สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์ เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก ผบ.โรงเรียนเพาะช่าง พระองค์แรก ทรงพระปรีชาแม้แต่ งานของผู้หญิง จัดทำโดย นางสาวปรียากร ธงอาสา ม.5/4เลขที่ 15
พระประวัติ สมเด็จฯ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุน เพชรบูรณ์ อินทราชัย เป็นพระราชโอรส ในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 และสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรม ราชินี นาถ ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 5 กรกฎาคม ปี มะโรง พ.ศ.2435 ทรงเป็นสมเด็จ พระเจ้าน้ องยาเธอในรัชกาลที่ 6 มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ทรงศึกษาที่โรงเรียนราชกุมารใน พระบรมมหาราชวัง แล้วเข้าศึกษาใน โรงเรียนนายร้อยชั้นประถมจน พ.ศ.2448 จึงเสด็จไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษ เข้าศึกษาในวิทยา ลัยแมคเดอเลน ของมหาวิทยาลัยเคม บริดจ์ จนสำเร็จการศึกษาได้ปริญญาตรี ด้านวรรณคดี ในปี พ.ศ.2459
พระประวัติ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เมื่อทรงสำเร็จการศึกษาในปี พ.ศ. 2459 ยังมิได้เสด็จกลับประเทศไทย ทันทีเนื่ องจากเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 จึงได้ทรงศึกษาวิธีการเรียน การสอนของประเทศอังกฤษและศึกษาวรรณคดีอังกฤษเพิ่มเติม เพื่อที่จะเตรียมพระองค์สำหรับกลับมารับราชการในกระทรวง ธรรมการ ทั้งยังมีพระประสงค์ที่จะรับราชการเป็นอาจารย์ใน จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยด้วย เมื่อ พ.ศ. 2461 หลังจากเสด็จกลับมา เมืองไทย สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้า ฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพชรบูรณ์ อินทราชัย ทรงได้รับการบรรจุเป็น ข้าราชการกระทรวงธรรมการและทรงเข้า รับราชการเป็นอาจารย์ที่จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
พระประวัติ โดยทรงสอนวิชาภาษาอังกฤษและ ภาษาไทยที่คณะรัฏฐประศาสนศาสตร์ ทรงสอนอยู่เป็นเวลาประมาณ 5 ปี นั บ ได้ว่าทรงเป็น “สมเด็จเจ้าฟ้าอาจารย์” แห่งจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยพระองค์ แรก โรงเรียนเพาะช่าง และทรงสอนในจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เพียงสัปดาห์ละ 2 วัน จึงทรงใช้เวลาที่ เหลือส่ วนใหญ่ช่วยเหลือโรงเรียนเพาะ ช่างในตำแหน่ งที่ปรึกษา ทรงให้คำ แนะนำทั้งด้านการบริหาร หลักสูตรที่จะ เป็นประโยชน์ กับนั กเรียน ตลอดจน ทฤษฎีและการปฏิบัติในเชิงช่างแขนงต่าง ๆ ทำให้โรงเรียนเพาะช่างซึ่งเพิ่งตั้งขึ้น ใหม่ เป็นรูปเป็นร่างตามแบบสากล และ ดำเนิ นไปอย่างราบรื่นเจริญขึ้นอย่าง รวดเร็ว ความสนพระทัยและพระปรีชาสามารถในด้านการช่างปรากฏแก่พระเนตร พระกรรณในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในปี พ.ศ.2465 จึงโปรดให้ทรงดำรงตำแหน่ งผู้บัญชาการโรงเรียนเพาะช่าง และโปรดให้ ทรงงานที่โรงเรียนเพาะช่างเพียงที่เดียว และทรงอภิเษกกับ หม่อมเจ้าหญิง บุญจิราธรชุมพล ในปีเดียวกันมีพระโอรสธิดา 2 พระองค์ คือ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า สุทธสิริโสภา และพระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าวรานนท์ธวัช
ผลงาน สมเด็จฯ เจ้าฟ้าสุทธาทิพยรัตน์ กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร ทรงใช้วิชาช่างทำประโยชน์ ให้กับเหล่าบรรดาพระญาติวงศ์ เช่น งาน ออกแบบควบคุมการสร้างพระตำหนักให้ สมเด็จฯ เจ้าฟ้าสุทธาทิพย รัตน์ กรมหลวงศรีรัตนโกสินทร ที่วังบางขุนพรหม เป็นพระตำหนั กเล็ก ๆ ประทับส่วนพระองค์ ลักษณะเป็นตึกชั้นเดียว มีเพียงส่วนที่ประทับและ ส่วนรับแขก แต่มีความงดงามและสะดวกในการใช้สอยตลอดจนความ สบายเนื่ องมาแต่ลักษณะอาคารที่เปิดรับลมได้ทุกด้าน อีกพระตำหนั กหนึ่ งที่ทรงออกแบบได้ อย่างเหมาะเจาะงดงาม คือ พระตำหนั ก ของสมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลย อลงกรณ์ กรมหลวงเพ็ชรบุรีราชสิรินธร เป็นพระตำหนั กที่ประทับส่วนพระองค์ ในวังคันธวาส สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพ็ชรบุรีราชสิ รินธร
ผลงาน \"ถม จุฑาธุช\" \"ถม จุฑาธุช\" เป็นชื่อเครื่องถมที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑา ธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย ได้ทรงคิดพัฒนาให้มี กระบวนการที่เร็วขึ้น และทรงประสิทธิภาพสูงขึ้น โดยนำวิธีการเขียน ลวดลายและวิธีการถ่ายภาพมา ประยุกต์ใช้ในการทำเครื่องถม แทนวิธี การสลัก ลวดลายแบบโบราณ ซึ่งทำได้ช้า ในด้านการละครที่สนพระทัยมาตั้งแต่ทรง ศึกษาที่ประเทศอังกฤษนั้ น เมื่อมาประทบ ทีี่วังเพชรบูรณ์ ได้ทรงพระราชนิ พนธ์ ละครดึกดำบรรพ์ขึ้น 3เรื่อง คือ พระยศเกตุ สองกรวรวิก และจันทกินรี เรื่องพระยศเกตุนั้ นมีบทเกี่ยวกับใต้ท้อง ทะเลถึงแก่ขุดสระขึ้นในั วัง เพื่อแสดงละคร พระยศเกตุ
ผลงาน จันทกินรี สองกรวรวิก ในด้านการดนตรีทรงมีความสามารถในการทรงระนาดและฆ้องวง ทรงคิดค้นท่ารำต่าง ๆ เพื่อให้สอดคล้องกันทั้งท่ารำและบทร้องทรง ยืนคุมผู้แสดงอยู่หลังฉากเพื่อทอดพระเนตรตัวละครว่าถูกต้องหรือไม่ ทรงให้คำแนะนำการแสงเสี ยงอย่างใกล้ชิดมีความรู้ความสามารถ งานการฝีมือสมกับเป็นกุลสตรีมีการสอนการทำดอกไม้ร้อยมาลัย การเย็บปักถักร้อยและการทำอาหารคาวหวานเป็นต้นแต่งหน้ านั ก แสดงตลอดจนทรงควบคุมการแสดงนอกจากนั้ นยังโปรดให้ข้าหลวง ตัวละครเหล่านี้ สิ้ นพระชนม์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์ อินทราชัย มีพระวรกายไม่แข็งแรง ประชวรพระโรคพระวักกะ ( ไต ) พิการเรื้อรัง ประกอบกับการเกิดเป็นพระ โรคบิด และพระหทัยอ่อน ล้า แพทย์ได้ถวายพระโอสถประคับประคองอย่างเต็มที่ พระอาการทรง บ้างทรุดบ้างและพระอาการอ่อนเพลียลงตามลำดับ สิ้นพระชนม์ ณ วัง ปทุมวัน เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2466 สิริพระชนมายุได้ 31 พรรษา
Search
Read the Text Version
- 1 - 7
Pages: