32 หนว่ ยที่ 2 ระบบผลติ และจา่ ยลม
33 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยที่ 2 หน้าที่ 1/2 วชิ า นวิ แมติกส์และไฮดรอลกิ ส์ เวลาเรียนรวม 72 คาบ สอนครั้งท่ี ทฤษฎี 2 คาบ ชอื่ หน่วย ระบบการผลติ และจา่ ยลม 2/18 ปฏิบตั ิ 2 คาบ คำชแี้ จง : 1. แบบทดสอบชดุ นี้มีทง้ั หมด 10 ข้อ เวลา 10 นาที 2. ใหท้ ำเคร่อื งหมาย () ลงในขอ้ ที่ถกู ต้องทีส่ ุด เกณฑ์การประเมิน : ข้อละ 1 คะแนน รวม 10 คะแนน 1. ขอ้ ใดคอื อปุ กรณ์ทท่ี าหน้าท่ีเปลี่ยนพลังงานกลให้อยูใ่ นรปู พลังงานนิวแมติกส์ ก. เคร่อื งอัดอากาศ ข. ถังเก็บลม ค. เครือ่ งกาจัดความชืน้ ง. เกจวัดความดัน จ. ฟลิ เตอร์ 2. ขอ้ ใดคอื การกาหนดขนาดของเครอื่ งอดั อากาศที่จะพิจารณาเป็นอนั ดบั แรก ก. ชนดิ ของเคร่ืองอดั อากาศ ข. ประสิทธิภาพของเครอื่ งอัดอากาศ ค. ปรมิ าตรการผลิตของเคร่ืองอดั อากาศ ง. อตั ราการจ่ายลมอดั จ. ขนาดท่อ 3. เครอ่ื งอัดอากาศแบบใดผลิตความดนั มากทส่ี ุด ข. แบบไดอะแฟรม จ. แบบกงั หนั ก. แบบลกู สูบ ง. แบบสกรู ค. แบบใบพัด 4. เครอื่ งระบายความร้อนแบบใชน้ า้ หล่อเยน็ เหมาะกับสถานท่ีใด ก. หอ้ งทดลอง ข. อาคารขนาดใหญ่ ค. โรงงานอุตสาหกรรมเลก็ ง. โรงงานอตุ สาหกรรมใหญ่จ. ตึก 2 ชั้น 5. ขอ้ ใดคือวธิ ีการควบคุมเครื่องอดั อากาศในงานอตุ สาหกรรม ก. แบบ On-Off ข. แบบ Alternating Control ค. แบบ Unloading Control ง. แบบ Flow Control จ. สตาร์-เดลตา 6. การกาจัดความชืน้ ด้วยสารเคมีคือหลักการของเคร่ืองกาจัดความช้นื แบบใด ก. แบบใชค้ วามเย็น ข. แบบดูดความชน้ื ค. แบบระบายลมออก ง. แบบระบายลมเขา้ จ. แบบระเหย 7. ขอ้ ใดคอื หนว่ ยวดั ทนี่ ิยมใช้ของเกจวดั ความดนั ข. PSI จ. kM ก. bar ง. bar และ PSI ค. bar หรือ PSI
34 นวิ แมตกิ ส์และไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) แบบทดสอบก่อนเรยี น หน้าที่ 2/2 หนว่ ยที่ 2 8. การติดตัง้ ท่อสง่ จา่ ยลม ควรตดิ ตั้งอย่างไร ข. ลาดเอยี ง 1 – 2 cm ของความยาวทอ่ ก. ลาดเอียง 1 – 2 % ของความยาวท่อ ง. ลาดเอียง 10 – 20 cm ของความยาวท่อ ค. ลาดเอียง 10 – 20 % ของความยาวท่อ จ. ลาดเอียงเทา่ กับความยาวท่อ 9. อุปกรณใ์ ดทาหน้าทปี่ ้องกันการไหลย้อนกลับของลม ก. วาลว์ นริ ภยั ข. วาลว์ กันกลบั ค. กรองลม ง. เกจวดั ความดนั จ. วาลว์ ความดัน 10. ข้อใดคือสัญลักษณ์ชดุ ปรับคุณภาพลมอัด ก. ข. ค. ง. จ.
35 ใบเนือ้ หา หนว่ ยท่ี 2 หน้าท่ี 1/26 วิชา นิวแมติกส์และไฮดรอลกิ ส์ เวลาเรยี นรวม 72 คาบ สอนคร้ังท่ี ทฤษฎี 2 คาบ ช่ือหน่วย ระบบการผลิตและจา่ ยลม 2/18 ปฏิบัติ 2 คาบ หวั ขอ้ เรอื่ ง (Topics) 2.2 เคร่ืองอดั อากาศ 2.4 มอเตอร์ไฟฟา้ 2.1 โครงสร้างระบบการผลติ และจา่ ยลม 2.6 เคร่ืองกาจัดความช้ืน 2.3 ถังเกบ็ ลม 2.8 อปุ กรณก์ รองลมทอ่ ลมหลัก 2.5 เครอ่ื งระบายความรอ้ น 2.10 วาลว์ นิรภัย 2.7 เกจความดนั 2.12 ท่อส่งจา่ ยลม 2.9 อปุ กรณร์ ะบายนา้ 2.11 วาล์วกนั กลับ 2.13 ชดุ ปรบั คุณภาพลมอดั แนวคิดสาคัญ (Main Idea) เครื่องจักรท่ีใช้ในงานอตุ สาหกรรมมีการทางานแบบตอ่ เนื่องตลอดเวลา โดยส่วนใหญ่เป็นอุปกรณ์ นิวแมตกิ สท์ ม่ี ีความต้องการใช้ปริมาณลมอัดท่ีสม่าเสมอกันตลอดภายในระบบ เพ่อื คณุ ภาพของผลผลิต ดังนั้น ท่อแมนสาหรับจ่ายลมในโรงงานอุตสาหกกรรมจะต้องมีขนาดใหญ่เพื่อให้ปริมาณลมอัดมีใช้ เพยี งพอกับความตอ้ งการของเครื่องจักรทุกเครอื่ ง สมรรถนะยอ่ ย (Element of Competency) แสดงความรู้เกี่ยวกับระบบการผลติ และจ่ายลม จดุ ประสงคท์ ัว่ ไป (General Objectives) เพ่อื ใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกบั ระบบการผลิตและจา่ ยลม จดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม (Behavioral Objectives) 1. บอกส่วนประกอบของระบบการผลิตและใช้ลมได้ถกู ต้อง 2. บอกหน้าทแ่ี ละการทางานของเคร่ืองอัดอากาศได้ถูกต้อง 3. ระบุช่ือและหนา้ ท่ีของอปุ กรณ์ในระบบผลิตและจ่ายลมไดถ้ ูกต้อง
36 นวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) ใบเน้ือหา หนว่ ยท่ี 2 หน้าที่ 2/26 เน้อื หาสาระ (Content) ในระบบนิวแมติกส์เราใช้ลมอัดเปลี่ยนรูปเปน็ พลังงานกล ตัวการทท่ี าให้เกิดลมอัดได้แก่ เคร่ืองอัด อากาศ (compressor) โดยทตี่ วั เครอ่ื งอัดอากาศจะมีหน้าที่ดูดอากาศเชา้ มาทางท่อทางดดู แล้วอดั ให้มี อากาศให้มีความดันสงู ขึ้นกว่าเดิม จากนัน้ จึงส่งอากาศทีถ่ ูกอัดตัวแลว้ ไปยังถงั พกั ลมไปอกี ทหี นึ่งก่อนท่ี จะถูกส่งไปใช้งานในการควบคุมระบบนิวแมติกส์ ขนาดของถังพักจะมีขนาดใหญ่หรือเล็กขึ้นอยู่กับ ขนาดของเครอื่ งอัดลมและปริมาณลมท่ใี ช้ในวงจรนิวแมตกิ ส์ รูปที่ 2.1 ระบบการผลติ และจา่ ยลม ท่มี า : กติ ิพนั ธ์ ไทยสงค์ (2549 : 22) 2.1 โครงสร้างระบบการผลติ และจา่ ยลม ส่วนประกอบของระบบการผลิตและการใชล้ ม ระบบการผลติ และส่งจ่ายลมอัด (production system) 1. เครอื่ งอัดอากาศ (air compressor) 2. มอเตอรไ์ ฟฟ้า (electric motor) 3. สวติ ชค์ วามดัน (pressure switch)
37 นิวแมตกิ ส์และไฮดรอลิกส์ (30100-0104) ใบเนื้อหา หน่วยที่ 2 หน้าที่ 3/26 4. วาลว์ ปอ้ งกนั การไหลย้อนกลบั (check valve) 5. ถงั เกบ็ ลม (air tank) 6. เกจวดั ความดัน (pressure gauge) 7. อุปกรณร์ ะบายนา้ (water drain) 8. วาล์วนริ ภยั (safety valve) 9. อปุ กรณก์ าจดั ความช้นื (air dryer) 10. อุปกรณ์กรองลม (air filter) ระบบการใช้ลมอดั (consumption system) 1. ท่อสง่ จ่ายลม (ducting work) 2. อุปกรณร์ ะบายนา้ (water drain) 3. ชดุ ปรับคุณภาพลม (service unit) 4. วาลว์ ควบคุมทิศทาง (directional control valve) 5. อปุ กรณท์ างาน (working element) 6. อุปกรณค์ วบคุมความเร็ว (speed control) 2.2 เครอ่ื งอดั อากาศ เครื่องอัดอากาศ คือ เครื่องจักรกลที่ทาหน้าทีอ่ ัดอากาศที่ดูดเข้ามาที่มีความดันปกติให้มีความ ดันสูงขึ้นแล้วเก็บไว้ในถังเก็บลมอัด เพื่อนาไปใช้งานโดยการจ่ายไปตามท่อลมให้กับเครื่องจักรหรือ อุปกรณ์ทางานตา่ ง ๆ ตอ่ ไป ชนิดของเครอ่ื งอัดอากาศสามารถแบ่งออกเป็น 6 ชนดิ ไดแ้ ก่ 1. เครือ่ งอดั อากาศชนดิ ลูกสบู (piston compressor) 2. เคร่อื งอัดอากาศชนิดไดอะแฟรม (diaphragm compressor) 3. เครอื่ งอัดอากาศชนิดสกรู (screw compressor) 4. เครอื่ งอดั อากาศชนิดใบพัดเลอื่ น (sliding vane rotary compressor) 5. เครื่องอดั อากาศชนดิ ใบพัดหมนุ (root compressor) 6. เครอ่ื งอดั อากาศชนดิ กังหันหรอื กระแสอากาศ (turbo compressor or flow compressor)
38 ใบเนือ้ หา หน่วยท่ี 2 หนา้ ท่ี 4/26 นวิ แมตกิ ส์และไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) สญั ลกั ษณ์ รปู ที่ 2.2 เคร่อื งอดั อากาศ
39 นวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) ใบเนือ้ หา หน่วยที่ 2 หน้าที่ 5/26 ตารางท่ี 2.1 การทางานและคุณสมบัตขิ องเคร่ืองอัดอากาศ ประเภทเครื่องอดั อากาศ ความดนั อัตราการส่งลม 1. แบบลกู สบู 4–10 bar แบบอัดชน้ั เดียว 15–30 bar แบบอดั 2 ชนั้ 150 bar แบบอัด 3 ช้นั 150 ถงึ 250,000 m3/h 2. แบบไดอะแฟรม หลักการทางานเหมือนกับ แบบลูกสูบ เพียงแต่มีแผ่น ไดอะแฟรมเป็นตัวกันไม่ให้ อากาศ สัมผัสกับล ู ก สู บ อากาศที่ได้จึงสะอาด ปราศจากการปนเปื้อนของ น ้ามันหล่อลื่น เครื่องอัด อากาศแบบนี้นิยมใช้ใน อุตสาหกรรมอาหาร ยา และ เคมี ฃ
40 ใบเนื้อหา หน่วยท่ี 2 หน้าที่ 6/26 นิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) ความดนั อตั ราการส่งลม ประเภทเครอื่ งอดั อากาศ 3. แบบสกรู 1–25 bar 800 ถงึ 500,000 m3/h ที่มา : https://www.aircompressor- aircompressor.com/ (30 มนี าคม 2560) เมื่อเกลียวสกรูทั้งคู่หมุนเข้าหากันลมจะถูกดูดเข้า ทางลมเข้า และถูกอัดให้ไหลไปตามร่องสกรูออก ทางชอ่ งลมออก 4. แบบใบพดั เลื่อน 0.2-8 bar 250 ถงึ ทม่ี า : https://www.kaowna.co.th/ป๊ัมลม-A1- 15,000 m3/h air-compressor (30 มนี าคม 2560) เมื่อโรเตอร์ที่วางเยื้องศูนย์อยู่กับช่องอัดอากาศ หมุนไปรอบ ๆ ใบพัดจะเลื่อนสัน้ เข้า และยาวออก ตามลักษณะการเยือ้ งศูนย์จึงเกดิ การดูดและอดั ลม จากทางเขา้ ไปยังทางออก
41 นิวแมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) ใบเนอื้ หา หน่วยท่ี 2 หน้าท่ี 7/26 ประเภทเครอ่ื งอดั อากาศ ความดัน อัตราการสง่ ลม 5. แบบใบพัดหมุน 0.6-300 bar 300 ถงึ 200,000 m3/h 6. แบบกังหันหรอื กระแสอากาศ 0.8–4 bar 52,000 ถงึ ที่มา : https://www.kaowna.co.th/ปั๊มลม-A1- air-compressor (30 มนี าคม 2560) 500,000 m3/h เมอื่ ใบพัดหมนุ อากาศจะถกู ดูดทางดา้ นลมเข้า ไหลออกไปเพ่ิมปริมาณ และแรงดันด้านลมออก
42 ใบเน้ือหา หนว่ ยที่ 2 หน้าท่ี 8/26 นวิ แมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) การพจิ ารณาเลอื กชนิดของเคร่อื งอัดอากาศ มขี ้อพิจารณาดังนี้ 1. อัตราการจ่ายลม m3/h 2. แรงดนั ลม bar รปู ท่ี 2.3 ตารางแสดงความสมั พนั ธ์ระหว่างแรงดันลมกับอตั ราการจ่ายลม ที่มา : ไพรวรรณ์ พ่อธานี และบุษกร มาลา (2556 : 31) ตัวอยา่ งท่ี 2.1 ถ้าต้องการอตั ราการจ่ายลม 10,000 m3/h ท่แี รงดัน 100 bar จะเลือกเคร่ืองอัด อากาศชนิดใด วิธีทา ให้ลากเส้นอัตราการจ่ายลม 10,000 m3/h ขึ้นไปบรรจบกับเส้นแรงดัน 100 bar ใน แนวนอน จดุ ที่เสน้ ทั้งสองมาบรรจบกนั อยใู่ นกรอบของเครื่องอัดอากาศแบบลกู สูบ เครอ่ื งอัดอากาศทจี่ ะ เลอื กจงึ เปน็ แบบลูกสูบ (Piston Compressor) ตอบ
43 นิวแมติกส์และไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) ใบเนื้อหา หน่วยท่ี 2 หนา้ ท่ี 9/26 2.3 ถังเก็บลม 2.3.1 หน้าทข่ี องถังเก็บลม 1. เก็บรกั ษาแรงดันลมใหม้ ีค่าเหมาะสมต่อการใชง้ าน 2. เก็บรักษาปรมิ าณลมให้เพยี งพอตอ่ การใช้งาน 3. แยกไอน้าทีป่ ะปนมากบั ลมอดั ใหก้ ล่ันตัวเป็นหยดนา้ 4. ระบายความร้อนลมอัด 5. ติดตั้งอุปกรณ์ประกอบ เช่น เกจวัดความดัน วาล์วระบายน้า วาล์วนิรภัย และวาล์ว ปิด-เปิด เป็นต้น รูปท่ี 2.4 สัญลักษณ์ย่อ รูปที่ 2.5 สัญลักษณ์เตม็ รปู ท่ี 2.6 แบบตั้ง รูปท่ี 2.7 แบบนอน ทมี่ า : ชัยวัฒน์ ภมู ปิ ระเทศ (2559: 9)
44 นิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) ใบเนือ้ หา หน่วยที่ 2 หนา้ ที่ 10/26 2.3.2 การพิจารณาเลอื กขนาดถังเกบ็ ลม มี 2 วิธี 1. วิธที ่ี 1 หาขนาดจากตารางกราฟ โดยพิจารณาจาก (1) ปรมิ าณการใชล้ มในระบบ m3/min (2) คา่ ความดนั แตกต่างในท่อ P (3) จานวนครัง้ ในการตัดตอ่ /ชัว่ โมง Z รูปท่ี 2.8 ตารางแสดงการหาคา่ ของถงั เกบ็ ลมอัด ทมี่ า : ไพรวรรณ์ พ่อธานี และบษุ กร มาลา (2556: 33) ตวั อยา่ งที่ 2.2 การหาขนาดของถังเก็บลมจากกราฟ ปริมาณการจ่ายลมอัด V = 40 m3/min จานวนครั้งการตัดต่อมอเตอร์ Z = 20 ครัง้ /ชวั่ โมง ค่าความดนั แตกต่างของแรงดันในท่อ P = 0.25 x 102 kPa ขนาดของถงั ลมอดั = ? จากกราฟจะได้ขนาดของถัง VB = 100 m3 ตอบ
45 นิวแมติกส์และไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) ใบเน้ือหา หนว่ ยที่ 2 หน้าที่ 11/26 2. วธิ ีท่ี 2 เลือกจากตาราง Engineering Toolbox ตารางท่ี 2.2 Engineering Toolbox ทีม่ า : ไพรวรรณ์ พ่อธานี และบษุ กร มาลา (2556: 34) ตวั อย่างที่ 2.3 การหาขนาดถงั เกบ็ ลมจากตาราง Engineering Toolbox ตอบ ถา้ ตอ้ งการปริมาณ 170 m3/h จะไดข้ นาดถังเกบ็ เทา่ กบั 0.4 m3 2.3.3 การควบคุมเครอ่ื งอดั อากาศ 1. หน้าท่ี (1) หยุดจ่ายลมเมอ่ื ความดันสูงถงึ ระดบั ทตี่ ้งั คา่ เอาไว้ (2) สัง่ จา่ ยลมเม่อื ความดันต่าลงถึงระดับท่ีตงั้ ค่าเอาไว้ 2. วธิ ีควบคุมเคร่ืองอดั อากาศ มี 2 แบบ คอื (1) การควบคมุ แบบ On – Off เป็นวิธีการควบคุมที่มอเตอร์ไฟฟา้ ทางานได้โดยจ่าย กระแสไฟฟ้าให้มอเตอร์เมื่อความดันในถังเก็บลมต่าลงถึงระดับที่กาหนด และตัดกระแสไฟฟ้าให้ มอเตอร์เมื่อความดันในถงั เก็บลมสูงถงึ ระดับกาหนด
46 นิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกส์ (30100-0104) ใบเนอ้ื หา หนว่ ยที่ 2 หน้าท่ี 12/26 (2) การควบคุมแบบ Unloading Regulation วิธีการน้ีมอเตอร์ไฟฟ้าจะไม่หยดุ หมนุ การควบคุมกระทาได้โดยการปิด–เปิดวาล์วจ่ายลม โดยวาล์วจะปิดการจ่ายลมเข้าถังเก็บลมเมื่อความ ดนั สูง มอเตอรห์ มนุ โดยไมม่ โี หลด และเปิดจา่ ยลมเม่ือความดันต่า 2.4 มอเตอร์ไฟฟา้ มอเตอร์ไฟฟ้าในการผลิตลม มีหนา้ ทีเ่ ปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เปน็ พลังงานกล เพื่อหมุนขับเครื่อง อัดอากาศให้เปล่ียนเปน็ พลังงานลมอัด ขนาดของกาลังขบั (hp) มอเตอรไ์ ฟฟ้า จะเปล่ียนไปตามความ จุของถงั เก็บลมอดั เชน่ มอเตอร์ขนาด 10 HP จะใชก้ ับถงั ลมขนาด 0.2 m3 ดังตาราง ตารางท่ี 2.3 Engineering Toolbox ที่มา : ไพรวรรณ์ พ่อธานี และบุษกร มาลา (2556: 36)
47 นิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกส์ (30100-0104) ใบเนื้อหา หนว่ ยที่ 2 หน้าที่ 13/26 เคร่ืองทาอากาศแห้ง 2.5 เคร่ืองระบายความร้อน 2.5.1 หนา้ ท่ี 1. ลดอณุ หภมู ิลมอัด 2. ลดความชนื้ 3. ลดฝุ่นละออง 2.5.2 วิธกี ารตดิ ตั้ง ตดิ ตงั้ ไดท้ ง้ั ก่อนหรอื หลังลมเข้าถงั เก็บลม เครอ่ื งอัดอากาศ เครอ่ื งระบายความรอ้ น มอเตอร์ไฟฟ้า ถังเก็บลม ชดุ ปรับคุณภาพลม เครื่องกรองในท่อหลัก รูปท่ี 2.9 วธิ ีการติดตัง้ เครอ่ื งระบายความรอ้ น 2.5.3 ชนิดของเคร่ืองระบายความร้อน 1. เครอื่ งระบายความรอ้ นแบบใชล้ มเปา่ ระบายความร้อน ลมจะไหลไปตามทอ่ ความร้อน จะถ่ายเทไปตามครีบ พัดลมที่เป่าจะช่วยระบายความร้อนให้อุณหภูมิของลมอัดเย็นลง ไอน้าที่กลั่นตัว เป็นหยดนา้ จะไหลไปท่ีระบบระบายนา้
48 ใบเน้อื หา หนว่ ยที่ 2 หนา้ ท่ี 14/26 นวิ แมตกิ สแ์ ละไฮดรอลิกส์ (30100-0104) รปู ท่ี 2.10 เคร่อื งระบายความร้อนแบบใชล้ มเปา่ และสัญลักษณ์ ทมี่ า : https://www.thaicarlover.com/อยา่ ลืม-เช็คพัดลมระบายความร้อน-นะ/78272 (30 มีนาคม 2560) 2. เครื่องระบายความร้อนแบบใช้น้าหล่อเย็น ลักษณะของเครื่องระบายความร้อนแบบนี้ ภายในประกอบด้วยท่อและครีบที่ทาด้วยทองแดง เป็นลักษณะฟินคอยล์อยู่ภายในท่อใหญ่ ดังรูปท่ี 2.11 น้าทีจ่ ะทาการหล่อเยน็ จะไหลอยภู่ ายในท่อของคอยล์ ส่วนลมอดั นีจ้ ะไหลไปปะทะครีบของคอยล์ น้าที่ตัวเสื้อของเครื่องระบายความร้อนนี้จะติดเทอร์โมมิเตอร์เพื่อดูอุณหภูมิของลมอัดที่ออกไปใช้งาน ถ้าอุณหภูมิของลมอัดสูงเกินกว่าปกติ จะต้องเพิ่มปริมาณน้าที่ไหลหมุนเวียนให้มากขึ้น เครื่องระบาย ความร้อนแบบนี้เหมาะกับโรงงานอุตสาหกรรมใหญ่เพราะการติดตั้งเครื่องระบายความร้อนแบบนี้ จะตอ้ งมีคูลลง่ิ สาหรับหล่อเยน็ นา้ ท่ีระบายความรอ้ นจากลมอดั ออกไป รูปท่ี 2.11 เคร่อื งระบายความรอ้ นแบบใชน้ ้าหล่อเย็นและสญั ลกั ษณ์ ที่มา : http://www.chiangmaiaircare.com/ ขอ้ แนะนา-แก้ไข-เคร่อื งชลิ เลอร์-หลังน้าท่วม-จากเท รน/ (30 มีนาคม 2560)
49 นวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์ (30100-0104) ใบเน้อื หา หน่วยท่ี 2 หนา้ ที่ 15/26 2.6 เคร่อื งกาจัดความช้นื เครื่องกาจัดความชื้น (air dryer) มีหน้าที่กาจัดความชื้นที่เหลือมาจากเครื่องระบายความร้อน และถงั เกบ็ ลมอัดซ้าอีก รปู ท่ี 2.12 สัญลักษณเ์ คร่อื งกาจดั ความช้ืน 2.6.1 เครอ่ื งกาจดั ความชนื้ ดว้ ยความเย็น (refrigerated air dryer) รูปที่ 2.13 เครอื่ งกาจดั ความช้นื ด้วยความเยน็ ทม่ี า: http://www.dehum- md.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539322993 (30 มนี าคม 2560)
50 นิวแมติกส์และไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) ใบเน้ือหา หน่วยท่ี 2 หน้าท่ี 16/26 ลักษณะการทางานของเครื่องกาจัดความชื้นชนิดนี้จะคล้ายกับเครื่องทาความเย็นลมอัดที่ช้ืน และมีอุณหภูมิสูงจะไหลตามท่อเข้าไปในห้องทาความเย็น แล้วไหลผ่านออกไปทางท่อลมออก กระบวนการทางานของเครื่องคือ ทาให้อากาศที่ไหลเข้าเย็นลงเพื่อกาจัดความชื้นแล้วทาให้อากาศท่ี ไหลออกร้อนขนึ้ ถึงอุณหภมู ิทเี่ หมาะสมต่อการใช้งาน 2.6.2 เครอ่ื งกาจัดความชื้นแบบดูดความชนื้ รูปที่ 2.14 เคร่ืองกาจัดความชืน้ แบบดดู ความชื้น ที่มา : http://www.dehum- md.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539322993 (30 มนี าคม 2560) หลักการทางานของเครือ่ งกาจัดความชน้ื ชนดิ น้คี ือ ควบคมุ ลมอดั ให้ไหลเข้าไปผ่านสารเคมี ไอน้า ทป่ี ะปนมากบั ลมอดั จะถกู สารเคมดี ดู ซับเอาไว้ ทาให้อากาศท่ีไหลผา่ นออกไป มคี วามชื้นน้อยลง
51 นวิ แมติกส์และไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) ใบเนื้อหา หนว่ ยที่ 2 หนา้ ที่ 17/26 2.7 เกจวดั ความดนั (pressure gauge) เกจวัดความดัน มีหนา้ ที่แสดงระดับความดันลมอัด มีหน่วยเป็น bar และ PSI (ก) เกจวัดความดัน (ข) สัญลักษณ์ รูปที่ 2.15 เกจวัดความดันและสญั ลกั ษณ์ ท่มี า : http://sgginter.weloveshopping.com/shop/showproduct.php?pid=27932198&shopid=332590 (30 มนี าคม 2560) หลักการทางานของเกจวัดความดัน เมื่อมีแรงดันลมเข้ามา ท่อ Bourdon จะถูกยืดออก ปลายท่อท่ี ยึดติด กับกลไกการหมุนจะพาเฟืองและเข็มบอกระดับความดันหมุนตามไปด้วย เมื่อแรงดันลดลง ท่อ Bourdon จะงอกลับ เขม็ จะหมุนกลบั ด้วย ดังรูปที่ 2.16 รูปท่ี 2.16 โครงสร้างเกจวดั ความดัน ท่มี า : https://นวิ เมติก.com/ชุดควบคุมคุณภาพลม/ (30 มีนาคม 2560)
52 นวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) ใบเนื้อหา หน่วยที่ 2 หนา้ ท่ี 18/26 2.8 อปุ กรณก์ รองลม (air filter) อปุ กรณก์ รองลม มีหนา้ ท่จี ับฝุ่นละออง นา้ และน้ามนั ในทอ่ ลมหลกั (ก) ชนดิ กรองอย่างเดียว (ข) ชนิดระบายน้าด้วยมือ (ค) ชนิดระบายน้าอัตโนมัติ รปู ที่ 2.17 สัญลักษณอ์ ุปกรณ์กรองลม รูปที่ 2.18 โครงสรา้ งอุปกรณก์ รองลม ทม่ี า : http://isbellg.blogspot.com/p/blog-page_16.html (30 มีนาคม 2560) หลักการทางาน ลมอัดเมื่อไหลเข้ามาปะทะเกล็ดเบนทิศทางจะทาให้ลมหมุนวนเหวี่ยงให้น้าและ น้ามันตกลงด้านล่าง ส่วนฝุ่นละอองจะตกค้างอยู่ที่ไส้กรอง ปล่อยให้อากาศที่สะอาดไหลผ่านออกไปใช้ งาน ทางด้านลา่ งจะมีแผน่ กะบังปอ้ งกนั ฝุน่ และน้าลอยขึ้นดา้ นบน ดงั รูปท่ี 2.18
53 นวิ แมตกิ ส์และไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) ใบเนอ้ื หา หน่วยที่ 2 หนา้ ท่ี 19/26 2.9 อปุ กรณ์ระบายนา้ อุปกรณ์ระบายน้า มีหน้าที่ระบายน้าออกจากอุปกรณ์ที่เกิดจากการกลั่นตัวของไอน้าออกสู่ ภายนอก (ก) การทางาน (ข) สญั ลักษณ์ รูปที่ 2.19 การทางานของอุปกรณ์ระบายนา้ และสัญลักษณ์ ที่มา : http://www.pneu-hyd.co.th/บทความ-นวิ เมตกิ ส์-ไฮดรอลิก/406-pneumatic- component.html (30 มีนาคม 2560) หลกั การทางาน น้าท่กี ลนั่ ตัวและถูกกักเอาไว้ในลกู ถ้วยของอุปกรณก์ รองลมจะต้องรักษาไม่ให้ สูงเกินกวา่ ขีดสูงสุดทก่ี าหนดไวท้ ่ตี ัวลูกถว้ ย โดยการปล่อยใหร้ ะบายออกด้วยการหมุนสกรูถ่ายน้าท้งิ ดัง รูปที่ 2.19 2.10 วาล์วนิรภยั (safety valve) วาลว์ นริ ภยั มหี น้าท่ีกาจัดความดันในถังเก็บลมไม่ให้เกินค่าที่กาหนด 1. ถ้าความดนั ในถงั เก็บลมเกนิ ค่ากาหนด วาล์วนิรภยั จะเปิดระบายลมท้ิง 2. วาล์วจะปิดเม่ือความดนั ภายในมีค่าต่ากว่าคา่ กาหนด (ก) วาลว์ นริ ภยั (ข) สญั ลกั ษญ์ รปู ท่ี 2.20 วาลว์ นิรภัยและสญั ลักษณ์ ท่ีมา : ไพรวรรณ์ พ่อธานี และบษุ กร มาลา (2556: 43)
54 นิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) ใบเนอื้ หา หน่วยที่ 2 หนา้ ท่ี 20/26 หลกั การทางาน จังหวะเปิดเมื่อความดันภายในวาล์วเพิ่มขึ้นจนถึงแรงดันที่กาหนดแผ่นตั้งค่าความดันจะเริ่ม ยกออกไปกดสปริงให้สั้นลง ซงึ่ ทาให้แรงดนั สปริงเพิ่มขึ้น ดงั น้ันขณะทว่ี าล์วกาลังเปิดจนกระท้ังแผ่นต้ัง ค่ า ความดันยกจนถึงระยะสูงสุดหรืออัตราการไหลสูงสุด แรงดันภายในวาล์วจะค่อย ๆ เพิ่มขึ้นด้วย ซ่ึง สาหรบั ความดันจะเกินประมาณ 3 ถึง 10 % จังหวะปิดเนื่องจากพื้นที่ของแผ่นตั้งค่าความดัน ที่เพิ่มขึ้นและ ยกตัวมากขึ้นดังนั้นในขณะที่ วาลว์ กาลังจะปดิ ความดันจะไม่เทา่ กับความดันที่กาหนด ชว่ งระหว่างความดันท่ีกาหนดถึงแรงดันขณะ วาล์วปิด ต้องไม่น้อยเกินเพราะจะทาให้วาล์วเปิดอีกครั้งอย่างรวดเร็ว สาหรับระยะ เปิดทิ้ง ของ อากาศไม่เกิน 10 % 2.11 วาล์วกนั กลับ (check valve) วาล์วกันกลับ มีหน้าที่ป้องกันการไหลย้อนกลับของลม ในระบบผลิตลมอัด วาล์วกันกลับ มีหน้าท่ี ดังนี้ 1. ปล่อยให้ลมอดั ไหลผ่านในจงั หวะเคร่อื งอัดอากาศอัดลมเขา้ ถังเก็บลม 2. ปิดไม่ให้ลมไหลย้อนกลับในจังหวะดูดอากาศเข้าลูกสูบ และเมื่อเครื่องอัดอากาศ หยดุ ทางาน (ก) วาล์วกนั กลับ (ข) สัญลักษณ์ รปู ท่ี 2.21 วาล์วกันกลับและสญั ลกั ษณ์ ทีม่ า : https://www.facebook.com/brp.carbon/posts/877643915659736 (30 มีนาคม 2560) 2.12 ทอ่ จ่ายลม 2.12.1 การตดิ ต้ังท่อลม 1. การติดตั้งทอลมอัดไมควรจะยึดกับผนังอิฐหรือในจุดที่คับแคบ เพราะจะทาใหยุ งยากในการตรวจสอบรอยรว่ั 2. การวางทอสงหลักตามแนวนอนควรจะวางใหมีมุมลาดเอียงลงประมาณ 1- 2 เปอรเซน็ ตตามแนวความยาวของแนวทอลมอัด และจดุ ปลายต่าสดุ ของทอควรตดิ วาลวระบายน้าทิ้ง
55 3. ทอแยกทีต่ อออกจากทอสงหลัก (main line) ควรตอออกดานบนของทอหลักเพ่ือ ปองกันน้าที่กลั่นตัวไหลเขาสูอุปกรณนิวแมติกส ควรทามุมเอียงขึ้นดานบนประมาณ 30 องศากับแนว ระดับแลวงอโคงลงดวยรัศมีดานในอยางนอยที่สุดเทากับ 5 เทาของเสนผาศูนยกลางทอลมอัด ดังรูปท่ี 2.22 นิวแมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) ใบเน้ือหา หน่วยท่ี 2 หน้าท่ี 21/26 ความลาดเอียง 1-2% ของความยาวท่อ ท่อส่งหลกั ทอ่ แยกไปใช้งาน ถว้ ยพกั นา้ ก่อนปลอ่ ยท้งิ รปู ท่ี 2.22 การตดิ ตงั้ ทอ่ ลม 2.12.2 วิธีการแยกท่อลม รูปที่ 2.23 วิธีการแยกทอ่ ลม 2.12.3 การเดนิ ทอ่ เมนในโรงงานอตุ สาหกรรม สามารถแบ่งไดด้ ังนี้ 1. การเดินท่อเมนแบบแยกสาขา (branch line)
56 รูปท่ี 2.24 การเดินทอ่ ลมแบบแยกสาขา ทีม่ า : ไพรวรรณ์ พอ่ ธานี และบุษกร มาลา (2556 : 45) นวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) ใบเนอ้ื หา หนว่ ยท่ี 2 หน้าท่ี 22/26 ขอ้ ดี สิน้ เปลอื งอปุ กรณไ์ มม่ าก ข้อเสยี 1) ถ้าเพิ่มอุปกรณ์นิวแมติกส์เข้าไปมาก ๆ อุปกรณ์ตัวสุดท้ายจะมีปริมาณลมอัดและ ความดนั ไม่เพยี งพอ 2) หากมีการซ่อมแซมท่อเมน ต้องหยุดจ่ายลมตลอดสาย ทาให้ต้องหยุดการทางาน ด้วย ขอ้ แนะนา เหมาะสาหรบั โรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็กเทา่ น้ัน 2. การเดนิ ทอ่ เมนแบบวงแหวน (ring circuit) (ก) แบบที่ 1 (ข) แบบท่ี 2 รูปที่ 2.25 การเดนิ ท่อลมแบบวงแหวน ท่ีมา : ไพรวรรณ์ พอ่ ธานี และบุษกร มาลา (2556: 46) ขอ้ ดี สามารถเพ่ิมอปุ กรณ์นิวแมตกิ ส์ไดม้ าก โดยไมส่ ญู เสยี ความดนั ขอ้ เสีย หากสูญเสียแรงดนั ณ จุดใดจดุ หน่ึง จดุ อน่ื ๆ จะสูญเสียไปด้วย
57 ขอ้ แนะนา เหมาะสาหรบั โรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ แบบยอ่ นวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) แบบละเอียด ใบเนือ้ หา หนว่ ยที่ 2 หน้าที่ 23/26 2.13 ชุดปรบั คุณภาพลมอดั (service unit) ชุดปรับคุณภาพลมอัด เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยในการทาความสะอาด ปรับแต่งค่าความดัน รวมทั้งบาง กรณอี าจมกี ารผสมนา้ มนั หล่อลน่ื เขา้ ไปในลมอัดด้วย เพอื่ ยืดอายกุ ารใช้งานของอุปกรณ์นิวแมติกส์ (ก) ชุดปรับคณุ ภาพลมอดั (ข) สัญลักษณ์ รปู ท่ี 2.26 ชดุ ปรับคณุ ภาพลมอัดและสญั ลกั ษณ์ ทม่ี า : https://www.indiamart.com/proddetail/festo-frl-unit-20466215033.html (30 มีนาคม 2560) ชุดปรับคุณภาพลมอัดประกอบด้วย ตัวกรอง (filter) วาล์วปรับลดและควบคุมแรงดัน (regulator) ตวั จ่ายน้ามันหล่อล่นื (lubricator) 2.13.1 ตัวกรอง (filter)
58 ตัวกรองจะทาหน้าที่กรองฝุ่นละอองและน้าที่ปะปนมากับลมอัด เพื่อให้ได้ลมอัดที่มี ความสะอาดก่อนนาไปใช้งาน 22 1 1 ชนิดท่มี กี ารระบาย ชนดิ ไม่ระบายความ ระบายน้าดว้ ยมือ ระบายนา้ อตั โนมัติ (ก) ตัวกรอง (ข) สัญลักษณ์ รูปที่ 2.27 ตัวกรองและสัญลกั ษณ์ ท่ีมา : ไพรวรรณ์ พ่อธานี และบษุ กร มาลา (2556: 47) นวิ แมตกิ ส์และไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) ใบเนอื้ หา หนว่ ยที่ 2 หนา้ ท่ี 24/26 2.13.2 วาล์วปรบั ลดและควบคุมแรงดัน (regulator) วาล์วปรับลดและควบคุมแรงดันจะทาหนา้ ที่ควบคุมความดัน ลมอัดทางด้านลมออก ให้ คงที่ โดยปกติความดนั ดา้ นลมเขา้ จะมคี ่าความดันสงู และเปลย่ี นแปลงตลอดเวลา ดงั นน้ั วาล์วควบคุม แรงดันจึงทาหน้าท่ีปรับความดนั ให้ค่าความดันของลมอัดมีความดนั เทา่ กับ ความดนั ใช้งานในระบบนิว แมติกส์ และรักษาแรงดันใหม้ ีค่าคงทีต่ ามท่ตี ัง้ คา่ ไว้ (ก) วาล์วปรบั ลดและควบคุมแรงดัน (ข) สญั ลักษณ์
59 รปู ท่ี 2.28 วาล์วปรบั ลดและควบคมุ แรงดัน และสัญลกั ษณ์ ทีม่ า : ไพรวรรณ์ พ่อธานี และบุษกร มาลา (2556: 47) 2.13.3 ตวั จา่ ยนา้ มนั หล่อลนื่ (lubricator) ตัวจ่ายน้ามันหล่อลื่น มีหน้าที่จ่ายน้ามันหล่อลื่นให้กับอุปกรณ์นิวแมติกส์ โดยจะปะปน ไปกบั ลมอดั เพ่อื หล่อลื่นอุปกรณ์ต่าง ๆ ปัจจุบันอปุ กรณ์นวิ แมติกส์มกั จะผลิตจากวัสดทุ ่ไี มต่ ้องการ การ หลอ่ ล่นื จากนา้ มนั ดงั นั้นจึงไม่จาเปน็ ตอ้ งติดต้ังตัวจ่ายนา้ มนั หล่อล่ืน เข้ากับชุดปรบั คณุ ภาพลมอดั ก็ได้ (ก) ตัวจา่ ยน้ามนั หล่อลื่น (ข) สัญลกั ษณ์ รปู ท่ี 2.29 ตัวจา่ ยนา้ มนั หล่อลืน่ และสญั ลักษณ์ ที่มา : ไพรวรรณ์ พ่อธานี และบุษกร มาลา (2556: 48) นิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ (30100-0104) ใบเนื้อหา หนว่ ยท่ี 2 หนา้ ที่ 25/26 หลกั การทางาน ตัวจ่ายน้ามันหล่อล่นื จะอาศัยหลกั การของช่องแคบที่ความดนั แตกต่างกนั ความ ดันบรเิ วณช่องแคบจะลดลง นา้ มนั จึงถูกดูดขึน้ มาจากภาชนะผสมกับลมอัดไหลเปน็ ละอองไปกบั ลมอดั รูปที่ 2.30 หลักการน้ามนั หลอ่ ลน่ื ทีม่ า : ไพรวรรณ์ พ่อธานี และบุษกร มาลา (2556: 48) 2.13.4 การบารุงรกั ษาชดุ บริการลมอัด กฎเกณฑ์ทจี่ าเป็นจะตอ้ งปฏบิ ัติอยเู่ ปน็ ประจามีดังตอ่ ไปน้ี 1. หมอ้ กรองลมอดั
60 (1) ระดับน้าภายในกระเปาะพลาสติกจะต้องตรวจสอบทุกวันไม่ให้สูงเกิดขีด ที่กาหนดไว้ และต้องระบายน้าทง้ิ เป็นประจา (2) ไส้กรองอากาศจะต้องทาความสะอาดสม่าเสมอตามระยะเวลาทผ่ี ผู้ ลิตกาหนด (3) กระเปาะและชิ้นส่วนภายในที่เป็นพลาสติก ห้ามล้างทาความสะอาดด้วยสารท่ี ทาลายพลาสติก เชน่ Trichlorethylene เป็นตน้ 2. ตัวควบคมุ ความดนั อุปกรณ์ชนิ้ นไี้ ม่จาเป็นต้องบารงุ รักษาหากติดต้งั อยตู่ ่อจากชุดกรองลมอดั 3. เกจวดั ความดนั (1) ระวังอย่าตง้ั ความดันสูงเกนิ กว่าขดี กาหนด (2) กอ่ นจา่ ยลมผ่านเขา้ ในวงจร ควรคลายตวั ตง้ั ความดนั ให้ตา่ ท่สี ุดแลว้ ค่อย ๆ ปรับ เพ่มิ ขึ้นจนถงึ คา่ ทต่ี ้องการ เพอ่ื ปอ้ งกนั การสะบดั กระแทกของเข็มวัด และชดุ กลไกภายใน 4. ตวั ผสมละอองน้ามนั หลอ่ ลนื่ (1) ต้องตรวจสอบระดับน้ามันภายในกระเปาะเป็นประจาและเติมให้ได้ระดับ ที่ต้องการอยูเ่ สมอ (2) นา้ มันหลอ่ ลืน่ ที่ใช้มคี วามหนดื 2–4oC ท่ี 20oC หรอื SAE 10 (3) เมื่อมีน้าผสมเข้ากับน้ามันหล่อลื่นภายในกระเปาะน้ามันจะเปลี่ยนเป็นขุ่นขาว หรอื เทาใหร้ ีบล้างและเปล่ียนนา้ มันใหม่ทันที นวิ แมตกิ สแ์ ละไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) ใบเน้อื หา หนว่ ยที่ 2 หน้าท่ี 26/26 สรปุ เครื่องอัดอากาศหรือปั๊มลมนั้นจาเป็นต้องมี เพราะเป็นตัวที่มีหน้าที่อัดอากาศเข้าไปเก็บไว้ใน ถังลม จากนั้นจึงนาเอาลมที่ถูกอัดตัวมีความดันสูงไปใช้งานโดยผ่านชุดปรับปรุงคุณภาพลม วาล์ว ควบคุมทิศทาง วาล์วควบคุมความเร็วสิ้นชุดที่กระบอกสูบ เครื่องอัดอากาศยังแบ่งเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนั้นระบบนิวแมติกส์ก็คือ ระบบที่ใช้ลมอัดเป็นตัวกลาง เพื่อนาไปทาให้อุปกรณ์ในระบบนิวแมติกส์ ทางานตามความต้องการ สาหรับขนาดเคร่ืองอัดอากาศ ส่วนมากจะเปน็ ป๊ัมลมสาเร็จรูปที่มีถังติดตั้งมา ด้วยในลักษณะแนวนอน จึงไม่จาเป็นต้องมีการคานวณหาขนาดถังลมเพียงพิจารณาตามความ เหมาะสม ของการใชง้ านเทา่ น้นั กเ็ พยี งพอ เอกสารอา้ งอิง กติ พิ นั ธ์ ไทยสงค์, นวิ แมตกิ ส์และไฮดรอลกิ ส์, กรุงเทพฯ : สานักพิมพเ์ อมพนั ธ์ จากดั , 2549. ไพรวรรณ์ พ่อธานี และบุษกร มาลา, นิวแมตกิ ส์และไฮดรอลิกส์, นนทบุรี : ศนู ย์หนังสอื
61 เมอื งไทย จากดั , 2556. https://นิวเมตกิ .com/ชุดควบคุมคณุ ภาพลม/ (30 มนี าคม 2560) http://isbellg.blogspot.com/p/blog-page_16.html (30 มีนาคม 2560) http://sgginter.weloveshopping.com/shop/showproduct.php?pid=27932198&shopid= 332590 (30 มนี าคม 2560) http://www.chiangmaiaircare.com/ ขอ้ แนะนา-แก้ไข-เครอื่ งชลิ เลอร-์ หลังนา้ ท่วม-จากเทรน/ (30 มนี าคม 2560) http://www.dehum-md.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539322993 (30 มนี าคม 2560) http://www.pneu-hyd.co.th/บ ท ค ว า ม - น ิ ว เ ม ต ิ ก ส์ - ไ ฮ ด ร อ ล ิ ก / 4 0 6 - pneumatic- component.html (30 มีนาคม 2560) https://www.aircompressor-aircompressor.com/ (30 มนี าคม 2560) https://www.facebook.com/brp.carbon/posts/877643915659736 (30 มีนาคม 2560) https://www.indiamart.com/proddetail/festo-frl-unit-20466215033.html (30 มีนาคม 2560) https://www.kaowna.co.th/ปัม๊ ลม-A1-air-compressor (30 มนี าคม 2560) https://www.thaicarlover.com/อย่าลืม-เช็คพัดลมระบายความร้อน-นะ/78272 (30 มีนาคม 2560)
62 หนว่ ยท่ี 2 หนา้ ที่ 1/1 แบบฝึกหดั ท่ี 2.1 เวลาเรียนรวม 72 คาบ สอนคร้ังท่ี ทฤษฎี 2 คาบ วิชา นิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ ชอ่ื หน่วย ระบบการผลิตและจา่ ยลม 2/18 ปฏิบัติ 2 คาบ ชื่อเรื่อง โครงสรา้ งระบบการผลติ และจา่ ยลม จงบอกชื่อส่วนประกอบในระบบการผลติ ลมและจา่ ยลม 1. ระบบการผลิตลม (production system) 6. ............................................................. 1. ............................................................ 7. ............................................................ 2. ............................................................ 8. ............................................................ 3. ............................................................ 9. ............................................................ 4. ............................................................ 10. ............................................................ 5. ............................................................ 2. ระบบการใช้ลม (consumption system) 4. ............................................................ 1. ............................................................ 5. ............................................................ 2. ............................................................ 6. ............................................................ 3. ............................................................
63 แบบประเมนิ ผลงานท่ี 2.1 หน่วยท่ี 2 หนา้ ที่ 1/1 วิชา นวิ แมติกส์และไฮดรอลิกส์ เวลาเรียนรวม 72 คาบ สอนครัง้ ท่ี ทฤษฎี 2 คาบ ชื่อหน่วย ระบบการผลติ และจ่ายลม 2/18 ปฏิบัติ 2 คาบ ชอ่ื เร่อื ง โครงสรา้ งระบบการผลติ และจา่ ยลม คาชี้แจง ใหว้ งกลมลอ้ มรอบคะแนนท่ีได้ รายการ คะแนน หมายเหตุ ดมี าก ดี ปาน พอใช้ ปรับปรงุ กลาง ขั้นกอ่ นการปฏบิ ตั ิงาน 1. ความพร้อมของอุปกรณ์การเรียน.............. 5 4 3 2 1 ข้นั การปฏบิ ัตงิ าน 2. อธิบายส่วนประกอบของระบบการผลติ 10 8 6 4 2 ลม……………………………………………………………… 3. บอกชอื่ ของระบบจ่ายลม........................ 10 8 6 4 2 4. นาเสนอรายละเอยี ดที่ควรปรบั ปรุง...... 10 8 6 4 2 5. นาเสนอเหตุผลท่คี วรปรับปรงุ ............... 10 8 6 4 2 ขนั้ สรปุ ผล 6. เขียนสรปุ ผลหลงั การปฏิบตั ิงาน................ 5 4 3 2 1 ขน้ั หลงั การปฏิบตั ิงาน 7. ทาความสะอาดบรเิ วณหอ้ งเรียน............... 5 4 3 2 1 8. ส่งงานตามกาหนดเวลา............................. 5 4 3 2 1 คะแนนที่ได้ รวมคะแนน ผลการประเมิน (คะแนนเต็ม 60 คะแนน) ดีมาก (คะแนนอยใู่ นชว่ ง 54 – 60 คะแนน) ดี (คะแนนอยู่ในช่วง 46 – 53 คะแนน) พอใช้ (คะแนนอย่ใู นชว่ ง 38 – 45 คะแนน) ปรบั ปรุง (คะแนนอยูใ่ นช่วง 30 – 37 คะแนน) ไมผ่ ่าน (คะแนนตา่ กว่า 30 คะแนน) ลงชือ่ (สุเมธ เชงิ ดา) ผู้ประเมนิ .........../.............../...............
64 แบบประเมนิ คณุ ธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ ม หน่วยท่ี 2 หนา้ ท่ี 1/1 วิชา นิวแมติกส์และไฮดรอลิกส์ เวลาเรยี นรวม 72 คาบ ช่ือหนว่ ย ระบบการผลติ และจ่ายลม สอนครงั้ ที่ ทฤษฎี 2 คาบ 2/18 ปฏิบตั ิ 2 คาบ คาชี้แจง 1. ให้ผู้เรียนประเมินตนเองและให้สมาชิกในกลุ่มหนึ่งคนประเมินซึ่งกันและกันในหัวข้อที่ผู้สอนกาหนดและ แจง้ ไว้ 2. การประเมินแตล่ ะขอ้ มีคะแนนขอ้ ละ 5 คะแนน (5 หมายถงึ ดมี าก, 4 หมายถึง ดี, 3 หมายถึง ปานกลาง, 2 หมายถึง พอใช,้ 1 หมายถงึ ตอ้ งปรับปรงุ ) 3. ผสู้ อนทาการประเมินและหาคะแนนเฉลี่ยของผ้เู รียนแต่ละคนตอ่ ไป ท่ี คุณธรรม จรยิ ธรรม เจตคติ สังเกตจากพฤตกิ รรม ผู้ประเมิน และค่านิยมที่พงึ ประสงค์ ตนเ อสงม าู้ผ ิชส กอน 1 ความมีวินัย ตรงต่อเวลาทั้งการเข้าเรยี นและการส่งงาน ทางาน 2 ความมมี นุษยสัมพนั ธ์ ตามขั้นตอน คานงึ ถงึ ความปลอดภยั ฯลฯ 3 ความรับผิดชอบ ชว่ ยเหลอื เพือ่ นสมาชิกให้ความร่วมมือทางานกลมุ่ 4 ความเช่อื มน่ั ในตนเอง พดู จาสุภาพ ฯลฯ 5 ความซ่อื สตั ย์สจุ รติ กล้ารบั ผิดและรบั ชอบในส่ิงที่ตนทา รกั ษาความ 6 ความประหยดั สะอาด ฯลฯ 7 ความสนใจใฝร่ ู้ กลา้ แสดงออกในการปฏบิ ัตงิ าน กล้าแสดงความ 8 ความรักสามคั คี คดิ เห็น ฯลฯ 9 ความคดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรค์ ไม่คัดลอกผลงานคนอน่ื ตรวจผลงานของตนเองและ 10 ความพึงพอใจในผลงานท่ี ของผู้อนื่ ด้วยความซ่อื สตั ย์ ฯลฯ ใช้วสั ดอุ ปุ กรณ์ เคร่อื งมอื และใช้พลงั งานไฟฟา้ ในการ ทา เรียนอย่างประหยัด ฯลฯ กระตอื รือร้น พึ่งตนเองเป็นหลัก ศกึ ษาหาความรู้ เพ่มิ เติม ฯลฯ รบั ฟงั ความเห็นผอู้ นื่ รว่ มใจกนั ทางาน ร้จู ักแบง่ บัน มี นา้ ใจ ฯลฯ ปรบั วิธกี ารเรยี นของตนเองให้ดีขน้ึ คิดแก้ปัญหาแปลก ใหม่ ฯลฯ พอใจในผลงานของตนเองท่ตี ั้งใจทางานอย่างดีทีส่ ดุ ฯลฯ รวม เฉล่ยี รวม ผลการประเมนิ (คะแนนเตม็ 20 คะแนน) ได.้ ................คะแนน ผ่าน (คะแนนอยูใ่ นชว่ ง 12–20 คะแนน) ไมผ่ า่ น (คะแนนตา่ กวา่ 12 คะแนน) ..................................ลงช่อื ผ้ปู ระเมิน
65 แบบฝึกหดั ที่ 2.2 หน่วยที่ 2 หนา้ ท่ี 1/1 วิชา นวิ แมติกส์และไฮดรอลิกส์ เวลาเรียนรวม 72 คาบ สอนครัง้ ท่ี ทฤษฎี 2 คาบ ชอ่ื หน่วย ระบบการผลิตและจ่ายลม 2/18 ปฏิบัติ 2 คาบ ช่อื เร่ือง การทางานชุดปรับคุณภาพลมอัด จงบอกหน้าทขี่ องส่วนประกอบตอ่ ไปนี้ 1. ตัวกรองลม ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… 2. ตวั ควบคมุ ความดัน ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… 3. เกจ ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… 4. ตัวผสมน้ามนั หล่อลืน่ ……………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………
66 แบบประเมินผลงานท่ี 2.2 หน่วยท่ี 2 หนา้ ที่ 1/1 วชิ า นิวแมติกสแ์ ละไฮดรอลิกส์ เวลาเรยี นรวม 72 คาบ สอนครงั้ ที่ ทฤษฎี 2 คาบ ช่ือหน่วย ระบบการผลิตและจ่ายลม 2/18 ปฏบิ ัติ 2 คาบ ช่อื เรอ่ื ง การทางานชุดปรบั คุณภาพลมอดั คาชแี้ จง ให้วงกลมลอ้ มรอบคะแนนทไ่ี ด้ คะแนน รายการ ดมี าก ดี ปาน พอใช้ ปรบั ปรุง หมายเหตุ กลาง ขน้ั ก่อนการปฏบิ ัตงิ าน 1. ความพร้อมของอุปกรณก์ ารเรียน......... 5 4 3 2 1 ขั้นการปฏิบตั งิ าน 2. ส่วนประกอบการทางานชดุ ปรับคณุ ภาพ 10 8 6 4 2 ลมอัด…………………………………………………………. 3. การทางานชดุ ปรบั คุณภาพลมอัด........... 10 8 6 4 2 4. นาเสนอรายละเอียดทค่ี วรปรับปรุง........ 10 8 6 4 2 5. นาเสนอเหตุผลทคี่ วรปรบั ปรุง............... 10 8 6 4 2 ขน้ั สรปุ ผล 6. เขียนสรปุ ผลหลังการปฏิบตั ิงาน............. 5 4 3 2 1 ขน้ั หลงั การปฏบิ ตั ิงาน 7. ทาความสะอาดบรเิ วณห้องเรียน........... 5 4 3 2 1 8. ส่งงานตามกาหนดเวลา........................ 5 4 3 2 1 คะแนนท่ไี ด้ รวมคะแนน ผลการประเมนิ (คะแนนเต็ม 60 คะแนน) ดีมาก (คะแนนอยู่ในช่วง 54 – 60 คะแนน) ดี (คะแนนอยใู่ นช่วง 46 – 53 คะแนน) พอใช้ (คะแนนอย่ใู นชว่ ง 38 – 45 คะแนน) ปรับปรงุ (คะแนนอยใู่ นชว่ ง 30 – 37 คะแนน) ไมผ่ ่าน (คะแนนตา่ กวา่ 30 คะแนน) ลงชื่อ (นายสุเมธ เชิงดา) ผู้ประเมนิ .........../.............../...............
67 แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ ม หนว่ ยท่ี 2 หนา้ ที่ 1/1 วชิ า นวิ แมติกส์และไฮดรอลิกส์ เวลาเรยี นรวม 72 คาบ ช่อื หน่วย ระบบการผลติ และจา่ ยลม สอนครั้งที่ ทฤษฎี 2 คาบ 2/18 ปฏิบตั ิ 2 คาบ คาชี้แจง 1. ให้ผู้เรียนประเมินตนเองและให้สมาชิกในกลุ่มหนึ่งคนประเมินซึ่งกันและกันในหัวข้อที่ผู้สอนกาหนดและ แจ้งไว้ 2. การประเมินแต่ละข้อมีคะแนนข้อละ 5 คะแนน (5 หมายถงึ ดีมาก, 4 หมายถึง ดี, 3 หมายถึง ปานกลาง, 2 หมายถึง พอใช้, 1 หมายถงึ ตอ้ งปรบั ปรุง) 3. ผู้สอนทาการประเมินและหาคะแนนเฉลย่ี ของผู้เรียนแต่ละคนตอ่ ไป คณุ ธรรม จริยธรรม เจตคติ ผู้ประเมิน และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ ท่ี สังเกตจากพฤติกรรม ตนเอง สมาชิก ู้ผสอน 1 ความมวี ินยั ตรงต่อเวลาทั้งการเขา้ เรยี นและการส่งงาน ทางานตาม 2 ความมีมนษุ ยสัมพนั ธ์ ขน้ั ตอน คานึงถงึ ความปลอดภยั ฯลฯ 3 ความรบั ผดิ ชอบ ชว่ ยเหลือเพ่ือนสมาชกิ ให้ความร่วมมอื ทางานกลุ่ม พูดจา 4 ความเชอ่ื มนั่ ในตนเอง สภุ าพ ฯลฯ 5 ความซ่ือสตั ย์สุจริต กลา้ รับผดิ และรบั ชอบในสง่ิ ท่ตี นทา รักษาความสะอาด 6 ความประหยัด ฯลฯ 7 ความสนใจใฝ่รู้ กลา้ แสดงออกในการปฏบิ ัตงิ าน กล้าแสดงความคิดเห็น 8 ความรกั สามคั คี ฯลฯ 9 ความคิดรเิ ริม่ สร้างสรรค์ ไมค่ ดั ลอกผลงานคนอืน่ ตรวจผลงานของตนเองและของ 10 ความพึงพอใจในผลงานทีท่ า ผูอ้ น่ื ด้วยความซื่อสัตย์ ฯลฯ ใช้วัสดอุ ปุ กรณ์ เครื่องมอื และใชพ้ ลังงานไฟฟ้าในการเรียน อย่างประหยดั ฯลฯ กระตือรือร้น พ่งึ ตนเองเปน็ หลัก ศึกษาหาความรูเ้ พิ่มเตมิ ฯลฯ รับฟังความเห็นผอู้ ื่น รว่ มใจกนั ทางาน รจู้ กั แบ่งบัน มนี ้าใจ ฯลฯ ปรับวิธีการเรียนของตนเองใหด้ ขี ึ้น คดิ แก้ปญั หาแปลก ใหม่ ฯลฯ พอใจในผลงานของตนเองท่ตี ้ังใจทางานอยา่ งดีท่ีสุดฯลฯ รวม เฉลยี่ รวม ผลการประเมนิ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) ได.้ ................คะแนน ผ่าน (คะแนนอยใู่ นชว่ ง 12 – 20 คะแนน) ไม่ผา่ น (คะแนนตา่ กว่า 12 คะแนน) ..................................ลงชอ่ื ผปู้ ระเมนิ
68 แบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยที่ 2 หนา้ ที่ 1/2 วิชา นวิ แมติกส์และไฮดรอลิกส์ เวลาเรยี นรวม 72 คาบ สอนครั้งที่ ทฤษฎี 2 คาบ ชอื่ หน่วย ระบบการผลิตและจ่ายลม 2/18 ปฏบิ ัติ 2 คาบ คำชแ้ี จง : 1. แบบทดสอบชุดนี้มีท้ังหมด 10 ข้อ เวลา 10 นาที 2. ให้ทำเครอื่ งหมาย () ลงในข้อที่ถกู ต้องทสี่ ุด เกณฑ์การประเมิน : ขอ้ ละ 1 คะแนน รวม 10 คะแนน 1. ข้อใดคือการกาหนดขนาดของเคร่ืองอดั อากาศท่จี ะพิจารณาเปน็ อนั ดับแรก ก. ชนิดของเครอื่ งอดั อากาศ ข. ประสิทธิภาพของเครื่องอัดอากาศ ค. ปริมาตรการผลิตของเครอ่ื งอัดอากาศ ง. อตั ราการจ่ายลมอัด จ. ขนาดทอ่ 2. ข้อใดคืออุปกรณ์ทาหนา้ ท่ีเปลีย่ นพลังงานกลใหอ้ ยู่ในรปู พลังงานนิวแมตกิ ส์ ก. เครื่องอัดอากาศ ข. ถังเกบ็ ลม ค. เครอื่ งกาจัดความชืน้ ง. เกจวัดความดัน จ. ฟลิ เตอร์ 3. เครือ่ งอดั อากาศแบบใดให้ความดันมากท่ีสดุ ข. แบบไดอะแฟรม จ. แบบกังหนั ก. แบบลกู สบู ง. แบบสกรู ค. แบบใบพัด 4. ข้อใดคือวิธกี ารควบคุมเครือ่ งอดั อากาศในงานอุตสาหกรรม ก. แบบ On-Off ข. แบบ Alternating Control ค. แบบ Unloading Control ง. แบบ Flow Control จ. สตาร์-เดลตา 5. เคร่อื งระบายความร้อนแบบใช้น้าหล่อเย็นเหมาะกบั สถานท่ีใด ก. ห้องทดลอง ข. อาคารขนาดใหญ่ ค. โรงงานอตุ สาหกรรมเล็ก ง. โรงงานอุตสาหกรรมใหญ่จ. ตึก 2 ชนั้ 6. การกาจัดความชื้นด้วยสารเคมคี ือหลกั การของเครือ่ งกาจัดความช้ืนแบบใด ก. แบบใช้ความเยน็ ข. แบบดูดความชน้ื ค. แบบระบายลมออก ง. แบบระบายลมเขา้ จ. แบบระเหย 7. ขอ้ ใดคือหนว่ ยวดั ที่นยิ มใช้ของเกจวัดความดนั ข. PSI จ. kM ก. bar ง. bar และ PSI ค. bar หรือ PSI
69 นิวแมติกส์และไฮดรอลกิ ส์ (30100-0104) แบบทดสอบหลังเรยี น หน้าท่ี 2/2 หน่วยท่ี 2 8. อปุ กรณ์ใดทาหน้าทปี่ ้องกันการไหลย้อนกลับของลม ก. วาล์วนิรภัย ข. วาลว์ กนั กลับ ค. กรองลม ง. เกจวัดความดนั จ. วาลว์ ความดนั 9. การตดิ ต้ังท่อสง่ จ่ายลม ควรตดิ ตงั้ อย่างไร ข. ลาดเอยี ง 1 – 2 cm ของความยาวทอ่ ก. ลาดเอยี ง 1 – 2 % ของความยาวท่อ ง. ลาดเอียง 10 – 20 cm ของความยาวท่อ ค. ลาดเอียง 10 – 20 % ของความยาวท่อ จ. ลาดเอียงเท่ากับความยาวทอ่ 10. ข้อใดคอื สัญลกั ษณช์ ุดปรบั คุณภาพลมอดั ก. ข. ค. ง. จ.
70 หนว่ ยท่ี 2 หน้าท่ี 1/1 เฉลยแบบฝึกหัด เวลาเรียนรวม 72 คาบ สอนครง้ั ที่ ทฤษฎี 2 คาบ วิชา นวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์ ช่อื หน่วย ระบบการผลิตและจา่ ยลม 2/18 ปฏิบัติ 2 คาบ แบบฝกึ หดั ที 2.1 จงบอกชือ่ ส่วนประกอบในระบบการผลติ ลมและจ่ายลม 1. ระบบการผลิตลม (production system) 6. เกจวดั ความดนั 1. เคร่ืองอดั อากาศ 7. อปุ กรณ์ระบายนา้ 2. มอเตอร์ไฟฟา้ 8. วาล์วนิรภัย 3. สวติ ชค์ วามดนั 9. อปุ กรณ์กาจัดความชืน้ 4. วาล์วป้องกันการไหลย้อนกลับ 10. อุปกรณก์ รองลม 5. ถงั เกบ็ ลม 2. ระบบการใช้ลม (consumption system) 4. วาล์วควบคุมทศิ ทาง 1. ท่อส่งจา่ ยลม 5. อุปกรณ์ทางาน 2. อปุ กรณ์ระบายนา้ 6. อปุ กรณ์ควบคมุ ความเร็ว 3. ชดุ ปรับคุณภาพลม
71 แบบฝึกหดั ท่ี 2.2 จงบอกหนา้ ท่ขี องส่วนประกอบต่อไปนี้ 1. ตวั กรองลม จับฝนุ่ ละออง นา้ และน้ามนั ในท่อลมหลกั 2. ตัวควบคมุ ความดนั ปรบั ลดและควบคุมแรงดนั จะทาหน้าท่คี วบคุมความดนั 3. เกจ แสดงระดบั ความดันลมอัด 4. ตัวผสมน้ามันหล่อลืน่ จ่ายน้ามันหล่อลนื่ ให้กบั อปุ กรณ์นวิ แมติกส์ โดยจะปะปนไปกับลมอัดเพอ่ื หลอ่ ล่ืนอปุ กรณต์ ่าง ๆ
72 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยที่ 2 หนา้ ที่ 1/2 วชิ า นวิ แมติกส์และไฮดรอลิกส์ เวลาเรียนรวม 72 คาบ สอนครงั้ ท่ี ทฤษฎี 2 คาบ ช่ือหน่วย ระบบการผลิตและจ่ายลม 2/18 ปฏบิ ัติ 2 คาบ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น 1. หนา้ ท่เี ปลี่ยนพลังงานกลใหอ้ ยู่ในรปู พลงั งานนิวแมติกส์คือข้อใด ก. เครื่องอดั อากาศ 2. การกาหนดขนาดของเครือ่ งอดั อากาศทจี่ ะพจิ ารณาอันดับแรกคอื ข้อใด ง. อตั ราการจ่ายลมอัด 3. เครอื่ งอดั อากาศแบบใดใหค้ วามดนั มากท่สี ุด ค. แบบใบพัด 4. เคร่อื งระบายความร้อนแบบใช้น้าหล่อเย็นเหมาะกบั สถานทใี่ ด ข. อาคารขนาดใหญ่ 5. ข้อใดคือวธิ ีการควบคุมเครือ่ งอัดอากาศในงานอตุ สาหกรรม ค. แบบ Unloading Control 6. การกาจัดความชืน้ ด้วยสารเคมคี อื หลักการของเครอ่ื งกาจดั ความชื้นแบบใด ข. แบบดูดความชนื้ 7. ขอ้ ใดคอื หนว่ ยวดั ทีน่ ยิ มใช้ของเกจวดั ความดนั ง. bar และ PSI 8. การติดตั้งท่อสง่ จ่ายลม ควรติดตัง้ อย่างไร ก. ลาดเอียง 1 – 2 % ของความยาวท่อ 9. อุปกรณใ์ ดทาหนา้ ทีป่ ้องกันการไหลย้อนกลบั ของลม ข. วาลว์ กนั กลบั 10. ข้อใดคือสญั ลกั ษณ์ชดุ ปรับคณุ ภาพลมอดั ง.
73 เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยท่ี 2 หนา้ ท่ี 2/2 วชิ า นวิ แมติกสแ์ ละไฮดรอลกิ ส์ เวลาเรยี นรวม 72 คาบ สอนครง้ั ท่ี ทฤษฎี 2 คาบ ชอื่ หน่วย ระบบการผลิตและจา่ ยลม 2/18 ปฏบิ ัติ 2 คาบ เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น 1. ข้อใดคอื การกาหนดขนาดของเครอื่ งอดั อากาศทีจ่ ะพิจารณาเปน็ อันดับแรก ง. อัตราการจา่ ยลมอดั 2. ขอ้ ใดคอื อุปกรณท์ าหน้าที่เปล่ยี นพลังงานกลให้อยู่ในรูปพลังงานนวิ แมติกส์ ก. เคร่อื งอัดอากาศ 3. เคร่ืองอัดอากาศแบบใดใหค้ วามดันมากทสี่ ุด ค. แบบใบพัด 4. ข้อใดคือวิธกี ารควบคุมเคร่อื งอดั อากาศในงานอตุ สาหกรรม ค. แบบ Unloading Control 5. เครอ่ื งระบายความร้อนแบบใช้นา้ หล่อเย็นเหมาะกบั สถานทีใ่ ด ข. อาคารขนาดใหญ่ 6. การกาจดั ความชื้นด้วยสารเคมคี ือหลกั การของเครอ่ื งกาจัดความช้นื แบบใด ข. แบบดูดความชืน้ 7. ข้อใดคอื หน่วยวดั ทีน่ ยิ มใช้ของเกจวัดความดัน ง. bar และ PSI 8. อปุ กรณ์ใดทาหน้าท่ปี ้องกันการไหลย้อนกลับของลม ข. วาล์วกันกลบั 9. การติดตัง้ ท่อส่งจ่ายลม ควรติดต้ังอย่างไร ก. ลาดเอียง 1–2 % ของความยาวท่อ 10. ข้อใดคือสญั ลักษณ์ชดุ ปรับคุณภาพลมอดั ง.
Search
Read the Text Version
- 1 - 43
Pages: