Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore unit7

unit7

Published by 6032040022, 2018-08-31 10:26:06

Description: unit7

Search

Read the Text Version

ประเภทของระบบเครือขา่ ย

ส่อื กลางแบบสายสัญญาณ1. สายโคแอกเชียล (Coaxial) เป็นตัวกลางเชื่อมโยงท่ีมีลักษณะเช่นเดียวกับสายท่ีต่อจากเสาอากาศของโทรทัศน์ สายโคแอกเชียลที่ใช้ท่ัวไปมี 2 ชนิด คือ 50 โอห์ม ซ่ึงใช้ส่งข้อมูลแบบดิจิตอล และ ชนิด 75โอห์ม ซ่งึ ใชส้ ่งข้อมูลสัญญาณอนาล็อก สายประกอบด้วยลวดทองแดงท่ีเป็นแกนหลักหน่ึงเส้นท่ีหุ้มด้วยด้วยฉนวนอีกชั้นหน่ึงเพ่ือป้องกันกระแสไฟฟ้าร่ัว จากน้ันจะหุ้มด้วยตัวนาซ่ึงทาจากลวดทองแดงถักเป็นเปียเพ่ือป้องกันการรวบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและสัญญาณรวบกวนอ่ืนๆ ก่อนจะหุ้มชั้นนอกสุดด้วยฉนวนพลาสติก ลวดทองแดงที่ถักเป็นเปียนี้เองเป็นส่วนที่ทาให้สวยแบบน้ีมีช่วงความถ่ีสัญญาณไฟฟ้าสามารถผ่านได้สูงมากและนิยมใช้เป็นช่องส่ือสารสัญญาณอนาล็อกเชื่อมโยงผา่ นใตท้ ะเลและใต้ดนิข้อดีและขอ้ เสยี ของสายโคแอกเชยี ลขอ้ ดี1. ราคาถกู2. มีความยืดหยุน่ ในการใชง้ าน3. ตดิ ต้ังง่าย และมนี ้าหนกั เบาข้อเสยี1. ถกู รบกวนจากสญั ญาณภายนอกไดง้ า่ ย2. ระยะทางจากัด

2. สายคู่บิดเกลียว (Twisted pair) ประกอบด้วยเส้นลวดทองแดงท่ีหุ้มด้วยฉนวนพลาสติก 2 เสน้ พันบิดเปน็ เกลียว ทง้ั นีเ้ พื่อลดการรบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากคู่สายข้างเคียงภายในสายเดียวกันหรือจากภายนอก เน่ืองจากสายคู่บิดเกลียวน้ียอมให้สัญญาณไฟฟ้าความถ่ีสูงผา่ นได้ สาหรับอัตราการสง่ ขอ้ มลู ผา่ นสายคบู่ ิดเกลยี วจะข้ึนอยู่กับความหนาของสายด้วย กล่าวคือสายทองแดงที่มีเส้นผ่านศูนยก์ ลางกว้าง จะสามารถสง่ สัญญาณไฟฟ้ากาลังแรงได้ ทาให้สามารถสง่ ข้อมูลด้วยอัตราส่งสูง โดยท่ัวไปแล้วสาหรับการส่ง ใช้ส่งข้อมูลได้ดีจึงมีการงานอย่างกว้างขวาง สายประเภทน้ีมีด้วยกัน 2 ชนดิ คอื2.1. สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP)เป็นสายคู่บิดเกลียวท่ีหุ้มด้วยลวดถักช้ันนอกที่หนาอีกชั้น เพ่ือป้องกันการรบกวนของคลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟ้า(นยิ มนามาใชเ้ ป็นสายโทรศพั ท)์

2.2. สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded Twisted Pair :UTP) เป็นสายคู่บิดเกลียวมีฉนวนช้นั นอกท่ีบางอีกชัน้ ทาให้สะดวกในการโค้งงอ แต่สามารถป้องกันการรบกวนของคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกวา่ ชนิดแรก แต่ก็มรี าคาต่ากว่า จึงนิยมใชใ้ นการเช่อื มต่ออุปกรณ์ในเครือข่าย ตัวอย่างของสายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวนที่เห็นในชวี ิตประจาวนั คือ สายโทรศัพทท์ ่ใี ช้อยใู่ นบ้านขอ้ ดี1. ราคาถูก2. มีความยืดหยนุ่ ในการใช้งาน3. ตดิ ตัง้ งา่ ย และมีนา้ หนักเบาขอ้ เสยี1. ถูกรบกวนจากสัญญาณภายนอกไดง้ า่ ย2. ระยะทางจากดั

3. เส้นใยนาแสง (Fiber Optic) มแี กนกลางของสายซ่ึงประกอบด้วยเส้นใยแก้วหรือพลาสติกขนาดเล็กหลายๆ เส้นอยู่รวมกัน เส้นใยแต่ละเส้นมีขนาดเล็กเท่าเส้นผมและภายในกลวง และเส้นใยเหล่าน้ันได้รับการห่อหมุ้ ด้วยเสน้ ใยอีกชนิดหน่งึ ก่อนจะหุม้ ช้ันนอกสุดด้วยฉนวน การสง่ ข้อมูลผ่านทางส่อื กลางชนดิ น้ีจะแตกต่างจากชนดิ อืน่ ๆขอ้ ดี1. ส่งขอ้ มูลด้วยความเรว็ สงู2. ไม่มกี ารรบกวนทางแมเ่ หล็กไฟฟา้3. ส่งขอ้ มลู ไดใ้ นปรมิ าณมากข้อเสีย1. มีราคาแพงกว่าสายสง่ ข้อมลู แบบสายคู่ตีเกลยี วและโคแอกเชยี ล2. ต้องใช้ความชานาญในการตดิ ตง้ั3. มคี า่ ใช้จา่ ยในการติดตง้ั สูงกวา่ สายคูต่ ีเกลยี วและโคแอกเชียล

สื่อกลางแบบไรส้ ายสอื่ กลางแบบไร้สายสัญญาณ (Wireless Media) เป็นส่ือกลางประเภทที่ไมม่ วี ัสดุใดๆในการนาสญั ญาณแตจ่ ะใชอ้ ากาศเปน็ สื่อกลาง ซ่ึงจะไม่มีการกาหนดเส้นทางให้สัญญาณเดนิ ทาง สอ่ื หรอื ตวั กลางประเภทไร้สายมีดังน้ี1. อินฟราเรด (Infrared) เป็นสือ่ สารที่ใชค้ ล่ืนแสงที่ไมส่ ามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า สามารถส่งข้อมูลด้วยคลื่นอินฟราเรดต้องส่งในแนวเส้นตรง และไม่สามารถทะลุส่ิงกีดขวางท่ีมีความหนาได้ นิยมใช้ในการส่งถ่ายโอนข้อมูลสาหรับอุปกรณ์แบบพกพา เช่น โน้ตบุ๊กคอมพิวเตอร์หรือเครื่องพีดเี อไปยงั คอมพวิ เตอรส์ ว่ นบคุ คล เปน็ ต้น

ขอ้ ดี1. ใชพ้ ลงั งานนอ้ ย จงึ นยิ มใชก้ ับเคร่อื ง Laptops, โทรศัพท์2. แผงวงจรควบคุมราคาต่า (Low circuitry cost) เรียบง่ายและสามารถเชื่อมต่อกบั ระบบอ่นื ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็3. มีความปลอดภัยในการเรื่องข้อมูลสูง ลักษณะการส่งคล่ืน(Directionality of the beam) จะไม่ร่ัวไปท่ีเคร่ืองรับตัวอ่ืนในขณะท่ีสง่ สญั ญาณขอ้ เสีย1. เคร่ืองส่ง (Transmitter) และเคร่ืองรับ (receiver) ต้องอย่ใู นแนวเดียวกัน คอื ต้องเห็นว่าอยู่ในแนวเดียวกัน2. คล่ืนจะถูกกันโดยวัตถุท่ัวไปได้ง่ายเช่น คน กาแพง ต้นไม้ ทาให้สื่อสารไมไ่ ด้3. ระยะทางการสือ่ สารจะน้อย ประสิทธิภาพจะตกลงถ้าระยะทางมากข้ึน

2. คลื่นวิทยุ (Radio Wave) เป็นการสื่อสารโดยใช้คล่ืนวิทยุจากอปุ กรณ์ไรส้ ายต่างๆ เช่น โทรศพั ท์เคล่ือนท่ี หรืออุปกรณ์ที่สามารถเปิดเข้าถึงเว็บไซต์ได้ เป็นต้น ผู้ใช้บางรายใช้โทรศัพท์เคลื่อนท่ีในการเชื่อมต่อเพื่อใช้บริการอินเทอร์เน็ต ปัจจุบันมีเทคโนโลยีไร้สายท่ีใช้คลื่นวิทยุ คือ บลูทูธ(Bluetooth)ซึ่งเป็นการส่งสัญญาณโดยใช้คลื่นวิทยุระยะสั้น เหมาะสาหรับการติดต่อสื่อสารในระยะไม่เกิน 33ฟุต การส่งสัญญาณสามารถส่งผ่านสิ่งกีดขวางได้ ทาให้เทคโนโลยีบลูทูธได้รับความนิยมสูง จึงมีการนามาบรรจุไว้ในอุปกรณ์เทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ เคร่ืองพีดีเอ โน้ตบุ๊กเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ เคร่ืองพมิ พด์ ิจิทลั เปน็ ตน้

3. ไมโครเวฟ (Microwave) เปน็ การส่ือสารโดยใชค้ ลน่ื วทิ ยุความเรว็สูงสามารถสง่ สญั ญาณเปน็ ทอดๆ จากสถานีหนง่ึ ไปยงั อกี สถานีหนึ่งในแนวเสน้ ตรง ไม่สามารถโคง้ หรอื หกั เลย้ี วได้ สามารถรบั สง่ ไดใ้ นระยะทางใกลๆ้ นิยมใช้สาหรับการสอ่ื สารระหวา่ งอาคารที่อยใู่ นเมืองเดียวกนั หรือวทิ ยาเขตของมหาวทิ ยาลัย สาหรับระยะทางไกลๆ ตอ้ งใชส้ ถานรี บั ส่งสญั ญาณเปน็ ทอดๆโดยตดิ ตง้ั ในพืน้ ทส่ี งู เช่น ยอดเขาหอคอย ตกึ เปน็ ต้น โดยปกตคิ วามถีไ่ มโครเวฟอยู่ในชว่ งคลื่นอินฟราเรด ซึ่งนามาใช้ประโยชนด์ ้านโทรคมนาคมและการทาอาหารขอ้ ดี1. ใชใ้ นพน้ื ทซี่ ่งึ การเดนิ สายกระทาได้ไมส่ ะดวก2. ราคาถกู กว่าสายใยแก้วนาแสงและดาวเทยี ม3. ติดตั้งง่ายกว่าสายใยแกว้ นาแสงและดาวเทยี ม4. อัตราการส่งข้อมลู สงูขอ้ เสยี1. สญั ญาณจะถกู รบกวนไดง้ ่ายจากคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า จากธรรมชาติเชน่ พายุ หรือฟา้ ผา่

4. ดาวเทียม (Satellite)เป็นการส่ือสารโดยคล่ืนไมโครเวฟแต่เนื่องจากเป็นคล่ืนท่ีเดินทางในแนวตรง ทาให้พ้ืนท่ีที่มีลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาหรือตึกสูงมีผลต่อการบดบังคลื่น จึงมีการพัฒนาดาวเทียมให้เป็นสถานีไมโครเวฟที่อยู่เหนือพ้ืนผิวโลก ทาหน้าท่ีเป็นสถานีส่งและรบั ขอ้ มลู ถ้าเปน็ ลักษณะการสง่ ข้อมูลจากภาคพน้ื ดนิ ไปยังดาวเทียม ดาวเทียมสู่ภาคพน้ื ดิน เรียกวา่ “การเชื่อมโยงหรือดาวน์ลิงค์(Down Link)”ข้อดี1. สง่ สัญญาณครอบคลุมไปยงั ทุกจดุ ของโลกได้2. ค่าใช้จ่ายในการให้บริการส่งข้อมูลของระบบดาวเทียมไม่ข้ึนอยกู่ ับระยะทางท่หี ่างกันของสถานพี ื้นดนิขอ้ เสีย1. มีเวลาหน่วง (Delay Time) ในการสง่ สัญญาณ

ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ การเลือกใชส้ ือ่ กลางในการใชง้ านดา้ นการสอื่ สารข้อมลู หรือการออกแบบเครือข่าย ส่ิงสาคัญอย่างหน่ึงที่ควรพิจารณาก็คือ “การใช้ส่ือกลางท่ีเหมาะสม” เพราะหากมีการเลือกใช้ส่ือกลางที่ไม่เหมาะสมแล้ว เครือข่ายน้ันอาจไม่สมบูรณ์หรือนาไปสู่ความลม้ เหลวได้ ซง่ึ ปจั จยั ต่าง ๆ ท่คี วรพจิ ารณา มดี ังนี้1. ตน้ ทนุพิจารณาตน้ ทุนของตัวอุปกรณ์ที่ใช้พิจารณาตน้ ทนุ การตดิ ตัง้ อุปกรณ์เปรยี บเทียบราคาของอุปกรณ์ และประสิทธิภาพการใชง้ าน2. ความเร็วความเร็วในการส่งผา่ นสญั ญาณ จานวนบติ ต่อวนิ าทีความเรว็ ในการแพรส่ ัญญาณ ข้อมูลท่ีสามารถเคลื่อนท่ีผา่ นส่ือกลางไปได้3. ระยะทางส่ือกลางแต่ละชนิดมีความสามารถในการส่งสัญญาณข้อมูลไปได้ในระยะทางต่างกัน ดังนั้นการเลือกใช้สื่อกลางแต่ละชนิดจะต้องทราบข้อจากัดด้านระยะทาง เพื่อท่ีจะต้องทาการติดตั้งอุปกรณ์ทบทวนสัญญาณเม่ือใช้ส่ือกลางในระยะไกล4. สภาพแวดลอ้ มเป็นปัจจัยสาคัญอย่างหน่ึงในเลือกใช้ส่ือกลาง เช่น สภาพแวดล้อมที่เป็นโรงงานอุตสาหกรรมเครื่องจักรกล จะมีคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าต่าง ๆ ดังนั้นการเลือกใชส้ ือ่ กลางควรเลือกสอ่ื กลางท่ีทนทานตอ่ สญั ญาณรบกวนไดด้ ี5. ความปลอดภัยของข้อมูล หากสื่อกลางท่ีเลือกใช้ไม่สามารถป้องกันการลักลอบนาข้อมูลไปได้ ดังนั้นการส่ือสารข้อมูลจะต้องมีการเข้ารหัสข้อมูลก่อนท่ีจะส่งไปในสื่อกลาง และผู้รับก็ต้องมีการถอดรหัสที่ใช้หลักเกณฑ์เดยี วกัน จงึ จะสามารถนาข้อมูลน้นั ไปใชไ้ ด้

ปัจจยั ท่ีสง่ ผลกระทบต่อการขนส่งข้อมูล1. แบนด์วิดธ์ (Bandwidth)คือ ย่านความถี่ของช่องสัญญาณ หากมีช่องสัญญาณขนาดใหญ่ จะ ส่งผลให้ในหน่ึงหน่วยเวลา สามารถเคลื่อนยา้ ยปรมิ าณข้อมลู ได้จานวนมากขนึ้2. จานวนโหนดท่เี ชือ่ มต่อ (Number of Receivers) สือ่ กลางส่งขอ้ มลูแบบใช้สาย สามารถนามาเชอื่ มต่อเครือข่ายในรูปแบบ จุดต่อจุด หรือแบบหลายจุด เพื่อแชร์การใช้งานสายส่งข้อมูลร่วมกัน สาหรับเครือข่ายที่ใช้สายส่งข้อมูลร่วมกัน จะมีข้อจากัดด้านระยะทางและความเรว็ ท่จี ากดั ดังนั้น หากเครือข่ายมีโหนดและอุปกรณ์เชื่อมต่อเป็นจานวนมาก ยอ่ มส่งผลให้ ความเร็วลดลง3. ความสูญเสียต่อการส่งผ่าน (Transmission Impairments) คือการอ่อนตัวของสัญญาณ ซ่ึงจะเก่ียวข้องกับระยะทางในการส่งผ่านข้อมูล หากระยะทางยง่ิ ไกล สัญญาณก็ย่ิงเบาบางลง ไม่มีกาลังส่ง เช่นสายคู่บิต เกลียวจะมีความสูญเสียต่อการส่งผ่านข้อมูลภายในสายมากกวา่ สายโคแอกเชยี ล4. การรบกวนของสัญญาณ (Interference) การรบกวนของสัญญาณท่ีคาบเก่ียวกันในย่านความถี่ อาจทาให้ เกิดการบิดเบือนสัญญาณได้โดยไม่ว่าจะเป็นส่ือกลางแบบมีสาย หรือแบบ ไร้สาย เช่น การรบกวนกนั ของคลื่นวิทยุ สัญญาณครอสทอร์กที่เกิดขึ้นใน สายคู่บิตเกลียวชนิดไม่มีฉนวน ท่ีภายในประกอบด้วยสายทองแดงหลายคู่ มัดอยู่รวมกันวธิ แี กไ้ ขคือ เลอื กใชส้ ายค่บู ิตเกลยี วชนดิ ทม่ี ีฉนวนหรีอชลี ด์ เพื่อป้องกันสัญญาณรบกวน

จัดทาโดยนางสาวนสิ าลักษณ์ ชยั มงคลปวส.2 คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 1 เลขท่ี 22


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook