50
51
52
53
54
การขบั เคล่ือนงานพฒั นาองคก์ าร เพื่อขอรับสมคั รรางวลั เลศิ รัฐ
การขับเคลื่อนงานพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจัดการภาครฐั (PMQA) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) เป็นเคร่ืองมือการพัฒนาองค์การตามยุทธศาสตร์หลักในการยกระดับคุณภาพ ระบบราชการไทยให้มีศักยภาพและขีดความสามารถเทียบเท่าระดับสากล สานักงาน ก.พ.ร. จึงได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้ส่วนราชการนาไปใช้ ในการประเมนิ องค์การดว้ ยตนเองทีค่ รอบคลุมภาพรวมในทกุ มติ ิ เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล โดยมุ่งเน้นให้ หน่วยงานราชการปรับปรุงองค์การอย่างรอบด้านและอย่างต่อเน่ือง 7 ด้าน ได้แก่ 1. การนาองค์การ 2. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 3. การให้ ความสาคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 5. การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 6. การจัดการ กระบวนการ และ 7. ผลลัพธ์การดาเนินการ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2549 สานักงาน ก.พ.ร.ได้นา PMQA มาใช้เป็นตัวช้ีวัดกับหน่วยงานราชการ ซ่ึงกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ก็ได้ นาเกณฑค์ ุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award: PMQA) มาใช้การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ ตามคารับรองการปฏิบัติราชการ ซ่ึงมีจุดเน้นอยู่ที่การเรียนรู้และเข้าใจเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ในระยะต่อมาปี พ .ศ.2550-2551 กรมมุ่งเน้นดาเนินการตามแนวทาง ADLI ควบคู่กับการเรียนรู้และเข้าใจเกณฑ์ โดยเร่ิมจากการประเมินองค์กร หาจุดแข็ง วิเคราะห์โอกาสในการ ปรับปรุง (Gap) จัดทาแผนปรับปรุงองค์การ ดาเนินการปรับปรุงองค์การ และติดตามประเมินผล โดยผ่านคณะกรรมการและคณะทางานพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของกรม ท่ีมีการปรับเปลี่ยนองค์ประกอบและรูปแบบการทางานให้เหมาะสมมาอย่างต่อเน่ือง และในปี 2552 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ก็ได้มีการพัฒนาองค์การตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level : FL) ท่ีสานักงาน ก.พ.ร. ได้กาหนดขึ้นและผ่านการตรวจประเมินตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐข้ันพ้ืนฐาน ในระดับ Certify FL ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2556 56
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559-2560 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ส่งผลงานสมัครขอรับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ รายหมวด หมวด 1 การนาองคก์ ารและความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม , หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และการส่ือสารเพ่ือนาไปสู่การปฏิบัติ, หมวด 6 กระบวนการคณุ ภาพและนวัตกรรม และได้รับรางวัลคุณภาพการบริหารจดั การภาครัฐ หมวด 6 กระบวนการคุณภาพและนวัตกรรม ซึ่งเป็นปีแรกท่ีส่งสมัครขอรับรางวัล และมีการพัฒนาองค์การอย่างต่อเนื่องภายใต้การนาของผู้บริหารอย่างมีวิสัยทัศน์ทาให้ในปีงบประม าณ พ.ศ.2560 กรมได้รับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐหมวด 1 การนาองค์การและความรับผิดชอบต่อสังคม ต่อมาในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กรมได้ส่งผลงานสมัครขอรับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐรายหมวด โดยกรมสามารถเข้าถึงรอบการตรวจประเมิน ณ พื้นท่ี (Site Visit) ในหมวด 3 การมุ่งเน้นผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซ่ึงผลการพิจารณาจากคณะกรรมการตัดสินให้กรมไม่ผ่าน เกณฑ์การประเมินรางวัลฯ และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 กรมได้ส่งผลงานสมัครขอรับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐรายหมวด และสามารถผ่านเขา้ รอบการตรวจประเมนิ ณ พ้ืนที่ (Site Visit) ในหมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และการส่ือสารเพ่ือนาไปสู่การปฏิบัติ ซึ่งผลการพิจารณาจากคณะกรรมการตดั สินใหก้ รมไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ รางวลั ฯ สาหรับในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 กรมยังมีความมุ่งม่ันตั้งใจในการพัฒนาผลงานตลอดจนการบริหารจัดการองค์การตาม แนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) และคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 4.0 (PMQA4.0) ให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล บรรลุผลแห่งความสาเร็จ ประกอบกับกรมมีความพร้อมในการขอรับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐรายหมวด ในหมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์และการสื่อสารเพื่อนาไปสู่การปฏิบัติ หมวด 3 การมุ่งเน้นผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ หมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ท้ังน้ี ผลการพิจารณาจากคณะกรรมการ รอบ 1 และ 2 กรมสามารถผ่านเข้ารอบการ ตรวจประเมนิ ณ พนื้ ที่ (Site Visit) ในหมวด 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ โดยคณะกรรมการจากสานักงาน ก.พ.ร. มาตรวจ ประเมินเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2563 โดยผลการพิจารณาของคณะกรรมการตัดสินให้กรมผ่านเกณฑ์การประเมินรางวัลฯ และกรมยังได้ ขอรับรางวลั คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 4.0 ซึ่งผลการพิจารณาจากคณะกรรมการในรอบที่ 1 ยังไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินรางวัล กลุ่ม พัฒนาระบบบริหารในฐานะหน่วยงานหลักในการพัฒนาระบบราชการ ยังคงมุ่งเน้นการขับเคล่ือนงานพัฒนาองค์การตามแนวทาง PMQA และ PMQA4.0 อย่างต่อเน่ือง โดยการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้หน่วยงานได้นาเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐและคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ 4.0 ไปประยุกต์ใช้กับหน่วยงานของตนเอง เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน การบริหาร จัดการองคก์ ารตลอดจนการคน้ หาโอกาสในการปรับปรงุ อย่างตอ่ เนอ่ื ง 57
การสนับสนุนและผลักดนั ให้หน่วยงานเสนอผลงานสมัครขอรับรางวัลเลศิ รัฐ สาขาบรหิ ารจดั การภาครฐั ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 สานักงาน ก.พ.ร. มุ่งเน้นให้ส่วนราชการพัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการของหน่วยงานภาครัฐ สอดคล้องกับพระราชบัญญัติระเบียบ บรหิ ารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 บัญญัติว่า “การบริหารราชการต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน…” และ เพ่ือประโยชน์ในการดาเนินการให้เป็นไปตามมาตราน้ี ได้ตราพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ .ศ. 2546 กาหนดเปา้ หมายของการบรหิ ารกิจการบ้านเมืองท่ีดีให้เป็นไปเพอื่ ประโยชน์สุขของประชาชน นอกจากนี้ในยุทธศาสตร์ชาติ(พ.ศ. 2561 - 2580) ยุทธศาสตร์ท่ี 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐได้ วางเปา้ หมาย การยกระดับงานบริการประชาชนและการอานวยความสะดวกของภาครัฐสู่ความเป็นเลิศ รวมท้ังแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 การบรหิ ารจัดการภาครฐั การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ และธรรมาภิบาลใน สงั คมไทย โดยมแี ผนงานและโครงการทีส่ าคญั ขอ้ 5.3 การเพมิ่ ประสิทธิภาพและคณุ ภาพการบริหารงานแหง่ รัฐ ซ่ึงมีสาระสาคัญ 2 ประการ คือ 1) ส่งเสริมและสนับสนุนหน่วยงานของรัฐในการพัฒนาระบบราชการให้บริการให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้หน่วยงานของรัฐมีสมรรถนะองค์การ และกลไกภาครฐั ท่ีจาเปน็ ต่อการแข่งขนั ของประเทศใหส้ งู ขน้ึ สคู่ วามเปน็ เลิศ และ 2) อานวยความสะดวกให้ภาคเอกชนและภาคสว่ นอนื่ ๆ ได้รับ การสนับสนุนอย่างเต็มที่ และมีการให้บริการสาธารณะทั้งระบบดีขึ้น ทั้งด้านปริมาณ และคุณภาพท่ีจะส่งผลให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการ ให้บริการประชาชนได้อย่างท่ัวถึงและเป็นระบบ สานักงาน ก.พ.ร. จึงได้จัดให้มีการมอบรางวัลคุณภาพการให้บริการประชาชนข้ึนในปี พ.ศ. 2547 มีการเปลี่ยนชื่อเร่ือยมาจนกระท่ังในปี พ.ศ. 2562 ได้ปรับเป็น “รางวัลเลิศรัฐ สาขาบริการภาครัฐ” ที่มอบให้กับหน่วยงานของรัฐที่มีผล การพฒั นาคุณภาพการให้บรกิ ารเพ่ือประชาชนได้รบั บรกิ ารท่ีสะดวก รวดเร็ว โปรง่ ใส เป็นธรรม และเปน็ ท่ีพึงพอใจ กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ในฐานะหน่วยงานกลางท่ีมีภารกิจหลักในการขับเคล่ือนงานพัฒนาระบบราชการของ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จึงได้มีการสนับสนุนและผลักดันให้หน่วยงานเสนอผลงานสมัครขอรับรางวัลเลิศรัฐ สาขาบริหารจัดการภาครัฐมา อย่างตอ่ เนือ่ งในหลายรปู แบบ อาทิ การประชมุ ชแี้ จงการส่งผลงานสมัครขอรับรางวัลบริการภาครัฐประจาปี,การส่งบุคลากรและผู้สนใจเข้าร่วม อบรมแนวทางการเขียนผลงานเพ่ือสมัครรับรางวัลบริการภาครัฐของสานักงาน ก.พ.ร. และของกระทรวงสาธารณสุข,การอบรมแนวทางการ เขียนผลงานเพอื่ สมคั รรับรางวัลบริการภาครัฐท่ีจัดข้ึนภายในกรม รวมถึงเป็นหน่วยงานกลางในการประสานรวบรวมผลงานเพ่ือสมัครรับรางวัล บริการภาครฐั ผ่านระบบออนไลน์ของสานักงาน ก.พ.ร. และในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีหน่วยงานท่ีสนใจส่งผลงานสมัครขอรับรางวัลเลิศรัฐ สาขาบรกิ ารภาครัฐ และได้รับรางวัล จานวน 1 ผลงาน คือ รางวัลบริการภาครัฐ ระดับดีเด่น ประเภทนวัตกรรมบริการ ผลงานชื่อ “นวัตกรรม ไดฟลเู บนซูรอน: กาจดั ยงุ ลายไมท่ าลายส่งิ แวดล้อม เพือ่ สขุ ภาพที่ดขี องประชาชน” ของสานกั วชิ าการวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ 58
นนววัตตั กกรรรรมมไไดดฟฟลลเู บเับนนซซูรอรั อนนผผลลงงาานนททไั่ีไดดร้รับบั รราางงววัลลั TTPPSSAA ปปรระะจจำาปปี 22556633 ปปรระะเเภภททนนววัตตั กกรรรรมมบบรรักกิ าารร รระะดดับบั ดดเัดีเดนน่ กกำาจจดััดยยงังุ ลลาายยไไมมทท่ าำลลาายยสสิ่งงัแแววดดลลอ้ อมมเพเพื่ออัสสุขัขภภาพาพที่ดทีขัดอัขงอปงรปะชราะชชานชน หลกั การ เหตุผล ความจาเป็น ภารกิจหนึ่งของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์คือ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยด้านจุลชีววิทยา พาราสิตวิทยาและแมลงพาหะนาโรคและพัฒนาเทคโนโลยีไปใช้แก้ปัญหา ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ในบรรดาโรคที่นาโดยแมลง โรคไข้เลือดออก จะเป็นโรคที่มีความรุนแรง หากรักษาไม่ทันจะทาให้เสียชีวิตได้ โรคดังกล่าวนา โดยยุงลายซึ่งอาศัยอยู่ในรั้วบ้านของเรา ขณะนี้ยังไม่มีวัคซีนประสิทธิภาพสูงพอที่จะแนะนาให้ประชาชนใช้เพราะวัคซีนป้องกันโรคได้เพียง 65% และยังมี ผลเสียจากการฉีดวัคซีนอีกหลายประการ ในการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อควบคุมโรค กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์จาเป็นต้องเน้นไปที่วิธีป้องกันกาจัดยุงพาหะใน แหล่งเพาะพันธุ์บริเวณบ้าน มำตรกำรและสำรเคมีกำจัดลูกน้ำยุงลำยที่มีในปัจจุบันยังไม่ได้รับกำรยอมรับจำกประชำชน เน่ืองจาก การใส่ทรายทีมีฟอส หรือ ทรายอะเบททาให้น้ามีกลิ่นเหม็น เป็นฝ้าสกปรกตกค้างในสิ่งแวดล้อม การขัดล้างตุ่ม ทาให้สูญเสียทรัพยากรน้า อีกทั้งเริ่มมีรายงานการดื้อต่อสาร ทีมีฟอสของลูกนา้ ยุงปัจจัยความสาเร็จในการควบคุมโรคยังอยู่ไกล ทาให้ประเทศไทยต้องผจญกับวิกฤตไข้เลือดออกมาเป็นเวลากว่าครึ่งศตวรรษ จำเป็นต้องมี กำรวิจัยพัฒนำเทคโนโลยีในกำรป้องกันกำจัดยุงที่ประชำชนยอมรับได้ และเต็มใจนำมำใช้ด้วยตัวเอง เกิดความร่วมมือระหว่างภาครัฐและประชาชนใน การป้องกันกาจัดยุงพาหะอย่างยั่งยืน โดยไม่มีสารตกค้างในส่ิงแวดล้อม และไม่เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตอื่น ผลผลิตและผลลพั ธ์ที่สาคัญ ผลผลิต • ไดต้ ารับสาหรับผลิตยาเมด็ สตู รไดฟลูเบนซูรอน (diflubenzuron)ทีม่ ีประสิทธิภาพ และความคงทนสงู สาหรับยบั ยงั้ การเจรญิ เติบโตของยงุ 1 ตารับ • ไดผ้ ลงานนวัตกรรมตีพมิ พใ์ นวารสารระดบั นานาชาติ 1 เรื่อง • ได้สิทธบิ ัตรการประดษิ ฐ์ ผลลพั ธ์ • ผลการใช้ผลิตภัณฑ์ไดฟลูเบนซูรอนกำจัดลูกน้ำยุงพำหะท่ัวทุกภำคพบว่าพ้ืนท่ี ควบคมุ 5,000 หลังคำเรอื นมยี งุ พำหะไข้เลอื ดออกลดลงประมำณ 25 ล้ำนตัว และไม่พบผู้ปว่ ยไขเ้ ลอื ดออกในบำ้ นทีใ่ ช้ผลติ ภณั ฑ์ไดฟลเู บนซรู อน • ได้ถา่ ยทอดเทคโนโลยกี ารผลติ ให้ผปู้ ระกอบการนาไปผลิตเชงิ พาณชิ ย์ 1 ตารับ • ผู้อ่านผลงานตีพิมพ์ จานวน 300 คน นาข้อมูลไปใช้อ้างอิงทาวิจัยต่อ จานวน 5 เรือ่ ง 59
การพฒั นาโครงสรา้ ง
การพฒั นาโครงสร้าง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ (นายอนทุ ิน ชาญวีรกุล) ได้มอบนโยบายสาคัญให้หน่วยงานในสังกัด กระทรวงสาธารณสุข เม่ือวันท่ี 27 กันยายน 2562 คือ “ลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ ร่างกายแข็งแรง เศรษฐกิจไทยแข็งแรง” ซ่ึงในปีงบประมาณ 2563 นี้ เน้นการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อคนไทยมีคุณภาพชีวิตที่ดี และได้มอบนโยบายให้ทางานร่วมกับภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนโดยเป็น งานสาคญั 5 ดำ้ น ดงั น้ี 1 การพัฒนางานสาธารณสุขตามแนวพระราชดาริ โครงการเฉลิมพระเกียรติ และโครงการทเ่ี ก่ียวเน่อื งกับพระบรมวงศานุวงศ์ทกุ พระองค์ 2 การดูแลให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรง ทั้งทางกาย ทางใจ และมีความม่ันคง ทางสุขภาพ 3 การดแู ลให้ประชาชนได้รบั บรกิ ารทมี่ ีคณุ ภาพ ปลอดภยั ลดความเหล่ือมล้า ลดความแออัด ลดระยะเวลาการรอคอย และลดภาระค่าใช้จา่ ยของประชาชน 4 ผลักดันการพฒั นาเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการแพทย์ และสาธารณสุข 5 การเพ่ิมประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การ อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ มีนโยบายผลักดันให้นาข้อมูลความต้องการของผู้รับบริการมาวิเคราะห์เพื่อพัฒนาห้องปฏิบัติการ ใหม้ มี าตรฐานอย่างครอบคลมุ และพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศของกรมฯ ให้มีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสุดและสนองตอบความต้องการ ของผู้รับบริการ จึงได้มอบหมายให้กลุ่มพัฒนาระบบบริหารจัดทาสั่งจัดต้ัง “ศูนย์ทดสอบความชานาญ (Proficiency Testing Center)” และ “ศูนย์รวมบริการ (One Stop Service Center)” ข้ึนเป็นหน่วยงานภายในของกรมฯ โดยศูนย์ทดสอบความชานาญ ให้นาภารกิจและอัตรากาลังของ กลุ่มประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ภายใต้สานักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ มาจัดต้ังเป็นศูนย์ทดสอบความชานาญ เพ่ือให้กรมฯ มีระบบบริหารจัดการ ในการให้บริการทดสอบความชานาญอย่างเป็นระบบ และผู้รับบริการทดสอบความชานาญได้รับความสะดวก รวดเร็ว มีคุณภาพ และได้มีการ ประเมินผลลพั ธก์ ารดาเนนิ งานเพอ่ื ยกฐานะเป็น “กองทดสอบความชานาญ (Division of Proficiency Testing)” สาหรับศูนย์รวมบริการ น้ันให้ แยกออกจากกองการแพทย์จีโนมิกส์และสนบั สนุนนวัตกรรม เพ่ือให้การบริการรับตัวอย่างตรวจวิเคราะห์คล่องตัวมีประสิทธิภาพ สร้างความพึง พอใจตอ่ ผูร้ ับบริการ และจากสถานการณร์ ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อธบิ ดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้มอบหมาย ให้กลมุ่ พฒั นาระบบบริหารจดั ทาสง่ั จดั ตัง้ “กองความร่วมมือระหว่างประเทศ (Division of International Collaboration)” และ “กองพัฒนา เคร่ืองมือแพทย์ (Division of Medical Devices Development)” อย่างเร่งด่วนเพื่อตอบสนองสถานการณ์ดังกล่าว โดยกองความร่วมมือ ระหว่างประเทศ เป็นการรวมงานของฝ่ายวิเทศสัมพันธ์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข เข้ากับงานวิเทศสัมพันธ์ กลุ่มวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ กองแผนงานและวิชาการ เพ่ือตอบสนองการดาเนินการตามข้อผูกพันระหว่างประเทศท่ีทวีความสาคัญมากขึ้นจากการระบาดของโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้าในปัจจุบัน และกองพัฒนาเคร่ืองมือแพทย์ให้นาภารกิจและอัตรากาลังของกลุ่มเคร่ืองมือแพทย์ ภายใต้สานักรังสีและ เครื่องมือแพทย์ มาจดั ตง้ั เปน็ กองพฒั นาเครอ่ื งมือแพทย์ เพ่อื พัฒนาวธิ กี ารตรวจวิเคราะห์ผลติ ภณั ฑ์สขุ ภาพเกี่ยวกบั เครือ่ งมอื แพทย์รองรับสถานการณ์ในปัจจุบนั ซ่ึงในปจั จุบนั กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ มีหน่วยงำนที่จดั ตงั้ ข้ึนตำมกฎกระทรวง จำนวน 24 หนว่ ยงำน และหนว่ ยงำนท่จี ดั ตัง้ 61 ข้นึ เปน็ กำรภำยใน จำนวน 12 หนว่ ยงำน รวมทั้งหมด 36 หน่วยงำน ดังภาพ
หนว่ ยงานตามกฎกระทรวง 62 หนว่ ยงานที่ตงั้ เป็นการภายใน
การดาเนนิ การตาม พ.ร.บ. อานวยความสะดวก 2558
การดาเนนิ การตาม พ.ร.บ. อานวยความสะดวก 2558 ของกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 พระราชบัญญัติการอานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 เป็นกฎหมายว่าด้วยการอานวยความสะดวก ในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ ใช้บังคับในการอนุญาต การจดทะเบียน หรือการแจ้งที่มีกฎหมายกาหนดให้ต้องขออนุญาตจดทะเบียน หรือแจ้งเพื่อให้มีกฎหมายกลางที่จะกาหนดขั้นตอน ระยะเวลา ในการพิจารณาอนุญาต และมีศูนย์บริการร่วมเพ่ือรับคาร้องและศูนย์รับคาขอ อนุญาต ณ จุดเดียว เพื่อให้ข้อมูลท่ีชัดเจนเกี่ยวกับการขออนุญาตซึ่งจะเป็นการอานวยความสะดวกให้แก่ประชาชนให้เร็วข้ึน (faster) ง่ายข้ึน (easier) และถกู ลง (cheaper) รวมทั้งมงุ่ ใหก้ ารปฏิบัติราชการเป็นไปอย่างโปร่งใส รับผิดชอบ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เกิดประโยชน์สุขกับ ประชาชน โดยมีการประกาศใช้เมื่อวันท่ี 22 มกราคม 2558 และมีผลบังคับใช้ภายใน 180 วัน หลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา ทั้งนี้ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์มีกระบวนงานตามคู่มือประชาชนท่ีจะต้องดาเนินการตาม พ.ร.บ. อานวยความสะดวก 2558 คือ งานรับแจ้ง อนุญาต อนุมัติการผลิต นาเข้า ส่งออก ขาย นาผ่าน หรือมีไว้ในครอบครองเช้ือโรคและพิษจากสัตว์ (พ.ร.บ. เช้ือโรคและพิษจากสัตว์) ของสานัก มาตรฐานห้องปฏิบัติการ การขอหนังสือรับรองรุ่นการผลิตวัคซีนและชีววัตถุสาหรับมนุษย์ที่นาเข้าจากต่างประเทศ/ที่ผลิตในประเทศของสถาบัน ชีววัตถุ งานบริการรับแจ้งครอบครองหรือใช้เคร่ืองกาเนิดรังสีเอกซ์ทางการแพทย์ของสานักรังสีและเคร่ืองมือแพทย์ (อยู่ระหว่างรอประกาศ กระทรวงและยังไม่ได้เผยแพร่บนเว็บไซต์คู่มือประชาชน) และตามมาตรการอานวยความสะดวกและลดภาระแก่ประชาชน (การไม่เรียกสาเนา เอกสารทท่ี างราชการออกใหจ้ ากประชาชน) เนน้ การนา IT มาใช้ในการให้บริการ เพื่อลดขนั้ ตอนและลดระยะเวลาการใหบ้ รกิ าร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กลุ่มพัฒนาระบบบริหารได้มีการติดตามการดาเนินการตามมาตรการอานวยความสะดวกและลดภาระแก่ ประชาชน (การไม่เรียกสาเนาเอกสารที่ทางราชการออกให้จากประชาชน) อย่างต่อเน่ือง โดยได้จัดทาประกาศยกเลิกการขอสาเนาบัตรประจาตัว ประชาชน สาเนาทะเบยี นบ้าน หรอื เอกสารอ่ืนๆ รวมทง้ั เร่งรัดหน่วยงานเจ้าของกระบวนงาน/งานบริการดาเนินการทบทวนและแก้ไขกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศในความรับผิดชอบท่ีมีข้อกาหนดให้ประชาชนต้องยื่นสาเนาเอกสารท่ีทางราชการออกให้ประกอบการขออนุมัติ อนญุ าต รบั รอง รับแจง้ หรือรับจดทะเบียน พรอ้ มทั้งยกเลกิ รายการเอกสารประกอบการอนมุ ตั ิ อนุญาต รับรอง รับแจ้ง หรือรับจดทะเบียนท่ีระบุไว้ ในคู่มือสาหรับประชาชนให้สอดคล้องกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือประกาศท่ีแก้ไขแล้ว พร้อมท้ังแจ้งเวียนแนวทางการดาเนินการไม่ เรียกรับสาเนาเอกสารที่ทางราชการออกให้จากประชาชน ให้หน่วยงานเจ้าหน้าที่ในสังกัดทุกระดับทราบและถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดและเผยแพ ร่ ประชาสมั พนั ธป์ ระกาศยกเลิกการขอสาเนาเอกสารที่ทางราชการออกให้ โดยปิดประกาศให้ประชาชนทราบ ณ จุดให้บริการประชาชนทุกแห่งและ ผ่านทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน ทั้งน้ี ได้รวบรวมปัญหาอุปสรรค ผลการดาเนินการตามมาตรการไม่เรียกรับสาเนาเอกสารที่ทางราชการออกให้จาก ประชาชนของหน่วยงานในสังกัดกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และจัดทาแผนการเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง (ระยะ 3 ปี) ทั้งน้ีได้มีการ รายงานผลการติดตามใหส้ านักงาน ก.พ.ร. เรยี บร้อยแล้วเพอื่ รายงานต่อคณะรัฐมนตรตี ่อไป นอกจากนี้แล้ว กลุ่มพัฒนาระบบบริหารยังมีการติดตามหน่วยงานเจ้าของกระบวนงาน/งานบริการบนเว็บไซต์คู่มือประชาชนให้ดาเนินการ ปรับปรุงรูปแบบของคู่มือสาหรับประชาชน ในรูปแบบ Infographic ในเว็บไซต์ศูนย์รวมข้อมูลเพื่อติดต่อราชการ (www.info.go.th) ได้แก่ คู่มือ กระบวนงานรับแจ้งอนุญาต อนุมัติการผลิต นาเข้า ส่งออก ขาย นาผ่าน หรือมีไว้ในครอบครองเช้ือโรคและพิษจากสัตว์ จานวน 39 ฉบับ และคู่มือ การขอหนังสือรับรองรุ่นการผลติ วัคซีนและชวี วัตถุสาหรับมนุษยท์ ี่นาเขา้ จากต่างประเทศ/ที่ผลิตในประเทศ จานวน 2 ฉบับ 64
ภาพกจิ กรรม กลมุ่ พฒั นาระบบบรหิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563
กลุ่มพฒั นาระบบบรหิ ารจัดอบรมใหค้ วามรแู้ นวทางการประเมนิ สถานะของหนว่ ยงาน ตามเกณฑ์ PMQA 4.0 และการจัดทารายงานผลการดาเนนิ การพฒั นาองคก์ ารสูร่ ะบบราชการ 4.0 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 เม่ือวนั ที่ 19 พฤศจิกายน 2562 66
กลุ่มพฒั นาระบบบริหารจดั โครงการประชมุ ช้แี จงเกณฑ์การประเมนิ ผลการปฏิบตั ริ าชการ ตามคารบั รองการปฏบิ ัติราชการของหน่วยงานในสังกัดกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เมื่อวันที่ 17 ธนั วาคม 2562 67
กลุ่มพัฒนาระบบบรหิ ารจัดโครงการประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการ “การพฒั นาองค์การกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทยต์ ามเกณฑ์คณุ ภาพ การบริหารจัดการภาครฐั ปี พ.ศ. 2562” เม่ือวันท่ี 12 กุมภาพันธ์ 2563 68
69
กลมุ่ พฒั นาระบบบริหารจัดประชมุ เชงิ ปฏบิ ัตกิ าร ”การเตรียมความพร้อมสาหรบั รบั การตรวจประเมนิ รางวัลคณุ ภาพการบรหิ ารจัดการภาครฐั ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 : การวดั วเิ คราะหแ์ ละการจัดการความรู้” เมื่อวนั ท่ี 10 และ 16 กรกฎาคม 2563 v 70
กลุม่ พฒั นาระบบบริหารจดั ประชมุ เตรยี มความพรอ้ มรับ Site Visit หมวด 4 การวัด การวเิ คราะห์ และการจัดการความรู้ เมื่อวนั ท่ี 10 กรกฎาคม 2563 71
สานักงาน ก.พ.ร. ตรวจประเมนิ ณ พ้นื ท่ี (Site Visit) รางวัลคณุ ภาพการบริหารจดั การภาครฐั หมวด 4 การวดั การวเิ คราะห์ และการจัดการความรู้ เม่ือวนั ท่ี 24 กรกฎาคม 2563 72
73
กิจกรรมอื่น ๆ ของกลุ่มพฒั นาระบบบริหาร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 กลมุ่ พัฒนาระบบบริหารร่วมกจิ กรรมจติ อาสาแจกหนา้ กาก อนามัยให้กับประชาชนและร่วมรณรงคก์ ารปอ้ งกนั โรคติดเชอื ไวรัสโคโรนาสายพนั ธใ์ หม่ 2019 เม่อื วันที่ 5 กุมภาพนั ธ์ 2563 และ 2 มีนาคม 2563 กล่มุ พฒั นาระบบบริหาร รว่ มเปน็ เจ้าภาพจดั กิจกรรมทาบญุ ตักบาตร กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ ประจาเดือนมิถุนายน เม่อื วันท่ี 18 มถิ นุ ายน 2563 เข้าร่วมกจิ กรรมและ พิธีเปิดกา้ วทา้ ใจ ซซี น่ั 1 เมื่อวนั ที่ 22 มกราคม 2563 74
คณะผู้จัดทา จดั ทาโดย กล่มุ พัฒนาระบบบริหาร กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ ทป่ี รกึ ษา นางอนงค์ เขือ่ นแกว้ ออกแบบปกและจดั ทารปู เลม่ นางสาวนาทิพย์ สรพมิ พ์ ผู้ร่วมจดั ทา นางสาวทชั ชา สงิ หทะแสน นางสาวอชริ า เหล่าศุภวณิชย์ นายสรุ ยิ มติ ร พุม่ โพธ์งิ าม นางสาวนงรกั ษ์ กจิ ไธสง นางสาวนารรี ตั น์ มาทอง ประสานงานและบรหิ ารจัดการ นางสาวชญานศิ มะวรคนอง พิมพค์ รังท่ี 1 กุมภาพนั ธ์ 2564 75
ขอ้ มูลการติดตอ่ กล่มุ พัฒนาระบบบริหาร อาคาร 14 ชนั 2 และ ชนั 6 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ อาคาร 100 ปี การสาธารณสุขไทย (อาคาร 14) ชั้น 2 ห้อง 219, ชั้น 6 ห้อง 613 โทรศัพท์ : 0 2951 0000 ต่อ 98446-9, 98471-2 โทรสาร : 0 2965 9744 E-mail: bpsd@dmsc.mail.go.th Facebook : https://www.facebook.com/PSDGDMSc เว็บไซต์ : http://www.dmsc.moph.go.th/psddmsc/home.php
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ อาคาร 100 ปี การสาธารณสุขไทย (อาคาร 14) ช้ัน 2 ห้อง 219, ช้ัน 6 ห้อง 613 โทรศัพท์ : 0 2951 0000 ต่อ 98446-9, 98471-2 โทรสาร : 0 2965 9744 e-mail: bpsd@dmsc.mail.go.th เว็บไซต์ http://www.dmsc.moph.go.th/psddmsc/home.php
Search