ปัญหาสิ่งแวดล้อม ท รั พ ย า ก ร ดิ น
คำนำ วารสารปัญหาสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรดินฉบับนี้ได้กล่าวถึง ความสำคัญของ ดิน ประโยชน์ของดิน ปัญหาที่เกิดขึ้น สาเหตุของปัญหาต่าง ๆ ที่ทำให้ทรัพยากรดิน เสียหาย จนส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งวารสารฉบับนี้ได้รวบรวมแนวทางการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ สำหรับ ทรัพยากรดิน รวมถึง กฎหมาย นโยบาย และมาตรการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง .................................................................................................................................................................................................
สารบัญ หน้า เรื่อง 1 ความสำคัญและประโยชน์ของดิน 2 ปั ญหาสิ่งแวดล้อมทรัพยากรดิน 5 ผลกระทบจากมลพิษทางดิน 6 แนวทางแก้ไข 7 กฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง 7 องค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 8 สถานการณ์ตัวอย่าง 9 บรรณานุกรม 10 ผู้จัดทำ ............................................................................................................................................................................................................
. .1 ........ ....... ดินดินเป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ . เกิดจากการสลายตัวผุพังของหินชนิดต่าง ๆ โดยใช้เวลา . . ที่นานมาก หินที่สลายตัวผุกร่อนนี้จะมีขนาดต่าง ๆ กัน . เมื่อผสมรวมกับซากพืช ซากสัตว์ น้ำ อากาศ ก็กลาย . เป็นเนื้อดินซึ่งส่วนประกอบเหล่านี้จะมากน้อยแตกต่าง . . กันไปตามชนิดของดิน .... .... ประโยชน์ของดินดินมีประโยชน์มากมายมหาศาลต่อมนุษย์และ . . สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ คือ . 1. ประโยชน์ต่อการเกษตรกรรม เพราะดินเป็นต้น . กำเนิดของการเกษตรกรรมเป็นแหล่งผลิตอาหารของ . . มนุษย์ ในดินจะมีอินทรียวัตถุและธาตุอาหารรวมทั้งน้ำ . . ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช อาหารที่คนเรา . . บริโภคในทุกวันนี้มาจากการเกษตรกรรมถึง 90% . . 2. การเลี้ยงสัตว์ ดินเป็นแหล่งอาหารสัตว์ทั้งพวกพืช . . และหญ้าที่ขึ้นอยู่ ตลอดจนเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของ . . สัตว์บางชนิด เช่น งู แมลง นาก ฯลฯ . 3. เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย แผ่นดินเป็นที่ตั้งของเมือง . บ้านเรือน ทำให้เกิดวัฒนธรรมและอารยธรรมของ . . ชุมชนต่าง ๆ มากมาย . . 4. เป็นแหล่งเก็บกักน้ำ เนื้อดินจะมีส่วนประกอบ . . สำคัญ ๆ คือ ส่วนที่เป็นของแข็ง ได้แก่ กรวด ทราย . . ตะกอน และส่วนที่เป็นของเหลว คือ น้ำซึ่งอยู่ในรูป . . ของความชื้นในดินซึ่งถ้ามีอยู่มาก ๆ ก็จะกลายเป็น . . น้ำซึมอยู่คือน้ำใต้ดิน น้ำเหล่านี้จะค่อย ๆ ซึมลงที่ต่ำ ... ... เช่น แม่น้ำลำคลองทำให้เรามีน้ำใช้ได้ตลอดปี
2 ท รั พ ย า ก ร ดิ นปัญหาสิ่งแวดล้อม แยกได้เป็นสองประเภท สภาพธรรมชาติ ได้แก่ สภาพที่เกิดตามธรรมชาติของบริเวณนั้น ๆ เช่น บริเวณที่มีเกลือใน ดินมาก หรือบริเวณที่ดินมีความหนาแน่นน้อย เป็นต้นทําให้ดินบริเวณนั้นไม่เหมาะ แก่การเจริญเติบโตของพืช ปรากฏการณ์ธรรมชาติบางอย่าง เช่นพายุน้ำท่วมก็ทําให้ ดินทราย ถูกพัดพาไปได้สิ่งปฏิกูลที่มีชีวิต ซึ่งได้แก่ สิ่งมีชีวิตที่อยู่ในดินหรือ ถูก ใส่ในดินทําให้ดินเสียได้โดยอาจเป็นตัวก่อโรคหรือก่อความ กระทบกระเทือนต่อ ความเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิต การกระทําของมนุษย์ ส่วนมากมักเกิดเนื่องจากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ มุ่งแต่จะ ดัดแปลง ธรรมชาติเพื่อหวังผลประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งโดยไม่ คํานึงถึงผลเสียที่เกิดขึ้นภายหลัง ดังตัวอย่างต่อไปนี้ การใช้สารเคมีและสารกัมมันตรังสี การใส๋ปุ๋ย ดินเป็นพิษจากน้ำชลประทาน การใช้ยาปราบศัตรูพืชและสัตว์ การทิ้งขยะมูลฝอยและของเสียต่าง ๆ ลงในดิน ดินที่ใช้ในการเพาะปลูกเป็นเวลานาน ๆ การหักร้างถางป่า
3 การใช้สารเคมีและสารกัมมันตรังสี สารเคมีบางชนิดคงทนในดินเพราะแทรกในตะกอนหรือดินเหนียวได้ดีทําให้แบคที เรียทําลายได้ ยาก ยาปราบวัชพืชบางชนิดทนทานต่อการถูก ทําลายในดินมาก จึง สะสมเพิ่มปริมาณในห่วงโซ่อาหารตามลําดับขั้นต่าง ๆ ส่วนสารเคมีจากโรงงานหรือ สถานวิจัยต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นน้ำายาเคมี หรือโลหะที่เป็นเศษที่เหลือทิ้งหลังจากแยก เอาสิ่งที่ต้องการออกแล้ว สารเคมีเหล่านี้บางชนิดเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตโดยตรง บางชนิดเปลี่ยน สภาวะของดินทําให้ดินเป็นกรดหรือด่าง พืชจึงไม่เจริญเติบโต การใส๋ปุ๋ย การสะสมของสารเคมีโดย เฉพาะอย่างยิ่งไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม การสะสมนี้อาจถึงขั้นเป็นพิษได้ ปุ๋ยบางชนิดที่นิยมใช้กันมาก เช่น แอมโมเนียม ซัลเฟต จะถูกแบคทีเรียในดินย่อยสลาย ในปฏิกิริยารีดักชันได้ก๊าซ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ ซึ่งเป็นอันตรายต่อระบบการหายใจ ของรากพืช ทําให้ดูดแร่ธาตุ ต่าง ๆ ได้น้อยลง ดินเป็นพิษจากน้ำชลประทาน เนื่องจากน้ำที่มีตะกอนเกลือ และสารเคมีอื่น ๆ ปะปนมาด้วย เพราะน้ำไหลผ่าน บริเวณต่าง ๆ ยิ่งถ้าไหลผ่าน บริเวณที่ดินอยู่ในสภาพที่ถูกกัดกร่อนได้ง่ายน้ำก็จะยิ่ง ทําให้ดินที่ได้รับการทดน้ำนั้นมีโอกาสได้รับ สารพิษมากขึ้น การใช้ยาปราบศัตรูพืชและสัตว์ ดินบริเวณที่มีการเพาะปลูกสะสมสารพิษจากยาปราบ ศัตรูพืชมากกว่าบริเวณอื่น ๆ ยาปราบศัตรูพืชบางชนิดเมื่อคลุกเคล้าลงในดินแล้วจะเกิด ปฏิกิริยาเคมีขึ้นและ สูญหายไปจากดิน แต่บางชนิดคงทนต่อการสลายตัวและสะสมอยู่ ในดินเป็นเวลา นาน ๆ
4 การทิ้งขยะมูลฝอยและของเสียต่าง ๆ ลงในดิน การทิ้งขยะมูลฝอยและของเสียต่าง ๆ ลงในดินขยะส่วนใหญ่จะสลายตัวให้ สารประกอบอินทรีย์ และอนินทรีย์มากมายหลายชนิดด้วยกันแต่ก็มีขยะบางชนิดที่ สลายตัวยาก โดยเฉพาะเกลือไนเตรตสะสมอยู่เป็นจํานวนมาก แล้วละลายไปตาม น้ำ สะสมอยู่ในบริเวณใกล้เคียงการทิ้งของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม โรงงาน อุตสาหกรรมต่าง ๆ เป็นแหล่งผลิตของเสียที่สําคัญยิ่ง โดยเฉพาะของเสียจาก โรงงานที่มีโลหะหนักปะปน ทําให้ดินบริเวณนั้นมีโลหะหนักสะสมอยู่มาก โลหะหนักที่ สําคัญ ดินที่ใช้ในการเพาะปลูกเป็นเวลานาน ๆ การเพาะปลูก ดินที่ใช้ในการเพาะปลูกเป็นเวลานาน ๆ โดยมิได้คํานึงถึงการบํารุง รักษา อย่างถูกวิธีจะทําให้แร่ธาตุในดินถูกใช้หมดไป จนในที่สุดไม่อาจปลูกพืชได้อีก การหักร้างถางป่า เป็นผลทําให้เกิดความเสียหายกับดินได้ทําให้ดินปราศจากพืชปกคลุม หรือไม่มีราก ของพืชยึดเหนี่ยว เกิดการสูญเสียหน้าดินและเกิดการพังทลายได้ง่าย ในที่สุด บริเวณนั้นจะกลายเป็นที่แห้งแล้ง เมื่อมีฝนตกก็จะเกิดพายุอย่างรุนแรงและมี น้ำ ท่วมฉับพลันได้
5 ผลกระทบจากมลพิษทางดิน เนื่องจากดินมีประโยชน์ต่อการดูดซับคาร์บอน หากคาร์บอนลดน้อยลง โลกจะ ร้อนและแล้ง การเสื่อมโทรมของดินทำให้สมดุลของน้ำในธรรมชาติและระบบ นิเวศโดยรวมถูกทำลาย ส่งผลกระทบต่อการเกษตร การปศุสัตว์ และมีผลต่อ เนื่องทำให้เกิดการขาดแคลนอาหารและการใช้ชีวิตของมนุษย์ทั้งในด้าน เศรษฐกิจและสังคม อันตรายต่อมนุษย์ อันตรายต่อสัตว์ ดินทําให้เกิดพิษต่อมนุษย์โดยทางอ้อม ดินที่เป็นพิษทําให้เกิดอันตรายต่อสัตว์ เช่น พิษจากไนเตรต ไนไตรต หรือยา คล้ายคลึงกับของมนุษย์ แต่สัตว์มี โอ ปราบศัตรูพืช โดยได้รับเข้าไปในรูป กาสไดัรับพิษมากกว่า เพราะกินนอน ของน้ำดื่มที่มีสารพิษปะปน โดยการ ขุดคุ้ย หาอาหารจากดินโดยตรง รับประทาน พืชผักที่ปลูกในดินที่มีการ นอกจากนี้การ ใช้ยาฆ่าแมลงที่ไม่ถูก สะสมตัวของสารที่มีพิษ หลักวิชาการยังเป็นการทําลายแมลงที่ เป็นประโยชน็ เช่น ตัวห้ำ ทําให้ ผลผลิตทางการเกษตรลดลงได้
6 แนวทางแก้ไข ส่งเสริมการทำเกษตรอย่างยั่งยืน การใช้ที่ดินในการเกษตรกรรมควรทำอย่างถูกต้อง คำนึงถึงการบำรุงรักษาดินด้วย เช่น การปลูกพืชคลุมติน การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชในแนวระดับตามไหล่เขา จะช่วยรักษาสภาวะแวตล้อมของดินได้ ..ใช้ปุยเคมีและสารกำจัดศัตรูพืชและสัตว์อย่างถูกวิธี ..ต้องใช้ให้ถูกวิธี ถูกเวลาและสถานที่ที่เหมาะสม ..หากกระทำโดยไม่ระมัดระวัง ขาดความรู้ในการไช้ .อาจทำให้ตัตรูพืซโตยเฉพาะแมลงสร้างความต้านทาน .จากฤทธิ์ยา ทำให้เกิดการระบาดที่รุนแรง ...กำจัดขยะมูลฝ่อยอย่างถูกวิธี .ขยะมูลฝอยจากชุมชนเป็นสาเหตุหนึ่งที่มีผลทำให้เกิดมลพิษทางดิน ..ควรกำจัดอย่างถูกต้อง โดยแยกประเภทขยะ เพื่อง่ายต่อการเก็บและ .นำไปกำจัดให้ถูกวิธี ขยะอินทรีย์ควรนำเศษวัสดุไปทำปุ๋ยหมัก ส่วนขยะ .จากโรงงานอุตสาหกรรมตวรกำจัดให้ถูกหลักวิซาการ ...การควบคุมแหล่งกำเนิดโดยตรง .- กำหนดพื้นที่ฝังกลบขยะให้เป็นหลักแหล่ง ..- กำหนดสถานที่ในการจัดการกากอุตสาหกรรมอย่างขัดเจน .- ตรวจสอบดินในบริวณที่เสี่ยงต่อการปนเปื้ อนอยู่เสมอ ..การใช้เทคโนโลยีบำบัดและฟื้นฟู ..- การบำบัตในพื้นที่ หรือนอกพื้นที่ เช่น การบำบัตทางชีวภาพ ..(ใช้จุลินทรีย์ย่อยสลาย หรือปลูกพืชดูดขับ) การล้างดิน .- การกักกันในพื้นที่ หรือนอกพื้นที่ เช่น การฝังกลบ สร้างกำแพง ........ ........กั้นการเคลื่อนตัวของสารปนเปื้อน
7 กฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง 1. พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 กฎหมายประกาศใช้ในปี พ.ศ. 2535 โดยเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจ คือ กระทรวง อุตสาหกรรม ระเบียบเกี่ยวกับการจัดการความปลอดภัย และการจัดการสิ่งแวดล้อมของโรงงาน 2. กฎกระทรวง ควบคุมการปนเปื้ อนในดินและน้ำใต้ดินภายในบริเวณโรงงาน พ.ศ. 2559 ประกาศ 29/04/2559 บังคับใช้ 26/10/2559 กำหนดกรอบการกำกับดูแล 3. ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง กำหนดเกณฑ์การปนเปื้ อนในดินและน้ำใต้ดิน การตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำใต้ดิน การแจ้งข้อมูล รวมทั้งก การจัดทำรายงานผลการตรวจสอบคุณภาพดินและน้ำใต้ดิน และรายงานเสนอมาตรการ ควบคุมและมาตรการลดการปนเปื้ อนในดินและน้ำใต้ดิน พ.ศ. 2559 ประกาศ 29/11/2559 บังคับใช้ 30/11/2559 กำหนดรายละเอียดการควบคุม และแบบฟอร์มรายงาน 4. ประกาศกรมโรงงานอุตสาหกรรม เรื่อง คู่มือการเก็บตัวอย่างดินและน้ำใต้ดิน พ.ศ. 2560 ประกาศและมีผลบังคับใช้ทันที เมื่อ 20/04/2560 กำหนดวิธีการทางเทคนิคในการเก็บตัวอย่าง องค์กรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สมาคมดินโลก กองเทคโนโลยี คณะอนุกรรมการสารสนเทศ ชีวภาพทางดิน ที่ดินและทรัพยากรดิน
8 สถานการณ์ตัวอย่าง ดินพังเพราะสารเคมี ดินเป็นกรด ดินเปรี้ยว ดินเป็นพิษ กองขยะทับถมกันบนดิน
9 บรรณานุกรม ________. สาเหตุและผลกระทบของมลพิษทางดิน. https://www.rmuti.ac.th/user/thanyaphak/ Web%20 EMR/Web%20IS%20Environmen%20gr.4/Mola3.html/ เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2566 ________. ทรัพยากรดิน. https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi2/subsoil/soil.htm/ เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2566 ________. ความสำคัญของทรัพยากรดิน. http://www.rmuti.ac.th/user/thanyaphak/Web%20EMR/ Web%20IS%20Environment%20gr.3/page6_tem.htm/ เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2566 ________. เห็ดเข็มทอง ประโยชน์และข้อควรระวังในการบริโภค. https://www.luckyworm.net/%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E0%B8%A2%E0 %B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B8%99/ เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2566 ________. กฎหมายควบคุมการปนเปื้อนดินและน้ำใต้ดินในประเทศไทย. https://www.envix-asia.com/wp- content/uploads/2018/01/กฎหมายควบคุมการปนเปื้อนดินและน้ำใต้ดินในประเทศไทย.pdf/ เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2566 ________. แนวทางแก้ไขปัญหาทรัพยากรดิน. http://lddmordin.ldd.go.th/web/data/Tank_Analysis/Knowledge_5.pdf/ เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2566 .................................................................................................................................................................................................
10 จัดทำโดย นายกิตติภพ แท่นทิพย์ เลขที่ 6 นายติณณภพ พวงมาลา เลขที่ 7 นายอนัฐพงษ์ จันทระ เลขที่ 18 นางสาวณัฐธยาน์ สุ ว ร ร ณ เ รื อ ง ศ รี เลขที่ 21 นางสาวรุ่งทิพย์ โหรารัตน์ เลขที่ 22 นางสาวธนัชพร ว ง ศ์ พ ล า ย เลขที่ 27 นางสาวแสงจ้า มณีลาภ เลขที่ 42
SA VE EAR TH
Search
Read the Text Version
- 1 - 14
Pages: