Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore unit3

unit3

Published by 6032040022, 2018-08-31 10:32:52

Description: unit3

Search

Read the Text Version

โครงสรา้ งเครอื ขา่ ย

ลักษณะการเช่ือมตอ่ เครอื ขา่ ยการเช่อื มตอ่ แบบจดุ ตอ่ จุด (Point to Point)คือ การเช่ือมต่อระหว่างอุปกรณ์สองอุปกรณ์ที่เช่ือมโยงเข้าถึงกันเท่าน้ันโดยช่องทางการส่ือสารจะถูกจับจองสาหรับอุปกรณ์สองอุปกรณ์เพื่อใช้สือ่ สารระหวา่ งกนัข้อดขี องการเชือ่ มโยงแบบ (Point-to-Point)- สามารถใช้ความเร็วในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างเต็มที่ จึงเหมาะสมกบั การทต่ี ้องส่งขอ้ มลู ได้คราวละ มากๆ แบบตอ่ เนื่องกนั ไป- มีความปลอดภัยในข้อมูล เพราะมีการเช่ือมต่อกันระหว่างโหนดสองโหนดเท่าน้นัข้อเสีย ของการเช่ือมโยงแบบ (Point-to-Point)- ไม่เหมาะกบั เครือขา่ ยที่มีขนาดใหญ่- หากเครือข่ายมีจานวนโหนดเพิ่มมากข้ึน ก็จะต้องใช้สายในการเช่ือมโยงหรือสายในการส่ือสารเพิม่ มากข้ึนด้วย

การเชือ่ มต่อแบบหลายจุด (Multipoint or Multidrop)คือ การเชื่อมโยงเครือข่ายท่ีใช้เส้นทางหรือลิงก์เพื่อการสื่อสารร่วมกันหรือกล่าวง่ายๆ คือ อุปกรณ์ต่างๆ สามารถสื่อสารระหว่างกันได้ด้วยการใช้ลิงก์หรือสายส่ือสารเพียงเส้นเดียว ดังนั้นวิธีการเชื่อมโยงชนิดนี้ทาให้ประหยัดสายส่งข้อมูลกว่าแบบการเช่ือมโยงเครือข่ายแบบจุดต่อ โดยระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่แล้วใชว้ ธิ กี ารเชือ่ มโยงแบบหลายจดุข้อดขี องการเชื่อมโยงเครอื ขา่ ยแบบหลายจุด- ประหยดั สายสง่ ข้อมลู- การเพิ่มเติมโหนดสามารถเพิ่มได้โดยง่ายด้วยการเชื่อมต่อเข้ากับสายส่งทใี่ ช้งานรว่ มกนั ไดท้ ันทีข้อเสยี ของการเชื่อมโยงเครือข่ายแบบหลายจดุ- หากสายส่งขอ้ มลู ขาด จะมีผลกระทบตอ่ ระบบเครอื ข่าย- ไม่เหมาะกับการส่งข้อมูลแบบต่อเนื่องที่มีข้อมูลคราวละมากๆในเวลาเดยี วกัน

ลักษณะของโครงสรา้ งเครอื ขา่ ยโครงสรา้ งของเครอื ข่าย (Network Topology) แบ่งเปน็ 6 ชนดิ1. โครงสร้างแบบบัส (Bus Topology) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่าง ๆ ด้วยสายเคเบ้ิลยาว ต่อเนื่องไปเรื่อย ๆโดยจะมีคอนเน็กเตอร์เป็นตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เข้ากับสายเคเบิ้ล ในการส่งข้อมูล จะมีคอมพิวเตอร์เพียงตัวเดียวเท่านั้นท่ีสามารถส่งข้อมูลได้ในช่วงเวลาหนึ่งๆ การจัดส่งข้อมูลวิธีน้ีจะต้องกาหนดวิธีการ ทจ่ี ะไม่ใหท้ กุ สถานีสง่ ข้อมูลพร้อมกนั เพราะจะทาให้ขอ้ มูลชนกันข้อดี การเชื่อมต่อแบบบัส คือ ใช้ส่ือนาข้อมูลน้อย ช่วยให้ประหยัดค่าใช้จ่าย และถ้าเคร่ืองคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งเสียก็จะไม่ส่งผลตอ่ การทางานของระบบโดยรวมข้อเสีย การตรวจจุดท่ีมีปัญหา กระทาได้ค่อนข้างยาก และถ้ามีจานวนเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายมากเกินไป จะมีการส่งข้อมูลชนกันมากจนเป็นปัญหา จาเป็นต้องใช้วงจรส่ือสารและซอฟต์แวร์เข้ามาช่วยเพื่อหลีกเลี่ยงการชนกันของสัญญาณข้อมูล และถ้ามีอุปกรณ์ตัวใดตัวหนึ่งเสยี หาย อาจส่งผลให้ทง้ั ระบบหยุดทางานได้

2. โครงสร้างแบบดาว (Star Topology) เป็นเครือข่ายท่ีเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์ เข้ากับอุปกรณ์ที่เป็น จุดศูนย์กลาง ของเครือข่าย โดยการนาสถานีต่าง ๆ มาต่อร่วมกันกับหน่วยสลับสายกลางการติดต่อส่ือสารระหว่างสถานีจะกระทาได้ ด้วยการ ติดต่อผ่านทางวงจรของหน่วนสลับสายกลางการทางานของหน่วยสลับสายกลางจึงเป็นศูนย์กลางของการติดตอ่ วงจรเช่ือมโยงระหวา่ งสถานตี า่ ง ๆ ทีต่ อ้ งการติดตอ่ กันข้อดี ถ้าต้องการเช่ือมต่อคอมพิวเตอร์เครื่องใหม่ก็สามารถทาได้ง่ายและไมก่ ระทบตอ่ เครื่องคอมพิวเตอร์อน่ื ๆ ในระบบขอ้ เสีย ค่าใช้จ่ายในการใช้สายเคเบิ้ลจะค่อนข้างสูง และเมื่อฮับไม่ทางานการสอ่ื สารของคอมพิวเตอร์ท้งั ระบบก็จะหยุดตามไปด้วย ข้อจากัด ถ้าฮบัเสียหายจะทาให้ท้ังระบบต้องหยุดซะงัก และมีความส้ินเปลืองสายสญั ญาณมากกวา่ แบบอืน่ ๆ

3. โครงสร้างแบบวงแหวน (Ring Topology)topology) เป็นเครือข่ายที่เช่ือมต่อคอมพิวเตอร์ด้วยสายเคเบิลยาวเส้นเดียว ในลักษณะวงแหวนการรับส่งข้อมูลในเครือข่ายวงแหวน จะใช้ทิศทางเดียวเท่านั้น เม่ือคอมพวิ เตอร์เครื่องหน่ึงส่งข้อมูล มันก็จะส่งไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องถัดไปถ้าข้อมูลที่รับมาไม่ตรงตามที่คอมพิวเตอร์เครื่องต้นทางระบุ มันก็จะส่งผ่านไปยัง คอมพิวเตอร์เครื่องถัดไปซ่ึงจะเป็นข้ันตอนอย่างนี้ไปเร่ือย ๆจนกวา่ จะถึงคอมพิวเตอรป์ ลายทางทถี่ กู ระบุตามที่อยู่ข้อดี ใช้สายเคเบิ้ลน้อย และถ้าตัดเครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีเสียออกจากระบบ ก็จะไมส่ ง่ ผลตอ่ การทางานของระบบเครือข่ายนี้ และจะไม่มีการชนกนั ของข้อมูลท่แี ต่ละเครอ่ื งสง่ข้อเสีย ถ้าเคร่ืองใดเครื่องหน่ึงในเครือข่ายเสียหาย อาจทาให้ทั้งระบบหยุดทางานได้

4. โครงสร้างแบบต้นไม้ (Tree Topology) มีลักษณะเชื่อมโยงคล้ายกับโครงสรา้ งแบบดาวแต่จะมโี ครงสร้างแบบต้นไม้ โดยมีสายนาสัญญาณแยกออกไปเป็นแบบก่ิงไม่เป็นวงรอบ โครงสร้างแบบน้ีจะเหมาะกับการประมวลผลแบบกลุ่มจะประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับต่างๆกันอยู่หลายเครอ่ื งแลว้ ต่อกันเป็นชั้น ๆ ดูราวกับแผนภาพองค์กร แต่ละกลุ่มจะมีโหนดแมล่ ะโหนดลกู ในกลมุ่ น้นั ท่ีมีการสัมพนั ธ์กัน การสอ่ื สารข้อมูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานีอ่ืนๆได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเช่ือมและรับส่งข้อมูลเดียวกัน ดังน้ันในแต่ละกลุ่มจะส่งข้อมูลได้ทีละสถานีโดยไมส่ ่งพรอ้ มกนัข้อดี1. รองรับการขยายเครอื ข่ายในแต่ละจุด2. รองรบั อปุ กรณ์จากผูผ้ ลิตที่แตกตา่ งกันข้อเสีย1.ความยาวของแตล่ ะเซ็กเมนต์อาจแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับสายสัญญาณที่ใช้2.หากสายสัญญาณแบ๊กโบนเสียหาย เครือข่ายจะไม่สามารถสอื่ สารกันได้3.การติดต้ังทาได้ยากกวา่ โพโลยีแบบอืน่

5. โครงสร้างแบบผสม (Hybrid Topology) เปน็ เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรท์ ี่ผสมผสานระหว่างรูปแบบตา่ งๆหลายๆแบบเข้าดว้ ยกนั คือจะมีเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ยอ่ ย ๆ หลาย ๆ เครือข่ายเพอ่ื ใหเ้ กดิ ประสิทธิภาพสูงสุดในการทางานขอ้ ดี1. ไมต่ อ้ งเสยี ค่าใช้จ่ายในการวางสายเคเบลิ มากนกั2. สามารถขยายระบบไดง้ า่ ย3. เสยี คา่ ใชจ้ า่ ยนอ้ ยข้อเสีย1. อาจเกิดข้อผดิ พลาดงา่ ย เน่อื งจากทุกเคร่อื งคอมพวิ เตอรต์ ่อยบู่ นสายสญั ญาณเพียงเสน้ เดยี ว ดังนน้ั หากมีการขาดทตี่ าแหน่งใดตาแหนง่หนึง่ กจ็ ะทาให้เครอ่ื งอนื่ ส่วนใหญห่ รอื ท้งั หมดในระบบไมส่ ามารถใช้งานไดต้ ามไปด้วย2. การตรวจหาโหนดเสีย ทาไดย้ ากเนอ่ื งจากขณะใดขณะหนึ่งจะมีคอมพวิ เตอร์เพยี งเคร่อื งเดียวเทา่ นน้ั ท่สี ามารถส่งขอ้ ความออกมาบนสายสัญญาณ ดังนัน้ ถ้ามเี ครอื่ งคอมพิวเตอรจ์ านวนมากๆ อาจทาให้เกิดการคบั ค่ังของเนตเวริ ก์ ซึง่ จะทาให้ระบบชา้ ลงได้

6. โครงสรา้ งแบบเมซ (Mesh Topology) เป็นการเช่อื มต่อคอมพิวเตอร์ท่ีได้รับความนิยมมากและมีประสิทธิภาพสูงตามลาดับ เพราะเมื่อเส้นทางของการเช่ือมต่อข้อมูลคู่ใดคู่หนึ่งเกิดปัญหาหรือขาดจากกัน การติดต่อส่ือสารระหว่างกัน ยังสามารถติดต่อกันได้ด้วยอุปกรณ์จัดเส้นทาง(Router) ซงึ่ จะเชือ่ มตอ่ เสน้ ทางใหม่ ไปยังจุดหมายปลายทางโดยอตั โนมัติการเชือ่ มตอ่ แบบเมชน้มี ักเป็นเครอื ขา่ ยแบบไร้สายขอ้ ดีในกรณีสายเคเบ้ิลบางสายชารุด เครือข่ายท้ังหมดยังสมารถใช้ได้ ทาให้ระบบมีเสถียรภาพสูง นิยมใช้กับเครือข่ายท่ีต้องการเสถียรภาพสูง และเครอื ขา่ ยที่มีความสาคัญขอ้ เสียสิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย และสายเคเบ้ิลมากกว่าการต่อแบบอื่นๆยากต่อการติดตัง้ เดินสาย เคลอื่ นยา้ ยปรับเปลีย่ นและบารุงรกั ษาระบบเครือขา่ ย

สว่ นประกอบของเครอื ขา่ ยสว่ นประกอบของเครอื ขา่ ย ( Network Component )ในชีวิตประจาวนั ของเรานั้นเกยี่ วข้องกับเครือข่ายตลอดเวลา เพระทกุ การติดต่อส่ือสารนั้นต้องผ่านระบบเครือข่ายมาแล้วท้ังสิ้น ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ SMS ATM วิทยุ โทรทัศน์ ล้วนเป็นระบบเครือข่ายทงั้ ส้ิน โดยท่ี Internet เป็นระบบเครือข่ายที่ใหญ่ท่ีสุดในโลก ในที่น้ีจะกล่าวถึงสว่ นประกอบของระบบเครือข่าย ซ่งึ ประกอบไปด้วย• เครอ่ื งบริการขอ้ มลู (Server)• เคร่ืองลูกข่ายหรือสถานี (Client)• การด์ เครือข่าย (Network Interface Cards)• สายเคเบลิ ที่ใช้บนเครือขา่ ย (Network Cables)• ฮับหรือสวติ ช์ (Hubs and Switches)• ระบบปฏิบตั ิการเครือขา่ ย (Network operating System)

จดั ทาโดยนางสาวนิสาลกั ษณ์ ชยั มงคล ปวส.2 คอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ 1 เลขท่ี 22


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook