ประวัติผแู้ ต่ง เจ้าพระยาพระคลัง (หน) เกิดในช่วงปลายสมัยอยุธยา รับราชการในสมัย สมเด็จพระเจ้าตากสิน กรุงธนบุรี โดยมีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงสรวิชิต ต่อมาในรัช สมยั สมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช ไดร้ บั การแตง่ ตั้งให้เปน็ พระยาพิพิฒน โกษา กอ่ นจะเลื่อนมาเป็นเจา้ พระยาพระคลงั เสนาบดจี ตุสดมภก์ รมท่า ซง่ึ นอกจาก ผลงานด้านราชการแล้ว เจ้าพระยาพระคลัง (หน) ยังมีผลงานด้านการประพันธ์ จำนวนมาก เช่น สามก๊ก (ฉบับแปล) ราชาธิราช บทมโหรีเรื่องกากี อิเหนาคำฉันท์ ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก กัณฑก์ มุ าร และกัณฑม์ ทั รี ฯลฯ ลกั ษณะคำประพันธ์ • มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี มีลักษณะคำประพันธ์เป็นแบบร่ายยาว โดย หนึ่งบทจะมีกี่วรรคก็ได้ ส่วนใหญ่จะนิยมแต่ง ๕ วรรคขึ้นไป แต่ละวรรคมี จำนวนคำ ๖-๑๐ คำ และใช้คำสร้อย เช่น นั้นแล แล้วแล ดังนี้ ฯลฯ ซึ่งคำ สรอ้ ยนจี้ ะมีก็ได้หรอื ไม่มกี ็ได้ • ฉันทลักษณข์ องรา่ ยยาว จะมีการบังคับเฉพาะคำสุดท้ายของวรรคก่อนหน้า จะสมั ผสั กับคำท่ี ๑ ถึงคำที่ ๕ ของวรรคถัดไป เช่น “...จ่งึ ตรสั ว่าโอโ้ อ๋เวลาปานฉะน้ีเอ่ยจะมิดกึ ดื่น จวนจะสน้ิ คืนค่อนรุ่งไปเสียแล้วหรือ กระไรไม่รเู้ ลย พระพายรำเพยพดั มารีเ่ รือ่ ยอยเู่ ฉอื่ ยฉวิ ...” • จุดเด่นของรา่ ยยาวมหาเวสสันดรชาดก คือ การมีคาถาบาลีข้นึ ต้น เช่น “...อิมาตา โปกฺขรณี รมฺมา เจ้าเคยมาประพาสสรงสนานในสระศรี โบกขรณี ตำแหน่งนอกพระอาวาส นางเสด็จลีลาสไปเที่ยวเวียนรอบ จึ่งตรัสว่าน้ำเอ๋ยเคย เป่ยี มขอบเปน็ ไร…”
การอา่ นคำบาลแี ละรา่ ยยาว การอ่านคำบาลี • อา่ นเรียงพยางคไ์ ปทลี ะตัว • คำไหนท่ี ‘ไมม่ ีสระ’ ใหอ้ า่ นเป็น ‘สระอะ’ • นิคหิต( ํ) อ่านเป็นตัวสะกด ง แต่ถ้าไม่มีสระจะอ่านออกเสียง อัง เช่น ยํ โก ลาหลํ อา่ นว่า ยัง-โก-ลา-หะ-ลงั พินทุ (.) ซึ่งอยู่ใต้พยัญชนะ หากพยัญชนะตัวหน้ามีสระ จะนับเป็นตัวสะกด เช่น ราชปุตฺตี อ่านว่า รา-ชะ-ปุด-ตี แต่หากพยัญชนะตัวหน้าไม่มีสระจะใช้เป็นไม้ ห ั น อ า ก า ศ เ ช ่ น น ี เ จ โ ว ล ม ฺ พ เ ก อ ่ า น ว ่ า นี - เ จ - โ ว - ล ั ม - พ ะ - เ ก
การอา่ นร่าย • จะมีการขึ้นเสียงสูงต่ำ และใส่ลีลาตามจังหวะเน้ือความ เช่น อ่านเร็วขึ้น เม่ือ เนื้อหาสื่อถึงอารมณ์โกรธ เป็นต้น (ถ้าเพื่อน ๆ อยากจะฟังวิธีการอ่านร่าย ยาวเพิ่มเติม กส็ ามารถโหลดแอปพลิเคชัน StartDee มาเรียนเร่ืองน้ีกันต่อได้ เลย) ความเปน็ มาของมหาเวสสันดรชาดก • ความหมายของคำว่า ‘ชาดก’ ชาดกเกิดจากการสร้างคำแบบบาลี สันสกฤต โดยคำว่า ชาดก มาจาก ชาตะ แปลว่า เกิด และ ก (อ่านว่า กะ) แปลว่า ผู้, หมวด ดังนั้น ชาดก จึงหมายถึง ผู้ที่เกิดมาแล้ว อย่างคำว่า ทศชาตชิ าดก ท่ีแปลว่า ผูท้ ี่เกิดมาแล้วสบิ ชาติ หรือพระพุทธเจ้าน่ันเอง • ที่มาของ ‘มหาเวสสันดรชาดก’ มีความเชื่อว่า พระพุทธเจ้าเสวยพระชาติ มาหลายชาติ ทั้งคนทั้งสัตว์เดรัจฉาน โดยแต่ละชาติพระองค์ได้บำเพ็ญบารมี แตกต่างกันออกไป ซึ่งมหาเวสสันดรชาดกเป็นชาติสุดท้ายก่อนจะประสูติมา เป็นพระพุทธเจ้าในชมพูทวีป(ชาติสุดท้ายก่อนพระองค์จะเสด็จดับขันธ์ ปรินิพพาน) และมีการบำเพ็ญบารมีด้วยการให้ทาน โดยบริจาคลูกและ บริจาคเมียเป็นทาน (บุตรทารทาน) สำหรับที่มาที่ไปของมหาเวสสันดรชาดก เร่ิมต้นขึ้นเมือ่ พระพทุ ธเจ้าเสด็จไปทีเ่ มอื งกบิลพัสดุ์ พรอ้ มกับพระอรหนั ตส์ อง รูป เพื่อจะไปเทศนาโปรดพระบิดาและพระญาติ แต่พระญาติเกิดอัตตา ไม่ ยอมไหว้พระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าจึงแสดงปาฏิหารย์ โดยการเหาะเหิน เดินอากาศ ทำให้ฝุ่นใต้พระบาทาปลิวมาติดหัวพระญาติ และมีฝนโบกขร พรรษตกลงมาส่เู บื้องล่าง ฝนโบกขรพรรษเป็นฝนที่มสี ีแดงใสบริสุทธ์ิราวกกับ
ทับทิม ถ้าต้องการเปียกฝนนั้น ฝนก็จะเปียกเนื้อตัวตามปกติ แต่ถ้าไม่ ตอ้ งการเปยี กฝน เม็ดฝนนั้นกจ็ ะระเหยหายไปทนั ที (ถ้ามฝี นแบบน้ีทบ่ี า้ นเรา คงหายห่วงเรื่องภัยแล้ง น้ำท่วมแน่เลย แต่น่าเสียดายที่ฝนโบกขรพรรษเป็น ฝนที่เกิดขึ้นกับเหตุการณ์ที่ เกี่ยวข้องกับพระพุทธเจ้าเท่านั้น) เมื่อเกิดฝนโบกขรพรรษขึ้น พระอรหันต์ที่ตามพระพุทธเจ้าไปจึงถามว่าฝนนี้ เกิดขึ้นได้อย่างไร พระองค์จึงบอกว่า ฝนนี้เคยเกิดมาแล้วในครั้งท่ี พระพทุ ธเจ้าเสวยพระชาตเิ ปน็ พระเวสสันดร พระพุทธเจ้าเลยถือโอกาสนี้เล่า ว่าพระองค์สามารถระลึกชาติได้ โดย 10 ชาติสุดท้ายหรือทศชาติ ได้แก่ เต มีย์ชาดก มหาชนกชาดก สุวรรณสามชาดก เนมิราชชาดก มโหสถชาดก ภู ริทัตชาดก จันทชาดก นารทชาดก วิทูรชาดก และเวสสันดรชาดก ซึ่งแต่ละ ชาติพระองค์ได้บำเพ็ญบารมีในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป สำหรับชาติสุดท้าย คือ เวสสันดรชาดก ประกอบด้วย 13 กัณฑ์ แต่ละกัณฑ์ จะมีผู้ประพันธ์แตกต่างกันออกไป โดยจุดประสงค์หลักในการแต่งคือใช้ สำหรับเทศนาใหก้ ับพุทธศาสนกิ ชนหรือบุคคลที่สนใจ ส่วนกัณฑ์ท่ีเจ้าพระยา พระคลัง (หน) ประพนั ธ์ มี 2 กัณฑ์ ไดแ้ ก่ กณั ฑ์กุมาร และกัณฑม์ ัทรีซึ่งอยู่ใน บทเรยี นวิชาภาษาไทย ม.5 ของเพื่อน ๆ นน่ั เอง ตัวละครในมหาเวสสนั ดรชาดก กณั ฑม์ ทั รี • พระเวสสันดร พระเวสสันดรเป็นตัวละครหลักของร่ายยาวมหาเวสสันดร ชาดก เป็นพระโอรสของ พระเจ้ากรุงสัญชัยและพระนางผุสดีแห่งเมืองสีพี พระเวสสันดรมักจะบริจาคทานด้วยวิธีต่าง ๆ มาตั้งแต่เด็ก เช่น ยก เครื่องประดับเงินทองแก้วเพชรของตนให้ผู้อื่น ต่อมาเมื่ออภิเษกกับพระนาง มทั รี และมลี ูกชอื่ พระกัณหา และพระชาลี พระองคไ์ ด้ตงั้ โรงทานจำนวนมาก และบริจาคช้างปัจจัยนาเคนทร์ซึ่งเป็นช้างเผือกคู่บ้านคู่เมืองให้กับทูตของ
เมืองอื่นที่มาขอช้างเชือกนี้ ทำให้ชาวเมืองไม่พอใจจึงเรียกร้องให้พระเจ้า กรุงสัญชัยเนรเทศพระเวสสันดรออกจากเมือง พระเวสสันดร พระนางมัทรี และลูก ๆ จึงต้องออกจากเมืองไปอยู่ในป่า ซึ่งพระเวสสันดรได้บำเพ็ญเพียร ภาวนาประพฤติพรหมจรรย์อยู่ในอาศรม ส่วนพระนางมัทรีได้ดูแลปรนนิบัติ ลกู และสามที ่อี าศัยอยใู่ นอาศรมแห่งน้ี • พระนางมัทรี พระนางมทั รเี ปน็ พระราชธิดาของกษตั รยิ ์มัทราช อภเิ ษกสมรส กับพระเวสสันดร มพี ระโอรสช่ือพระชาลี และมพี ระธิดาชือ่ พระกณั ฑห์ า ดว้ ย ความภักดีต่อพระสวามีนางจึงพาลูก ๆ ตามเสด็จพระเวสสันดรออกมาอยู่ใน ป่าด้วย ทั้งยังทำหน้าที่ดูและปรนนิบัติรับใช้สามีและดูแลลูกทั้งสองตาม หนา้ ท่ีของตน • พระชาลี พระชาลเี ป็นพระราชโอรสของพระเวสสนั ดรกับพระนางมัทรี ซงึ่ คำ ว่า ชาลี หมายถึง ตาข่าย มาจากตอนที่พระชาลีประสูติ เหล่าพระประยูร ญาตไิ ดน้ ำตาข่ายทองมารองรบั พระชาลี • พระกัณหา พระกัณหาเป็นพระราชธิดาของพระเวสสันดรกับพระนางมัทรี และเป็นพระกนษิ ฐา (นอ้ งสาว) ของพระชาลี • ชูชก ชูชกเกิดในตระกลู พราหมณ์แต่กลบั เที่ยวขอทานผู้อื่นเพื่อเลี้ยงชีพ และ มีนิสัยที่เรียกว่า บุรุษโทษ ๑๘ ประการ เช่น ความตระหนี่ ความโลภ ความ ฉลาดในกลอุบายและเล่หเ์ หล่ยี มต่าง ๆ เปน็ ตน้ ถอดคำประพนั ธ์ มหาเวสสนั ดรชาดก กัณฑม์ ัทรี คนื กอ่ นท่ีพระนางมัทรีจะออกจากอาศรมไปเก็บผลไม้ในป่า พระกุมารทงั้ สอง ฝันร้าย ทำให้พระนางหวั่นวิตกนึกถึงลูกตลอดเวลาจนน้ำตาอาบแก้มทั้งสองข้าง
พลางสังเกตเห็นว่าต้นที่มีผลไม้กลับกลายเป็นดอกไม้ ส่วนต้นที่มีดอกไม้กลับ กลายเป็นผลไม้ขึ้นแทน ส่วนดอกไม้ท่ีเคยเก็บไปร้อยให้ลูกก็ถูกลมพัดปลิวร่วงลงมา เม่ือมองไปรอบทิศก็มืดมัวทกุ หนแหง่ ทอ้ งฟา้ กลบั กลายเป็นสีแดงคล้ายกับลางบอก เหตุร้าย สายตาของพระนางก็เร่ิมพรา่ มวั ตัวส่นั ใจส่ัน ของท่ถี ือก็หลดุ จากมอื คานท่ี หาบไวก้ ร็ ว่ งลงจากบ่าซึง่ เหตกุ ารณ์นี้ไม่เคยเกดิ ขน้ึ มาก่อน ย่งิ พระนางคดิ เทา่ ไร ก็ย่ิง ทุกขใ์ จมากขึ้นเท่านั้น ด้วยความหวั่นใจเรื่องลูก พระนางจึงรีบเก็บผลไม้เพื่อจะได้รีบกลับไปหาลูกท่ี อาศรม แต่ระหว่างทางกลับเจอ สิงโต เสือเหลือง และเสือโคร่ง ขวางทางไว้ นาง กลวั จนใจสัน่ ร่ำไห้ คดิ ไปวา่ เป็นกรรมของตนเอง นางจะหนไี ปทางไหนก็ไม่ได้เพราะ ถูกสัตว์ทั้งสามกั้นไว้ทุกทิศทางจนฟ้ามืด พระนางมัทรีไม่รู้จะทำอย่างไร จึงยกมือ ไหวอ้ อ้ นวอนขอให้สตั วห์ ิมพานต์ทง้ั สามเปดิ ทางให้ตน โดยกล่าววา่ พระนางคอื พระ นางมัทรีเป็นภรรยาของพระเวสสันดร ตามมาอย่ทู ่ีอาศรมในป่าด้วยความบริสุทธ์ิใจ และกตัญญูต่อสามี นี่ก็เวลาย่ำค่ำแล้วลูกคงหิวนม โปรดเปิดทางให้พระนางกลับไป ทอี่ าศรมแลว้ ตนจะแบ่งผลไม้ให้ จากน้นั ไม่นานสตั ว์หมิ พานตท์ ัง้ สามจงึ ยอมเปิดทาง ให้ พระนางมทั รีกร็ ีบว่งิ กลบั ไปทีอ่ าศรมดว้ ยแกม้ ท่ีอาบน้ำตา เมื่อถึงที่พักพระนางมัทรีก็ตกใจไม่เห็นลูกอยู่ในอาศรม ร้องเรียกหาเท่าไรก็ไม่มีใคร ตอบ ทงั้ ท่กี อ่ นหนา้ นีจ้ ะออกมาหาแม่กันพร้อมหน้า ทั้งกณั หาขอกินนม ส่วนชาลีจะ ขอกินผลไม้ พระนางมัทรีเสียใจมาก พร่ำบอกว่าที่ผ่านมาก็ดูแลลูกอย่างดีแบบยุง ไม่ให้ไต่ไรไม่ให้ตอม หวังจะกลับมาพบลูกให้ชื่นใจ ก่อนหน้านี้ยังได้ยินเสียงลูกเล่น กันอยู่แถวนี้ นั่นก็รอยเท้าชาลี นี่ก็ของเล่นกัณหา แต่เมื่อลูกหายไปอาศรมกลับดู เงียบเหงาเศร้าหม่น นางจึงไปถามพระเวสสันดรว่าลูกหายไปไหน เหตุใดจึงปล่อย ให้คลาดสายตา หากมีสัตว์ป่าจับไปจะทำอย่างไร แต่พระเวสสันดรกลับไม่ตอบ อะไร ทำใหน้ างกลุ้มใจย่งิ ไปว่าเก่า
ดว้ ยความกลุ้มใจ ตัวกร็ อ้ น นำ้ ตากไ็ หล กระวนกระวายพลางบอกวา่ ไมเ่ คยมีคร้ังใด ที่นางรู้สึกแค้นเคืองใจขนาดนี้ เพราะนางออกจากเมืองมาก็หวังว่าอย่างน้อยจะได้ สุขใจเพราะอยู่พร้อมหน้ากับลูกและสามี แต่เมื่อลูกหายตัวไป ความหวังนั้นก็คล้าย จะดับสิ้น พระนางมัทรีอ้อนวอนขอให้พระเวสสันดรตรัสกับนางบ้าง เพราะการนั่งน่ิง เหมือนโกรธเคืองพระนางมัทรีนั้นยิ่งทำให้ปวดใจราวกับมีคนเอาเหล็กรนไฟมาแทง ที่หัวใจ หรือเป็นคนไข้ที่หมอนำยาพิษมาให้ดื่ม อีกไม่กี่วันคงสิ้นชีวิตอย่างแน่นอน เมื่อพระเวสสันดรได้ยินพระนางมัทรีดังนั้น ก็คิดว่าหากใช้ความหึงหวงคงเป็นวิธี คลายความโศกให้พระนางได้ จึงตรัสว่า ในป่าหิมพานต์แห่งนี้มีทั้งพระดาบสและ นายพรานจำนวนมาก เจ้าออกไปเก็บผลไม้ตั้งแต่เช้าจนย่ำค่ำ หากไปทำอะไรในป่า แห่งนี้กค็ งจะไม่มีใครรู้เห็น เหตุใดจงึ ทิ้งลูกหนีเข้าไปในป่านานถงึ เพียงน้ี พอกลับมา ยังห่วงแต่ลูก ไม่ห่วงสามีแต่อย่างใด หรือหากไม่นึกถึงสามีก็ไม่ควรหายเข้าไปในปา่ นานถึงเพยี งนี้ จะใหเ้ ราเข้าใจได้อยา่ งไร เมื่อพระนางมัทรีได้ยินดังนั้น จึงกราบทูลว่า เหตุใดพระองค์จึงไม่ได้ยินเสียง ของราชสีห์ เสือโคร่ง และเสือเหลือง เพราะสัตว์ทั้งสามนี้ทำให้ทำให้พระนางไม่ สามารถกลับอาศรมได้ ทั้งยังเกิดเหตุร้ายหลายประการขณะที่นางเข้าไปในป่า ทั้ง ของที่ถือก็หลุดจากมือ คานที่หาบไว้ก็ร่วงลงจากบ่า ต้นไม้ที่เคยผลิดอกก็ออกผล ต้นไม้ที่เคยออกผลก็ผลิดอกออกมา ชวนให้หวาดกลัวจนตัวสั่น อธิษฐานภาวนาให้ ลูกและสามีปลอดภัย แล้วรีบกลับมายังอาศรมแต่ถูกสัตว์ร้ายทั้งสามตัวนอน ขวางทางเอาไว้ จึงต้องกราบอ้อนวอนสัตว์ทั้งสามให้เปิดทางให้จนพระอาทิตย์ตก ดินสัตวท์ ัง้ สามจึงหลีกทาง แล้วพระนางมทั รกี ็รบี วงิ่ กลับมายังอาศรมนี้ มไิ ดไ้ ปทำสิ่ง ใดที่ไม่เหมาะไม่ควรแต่อย่างใด ฝ่ายพระเวสสันดรเมื่อฟังคำตอบของพระนามัทรีก็ เอาแต่น่ิงเงยี บทง้ั คนื จนกระทง่ั รงุ่ เช้า
ระหว่างนั้นพระนางมัทรโี ศกเศรา้ ร่ำไห้ ครำ่ ครวญว่าตนปฏิบัติต่อสามีด่ังศิษย์ ปฏิบัติต่อครู ดูแลลูกทั้งสองแบบยุงไม่ให้ไต่ไรไม่ให้ตอม ทั้งบดขมิ้นไว้ให้อาบน้ำ จัดหาอาหารมาให้มิได้ขาด แล้วอ้อนวอนให้สามีเรียกลูกมากินอาหารที่ตนหามา ถามว่าลูกอยู่แห่งหนใดเหตุใดจึงยังไม่ยอมออกมา แต่ไม่ว่าจะร้องขออ้อนวอน อย่างไรสามีก็นิง่ เฉยไม่เอย่ สิ่งใดออกมา พระนางจึงถวายบังคมลาออกไปตามหาลูก ทั้งสองในป่าหิมพานต์ เมื่อออกตามหาจนทั่วแล้วไม่พบจึงกลับมาท่ีอาศรมพบว่า พระเวสสันดรยังคงนั่งนิ่งอยู่เหมือนก่อนหน้านี้ไม่มีผิด พระนางจึงตัดพ้อว่า เหตุใด พระเวสสันดรจึงยังนั่งนิ่งอยู่ไม่ลุกมาผ่าฝืน ตัดน้ำใส่บ่อ หรือก่อไฟไว้อย่างที่เคยทำ เป็นประจำทกุ วนั พร้อมกับบอกว่าพระเวสสันดรน้ันเป็นที่รักของพระนางมัทรีอย่าง ยิ่ง เมื่อกลับมาจากป่าเห็นพระพักตร์ของพระองค์และได้เห็นลูกทั้งสองวิ่งเล่น ก็ คลายความเหนื่อยล้าเป็นปลิดทิ้ง แต่วันนี้กลับกลายเป็นความทุกข์ร้อน เศร้าโศก เพราะพระองค์ไม่ยอมตรัสสิ่งใดกับพระนาง แม้พระนางมัทรีจะได้ออกตามหา พระกัณหาและพระชาลีไปทั่วป่า ทั้งราตรี แล้วกลับมาหาพระเวสสันดรอย่างไร พระองค์ก็ไมย่ อมตรสั สิง่ ใดอย่เู ช่นเดมิ นางมทั รีสะอ้นื ไหจ้ นหมดสติล้มลงกบั พ้ืน พระเวสสันดรบรรพชาเป็นดาบสมากว่า 7 เดือน ไม่เคยได้แตะต้องตัวพระ นางมัทรี แต่วันนี้ดว้ ยความเศร้าโศกและตระหนกตกใจเกรงว่าพระนางจะเป็นอะไร ไป พระเวสสันดรจึงเข้าไปตรวจชีพจรดูแลนางจนได้สติตื่นฟื้นขึ้นมา ฝ่ายพระนาง มัทรีเมื่อฟื้นขึ้นมาก็ทูลถามอีกครั้งว่าลูกทั้งสองอยู่แห่งหนใด กลับมาแล้วหรือไม่ พระเวสสันดรจึงตอบว่าตนได้ยกพระกัณหากับพระชาลีให้กับชูชกไปแล้ว แต่ พระองค์มไิ ดบ้ อกกบั พระนางมัทรตี ้ังแต่ตน้ เกรงวา่ พระนางจะเศรา้ โศกเสียใจ เมอื่ ได้ รู้ความจริงแล้ว พระนางมัทรีจึงคลายความทุกข์เศร้าลงแล้วอนุโมทนาบุญกับบุตร ทานทีพ่ ระเวสสันดรได้ปฏบิ ตั ใิ นครัง้ นี้
มหาเวสสันดรชาดก กัณฑม์ ทั รี สะท้อนอะไรบ้าง ? เจา้ พระยาพระคลงั (หน) ได้ประพนั ธร์ า่ ยยาวมหาเวสสนั ดรชาดก ขึน้ ในสมัย รชั กาลท่ี ๑ รา่ ยยาวเรือ่ งมหาเวสสันดรชาดก จงึ สะทอ้ นสงั คมและคา่ นิยมในยุค สมัยนั้น ซงึ่ บางเรือ่ งอาจเป็นเรื่องคลาสสิกท่ีเกดิ ขึ้นต้ังแต่อดตี จนถึงปัจจุบนั เช่น • ความรักของแมท่ ีม่ ีต่อลูก เหน็ ไดจ้ ากความกงั วลท่ีเกิดขึน้ เมื่อมีลางรา้ ย หรอื ความเศร้าโศกเสยี ใจเมื่อพระนางมทั รีไม่เจอลูกอยู่ในอาศรม สะทอ้ นให้เห็น วา่ ลกู เปน็ แก้วตาดวงใจของพอ่ แมท่ ่ไี ม่วา่ ยคุ สมยั ไหน ความรักแบบไมม่ ี เงื่อนไขของพ่อแมย่ งั เป็นเรอ่ื งคลาสสิกทีไ่ มเ่ ปล่ยี นแปลงไปตามยุคสมยั • ความเชือ่ เรอ่ื งการทำนายฝนั หรือโชคลาง แมว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีจะ พัฒนาอยา่ งกา้ วกระโดด แตค่ วามเช่ือเร่อื งดวงชะตา การทำนายฝนั หรือโชค ลางยงั คงอย่ใู นสังคมไทยมาจนถึงปจั จุบนั แม้จะลดนอ้ ยลงเมื่อเทียบกับอดีต ซ่งึ อาจมาจากความเชื่อหรอื สิง่ ทมี่ องไม่เหน็ ยงั สามารถยึดเหนี่ยวจติ ใจและ สร้างความสบายใจให้กับผ้คู นได้ โดยเฉพาะเรอื่ งอนาคตหรอื เร่ืองที่เราไม่ สามารถคาดเดาได้ล่วงหน้า ขณะท่ีบางเรื่องอาจเปน็ สิง่ ท่ีเปล่ยี นแปลงไปแล้วในสังคมปัจจุบนั เช่น • มมุ มองเร่ืองลูกและภรรยานบั เปน็ สมบัตขิ องสามี หรือสามมี อี ำนาจเหนือกว่า ภรรยา ทำใหส้ ามสี ามารถยกลูกและภรรยาให้กับผูอ้ ืน่ ในฐานะทรพั ยส์ นิ อยา่ ง หนึ่งของตนได้ เพราะในอดตี ยงั มีเรอื่ งการขายทาส หรือค่านิยมชายเปน็ ใหญ่ ขณะท่ีสภาพสงั คมปจั จบุ ันเร่มิ มองวา่ มนุษย์ทกุ คนมีความเทา่ เทยี มกนั มากขึ้น และไม่มีทาสแบบในสมยั กอ่ น พ่อแม่จงึ ไมส่ ามารยกลูกของตนเองใหผ้ อู้ น่ื ได้ และสามีไม่ได้มอี ำนาจเหนอื ภรรยาหรอื มีบทบาทเป็นชา้ งเท้าหน้าแบบใน อดีต
• หนา้ ท่ขี องภรรยาที่ตอ้ งคอยปรนนิบตั ิสามี จากเดิมทีเ่ ชอื่ วา่ ‘ผชู้ ายเปน็ ชา้ ง เท้าหน้า’ หรอื เป็น ‘หัวหน้าครอบครัว’ และเชอ่ื วา่ ภรรยาทดี่ ี ตอ้ งเป็นคนที่ ทำงานบ้านไมข่ าดตกบกพร่อง ดูแลรับใช้สามีอยา่ งดี และเช่ือฟังสามีในทกุ ๆ เรือ่ ง ปจั จบุ นั ความเช่ือเหลา่ นี้ไดเ้ ปล่ียนแปลงไปเพราะสงั คมปจั จุบนั ให้ ความสำคญั กับความเท่าเทียมมากขนึ้ อย่างทไี่ ดก้ ล่าวไปข้างตน้ ทำให้บางครง้ั ผชู้ ายกส็ ามารถออ่ นแอ ทำอาหาร ดแู ลลกู ๆ ชว่ ยภรรยาได้ ขณะทภี่ รรยาก็ สามารถทำงานเลยี้ งครอบครัว ไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งทำงานบ้านไดเ้ สมอไป ขึ้นอยู่กับ ความสมคั รใจและการตกลงกนั ระหว่างสามภี รรยามา อย่างไรกต็ ามคา่ นิยม เรื่องหนา้ ที่ของสามแี ละภรรยาแบบในอดีตอาจยังปรากฏให้เหน็ บ้างในบาง ครอบครัว หรือสงั คมไทยในปัจจบุ ัน เพราะเปน็ เป็นความเชอื่ เกา่ แก่ทีส่ ืบทอด กนั มาตง้ั แตอ่ ดีต
ใบงานท่ี 1.1 เรื่อง ความเปน็ มาและประวัตผิ ูแ้ ต่งเรอ่ื ง มหาเวสสนั ดรชาดก กณั ฑม์ ัทรี คำช้ีแจง ใหน้ กั เรียนเขยี นกรอบแนวคิดสรปุ ความเป็นมาและประวตั ิผแู้ ต่งเรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กณั ฑ์มัทรี ........................ให้นักเรยี นทำลงในสมดุ รายวชิ าภาษาไทยได้เลยค่ะ.....................
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: