Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รัฐธรรมนูญ-60

รัฐธรรมนูญ-60

Published by tex.naruk, 2020-05-20 03:47:43

Description: รัฐธรรมนูญ-60

Search

Read the Text Version

  โค่นขอ้ สอบครู โดยอาจารย์อ๊อฟ 1  รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย  รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560  เป็นรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย ฉบับที่ 20  จดั ร่างโดยคณะกรรมการร่างรฐั ธรรมนูญ ในระหว่าง พ.ศ. 2557–2560 ภายหลงั การ รัฐประหารในประเทศโดยคณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ เมอ่ื วนั ท่ี 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557  โดยรัฐธรรมนญู ฉบบั น้ี สมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงลงพระปรมาภิไธย  เมือ่ วนั ท่ี 6 เมษายน พ.ศ. 2560 ณ พระทีน่ ่งั อนนั ตสมาคม พระราชวังดสุ ติ กรงุ เทพมหานคร  พลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรัฐมนตรี เปน็ ผู้รบั สนองพระราชโองการ  16 หมวด 279 มาตรา

  โคน่ ขอ้ สอบครู โดยอาจารย์อ๊อฟ 2  รฐั ธรรมนูญฉบับแรกของไทยชอ่ื วา “พระราชบญั ญตั ธิ รรมนญู การปกครองแผนดนิ สยามชว่ั คราว พทุ ธศกั ราช 2475” หมวด 1 บทท่วั ไป >>> มี 5 มาตรา มาตรา 1 ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอนั หนึง่ อันเดยี ว จะแบ่งแยกมิได้ มาตรา 2 มาตรา 3 ประเทศไทยมกี ารปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ มาตรา 4 อํานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษตั ริยผ์ ้ทู รงเป็นประมขุ ทรงใชอ้ ํานาจนั้น ทางรฐั สภา คณะรฐั มนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแหง่ รฐั ธรรมนูญ มาตรา 5 ศกั ด์ศิ รคี วามเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง ปวงชนชาวไทยย่อมได้รบั ความคมุ้ ครองตามรัฐธรรมนูญเสมอกนั รฐั ธรรมนูญเปน็ กฎหมายสงู สดุ ของประเทศ บทบัญญัติใดของกฎหมาย กฎ หรอื ขอ้ บังคับ หรอื การกระทําใด ขัดหรือแยง้ ต่อรฐั ธรรมนูญ บทบัญญตั ิหรือการกระทาํ น้นั เปน็ อนั ใชบ้ ังคับมไิ ด้ หมวด 2 พระมหากษัตริย์ >>> 19 มาตรา (6 – 24) มาตรา 6 องค์พระมหากษตั ริย์ทรงดํารงอย่ใู นฐานะอนั เปน็ ทเ่ี คารพสักการะ ผใู้ ดจะละเมิดมไิ ด้ ผใู้ ดจะกลา่ วหาหรือฟอ้ งร้องพระมหากษตั รยิ ใ์ นทางใด ๆ มิได้ มาตรา 7 พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นพทุ ธมามกะ และทรงเปน็ อัครศาสนูปถมั ภก มาตรา 8 มาตรา 9 พระมหากษตั ริยท์ รงดาํ รงตาํ แหนง่ จอมทัพไทย มาตรา 10 พระมหากษตั ริยท์ รงไวซ้ งึ่ พระราชอํานาจท่ีจะสถาปนาและถอดถอนฐานันดรศกั ดิ์ และพระราชทานและเรยี กคืนเครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณ์ พระมหากษัตริย์ทรงเลอื กและทรงแตง่ ต้ังผูท้ รงคณุ วุฒิเป็นประธานองคมนตรี 1 คน และ องคมนตรีอนื่ อกี ไมเ่ กิน 18 คน >>> ประกอบเปน็ คณะองคมนตรี  คณะองคมนตรีมีหน้าทีถ่ วายความเหน็ ต่อพระมหากษัตริยใ์ นพระราชกรณียกจิ ท้งั ปวง ท่ีพระมหากษัตริยท์ รงปรกึ ษา และมีหนา้ ที่อนื่ ตามท่ีบัญญตั ไิ ว้ในรัฐธรรมนูญ

  โค่นขอ้ สอบครู โดยอาจารยอ์ อ๊ ฟ 3  มาตรา 11 การเลอื กและแต่งต้งั องคมนตรีหรือการใหอ้ งคมนตรพี น้ จากตําแหนง่ ให้เป็นไปตามพระราช อัธยาศยั มาตรา 12 มาตรา 16  ให้ประธานรฐั สภาเป็นผลู้ งนามรับสนองพระบรมราชโองการแตง่ ต้ังประธาน องคมนตรีหรอื ให้ประธานองคมนตรีพ้นจากตาํ แหน่ง  ใหป้ ระธานองคมนตรีเปน็ ผลู้ งนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งองคมนตรีอน่ื หรอื ใหอ้ งคมนตรอี ่นื พน้ จากตําแหนง่ องคมนตรีตอ้ งไม่เปน็ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒสิ ภา หรอื ดาํ รงตําแหนง่ ทางการเมอื ง อืน่ ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนูญ ผู้ดาํ รงตําแหนง่ ในองค์กรอิสระ พนักงานรฐั วสิ าหกจิ เจา้ หนา้ ท่ีอืน่ ของรฐั หรือสมาชิกหรือเจ้าหน้าทข่ี องพรรคการเมอื ง หรือขา้ ราชการเว้นแตก่ ารเปน็ ขา้ ราชการ ในพระองค์ในตาํ แหนง่ องคมนตรี และต้องไมแ่ สดงการฝักใฝ่ในพรรคการเมอื งใด ในเมือ่ พระมหากษัตริยจ์ ะไมป่ ระทับอยู่ในราชอาณาจักร หรือจะทรงบริหารพระราชภาระ ไม่ไดด้ ว้ ยเหตใุ ดกต็ าม จะทรงแต่งตงั้ บคุ คลคนหนึ่งหรือหลายคนเปน็ คณะขน้ึ ใหเ้ ปน็ ผ้สู าํ เรจ็ ราชการแทนพระองค์หรือไม่กไ็ ด้ และ ในกรณีท่ที รงแต่งต้ังผู้สําเร็จราชการแทนพระองคใ์ ห้ ประธานรฐั สภา เป็นผลู้ งนามรับ สนองพระบรมราชโองการ หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย >>> 24 มาตรา (25 - 49) มาตรา 25 สทิ ธแิ ละเสรภี าพของปวงชนชาวไทย นอกจากทบี่ ญั ญตั คิ ุ้มครองไวเ้ ปน็ การเฉพาะ ในรฐั ธรรมนญู แลว้ การใดทมี่ ิได้ห้ามหรอื จาํ กดั ไวใ้ นรัฐธรรมนญู หรอื ในกฎหมายอน่ื บคุ คล ย่อมมสี ิทธิและเสรีภาพทจี่ ะทาํ การนั้นไดแ้ ละไดร้ บั ความคมุ้ ครองตามรัฐธรรมนญู ตราบเท่าท่ี การใช้สิทธิหรือเสรภี าพเชน่ วา่ นนั้ ไมก่ ระทบกระเทอื นหรือเปน็ อนั ตรายตอ่ ความม่ันคงของรฐั ความสงบเรียบร้อยหรอื ศลี ธรรมอันดขี องประชาชน และไม่ละเมดิ สิทธิหรือเสรภี าพของบคุ คล อ่นื

  โค่นขอ้ สอบครู โดยอาจารยอ์ อ๊ ฟ 4  มาตรา 27 บุคคลยอ่ มเสมอกนั ในกฎหมาย มสี ทิ ธิและเสรภี าพและได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่า เทยี มกนั >>> ชายและหญงิ มีสทิ ธิเทา่ เทียมกนั มาตรา 28 บุคคลย่อมมสี ิทธิและเสรีภาพในชวี ติ และร่างกาย มาตรา 31 บุคคลยอ่ มมเี สรภี าพบริบูรณใ์ นการถอื ศาสนาและ มาตรา 32 บคุ คลยอ่ มมสี ิทธใิ นความเปน็ อยู่ส่วนตวั เกียรติยศ ช่ือเสียง และครอบครวั มาตรา 33 บคุ คลยอ่ มมีเสรีภาพในเคหสถาน มาตรา 34 บุคคลย่อมมีเสรภี าพในการแสดงความคิดเหน็ การพดู การเขียน การพิมพก์ ารโฆษณา และ การส่ือความหมายโดยวธิ อี ื่น มาตรา 35 บคุ คลซึง่ ประกอบวิชาชีพสื่อมวลชนยอ่ มมีเสรีภาพในการเสนอข่าวสาร หรอื การแสดง ความคิดเห็นตามจริยธรรมแหง่ วิชาชพี มาตรา 44 บคุ คลย่อมมเี สรภี าพในการชมุ นมุ โดยสงบและปราศจากอาวธุ หมวด ๔ หน้าทีข่ องปวงชนชาวไทย >>> 1 มาตรา (50) มาตรา 50 บุคคลมีหนา้ ท่ี ดงั ตอ่ ไปน้ี (1) พทิ กั ษ์รักษาไวซ้ ่ึงชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ (2) ป้องกนั ประเทศ พิทักษร์ ักษาเกียรตภิ มู ิ ผลประโยชน์ของชาติ และสาธารณสมบตั ขิ องแผ่นดิน รวมท้ังให้ความรว่ มมอื ในการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั (3) ปฏบิ ตั ิตามกฎหมายอยา่ งเครง่ ครดั (4) เขา้ รบั การศึกษาอบรมในการศกึ ษาภาคบงั คบั *** (5) รับราชการทหารตามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ิ (6) เคารพและไมล่ ะเมดิ สทิ ธิและเสรภี าพของบุคคลอื่น และไม่กระทาํ การใดทอี่ าจกอ่ ใหเ้ กิด ความแตกแยกหรือเกลียดชงั ในสังคม (7) ไปใชส้ ิทธเิ ลือกตงั้ หรือลงประชามติอยา่ งอิสระโดยคํานึงถึงประโยชนส์ ่วนรวมของประเทศ เปน็ สาํ คัญ (8) รว่ มมอื และสนบั สนุนการอนุรกั ษ์และคุ้มครองส่งิ แวดลอ้ ม ทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลาย ทางชวี ภาพ รวมทงั้ มรดกทางวฒั นธรรม (9) เสยี ภาษอี ากรตามทีก่ ฎหมายบญั ญตั ิ (10) ไมร่ ่วมมอื หรอื สนับสนนุ การทุจรติ และประพฤติมิชอบทกุ รปู แบบ

  โค่นขอ้ สอบครู โดยอาจารย์อ๊อฟ 5  หมวด ๕ หนา้ ท่ีของรัฐ >>>มี 13 มาตรา (51 – 63) มาตรา 54  รฐั ต้องดาํ เนนิ การให้เดก็ ทกุ คนได้รับการศึกษาเป็นเวลา 12 ปี ต้งั แตก่ อ่ นวัยเรียนจนจบการศึกษา ภาคบังคบั อย่างมคี ุณภาพโดยไมเ่ กบ็ คา่ ใชจ้ า่ ย  รฐั ต้องดาํ เนนิ การให้เดก็ เล็กได้รบั การดูแลและพัฒนากอ่ นเข้ารบั การศึกษาตามวรรคหนงึ่ เพ่อื พัฒนาร่างกาย จติ ใจ วนิ ัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาใหส้ มกบั วัย โดยส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ให้องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ และภาคเอกชนเข้ามีสว่ นร่วมในการดาํ เนินการดว้ ย  รัฐตอ้ งดําเนนิ การใหป้ ระชาชนได้รบั การศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ รวมทง้ั ส่งเสริม ให้มีการเรยี นรู้ตลอดชีวติ และจัดให้มกี ารรว่ มมอื กันระหวา่ งรฐั องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ และ ภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรฐั มหี น้าทีด่ ําเนินการ กาํ กบั ส่งเสริม และสนับสนุน ให้การจัดการศกึ ษาดงั กล่าวมคี ุณภาพและไดม้ าตรฐานสากล ทัง้ น้ี ตามกฎหมายว่าดว้ ย การศึกษาแหง่ ชาติซง่ึ อย่างนอ้ ยตอ้ งมบี ทบัญญัตเิ ก่ียวกับการจัดทาํ แผนการศกึ ษาแห่งชาติ และการ ดาํ เนนิ การและตรวจสอบการดาํ เนินการ ให้เป็นไปตามแผนการศกึ ษาแห่งชาติดว้ ย  การศึกษาท้งั ปวงตอ้ งมงุ่ พฒั นาผ้เู รยี นให้เป็นคนดี มวี นิ ยั ภูมใิ จในชาติ สามารถเช่ียวชาญได้ ตามความถนัดของตน และมีความรบั ผิดชอบตอ่ ครอบครัว ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ  ในการดําเนนิ การใหเ้ ดก็ เล็กได้รับการดูแลและพฒั นาตามวรรคสอง หรอื ให้ประชาชนได้รบั การศึกษาตามวรรคสาม รัฐตอ้ งดําเนนิ การให้ผขู้ าดแคลนทนุ ทรพั ยไ์ ดร้ บั การสนับสนนุ คา่ ใชจ้ ่ายใน การศกึ ษาตามความถนัดของตน  ใหจ้ ดั ตงั้ กองทนุ เพื่อใชใ้ นการช่วยเหลอื ผ้ขู าดแคลนทุนทรัพย์ เพ่อื ลดความเหลอ่ื มล้ําใน การศกึ ษา และเพื่อเสริมสรา้ งและพฒั นาคุณภาพและประสทิ ธิภาพครู โดยใหร้ ัฐจัดสรรงบประมาณ ให้แกก่ องทุนหรอื ใชม้ าตรการหรือกลไกทางภาษีรวมท้งั การใหผ้ บู้ รจิ าคทรัพยส์ นิ เข้ากองทนุ ได้รับ ประโยชน์ในการลดหยอ่ นภาษีด้วย ท้ังนี้ ตามท่ีกฎหมายบญั ญัติ ซง่ึ กฎหมายดงั กลา่ วอย่างน้อยต้อง กําหนดใหก้ ารบริหารจัดการกองทนุ เป็นอิสระและกาํ หนดให้มีการใชจ้ า่ ยเงินกองทุนเพอื่ บรรลุ วัตถุประสงค์ดงั กลา่ ว

  โค่นข้อสอบครู โดยอาจารยอ์ อ๊ ฟ 6  หมวด 6 แนวนโยบายแหง่ รฐั (64 – 73) มาตรา 65 รัฐพงึ จดั ให้มียุทธศาสตรช์ าตเิ ปน็ เปา้ หมายการพฒั นาประเทศ มาตรา 67 รัฐพึงอปุ ถัมภแ์ ละคุ้มครองพระพทุ ธศาสนาและศาสนาอ่ืน หมวด 7 รัฐสภา มาตรา 79 รฐั สภา = สภาผูแ้ ทนราษฎร + วุฒสิ ภา มาตรา 80 ประธานสภาผ้แู ทนราษฎร เป็นประธานรฐั สภา ประธานวฒุ สิ ภา เปน็ รองประธานรฐั สภา มาตรา 83 สภาผ้แู ทนราษฎรประกอบด้วยสมาชิกจํานวน 500 คน ดงั น้ี (1) สมาชกิ ซ่งึ มาจากการเลอื กต้ังแบบแบ่งเขตเลือกตั้งจํานวน 350 คน (2) สมาชิกซง่ึ มาจากบญั ชีรายชอื่ ของพรรคการเมอื งจํานวน 150 คน มาตรา 95 บคุ คลผู้มคี ุณสมบัติดงั ตอ่ ไปนี้ เปน็ ผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตัง้ (1) มสี ัญชาติไทย แต่บคุ คลผูม้ ีสัญชาติไทยโดยการแปลงสญั ชาติ ตอ้ งไดส้ ัญชาติไทยมาแลว้ ไม่นอ้ ยกว่า 5 ปี (2) มอี ายุไมต่ ํ่ากว่า 18 ปใี นวันเลอื กตั้ง (3) มีชอื่ อยูใ่ นทะเบียนบา้ นในเขตเลอื กตง้ั มาแลว้ เปน็ เวลาไม่น้อยกว่า 90 วัน นับถงึ วันเลอื กตงั้ มาตรา 96 บคุ คลผ้มู ีลกั ษณะดังต่อไปน้ีในวนั เลอื กตง้ั เปน็ บคุ คลตอ้ งหา้ มมิใหใ้ ชส้ ทิ ธเิ ลือกตง้ั (1) เปน็ ภกิ ษุ สามเณร นกั พรต หรอื นักบวช (2) อยู่ในระหวา่ งถกู เพกิ ถอนสิทธิเลือกต้งั ไมว่ า่ คดนี ัน้ จะถึงท่ีสุดแลว้ หรือไม่ (3) ต้องคมุ ขังอย่โู ดยหมายของศาลหรือโดยคาํ สั่งทช่ี อบดว้ ยกฎหมาย (4) วกิ ลจรติ หรอื จิตฟ่ันเฟือนไม่สมประกอบ

  โค่นข้อสอบครู โดยอาจารยอ์ ๊อฟ 7  มาตรา 97 บคุ คลผู้มีคณุ สมบตั ิดังต่อไปนี้ เป็นผมู้ ีสิทธสิ มัครรับเลือกตัง้ เปน็ สมาชิก สภาผแู้ ทนราษฎร (500 คน / เลือกตง้ั / อายไุ ม่ตา่ํ กวา่ 25 / วาระ 4) (1) มสี ญั ชาติไทยโดยการเกดิ (2) มอี ายไุ ม่ตา่ํ กวา่ 25 ปนี ับถงึ วันเลอื กต้งั (3) เปน็ สมาชกิ พรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนงึ่ แต่เพยี งพรรคการเมืองเดียว เป็นเวลาตดิ ตอ่ กันไมน่ อ้ ยกว่า 90 วนั นับถึงวันเลือกต้ัง เว้นแตใ่ นกรณที ม่ี ีการเลือกต้ังท่ัวไปเพราะเหตยุ บุ สภาระยะเวลา 90 วัน>>>เหลอื 30 วนั มาตรา 99 สภาผแู้ ทนราษฎร >>> มกี าํ หนดคราวละ 4 ปี นับแตว่ นั เลอื กตง้ั วุฒิสภา (200 คน / เลอื กกนั เอง / อายไุ มต่ ่าํ กวา่ 40 / ปสก. ไมน่ ้อยกว่า 10 / วาระ 5) มาตรา 107 วุฒสิ ภาประกอบดว้ ยสมาชิกจํานวน 200 คน ซง่ึ มาจากการเลอื กกันเอง ของบุคคลซ่ึงมี ความรู้ ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ อาชพี ลกั ษณะ หรือประโยชน์รว่ มกนั หรอื ทํางาน หรอื เคยทํางานด้านต่าง ๆ ที่หลากหลายของสงั คม โดยในการแบง่ กล่มุ ตอ้ งแบง่ ในลักษณะที่ทาํ ให้ประชาชนซ่งึ มีสทิ ธิสมคั รรับเลอื กทกุ คนสามารถอยูใ่ นกลุ่มใดกลุม่ หนึ่งได้ มาตรา 108 สมาชิกวุฒสิ ภาต้องมีคุณสมบัตแิ ละไม่มีลกั ษณะตอ้ งห้าม ดังตอ่ ไปนี้ (1) มสี ญั ชาตไิ ทยโดยการเกิด (2) มอี ายไุ มต่ า่ํ กว่า 40 ปใี นวนั สมัครรับเลือก (3) มคี วามรู้ ความเชย่ี วชาญ และประสบการณ์ หรอื ทํางานในด้านที่สมัครไมน่ ้อยกวา่ 10 ปี หรือเป็นผูม้ ลี ักษณะตามหลกั เกณฑ์และเง่ือนไขท่บี ัญญตั ิไว้ในพระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู ว่าด้วยการไดม้ าซึง่ สมาชิกวุฒสิ ภา (4) เกิด มีช่ืออยู่ในทะเบียนบา้ น ทํางาน หรอื มคี วามเก่ียวพันกับพน้ื ท่ที ีส่ มัครตามหลักเกณฑ์ และเง่อื นไขที่บัญญตั ิไวใ้ นพระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนญู วา่ ดว้ ยการไดม้ าซงึ่ สมาชกิ วุฒิสภา มาตรา 109 อายุของวฒุ สิ ภามีกาํ หนดคราวละ 5 ปนี บั แต่วันประกาศผลการเลอื ก

  โคน่ ขอ้ สอบครู โดยอาจารยอ์ อ๊ ฟ 8  มาตรา 130 ให้มพี ระราชบัญญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู ดงั ต่อไปนี้ (1) พระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู ว่าดว้ ยการเลอื กต้ังสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (2) พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ด้วยการได้มาซึง่ สมาชิกวฒุ สิ ภา (3) พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนญู ว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกต้ัง (4) พระราชบญั ญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู ว่าดว้ ยพรรคการเมอื ง (5) พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู ว่าดว้ ยผ้ตู รวจการแผ่นดนิ (6) พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ (7) พระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ด้วยการตรวจเงินแผ่นดนิ (8) พระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนญู ว่าดว้ ยวธิ พี จิ ารณาของศาลรัฐธรรมนญู (9) พระราชบัญญตั ปิ ระกอบรัฐธรรมนญู วา่ ด้วยวธิ ีพจิ ารณาคดอี าญาของผ้ดู ํารงตําแหนง่ ทางการเมอื ง (10) พระราชบัญญตั ิประกอบรฐั ธรรมนญู ว่าดว้ ยคณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแหง่ ชาติ คณะรฐั มนตรี มาตรา 158 พระมหากษตั รยิ ท์ รงแตง่ ตัง้ นายกรฐั มนตรี และรฐั มนตรอี น่ื อกี ไม่เกนิ 35 คน ประกอบเปน็ คณะรัฐมนตรี  มีหนา้ ที่บริหารราชการแผ่นดินตามหลักความรับผิดชอบร่วมกัน  นายกรฐั มนตรจี ะดํารงตําแหน่งรวมกนั แลว้ เกนิ 8 ปมี ิได้ ทั้งนี้ ไม่วา่ จะเป็นการดาํ รง ตําแหนง่ ตดิ ต่อกันหรอื ไม่ แตม่ ิใหน้ ับรวมระยะเวลาในระหว่างที่อยู่ปฏบิ ตั ิหน้าท่ีต่อไป หลังพ้นจากตาํ แหนง่ มาตรา 160 รฐั มนตรตี ้อง  มีสญั ชาติไทยโดยการเกิด  มีอายไุ ม่ตาํ่ กว่า 35 ปี  สําเร็จการศกึ ษาไมต่ ํ่ากว่าปริญญาตรหี รอื เทยี บเทา่ (อนื่ ๆ อีก) หมวด 9 การขัดกันแหง่ ผลประโยชน์ หมวด 10 ศาล >>> ศาลยตุ ธิ รรม /ศาลปกครอง /ศาลทหาร หมวด 11 ศาลรฐั ธรรมนญู

  โคน่ ข้อสอบครู โดยอาจารยอ์ อ๊ ฟ 9  หมวด 12 องคก์ รอสิ ระ คณะกรรมการการเลอื กตั้ง(กกต.) >>> 7 คน 7 ปี มาตรา 222 คณะกรรมการการเลอื กตง้ั ประกอบดว้ ยกรรมการจาํ นวน 7 คนซึง่ พระมหากษัตริย์ ทรงแต่งต้งั ตามคาํ แนะนาํ ของวฒุ สิ ภา มาตรา 223 กรรมการการเลือกต้งั มวี าระการดาํ รงตําแหน่ง 7 ปี ผตู้ รวจการแผ่นดนิ >>> 3 คน 7 ปี มาตรา 228 ผตู้ รวจการแผ่นดินมีจํานวน 3 คน ซง่ึ พระมหากษตั รยิ ท์ รงแตง่ ตง้ั ตามคําแนะนาํ ของวุฒิสภา มาตรา 229 ผตู้ รวจการแผน่ ดนิ มีวาระการดํารงตาํ แหน่ง 7 ปี คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ แห่งชาติ (ป.ป.ช.) >>> 9 คน 7 ปี มาตรา 232 ป.ป.ช. ประกอบดว้ ยกรรมการจาํ นวน 9 คน ซึง่ พระมหากษตั รยิ ์ทรงแต่งตง้ั ตามคาํ แนะนาํ ของวุฒิสภาจากผูซ้ ึ่งไดร้ ับการสรรหาโดยคณะกรรมการสรรหา มาตรา 233 กรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติมีวาระการดาํ รงตาํ แหน่ง 7 ปี คณะกรรมการตรวจเงินแผน่ ดนิ (คตง.) >>> 7 คน 7 ปี มาตรา ๒๓๘ คณะกรรมการตรวจเงนิ แผน่ ดินประกอบดว้ ยกรรมการจํานวน 7 คน ซงึ่ พระมหากษัตริยท์ รงแตง่ ตงั้ ตามคาํ แนะนาํ ของวุฒสิ ภา จากผู้ซึง่ ได้รับการสรรหาโดยคณะกรรมการสรรหา มาตรา ๒๓๙ กรรมการตรวจเงินแผ่นดนิ มีวาระการดาํ รงตาํ แหนง่ 7 ปี คณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ (กสม.) >>> 7 คน 7 ปี มาตรา 246 คณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแหง่ ชาตปิ ระกอบดว้ ยกรรมการจาํ นวน 7 คน ซึ่งพระมหากษตั ริย์ ทรงแต่งตงั้ ตามคําแนะนําของวุฒสิ ภาจากผซู้ ง่ึ ได้รับการสรรหามวี าระการดาํ รงตาํ แหน่ง 7 ปี และอนื่ ฯ        

  โคน่ ขอ้ สอบครู โดยอาจารยอ์ ๊อฟ 10  หมวด 16 การปฏริ ปู ประเทศ มาตรา 257 การปฏิรปู ประเทศตามหมวดน้ีต้องดําเนนิ การเพอ่ื บรรลเุ ปา้ หมาย ดังตอ่ ไปนี้ (1) ประเทศชาตมิ คี วามสงบเรยี บรอ้ ย มีความสามคั คีปรองดอง มกี ารพัฒนาอย่างยัง่ ยืนตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง และมีความสมดุลระหวา่ งการพฒั นาดา้ นวัตถุกบั การพัฒนาด้านจติ ใจ (2) สงั คมมคี วามสงบสขุ เปน็ ธรรม และมีโอกาสอันทัดเทียมกันเพอ่ื ขจดั ความเหลอ่ื มล้าํ (3) ประชาชนมคี วามสขุ มคี ุณภาพชวี ติ ท่ดี ี และมีสว่ นร่วมในการพัฒนาประเทศและการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ มาตรา 258 ใหด้ ําเนนิ การปฏิรูปประเทศอยา่ งน้อยในดา้ นต่าง ๆ ให้เกิดผล จ. ดา้ นการศกึ ษา (1) ใหส้ ามารถเริ่มดําเนนิ การให้เด็กเลก็ ได้รบั การดแู ลและพฒั นาก่อนเขา้ รบั การศึกษาตามมาตรา ๕๔ วรรคสอง เพอ่ื ให้เด็กเล็กไดร้ บั การพัฒนาร่างกาย จิตใจ วนิ ัย อารมณ์ สังคม และสติปัญญาให้สมกบั วยั โดย ไม่เก็บคา่ ใชจ้ ่าย (2) ใหด้ าํ เนนิ การตรากฎหมายเพื่อจดั ต้งั กองทุนตามมาตรา 54 วรรค 6 ใหแ้ ล้วเสรจ็ ภายใน 1 ปีนับแตว่ นั ประกาศใช้รฐั ธรรมนญู นี้ (3) ใหม้ กี ลไกและระบบการผลิต คัดกรองและพฒั นาผู้ประกอบวชิ าชีพครูและอาจารย์ ให้ไดผ้ ู้มีจติ วิญญาณของความเปน็ ครู มคี วามรคู้ วามสามารถอยา่ งแทจ้ ริง ไดร้ ับค่าตอบแทนท่เี หมาะสมกับ ความสามารถ และประสิทธิภาพในการสอน รวมทงั้ มกี ลไกสรา้ งระบบคณุ ธรรมในการบรหิ ารงานบคุ คลของผปู้ ระกอบวิชาชพี ครู (4) ปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นการสอนทกุ ระดับเพื่อให้ผูเ้ รยี นสามารถเรียนไดต้ ามความถนดั และปรบั ปรงุ โครงสร้างของหน่วยงานทเ่ี กยี่ วข้องเพอื่ บรรลเุ ปา้ หมายดงั กล่าว โดยสอดคล้องกันทั้งในระดับชาติ และระดบั พ้ืนท่ี มาตรา 261 ในการปฏริ ูปตามมาตรา 258 จ. ดา้ นการศกึ ษา ให้มีคณะกรรมการที่มคี วามเป็นอสิ ระคณะ หน่งึ ทค่ี ณะรัฐมนตรีแต่งต้ังดําเนินการศึกษาและจดั ทาํ ขอ้ เสนอแนะและรา่ งกฎหมายที่เกย่ี วขอ้ งในการ ดาํ เนนิ การใหบ้ รรลเุ ป้าหมายเพื่อเสนอคณะรฐั มนตรีดาํ เนนิ การตอ่ ไป

  โค่นข้อสอบครู โดยอาจารยอ์ อ๊ ฟ 11  บทเฉพาะกาล มาตรา 263 ในระหวา่ งทีย่ ังไมม่ สี ภาผแู้ ทนราษฎรและวฒุ สิ ภาตามรฐั ธรรมนญู น้ี  ใหส้ ภานติ บิ ญั ญตั ิแห่งชาติท่ตี งั้ ขน้ึ ตามรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย (ฉบับ ชั่วคราว) พทุ ธศักราช 2557 ยงั คงทาํ หน้าทีร่ ัฐสภา สภาผแู้ ทนราษฎร และวุฒสิ ภา ต่อไป และใหส้ มาชกิ สภานติ ิบญั ญตั แิ ห่งชาติ  ซ่งึ ดํารงตาํ แหน่งอยใู่ นวันก่อนวนั ประกาศใช้รฐั ธรรมนญู น้ี ทาํ หน้าท่เี ปน็ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรหรือสมาชกิ วฒุ สิ ภา ตามลาํ ดบั ตามบทบัญญัติแห่ง รัฐธรรมนญู น้ี และให้สภานิติบญั ญตั ิแหง่ ชาติ  สมาชกิ สภานติ บิ ญั ญตั ิแห่งชาตสิ ิ้นสดุ ลงในวนั กอ่ นวนั เรยี กประชุมรฐั สภาคร้ังแรก ภายหลงั การเลือกตัง้ ท่ัวไปที่จดั ขนึ้ ตามรฐั ธรรมนูญน้ี มาตรา 264 ให้คณะรกั ษาความสงบแห่งชาติท่ีดาํ รงตาํ แหนง่ อยใู่ นวนั กอ่ นวนั ประกาศใชร้ ฐั ธรรมนูญนี้ ยงั คงอยู่ในตําแหน่งเพ่อื ปฏบิ ัตหิ นา้ ทตี่ อ่ ไปจนกวา่ คณะรัฐมนตรที ่ีตัง้ ขน้ึ ใหม่ภายหลังการ เลอื กต้งั ท่วั ไปครั้งแรกตามรฐั ธรรมนญู น้ีจะเขา้ รบั หนา้ ท่ีในระหว่างการปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ตาม วรรคหนงึ่ ให้หัวหน้าคณะรกั ษาความสงบแห่งชาติและคณะรกั ษาความสงบแห่งชาตยิ ังคงมี หน้าทแ่ี ละอาํ นาจตามทีบ่ ญั ญัติไวใ้ นรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย (ฉบบั ช่วั คราว) พทุ ธศักราช 2557 ซึ่งแก้ไขเพ่มิ เติมโดยรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย (ฉบับชัว่ คราว) พทุ ธศักราช 2557 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 1) พทุ ธศกั ราช 2558 และรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย (ฉบับช่ัวคราว) พุทธศกั ราช 2557 แกไ้ ขเพิ่มเตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พุทธศักราช 2559 และให้ถอื วา่ บทบัญญัติของรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทยดังกลา่ วในส่วนที่เกย่ี วกบั อาํ นาจของหัวหนา้ คณะรกั ษาความสงบแห่งชาติและคณะรกั ษาความสงบแห่งชาตยิ ังคงมีผลใช้ บงั คับได้ต่อไป มาตรา 267 ให้คณะกรรมการรา่ งรฐั ธรรมนญู ท่ตี ้งั ข้นึ ตามรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย(ฉบบั ช่วั คราว) พทุ ธศักราช 2557 ซึง่ แกไ้ ขเพิ่มเติมโดยรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย (ฉบบั ช่ัวคราว) พทุ ธศกั ราช 2557 แกไ้ ขเพม่ิ เตมิ (ฉบับท่ี 1) พุทธศักราช 2558 และรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย(ฉบับชั่วคราว) พทุ ธศกั ราช 2557 แกไ้ ขเพ่มิ เติม (ฉบบั ท่ี /) พุทธศักราช 2559 อยปู่ ฏบิ ัติหนา้ ทีต่ อ่ ไป  เพื่อจัดทาํ ร่างพระราชบญั ญตั ิประกอบรฐั ธรรมนญู ดงั ต่อไปน้ใี หแ้ ลว้ เสร็จ และเสนอ ตอ่ สภานิติบัญญตั ิแหง่ ชาตเิ พอื่ พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบต่อไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook