ มโยงกันเปน็ กลุ่ม เพอ่ื สรา้ งรายได้ มกี ารบรหิ ารจดั การชมุ ชนโดยใช้หลักการมีสว่ นรว่ มของคนในชมุ ชนในการคิด ตดั สินใจ ในการ ดาํ เนนิ กิจกรรมให้ประสบผลสําเร็จ บันทึกขมุ ความรู้ (Knowledge Assets ) การขบั เคลอ่ื นปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยนอ้ มนาํ แนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงเปน็ หลกั ใน การ ดาํ เนนิ วิถชี ีวติ “รู้จกั พอประมาณ มเี หตมุ ีผล มภี มู คิ ุม้ กนั ตอ่ การเปล่ยี นแปลง น่คี ือหลักของเศรษฐกจิ พอเพียง เป็น แนวทางปฏบิ ัติทจ่ี ะทาํ ให้ ตัวเราเอง ครอบครวั ของเรา ชมุ ชนของเรา และประเทศชาตขิ องเรา
นัน้ ไปสคู่ วามสุข” การจะไปถงึ เป้าหมายของการปฏบิ ัตเิ ศรษฐกจิ พอเพียง เพ่อื ให้เกิดความสขุ ในครอบครัว ชมุ ชน และประเทศ มอี ยู่ ๒ เงอื่ นไขดว้ ยกัน คอื เงือ่ นไขแรก คือ ความรู้ ตอ้ งรลู้ กึ รกู้ ว้าง รู้รอบคอบ กอ่ นทีจ่ ะนาํ ส่งิ ตา่ ง ๆไปปฏบิ ัติ และถา้ ไม่ได้ ศกึ ษาอย่างรอบคอบ การทเี่ รานําไปปฏิบตั นิ น้ั กจ็ ะเกดิ ปญั หาอยา่ งมากมาย เง่อื นไขทส่ี อง คอื จรยิ ธรรม ไม่ใชร่ ้แู ตเ่ พียงวา่ เมตตา กรณุ า มทุ ติ า อุเบกขา แตต่ อ้ งรวู้ า่ จะปฏบิ ตั ิ จรยิ ธรรมเหลา่ นน้ั อย่างไรใหเ้ กดิ ผลสําเรจ็ ส่ิงเหลา่ น้ีคือเง่อื นไขหลกั ในการทีจ่ ะปฏิบัติสู่แนวทางของเศรษฐกจิ พอเพยี งพอเพียงทจ่ี ะนําไปสคู่ วามสขุ ซ่งึ ความสุขของคนมหี ลายระดับ และระดบั สุดทา้ ยคอื การพ่งึ พาตัวเรา เองได้ มากทส่ี ดุ และไมเ่ บียดเบียนผูอ้ น่ื การร้จู กั ตนเอง รู้จักชมุ ชน สรา้ งความตระหนักค้นหาศกั ยภาพของชุมชน โดยการแลกเปล่ียน เรยี นรู้ของคนภายในชุมชน สร้างความรูค้ วามเขา้ ใจให้กบั ผนู้ าํ ชมุ ชนและราษฎรในหม่บู ้าน การศกึ ษาเรียนรแู้ ละปฏบิ ตั ิจริงตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชวี ติ ประจําวัน การพัฒนาโดยยดึ หลักการมีส่วนรว่ มของประชาชน ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมปฏบิ ตั ิ ร่วม รบั ผิดชอบ รว่ มรบั ผลประโยชน์ และรว่ มตดิ ตามผล ยึดหลกั ทางสายกลางในการดาํ รงชวี ิต สร้างภูมิคุ้มกนั ใหช้ มุ ชน รูจ้ ักคําวา่ “เพยี งพอ” และ “พอเพยี ง” ด้วยใจที่แน่วแน่ชีวิตจะมีแต่ “ความสุข” ประเมินความสุของชมุ ชนโดยชมุ ชน เพอื่ การพัฒนาทยี่ ัง่ ยืน แกน่ ความรู้ (Core Competency ) ทกุ คนสามารถนาํ หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาเปน็ หลักปฏบิ ัติในการดาํ เนนิ ชีวติ ได้ โดยต้อง “ระเบิดจากข้างใน” คือการเกดิ จิตสํานกึ มีความศรทั ธาเช่ือมนั่ เห็นคุณค่า และนําไปปฏบิ ัติ ด้วยตนเอง แล้วจึงขยายผลไปสู่ครอบครวั ชมุ ชน สงั คม และประเทศชาติ จากการประเมนิ ความสุขมวลรวม หรอื ความอยู่เยน็ เปน็ สขุ ของประชาชนบา้ นดงตากติ โดยมี ปัจจยั พื้นฐานในการสรา้ งความสขุ ได้แก่ การมสี ุขภาวะที่ดี การดํารงชีพอยา่ งมีความสุขกาย มกี ารรักษาร่างกายให้แขง็ แรงไม่เจบ็ ป่วย มี อายยุ ืนยาว มสี ขุ ภาพจิตใจท่ีดี ยดึ มน่ั คุณธรรม จรยิ ธรรม มเี ศรษฐกจิ ชมุ ชนเขม็ แข็งเปน็ ธรรม มีการผลิต การจาํ หนา่ ยและการบรโิ ภค ให้เกิดรายได้ท่ี เพียงพอ มีความมั่นคงและความปลอดภยั ในการทาํ งาน มีการรวมตัวเป็นกล่มุ เพอื่ ช่วยเหลือแบง่ ปันกนั มี การกระจายรายได้อยา่ งเป็นธรรมและเกดิ ความย่ังยนื ครอบครัวอบอุ่น ครอบครัวมีความรกั ความผูกพนั มีการอบรมเล้ียงสมาชิกวัยเยาว์ใหเ้ ติบโต อยา่ งมีคณุ ภาพ เล้ียงดผู ู้สูงอายุไดอ้ ย่างมีความสขุ ชมุ ชนมกี ารบรหิ ารจดั การทดี่ ี มีกิจกรรมแก้ไขปญั หาของชุมชนได้ด้วยตนเอง ผนู้ าํ ประชาชน และองค์กรในชมุ ชนสามารถร่วมมอื ชว่ ยเหลอื เกื้อกลู กนั และอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข มีการเรยี นรอู้ ย่าง ตอ่ เนอื่ ง สามารถอนุรักษค์ ณุ ค่าของประเพณวี ฒั นธรรมและภมู ิปัญญา การมีสภาพแวดลอ้ มทดี่ ีมรี ะบบนิเวศท่ีสมดุล ซงึ่ เหมาะสมต่อการใช้ชวี ติ ของคนในหมูบ่ ้าน ปลอดภัยทัง้ ชวี ิตและทรพั ย์สนิ ครอบครวั มน่ั คง มคี วามสัมพนั ธ์ทด่ี ีกนั ในระหว่างเพอ่ื นบา้ น มีบรกิ าร สาธารณปู โภคพอเพยี ง มที รัพยากรธรรมชาติทอี่ ุดมสมบรู ณ์มีคณุ ภาพ สมดุล มรี ะบบนเิ วศน์ทด่ี ี เปน็ ชุมชนประชาธปิ ไตยมธี รรมาภิบาล ประชาชนมีสิทธเิ สรภี าพไดร้ บั การยอมรบั และเคารพ ใน ศกั ด์ิศรคี วามเปน็ คนเท่าเทยี มกันตามระบอบประชาธิปไตย ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีของตนเองและเคารพในสิทธขิ อง ผู้อ่นื มีการบริหารจัดการท่ียดึ หลกั ธรรมาภิบาลเพอ่ื ให้เกดิ ความโปร่งใส คุ้มคา่ และกระจายผลประโยชน์ ทางเศรษฐกิจ และสงั คมอย่างเปน็ ธรรม ซึ่งจะไปสสู่ งั คมสมานฉนั ท์มีสันติสขุ อยา่ งยงั่ ยืน
คณุ ประโยชนท์ จ่ี ะได้จากการนาํ ปรชั ญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งไปใช้ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เปน็ รากฐาน สาํ คญั ยง่ิ ในการพฒั นาประเทศอย่างยั่งยนื เพราะมคี ณุ ประโยชน์ ในทกุ ระดบั ดังนี้ ๑) บุคคลมชี ีวติ สมดุล ครอบครวั สมดลุ ชมุ ชน สมดุล ธรุ กิจสมดลุ ประเทศชาตสิ มดุล พร้อมรับมือ กบั การ เปล่ยี นแปลงอยา่ งรวดเรว็ และรุนแรงในทกุ ดา้ นได้ เปน็ อย่างดี ๒) ขจัดปัญหาความยากจนและลดความเสี่ยง ทางเศรษฐกจิ ของคนจน ๓) เปน็ พ้นื ฐานของการสรา้ งพลงั อํานาจและพฒั นา ศกั ยภาพของชุมชนใหเ้ ข้มแข็ง เพ่อื เปน็ รากฐาน ของ การ พฒั นาประเทศ ๔) ชว่ ยยกระดบั ความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ ด้วยการสรา้ งขอ้ ปฏิบัติในการทาํ ธรุ กจิ ที่ เนน้ ผลกาํ ไร ระยะยาวในบรบิ ทที่มีการแข่งขันอย่างเปน็ ธรรม ๕) ชว่ ยปรับปรุงมาตรฐานของธรรมาภบิ าล ในทกุ ภาคสว่ น ดว้ ยการเนน้ ประสทิ ธิภาพ ความ โปรง่ ใส และการมี ผรู้ บั ผิดรับชอบในการบรหิ ารจัดการทั้งในระดับ นโยบายและระดับปฏิบัติ ๖) ใช้เปน็ แนวทางในการกําหนดนโยบายสาธารณะ ของหนว่ ยงานต่างๆและประเทศชาติได้อยา่ ง เหมาะสม กฎระเบียบ แนวคดิ ทฤษฎที ี่เกย่ี วขอ้ ง ( ถ้ามี ) หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แนวการประเมินความอยู่เย็นเป็นสุข หลักการพัฒนาชุมชน หลกั การทาํ งานแบบมีสว่ นร่วม
รายงานผลท่เี กดิ จากการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี
Search
Read the Text Version
- 1 - 5
Pages: