Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวม65

รวม65

Published by srisamorn-24, 2022-11-28 02:48:25

Description: รวม65

Search

Read the Text Version

แผนปฏิบตั กิ าร กศน.ตำบลนาเกลอื ประจำปี 2565 นางสาวศรสี มร จงเจิดสิน ครู กศน.ตำบลนาเกลอื ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอพระสมุทรเจดีย์ สำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั สมทุ รปราการ สำนกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ

คำนำ กศน.ตำบลนาเกลอื เป็นหนว่ ยจัดกิจกรรมการเรยี นร้กู ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศัย สังกัดศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอพระสมุทรเจดีย์ มีบทบาทหน้าที่ใน การจัดและส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่ประชาชนในชุมชน และพัฒนา กศน.ตำบล นาเกลือ ให้เป็นแหล่งการ เรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชนได้อย่างท่ัวถึงและครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายในพื้นท่ีตำบลนาเกลือ ดังน้ันเพ่ือให้ การดำเนินการจัดกิจกรรม กศน. สอดคล้องกบั สภาพปญั หาและความต้องการของผู้เรียน ผู้รบั บรกิ ารได้อยา่ งมี คุณภาพ จึงได้จัดทำแผนปฏิบัติการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปี 2565 โดย ให้ผู้เรียน ผู้รบั บริการและชุมชนมีส่วนรว่ มในการจัดทำ เพ่ือกำหนดทิศทางในการจัดกิจกรรม กศน. ให้เป็นไป ตามจุดมุง่ หมายของชุมชนและกระบวนการจดั การศึกษา กศน.ตำบลนาเกลอื จึงหวงั วา่ เอกสารฉบบั นี้ จะเป็นประโยชนต์ ่อหัวหน้า กศน.ตำบลนาเกลือ และภาคีเครือข่ายใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรม กศน. ให้กับกลุ่มเป้าหมายอย่างมีคุณภาพเป็นไปตาม มาตรฐาน กศน. นางสาวศรีสมร จงเจดิ สนิ ครู กศน.ตำบลนาเกลือ

สารบญั หน้า สว่ นท่ี 1 บทนำ 1 - ประวตั ิความเป็นมาของตำบลนาเกลอื 5 - ข้อมลู พ้ืนฐานของ กศน.ตำบล 10 - แหล่งเรียนรู้ตำบลนาเกลือ 14 สว่ นท่ี 2 บรบิ ทที่เกีย่ วขอ้ งกับ (กศน. ตำบล) 31 - บรบิ ททเ่ี กี่ยวข้องกบั 32 - ผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อม กศน.ตำบล 38 ส่วนท่ี 3 สาระสำคัญของแผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 - ทศิ ทางการดำเนินงานของ กศน.ตำบล - แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

บนั ทกึ ความเหน็ ชอบ กศน.ตำบลนาเกลือ อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ ได้จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี 2565 เสนอผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอพระสมุทรเจดีย์ เพ่ืออนุมัติเห็นชอบแผนปฏิบัติการประจำปี 2565 ของ กศน.ตำบลนาเกลือ อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จงั หวัดสมุทรปราการ และมคี วามคิดเหน็ / ข้อเสนอแนะดงั น้ี  เห็นชอบอนุมัติแผนปฏบิ ัติการประจำปี 2565 ของ กศน.ตำบลนาเกลอื  ไมเ่ ห็นชอบ เนอ่ื งจาก .......................................................................................... ......................................................................................................................... ........................... .................................................................................................................................................... ลงช่ือ...............................................ผ้เู สนอ (นางสาวศรสี มร จงเจิดสิน) ครู กศน.ตำบลนาเกลือ ลงชือ่ .............................................เห็นชอบอนุมตั ิ (นางสาวนนั ท์นภัสร์ ศรวี ิเชียร) ผอู้ ำนวยการศูนย์การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอพระสมุทรเจดีย์



ส่วนที่ 1 บทนำ 1.1 ข้อมูลพน้ื ฐานของ กศน. ตำบล ขอ้ มลู พื้นฐานตำบล 1. ท่ตี งั้ และอาณาเขต ตำบลนาเกลือ แต่เดิมชอ่ื สาขลาเปน็ หมู่บ้านท่มี ีความเป็นมาแต่ครงั้ โบราณราวสมยั สโุ ขทัย หรือสมัยอยุธยา ตอนต้น มีโบราณสถาน โบราณวัตถุ ขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษาการละเล่นพ้ืนเมืองท่ียังคงมีมาถึงปัจจุบันซ่ึงถือว่าเป็น มรดกทางวัฒนธรรมทีม่ คี า่ ของชาวจังหวดั สมุทรปราการ คำวา่ สาขลา มาจากคำวา่ สาวกลา้ ซงึ่ ชาวสาขลามีความภาคภูมิใจ ทม่ี คี วามเป็นมาในอดีต บ้านสาขลาเปน็ หม่บู า้ นเกา่ แก่ ตัง้ อยทู่ างฝัง่ ขวาของปากแมน่ ้ำเจ้าพระยา ทางราชการเรียกชอ่ื ตำบลนาเกลอื อำเภอพระสมุทรเจดีย์ ในขณะท่ีชาวบ้านในพ้ืนท่ีมีความภาคภูมิใจ ท่ีจะเรียกพ้ืนท่ีของตัวเองเป็น “บ้านสาขลา” ชื่อตำบล นาเกลือนั้น มีที่มาจากอาชีพเดิมของชาวสาขลา ประกอบอาชีพทำนาเกลือก่อนที่จะหันมาทำวังกุ้ง ขุดปูทะเล และเลี้ยง หอยแครง ทม่ี าจาก หญงิ กล้า ในประวตั ศิ าสตร์ สงครามเก้าทัพช่วงต้นสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ที่ไทยต้องทำสงครามป้องกันการบุกรุกของ ทหารกองทัพพม่า บรรดาชายฉกรรจ์ท้ังหลายต่างถูกเรียกตัวให้เข้าไปเป็นทหารประจำกองทัพ เหลือเพียงเด็ก สตรี และคนชราอาศัยอยู่ใน หมู่บ้าน คร้งั นั้นบ้านสาขลายังขึน้ อยู่กับเมืองธนบุรี ได้มที ัพพม่าบุกเข้ามากวาดตอ้ นทรัพย์สิน เล่ากันว่า กองทหารพมา่ ทบ่ี ุก เข้ามาใน ครั้งนั้ น ถูกผู้ห ญิ ง และคน ช ราบ้ าน สาขลารวมพ ลังกัน ต่อสู้ ป กป้ องห มู่บ้ าน จน ได้รับ ชัยช น ะ ต่อมาจึงมีการเรียกช่ือหมู่บ้านที่มีสตรีผู้กล้าห าญนี้ว่า บ้านสาวกล้า มีการเรียกชื่อ บ้านสาวกล้า เร่ือยมา จนกระทั่งถูกเรียกเพ้ียนกลายเป็น บ้านสาขลา อย่างที่ใช้กันในปัจจุบัน ส่วนสถานที่ ๆ สาวกล้า บ้านสาขลา สามารถต่อสู้จนเอาชนะทหารพม่าไดน้ ัน้ เปน็ บริเวณคลองท่ีถูกต้งั ชือ่ เปน็ อนสุ รณ์ แหง่ ชัยชนะครั้งนัน้ เรียกกันว่า “คลองชัย” ทศิ เหนอื ตดิ ตอ่ กับ ตำบลบา้ นคลองสวน อำเภอพระสมทุ รเจดีย์ จงั หวดั สมุทรปราการ ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกับ ตำบลแหลมฟ้าผา่ อำเภอพระสมุทรเจดยี ์ จงั หวัดสมทุ รปราการ ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกบั ตำบลแหลมฟ้าผ่าและตำบลในคลองบางปลากด อำเภอพระสมุทรเจดีย์ จงั หวดั สมุทรปราการ ทิศตะวันตก ติดต่อกบั เขตบางขุนเทยี นกรุงเทพมหานคร แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลือ 1

ภูมิประเทศ ตำบลนาเกลือ สภาพท่ัวไปเป็นท่ีราบลุม่ น้ำทะเลท่วมถึง ราษฎรส่วนใหญ่อาศัยตั้งบ้านเรือนอยู่ตามริม คลอง และการสัญจรไป - มา ส่วนใหญ่ใช้ทางน้ำโดยมีเส้นทางหลักคือคลองสรรพสามิต ปัจจุบัน มีถนนสุขสวัสดิ์ - นาเกลือ เปน็ ถนนสายหลัก เนอื้ ท่ี ตำบลนาเกลอื มีพน้ื ที่ 32.96 ตารางกโิ ลเมตร งานประจำปี 1. งานทำบุญองค์หลวงพ่อโต ตรงกับวันที่ 6 มกราคมของทุกปี ในงานจะมีการถวายภัตตาหารเพลแก่ภิกษุ-สามเณร หมดวัด แจกทนุ การศกึ ษาแก่เดก็ นกั เรยี นเรยี นดีแต่ยากจน 2. งานสงกรานต์ ตรงกับวันท่ี 17 เมษายน ของทุกปี ในงานจะมีการแห่ขบวนสงกรานต์ไปรอบหมู่บ้านเสร็จแล้วมี การละเล่นพ่ืนบ้านของคนพ้ืนที่ โดยจัดให้มีการแข่งขันเป็นหมู่คณะ เช่น การแข่งมัดปูทะเล ปิดตาตีหม้อ แข่งกินหอยแครง ชกั เยอ่ เป็นตน้ ช่วงเยน็ เวลาประมาณ 17.00 น.จะมีการสรงน้ำพระและรดน้ำดำหวั ขอพรจากผ้เู ฒ่าผแู้ ก่ในหมู่บา้ น 3. เทศน์มหาชาติ ตรงกับวันวสิ าขบูชาของทุกปี ในช่วงเชา้ จะมีการทำบุญตักบาตรพระภิกษุ-สามเณรเสร็จแล้วจะมี การร่ายพระคาถา 1000 ในช่วงบ่ายมีการเทศน์มหาชาติใน พระเวศนส์ นั ดรชาดก(ทรงเครอ่ื ง)และในเวลาประมาณ 19.00น.จะ มีการเวยี นทกั ษิณารอบพระอุโบสถ พระวิหาร รับพรจากภกิ ษสุ งฆเ์ ป็นอนั จบพธิ ี 4. งานก่อพระเจดีย์ทราย ตรงกับวัน แรม 1 ค่ำเดือน 6 ของทุกปี ในงานการห่มผ้าอนุสรณ์สถานพระปรางค์เอียง การประกวดก่อพระเจดีย์ทราย 4 ประเภท 1. ประเภทสวยงาม 2. ประเภทความคิด 3. ประเภทเงนิ มาก 4. ประเภทกองใหญ่ พรอ้ มมหรสพสมโพช ชมฟรีตลอดงาน แผนปฏิบตั ิการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลือ 2

5. งานแห่หลวงพ่อโต ตรงกับวันแรม 1 ค่ำ เดือน 11 ของทุกปี ในงานวันแรกจะมีการตักบาตรเทโวพระภิกษุ- สามเณร 2 รอบโดยรอบแรกจะเปน็ ข้าวสารอาหารแห้ง รอบ 2 ขา้ วสวย อาหารคาว-หวาน ช่วงสายจะแหห่ ลวงพ่อโตทางบก จากวัดสาขลาไปถึงวัดพระสมุทรเจดีย์แล้วจึงกลับมาที่วัดสาขลา ในวันท่ี 2 แรม 2 ค่ำ จะมีการแห่องค์หลวงพ่อโตไปทางน้ำ จากวัดสาขลาไปถงึ ท่าเรือตลาดปากนำ้ แล้วจึงแหก่ ลบั มาถงึ วดั สาขลา ชว่ งบา่ ยจะมีการแขง่ ขนั เรือประเภทต่างๆดังน้ี 5.1 ประเภทความเร็ว 5.2 ประเภทสวยงาม 5.3 ประเภทความคดิ สรา้ งสรรค์ 5.4 ประเภทตลกขบขนั นอกจากนที้ ุกวันตามเทศกาลสำคัญทางศาสนาจะมกี ารเวียนทักษิณารอบพระอโุ บสถ ประชากร มีท้ังชาวไทย ชาวจีน ต้ังบ้านเรือนอยู่กันเป็นกลุ่ม ประมาณ 4,651 หลังคาเรือน หลังคาชนกัน จนมีคำกล่าวว่า ดนิ แดนทีไ่ กบ่ นิ ไมต่ ก จำนวนประชากรทงั้ สิน้ 10,946 คน 2. การแบ่งเขตการปกครอง ตำบลนาเกลือแบง่ เขตการปกครองออกเป็น 8 หมบู่ า้ น โดยมจี ำนวนหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลเต็ม ทงั้ หมู่บา้ นทั้งหมด 8 หมู่บ้าน ดังน้ี หมทู ี่ 1 ขนุ สมทุ รไทย นายอาคม แตงอุไร ผู้ใหญบ่ ้าน หมู่ที่ 2 บ้านคลองนาเกลอื นายอภศิ ักด์ิ บุญแชม่ ผู้ใหญ่บ้าน หมูท่ ี่ 3 บา้ นสาขลา นายกรธี า เข่งสมทุ ร ผใู้ หญ่บ้าน หมทู่ ่ี 4 บ้านสาขลา นายวริ ุต เฉ่ือยฉ่ำ ผู้ใหญ่บา้ น หมู่ที่ 5 บ้านสาขลา นายชยั วฒั น์ อว่ มสอาด กำนนั หมทู่ ่ี 6 บ้านคลองทะเล นางสนุ ยี ์ คงวารี ผู้ใหญบ่ ้าน หมู่ที่ 7 บา้ นสาขลา นายสุพจน์ อ่วมสอาด ผู้ใหญ่บา้ น หม่ทู ี่ 8 บ้านคลองกระออม นายเกรกิ ศักดิ์ กรรสวสั ดิ์ ผใู้ หญ่บ้าน แผนปฏิบัติการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลือ 3

หมู่บ้าน จำนวนประชากร ตำบลนาเกลอื จำนวนเพศหญงิ รวม หมทู ่ี 1 ขนุ สมทุ รไทย จำนวนเพศชาย 577 1,144 หมทู่ ี่ 2 บ้านคลองนาเกลอื 567 505 968 หมทู่ ี่ 3 บา้ นสาขลา 463 632 1,210 หมู่ท่ี 4 บา้ นสาขลา 578 509 993 หมู่ท่ี 5 บ้านสาขลา 484 412 820 หมทู่ ี่ 6 บา้ นคลองทะเล 408 563 1,097 หม่ทู ี่ 7 บา้ นสาขลา 534 531 1,048 หมทู่ ่ี 8 บา้ นคลองกระออม 517 1,902 3,666 1,764 5,631 10,946 รวม 5,315 3. การศกึ ษา สถาบันการศกึ ษา - ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเลก็ 2 แหง่ 1. ศูนยพ์ ัฒนาเด็กเล็กบา้ นสาขลา 2. ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กคลองทะเล - โรงเรยี นในเขตพน้ื ทอี่ งค์การบริหารสว่ นตำบลนาเกลือ 4 แห่ง 1. โรงเรียนชุมชนวดั สาขลา 2. โรงเรยี นบา้ นขุนสมุทรไทย 3. โรงเรียนวัดศรีคงคาราม 4. โรงเรียนสาขลาสุทธรี าอุปถัมภ์ - กศน.ตำบลนาเกลอื 4. การคมนาคม o ทางบก มีถนนสายหลัก คือ ถนนสุขสวสั ดิ์ – นาเกลอื o ทางนำ้ ตามคลองสรรพสามิตและคลองสายต่าง ๆ แผนปฏิบัติการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลือ 4

ข้อมูลพืน้ ฐานของ กศน.ตำบล 1. ชอ่ื กศน. ตำบลนาเกลือ 2. ทีต่ ง้ั /การติดต่อ ศาลาประชารฐั ร่วมใจสามคั คี หมู่ท่ี 2 บ้านคลองนาเกลอื ตำบลนาเกลือ อำเภอพระสมุทรเจดยี ์ จังหวดั สมุทรปราการ รหสั ไปรษณีย์ 10290 โทรศัพท์ 087-9844304 E-mail : [email protected] 3. สงั กัด กศน.อำเภอพระสมุทรเจดีย์ 4. ประวัติความเปน็ มาของ กศน.ตำบล 4.1 ประวัติ กศน.ตำบลนาเกลือ สงั กัด กศน.อำเภอพระสมุทรเจดีย์ สำนกั งาน กศน.จังหวัดสมุทรปราการ ได้รับ การอนุเคราะห์จากองค์การบริหารส่วนตำบลนาเกลือ ให้การสนับสนุนสถานท่ี ตั้งอยู่ท่ี อาคารท่ีทำการสภาตำบลนาเกลือ (หลงั เก่า) หมู่ท่ี 3 ตำบลนาเกลอื อำเภอพระสมุทรเจดยี ์ จังหวดั สมุทรปราการ ศูนย์การเรียนชุมชนนาเกลือ ประกาศจัดตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2544 ต่อมาเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2552 คณะรัฐมนตรี ได้มีมติเห็นชอบข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ี 2 (พ.ศ. 2552 – 2561) ได้มอบให้สำนักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย จัดให้มี กศน.ตำบล ทุกตำบล จงึ ไดเ้ ปลย่ี นชือ่ จากศนู ย์การเรียนชุมชนนาเกลือ มาเป็น กศน.ตำบลนาเกลือ ได้ทำพิธีเปิดป้าย กศน.ตำบลนาเกลือเม่ือวันที่ 10 กรกฎาคม 2553 โดยมีนายอภิสรรค์ สง่าศรี นายอำเภอพระสมทุ รเจดีย์ ในขณะนั้น เป็นประธานในพธิ ี ต่อมาได้รับการอนุเคราะห์ จาก นายอภิศักด์ิ บุญแช่ม ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ 2 บ้านคลองนาเกลือ ตำบลนาเกลือ ให้การ สนับสนุนสถานที่ศาลาประชารัฐร่วมใจสามัคคี ซึ่งเป็นท่ีราชพัสดุอยู่ในความดูแลของ นิคมสหกรณ์บ้านไร่ ให้จัดตั้งเป็นที่ทำ การ กศน.ตำบลนาเกลอื แผนปฏิบัติการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลือ 5

4.2 อาณาเขตมจี ำนวน 8 หมบู่ ้าน ดังน้ี หมทู ่ี 1 ขุนสมทุ รไทย หมู่ที่ 2 บ้านคลองนาเกลอื หม่ทู ี่ 3 บ้านสาขลา หมทู่ ี่ 4 บา้ นสาขลา หมทู่ ี่ 5 บา้ นสาขลา หมู่ที่ 6 บ้านคลองทะเล หมู่ที่ 7 บ้านสาขลา หมู่ที่ 8 บ้านคลองกระออม 4.3 สภาพชมุ ชน วิถชี วี ิตในชุมชน สภาพพ้ืนท่หี มู่บา้ นสาขลา ตำบลนาเกลือ ตงั้ อยูท่ ่ามกลางป่าชายเลน มคี วามแปลก กว่าที่อ่ืนอย่างเห็นได้ชัด เพราะสาขลาเป็นบ้านสามน้ำ สามป่า สามนาและสามหอย โดยมีความหมายมาจากทรัพยากร ต่างๆ ท่เี ป็นองคป์ ระกอบของบ้านสาขลา ดงั น้ี สามน้ำ คอื มที ้ัง นำ้ จืด ดา้ นตดิ ตอ่ กบั ธนบรุ แี ละเขตอื่น ซง่ึ แตเ่ ดิมนำน้ำจดื มาทำนาขา้ วและทำสวน ส้ม เล้ียงปลาสลดิ ก็ยงั ได้ น้ำกรอ่ ย พืน้ ท่ีซ่ึงสามารถนำนำ้ จากบริเวณใกลป้ ากอ่าว โดยคลองต่างๆ ทีอ่ ยู่ใตค้ ลองบางปลากด ลงไป จากสว่ นติดต่อระหว่างบางขุนเทยี นจนถึงสมุทรสาคร นำ้ เคม็ คอื สว่ นทต่ี ดิ กับทะเล สามปา่ คือปา่ แสม ปา่ จาก ปา่ โกงกาง และยังมปี า่ อกี ส่วนหนึง่ ซึ่งแตเ่ ดิมเป็นเส้นทางการเดินทาง จากบา้ นสาขลาออกมาด้านคลองบางปลากด เป็นปา่ ทมี่ ีสตั ว์ป่า เช่น เก้ง สมัน เน้อื เสอื ส่วนในนำ้ มจี ระเขน้ ำ้ จดื สามนา คือ นาข้าว หมายถึงพ้ืนทดี่ ้านติดตอ่ นำ้ จืด สามารถทำนาข้าวได้ นากุ้งและปลา ดว้ ย สภาพท่ีมีน้ำจืด น้ำกร่อย น้ำเค็ม จึงทำนากุ้งและนาปลาได้ ในยุคก่อนๆ เลี้ยงปลาสลิดด้วย นาเกลือ ด้านชายฝ่ังทะเล สามารถดำเนนิ อาชีพทำนาเกลือไดด้ ี ทรัพยากรพรอ้ มมากทง้ั ท่ีดนิ นำ้ ทะเล ลม และแสงแดด สามหอย ได้แก่ หอยแครง หอยแมลงภู่ หอยนางรมและหอยกระพง การทำนาเกลือเป็นอาชีพหลักของชาวสาขลามาต้ังแต่ครั้งดึกดำบรรพ์ ทำเฉพาะในฤดูแล้งกับฤดูหนาว ประมาณ 6 เดือน พอถึงฤดูฝนก็ต้องเลิกทำเพราะฝนตกมากทำนาเกลือไม่ได้ผล ชาวนาเกลือก็จะเปลี่ยนอาชีพไปทำการ ประมง เพ่ือหารายได้มาเลี้ยงครอบครัว ทำให้รายได้ไม่สม่ำเสมอ และเกลือในท้องที่ก็ผลิตข้ึนเพื่อใช้ในประเทศ เท่านั้น เพราะต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่นอ้างว่าเกลือของเรามีความเค็มน้อย เป็นเกลือที่มีคุณภาพไม่ดีพอ ทำให้ราคาเกลือ ตกตำ่ แพ้ที่อน่ื ซึง่ ชาวสาขลาสว่ นใหญ่จึงเปล่ยี นอาชีพใหม่ หันมาทำนากุ้งนาปกู นั มากขนึ้ นาเกลือจงึ เปล่ียนสภาพเป็นวงั กุ้งเสียเปน็ ส่วนมาก เพราะพ้ืนทีท่ ำนาเกลอื กักขงั นำ้ ไม่ให้รว่ั ไหลอยแู่ ล้ว การทำวงั ก้งุ ต้องขังน้ำในนาใหอ้ ยู่ และทำประตูนำ้ สำหรบั ระบายนำ้ เข้า-ออก เพ่อื ไขน้ำทะเลเขา้ ในนา การเล้ียงหอยแครงในนากุ้งก็เป็นอีกอาชีพหน่ึงที่ชาวสาขลาเร่ิมทำกนั ในระยะหลังๆ ด้วยปรากฎว่าการเล้ียงกุ้งเร่ิมมี ปญั หาเร่อื งนำ้ เสยี แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลือ 6

การเลี้ยงหอยแครงในนากุ้ง เป็นการพ่ึงพาซ่ึงกันและกัน การอยู่โดยไม่ทำลายกัน เจริญเติบโตอยู่ด้วยกัน โดย ปกติหอยชนิดต่างๆ จะเก็บกินขี้ปลาอยู่แล้ว ส่วนการกินโคลนของหอบแครงนั้นเป็นการกินแพลงตอนและเศษอาหารจาก สตั ว์อน่ื ๆ นับเป็นยุทธศาสตร์การคดิ ท่ชี าญฉลาดของชาวบา้ น อาชีพใหม่ของชาวสาขลาอาชีพหน่ึงคือการเล้ียงหอยนางลม กระทำกันชายฝ่ังทะเล และบริเวณท่ีน้ำทะเลท่วม ถึง โดยใช้อิฐบล็อกและหินให้หอยมาเกาะตามธรรมชาติ เม่ือหอยโตพอประมาณก็จะแกะขาย หนึ่งกระป๋องนมตราหมี ราคาประมาณ 200 บาท ส่วนอาชีพการประมง ชาวสาขลาส่วนใหญ่ทำการประมง พอจะแบ่งได้เป็นสองประเภท คือ การประมง ทะเล ได้แก่การทำโป๊ะนำ้ ลึก โป๊ะน้ำต้ืนและเครื่องมือชายฝ่ัง เช่น จำพวกเบ็ดราว ลอบทะเลและอ่ืนๆ ส่วนอีกประเภทหนึ่ง คอื การประมงในฝั่ง ได้แกก่ ารจับปลาตามลำคลองโดยใชเ้ ครื่องมือ เช่น แห ลอบ เฝอื ก สวิงและอนื่ ๆ 5. คณะกรรมการ กศน.ตำบล ลำดบั ที่ นายอภิศกั ด์ิ บุญแช่ม รายละเอยี ด 1 นายศกั ดิ์สทิ ธิ์ พลิ ศกั ด์ิ ตำแหนง่ /อาชีพ ประธาน/ผู้ใหญบ่ า้ น 2 นางเล็ก นม่ิ พระยา ตำแหนง่ /อาชีพ รองประธาน/ผชู้ ว่ ยผู้ใหญ่บ้าน 3 นางคนงึ นชุ แตงอุไร ตำแหน่ง/อาชีพ กรรมการ/กลุ่มแม่บ้าน 4 นางภิรมณ์ อว่ มสอาด ตำแหน่ง/อาชีพ กรรมการ/ผชู้ ่วยผู้ใหญ่บา้ น 5 นายอำภัย อำพนั ทอง ตำแหนง่ /อาชีพ กรรมการ/สมาชิก อบต. 6 นายสรุ เชษฐ์ ขนุ ด่าน ตำแหน่ง/อาชพี กรรมการ/ปราชญช์ าวบ้าน 7 นางณัฐพงษ์ เพ็งรักษา ตำแหน่ง/อาชีพ กรรมการ/ผู้ชว่ ยผ้ใู หญ่บ้าน 8 นางสุดคนงึ อาศยั ผล ตำแหนง่ /อาชพี กรรมการ/ผูช้ ่วยผใู้ หญบ่ า้ น 9 นางลินดา สอนจันทร์ ตำแหน่ง/อาชพี กรรมการ/ผู้ชว่ ยผู้ใหญบ่ ้าน 10 นายชยั วฒั น์ อ่วมสอาด ตำแหน่ง/อาชพี กรรมการ/อสม. 11 นางบหุ งา ตะละศักดิ์ ตำแหน่ง/อาชีพ กรรมการ/กำนัน 12 นายมานพ ประกอบผล ตำแหนง่ /อาชีพ กรรมการ/เกษตรกร 13 นางสาวศรีสมร จงเจดิ สิน ตำแหนง่ /อาชีพ กรรมการ/ผชู้ ่วยผู้ใหญบ่ ้าน 14 ตำแหน่ง/อาชพี กรรมการและเลขานกุ าร/ครู กศน.ตำบล แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลอื 7

6. โครงสร้างการบริหาร กศน.ตำบลนาเกลอื นางสาวนันท์นภัสร์ ศรวี ิเชยี ร ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอพระสมุทรเจดีย์ กรรมการ กศน. นางชืน่ จติ แก้วแสงเอก นางสาวศรสี มร จงเจดิ สิน ตำบล ครอู าสาสมคั รฯ ครู กศน.ตำบลนาเกลือ นายอภภิ ู คหนิ ทพงศ์ ครชู ำนาญการ งานส่งเสรมิ การรู้ งานการศึกษาพ้ืนฐาน งานการศกึ ษาตอ่ เน่ือง งานการศึกษาตาม งานภาคีเครอื ขา่ ย งานกิจกรรมพิเศษ หนังสือ นอกระบบ - งานการศกึ ษาเพอ่ื อัธยาศยั - เทศบาลตำบลพระ - ผูไ้ มร่ หู้ นงั สอื พัฒนาอาชีพ - สง่ เสรมิ การอา่ น สมทุ รเจดยี ์ - ประถมศึกษา - งานการเพื่อพัฒนา - บ้านหนังสอื ชมุ ชน - กำนนั ผ้ใู หญบ่ า้ น - มธั ยมศกึ ษาตอนต้น สงั คมและ - อาสาสมคั รสง่ เสรมิ - สมาชกิ ศส.ปชต - มัธยมศกึ ษาตอน ชมุ ชน การอา่ น - โรงเรยี น ปลาย - งานการศกึ ษาเพอ่ื ฯลฯ พฒั นา ทกั ษะชีวิต - การจดั กระบวนการ เรียนรตู้ าม แนวปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลือ 8

7. ทรพั ยากรและส่ิงอำนวยความสะดวกในการจดั การศึกษา 7.1 อาคารสถานที่ เปน็ อาคารทเ่ี ปน็ เอกเทศ ลักษณะอาคารเปน็ ปูน 1 ชนั้ สภาพอาคารทมี่ ่ันคง มีความเปน็ สดั ส่วนและปลอดภัย 7.2 สาธารณูปโภคและสิง่ อำนวยความสะดวก - ไดร้ บั การสนับสนุนคา่ นำ้ คา่ ไฟฟ้า จาก นายอภศิ ักด์ิ บญุ แช่ม - ส่งิ อำนวยความสะดวก ไดแ้ ก่ สัญญาณ Wifi ฟรี , คอมพิวเตอร์ , ทีวี จานเหลอื ง , หนังสือประเภทต่าง ๆ เป็นตน้ แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลอื 9

8. แหลง่ เรยี นรู้และเครือขา่ ย 8.1 แหล่งเรยี นรู้ 8.1.1 กศน.ตำบล ชือ่ กศน.ตำบล ที่ตงั้ ผู้รบั ผดิ ชอบ นางสาวศรีสมร จงเจิดสิน กศน.ตำบลนาเกลือ หมู่ 2 ตำบลนาเกลือ อำเภอพระสมุทรเจดยี ์ จงั หวัดสมุทรปราการ 8.1.2 ภมู ิปญั ญาท้องถิ่น ชื่อภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ความสามารถและประสบการณ์ ทอ่ี ยู่ 256 หมทู่ ี่ 3 ต. นาเกลือ อ. พระสมทุ รเจดีย์ นางสนุ ทร สุวรรณนาวิน การทำกุ้งเหยียด / กุ้งแห้ง จ. สมุทรปราการ โทร 02-8484240 141 หมู่ 5 ต. นาเกลือ อ. พระสมทุ รเจดีย์ นางบรรจง อ่วมสอาด การทำกุ้งเหยยี ด / กงุ้ แห้ง จ. สมุทรปราการ โทร 02-8484130 151 หมู่ 7 ต. นาเกลือ อ. พระสมทุ รเจดยี ์ นายประธาน แม้นเหลอื งอ่อน การทำปูสตา๊ ฟ จ. สมทุ รปราการ โทร 02 -8484193 134 หมู่ 5 ต. นาเกลอื อ. พระสมทุ รเจดีย์ นายสุวฒั นช์ ยั ทับทมิ ปรู ามเกยี รติ จ. สมทุ รปราการ โทร : 08 6012 2704 64 ม.2 ต. นาเกลือ อ. พระสมทุ รเจดยี ์ นางซ่อนกลิ่น บญุ แช่ม การแปรรปู ลูกจาก/ตน้ จาก จ. สมุทรปราการ โทร 02-8152028 64 ม.2 ต. นาเกลือ อ. พระสมุทรเจดีย์ นายอภศิ ักด์ิบุญแช่ม ศูนยเ์ ศรษฐกจิ พอเพยี ง/ปา่ ชายเลน จ. สมทุ รปราการ โทร 08 4644 5228 211 หมู่ 5 ต. นาเกลือ อ. พระสมทุ รเจดีย์ นางบหุ งา ตะละศกั ดิ์ เกษตรธรรมชาติ จ. สมทุ รปราการ โทร : 08 9447 8485 แผนปฏบิ ัติการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลอื 10

8.1.3 แหล่งเรยี นร้อู ่นื ๆ วัดสาขลา คำวา่ สาขลา มาจากคำวา่ สาวกล้า เป็นหมบู่ ้านมมี านานเก่าแก่ตามท่ีสันนิฐานว่าเปน็ หมู่บ้านมาต้ังแต่สมัย สุโขทัยหรือสมัยอยุธยาตอนต้น สมัยรัชกาลที่ 1 ได้เกิดสงคราม 9 ทัพ สงครามคร้ังนั้นชายฉกรรจ์ทุกคนต้องเป็นทหาร หมู่บ้านสาวกล้าอุดมสมบูรณ์ ซึ่งเป็นเสบียงที่สำคัญของกองทัพ พม่าจึงได้ส่งกองลาดตระเวนออกกวาดต้อนคนไทย และ เสบียงอาหาร ขณะนั้นหมู่บ้านสาวกล้าคงเหลือแต่ผู้หญิง จึงรวมใจกันจับอาวุธเท่าท่ีหาได้ใช้กลยุทธ์ในการต่อสู้ อีกทั้งความ ชำนาญภูมิประเทศเข้าสู้รบกับกองลาดตระเวนพม่า จนวันท่ี 21 ธันวาคม 2485 พม่าพ่ายแพ้ถอยทัพไปในท่ีสุด สถานท่ีต่อสู้ กับพมา่ จนได้รับชัยชนะเรียกว่าคลองชัย จนถึงปัจจุบันน้ี ตำบลสาขลา เปลี่ยนชือ่ เป็นตำบลนาเกลือ สัญลักษณ์วีระสตรีสาว กลา้ พรอ้ มอาวุธสากต่อส้กู บั พมา่ ไดร้ บั ชยั ชนะ ณ บริเวณสถานท่ี คลองชัย บา้ นสาขลา ต้นปี 2550 มีการดีดพระอุโบสถขึ้น เพราะพระอุโบสถมีพื้นท่ีต่ำทำเกิดน้ำท่วม ในช่วงหน้าน้ำข้ึนพระโอสถ เป็นที่ประดิษฐานของหลวงพ่อโต โดยมีการร่วมมือของคนในชุมชน ร่วมกันดีดพระอุโบสถข้ึนมา โดยพบวัตถุโบราณ พระพุทธรูป และลูกนิมิตมีอายุกว่า 220 ปี พระภิกษุสงฆ์ และชาวบ้านร่วมมือ ช่วยกันขุดลูกนิมิต มาประดิษฐานไว้บนพระ โอสถ เพ่ือให้ชาวบ้านในสาขลาและบุคคลท่ัวไปมาปิดทองลูกนิมิตเพื่อเป็นสิริมงคล และยังมีการทำพื้นใต้พระอโุ บสถ เพ่ือให้ บุคคลท่วั ไป มาร่วมกันลอดพระอุโบสถ โดยดา้ นหนา้ ของพ้ืนใต้พระโอสถ เป็นรูปราหอู มจันทร์ ซ่ึงมกี ารตกแต่งอย่างสวยงาม สว่ นด้านท้ายของพระอุโบสถ เป็นตัวช้าง ช่ือพลายมหาลาภ และพลายมงคลเพราะชาวบ้านถือว่าช้างเป็นสัตว์มงคลอยากให้ บคุ คลท่ัวไปทมี่ าลอดพระโอสถ ไดล้ อดท้องช้างด้วย เพอื่ เปน็ สริ ิมงคลใหก้ ับชวี ติ พพิ ธิ ภณั ฑพ์ นื้ บา้ นสาขลา ต้นปี 2550 วัดสาขลาและชุมชนบ้านสาขลา เห็นว่าครัวเรือนแต่ละหลัง ในชุมชนบ้านสาขลา เป็นคน เก่าแก่และมีอายุท่ียืน และมีส่ิงของพ้ืนบ้านตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 เป็นต้นมา จึงร่วมกันก่อสร้างพิพิธภัณฑ์พ้ืนบ้านสาขลา ขึ้นมาโดยใช้พื้นท่ีวัดสาขลา เป็นสถานท่ีตั้ง โดยได้รับความอนุเคราะห์จากเจ้าอาวาส และในแต่ละครัวเรือนได้นำสิ่งของที่มี อายุเก่าแก่ มารวมไว้ท่ีพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ เพื่อให้ประชาชนรุ่นหลังได้มาศึกษาค้นคว้า เกี่ยวกบั ส่ิงของท่ีใช้ในอดีต เช่น หม้อดิน ท่ีจับปลาเตาหินลอบสวิงเครื่องมือจับปลาที่หาดูยากเป็นต้น และข้าง ๆ พิพิธภัณฑ์ยังมีบ้านเรือนไทย ในบ้านเรือนไทย เป็น สถานที่เก็บรอยพระพุทธบาท และ พระโมตคลาพระสาลีบุตร เป็นพระพุทธรูปที่แกะสลักจากไม้ อายุหลายร้อยปี พระ ปรางค์ห้ามสมุทร เป็นพระพุทธรปู ที่อยู่ตอนบนของพระปรางค์เอนซง่ึ มีช่องไว้พระพุทธรูปดว้ ยกัน4 ด้าน หรือ 4 ทิศ ด้วยกัน แต่เนื่องจากพระปรางค์เกิดการทรุดตัวเอนลง ทำให้ชาวบ้านกลัวพระพุทธรูปจะหล่นลงมา จึงนำพระพุทธรูปลงมา แล้ว นำไปประดิษฐานไว้ในพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านสาขลา และอีกด้านของพระปรางค์เอน โดนฟ้าผ่า ทำให้มีรอยไหม้แต่องค์ พระพุทธรูปไม่ชำรุด มีเพียงแต่รอยดำ ท่ีบริเวณหน้าอก และใบหน้าเท่าน้ัน ชาวบ้านจึงนำพระพุทธรูปมา ประดิษฐานท่ี พพิ ธิ ภณั ฑพ์ ื้นบ้านสาขลา และยงั มพี ระศรีอาน เปน็ พระพทุ ธรปู ไมแ้ กะจากตน้ ซงุ ตน้ ใหญ่ มอี ายุกว่า 200 ปี แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลือ 11

พระปรางค์เอน พระปรางค์เอน วัดสาขลา เดิมเป็นหินอ่อนแกะสลักและต่อมาเอาปูนซีเมนต์ทับตัวป้านหนังสือ “ศุภมัสดุ พระพุทธศาสนายุกาล เป็นส่วนอดีตกาลสมัยล่วงแล้ว 2427 พรรษา ปัตยุบันกาล มภฏร สังวัจฉระ เฉดถมาศ กาฬปักษ์ จตุตถ ดิถีครุ ุวาร ปริเฉทการ กำหนดเป็นวนั ฤกษ์แรก ลำดับอิติ พระสถูปนี้ กระทำการอยู่ปีหนึ่ง กับห้าเดือนจึงสำเร็จสิ้นปูน 60 เกวยี น คดิ เป็นเงินท้ังค่าจ้าง และค่าอิฐปูนและใช้ในการท้ังสิ้นนัน้ “ แปลออกมาว่า ต้ังแต่แรกก่อสร้างเม่ือ วนั พฤหัสบดี เดือน 7 แรม 4 คำ่ พทุ ธศกั ราช 2427 จนสำเร็จสิน้ ปนู ก่อสร้าง 60 เกวียน รวมค่าใชจ้ า่ ย เป็นเงินทง้ั ส้ิน 78,500.-บาท ความ สูงของพระปรางเอนสูง 13 วา พระปรางค์สร้างครั้งแรกตรงและลงเสาเข็มนอนทางด้านทิศตะวันออกไว้มากเน่ืองจากที่ดิน เปน็ หลุมเป็นบ่อมากจึงทรดุ แต่ปรากฏตรงกนั ขา้ มพระปรางค์ได้ทรงเอียงด้านทิศตะวนั ตก พระปรางค์ใหญ่น้ีสรา้ งเมอ่ื ภายหลัง การสร้างวัด ส่วนกำแพงแก้ว และปรางค์องค์เล็กส่ีทิศส่ีมุม สร้างประมาณ พุทธศักราช 2450 ก่อสร้างภายหลังพระปรางค์ องค์ใหญ่ สังเกตลวดลายและเนื้อปูนท่ีก่อสร้าง จะเห็นได้ว่าคนละสมัย ฝีมือช่างไม่เหมือนกัน อน่ึง พระปรางค์วัดสาขลา นา เกลอื เปน็ อนุสรณ์ แห่งชัยชนะของชาวตำบล (สาขลา สาวกล้า ) นาเกลอื หลังจากรบชนะพม่า เมื่อ พุทธศักราช 2328 เป็น การประกาศให้โลกรู้ ถึงชัยชนะที่กล้าหาญของวรี สตรแี ห่งสาวกล้า ภายหลังเมอื่ เวลาลว่ งเลยมาถึง 100 ปี จงึ สร้างประปรางค์ ข้ึน แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลือ 12

ตลาดโบราณบา้ นสาขลา เม่ือวันที่ 6 เม.ย. 2556 ท่ีผา่ นมามีตลาดโบราณเปิดตวั ข้นึ มาอีกท่ีซงึ่ ตง้ั อยู่ทหี่ มู่บา้ นสาขลา สมทุ รปราการ ซง่ึ ในพธิ ี เปิดตลาดมี ส.ส.ดร ประชา ประสพดี ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในขณะนั้น นายปวิณ ชำนิประศาสน์ รอง ผูว้ ่าราชการจังหวัดสมทุ รปราการ ในขณะน้ัน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และคณะผู้บริหาร อบต.นาเกลือ รว่ มเปิดตลาดโบราณบ้าน สาขลา ตลาดโบราณบ้านสาขลาเกิดข้ึนจากความร่วมมือร่วมใจกันจากส่วนราชการ ท่านเจ้าอาวาสวัดสาขลา ผู้นำชุมชน สาขลา และชาวบา้ นในชุมชนสาขลาท่ีตอ้ งการปักหมุดบ้านสาขลาให้เป็นจุดหมายปลายทางในการทอ่ งเท่ียวเพ่ิมขึ้นอีกที่หน่ึง บนแผนท่ีการท่องเท่ียว และด้วยวิถีชีวิตดั้งเดิมของชาวสาขลาที่มีการค้าขายของกินของใช้กันในชุมชนกนั มานานหาใช่ให้คน ภายนอกมาซอื้ ทเ่ี ปิดร้านขายของทห่ี าได้ทั่วไปแต่มาคราวน้ีได้เปิดต้อนรับนักท่องเท่ียวท่เี สาะแสวงหาวถิ ีชีวิตพ้นื บา้ นแบบใกล้ กรุงอนั ศิวิไลซ์สุดๆ ผลติ ภณั ฑ์ท่ีขน้ึ ชอื่ ของท่ีนีแ่ ละมที ี่เดียวคือ กุ้งเหยยี ด และอาหารทะเลประเภทอนื่ ๆอีกหลายชนิด เปิดเฉพาะวันเสาร์-อาทิตย์ 07.00- 18.00 แตบ่ า่ ยๆตลาดกเ็ ลกิ เเล้ว การเดินทางมาสาขลา มีรถโดยสารสองเเถวใหญ่สีฟ้าจอดบริการอยู่ เห็นปลายทางสาขลาโดยขึ้นได้เลยหรือรถ สว่ นตวั ก็ว่ิงสุขสวัสดิ์มงุ่ หนา้ สามแยกเจดีย์ เล้ียวขวาไปทางป้อมพระจุล ขา้ มสะพานสงู แล้วเล้ียวขวาเขา้ ซอยตรงไปตามทางอีก ประมาณ 10 กม. มปี ้ายบอกตลอดทาง หมบู่ า้ นเศรษฐกิจพอเพียง ต้นแบบ บา้ นคลองนาเกลือ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการท่องเท่ียวต้นแบบ ต่อยอดวิถีชีวิตประจำวันของคนในชุมชนผลักดันต้นจากท่ี ชาวบ้านนิยมปลูกตามริมคลอง มาทำงานจักสาน จนเกิดผลติ ภณั ฑเ์ อกลักษณป์ ระจำท้องถ่ิน บ้านคลองนาเกลือ หมู่ 2 ตำบล นาเกลืออำเภอพระสมุทรเจดีย์ จังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งเป็นหมู่บ้านท่ีมีเอกลักษณ์โดดเด่นและเป็นแบบอย่างในการน้อมนํา แนวทางเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นการดํารงชวี ิตประจาํ วนั และยังเป็นจุดแลกเปลี่ยนเรียนรูใ้ หก้ ับชมุ ชน ซ่ึงเป็นโอกาสท่ีดขี อง คนในหมู่บ้านท่ีจะมีการเรียนรู้ด้วยตนเองและปฏิบัติจริง“การท่องเที่ยวเชิงวิถีชีวิตเป็นการท่องเที่ยวเพื่อสัมผัสวิถีชีวิตชุมชน เปิดโอกาสให้นักท่องเท่ียวมีส่วนร่วมเรียนรู้จากการท่องเที่ยวในสถานท่ีหรือชุมชนท่ีมีเอกลักษณ์โดดเด่น ไม่ว่าจะเป็นในแง่ ศิลปวัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นท่ีสืบทอดต่อเนื่องกันมาอย่างยาวนานหรือภูมิปัญญาชาวบ้านที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตอย่าง ลงตัว แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลือ 13

ส่วนท่ี 2 บริบททเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั (กศน. ตำบล) 2.1 บรบิ ทท่ีเก่ียวข้อง ➢ ยทุ ธศาสตรช์ าตริ ะยะ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) กระทรวงศึกษาธิการ จะดำเนินการตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) ภายใต้วิสัยทัศน์ “ประเทศมีความม่ันคง ม่ังค่ัง ย่ังยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ซ่ึงได้ กำหนดไวใ้ นรัฐธรรมนญู ฯ โดยยดึ ยุทธศาสตรช์ าติเป็นจุดเน้นการศึกษาท่จี ะดำเนินการ 6 ด้าน คอื 1. ความมั่นคง 2. การสรา้ งความสามารถทางการแข่งขัน 3. การพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพการเสริมสรา้ งทรัพยากรมนษุ ย์ 4. การสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 5. การสร้างการเติมโตบนคุณภาพชวี ติ ท่ีเปน็ มติ รตอ่ สง่ิ แวดล้อม 6. การปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครฐั ➢ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2561 - 2564) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2561 - 2564) มหี ลักการสำคัญคือ 1. ยึด “หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” 2. ยึด “คนเปน็ ศูนย์กลางการพัฒนา” 3. ยดึ “วสิ ยั ทัศน์ ภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ป)ี ” 4. ยดึ “เป้าหมายอนาคตประเทศไทย ปี 2579” 5. ยึด “หลักการเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ ทีล่ ดความเหลื่อมล้ำและขับเคล่ือนการ เจริญเติบโตจากการเพิ่มผลผลติ ทมี่ คี ุณภาพ บนมาตรฐานการใชภ้ ูมิปัญญา และนวตั กรรม” 6. ยดึ “หลักการนำไปสกู่ ารปฎิบัติใหเ้ กิดผลสัมฤทธ์อิ ยา่ งจริงจังใน 5 ปี ที่ตอ่ ยอดไปสู่ ผลสมั ฤทธ์ิทเ่ี ป็นเป้าหมายระยะยาว” ➢ ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาประเทศ (พ.ศ. 2560 – 2564) ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยทุ ธศาสตร์การเสริมสรา้ งและพัฒนาศกั ยภาพทนุ มนุษย์ 1 ปรับเปลีย่ นคา่ นิยมคนไทยใหม้ คี ุณธรรม จริยธรรม มวี นิ ยั จติ สาธารณะ และพฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ 2 พฒั นาศักยภาพคนใหม้ ีทักษะความรู้ และความสามารถในการดำรงชีวติ อย่างมคี ุณคา่ 3 ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรยี นร้ตู ลอดชีวิต 4. ลดปจั จัยเสยี่ งด้านสขุ ภาพและให้ทุกภาคสว่ นคำนงึ ถงึ ผลกระทบต่อสขุ ภาพ 5. พัฒนาระบบการดูแลและสร้างสภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสมกบั สังคมสงู วัย แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลอื 14

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 ยุทธศาสตร์การสรา้ งความเปน็ ธรรมและลดความเหล่อื มลำ้ ในสังคม 1. การเพิ่มโอกาสให้กับกลุ่มเป้าหมายประชากรร้อยละ 40 ท่ีมีรายได้ต่ำสุดให้สามารถเข้าถึงบริการ ที่มี คุณภาพของรัฐและมีอาชพี 2. การกระจายการให้บริการภาครัฐท้ังด้านการศึกษา สาธารณสุข และสวัสดิการท่ีมีคุณภาพให้ ครอบคลมุ และทั่วถงึ 3. การเสรมิ สร้างศักยภาพชุมชน การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน และการสร้างความเข้มแข็งการเงิน ฐานราก ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อให้ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้ มีสิทธิในการจัดการทุน ท่ีดินและทรัพยากร ภายในชุมชน ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ยุทธศาสตร์การเติบโตท่ีเปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างย่ังยืน 1. การรกั ษาฟน้ื ฟูทรัพยากรธรรมชาติ สร้างสมดลุ ของการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์อยา่ งย่ังยืนและ เปน็ ธรรม 2. เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการทรัพยากรน้ำเพือ่ ให้เกิดความมน่ั คง สมดลุ และยงั่ ยนื 3. แก้ไขปญั หาวกิ ฤตสิ่งแวดล้อม 4. สง่ เสริมการผลิตและการบรโิ ภคที่เป็นมิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม 5. สนับสนุนการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และเพิ่มขีดความสามารถในการปรับตัวต่อการ เปลยี่ นแปลงสภาพภมู ิอากาศ 6. พัฒนาระบบการบริหารจัดการและกลไกแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอ้ ม ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความม่ันคงแห่งชาติเพ่ือการพัฒนาประเทศ สู่ความมั่งค่ัง และยัง่ ยืน 1. การรักษาความมน่ั คงภายใน เพ่ือใหเ้ กดิ ความสงบในสงั คมและธำรงไว้ซึ่งสถาบนั หลกั ของชาติ 2. การบริหารจัดการความม่ันคงเพ่ือการพัฒนา เพื่อให้เกิดความสอดคล้องกันระหว่างแผนงานที่ เกีย่ วขอ้ งกับความมัน่ คงกับแผนงานการพฒั นาอื่น ๆ ภายใต้การมีส่วนรว่ มของภาคประชาชน ยุทธศาสตร์ท่ี 6 ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและ ธรรมาภิบาลใน สังคมไทย 1. ปรบั ปรุงโครงสรา้ งหน่วยงาน บทบาท ภารกิจ และคุณภาพบุคลากรภาครัฐ ใหม้ ีความโปร่งใส ทันสมัย คล่องตวั มขี นาดท่เี หมาะสม เกิดความคุ้มค่า 2. ปรับปรุงกระบวนการงบประมาณ และสร้างกลไกในการติดตามตรวจสอบการเงินการคลัง ภาครัฐ 3. เพิ่มประสิทธิภาพและยกระดบั การให้บริการสาธารณะให้ไดม้ าตรฐานสากล 4. เพิ่มประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการให้แกอ่ งค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ 5. ปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลือ 15

ยุทธศาสตร์ท่ี 8 ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวัตกรรม 1. เรง่ ส่งเสริมการลงทุนวิจยั และพฒั นาและผลกั ดนั สู่การใชป้ ระโยชน์ในเชิงพาณชิ ยแ์ ละเชงิ สงั คม 2. พฒั นาผปู้ ระกอบการให้เป็นผู้ประกอบการทางเทคโนโลยี 3. พัฒนาสภาวะแวดล้อมของการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวตั กรรม ➢ แผนพฒั นาการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 – 2579) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 : การจดั การศกึ ษาเพือ่ ความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ 1.1 คนทุกช่วงวัยมีความรักในสถาบันหลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ 2.2. คนทุกชว่ งวัยได้รับการศึกษา การดแู ลและปอ้ งกนั จากภยั คกุ คามในชีวิตรูปแบบใหม่ ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 : การผลติ และพฒั นากำลงั คน การวิจัย และนวตั กรรรม เพ่ือสรา้ ง ขดี ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ 2.1 กำลังคนมีทักษะท่ีสำคัญจำเป็นและมีสมรรถนะตรงตามความต้องการของตลาดงานและการพัฒนา เศรษฐกจิ และสังคมของประเทศ 2.2 การวจิ ัยและพฒั นาเพ่ือสรา้ งองค์ความรู้ และนวตั กรรมทสี่ รา้ งผลผลิตและมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 : การพัฒนาศกั ยภาพคนทกุ ชว่ งวัย และการสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรู้ 3.1 ผู้เรียนมีทักษะและคุณลักษณะพื้นฐานของพลเมืองไทย และทักษะและคุณลักษณะ ท่ีจำเป็นใน ศตวรรษท่ี 21 3.2 คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ และสมรรถนะตามมาตรฐานการศึกษาและมาตรฐาน วชิ าชพี และพฒั นาคุณภาพชีวิตไดต้ ามศกั ยภาพ 3.3 สถานศึกษาทุกระดับการศึกษาสามารถจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรอย่างมีคุณภาพ และมาตรฐาน 3.4 แหล่งเรียนรู้ สื่อตำราเรียน นวัตกรรม และส่ือการเรียนรู้มีคุณภาพและมาตรฐานและประชาชน สามารถเขา้ ถงึ ได้โดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่ 3.5 ระบบและกลไกการวัด การติดตาม และประเมนิ ผลมีประสิทธิภาพ 3.6 ระบบการผลติ ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา ได้มาตรฐานระดับสากล 3.7 ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ไดร้ บั การพัฒนาสมรรถนะตามมาตรฐาน ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 4 : การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมทางการศกึ ษา 4.1 ผเู้ รยี นทกุ คนไดร้ บั โอกาสและความเสมอภาคในการเขา้ ถึงการศึกษาทีม่ คี ุณภาพ 4.2 การเพิม่ โอกาสทางการศกึ ษาผา่ นเทคโนโลยดี ิจิทลั เพ่ือการศึกษาสำหรับคนทุกชว่ งวัย 4.3 ระบบข้อมูลรายบุคคลและสารสนเทศทางการศึกษาที่ครอบคลุม ถูกต้องเป็นปัจจุบัน เพ่ือการวาง แผนการบริหารจัดการศกึ ษา การตดิ ตามประเมิน และรายงานผล แผนปฏิบตั ิการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลือ 16

ยุทธศาสตรท์ ี่ 5 : การจัดการศึกษาเพื่อสรา้ งเสริมคุณภาพชีวติ ท่เี ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 5.1 คนทุกช่วงวัย มีจิตสำนึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารปฏบิ ตั ิ 5.2 หลักสูตร แหล่งเรียนรู้ และสื่อการเรียนรู้ที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม คุณธรรม จริยธรรม และการนำแนวคดิ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏบิ ตั ิ 5.3 การวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาองค์ความรแู้ ละนวัตกรรมด้านการสร้างเสริมคุณภาพชวี ิตท่เี ป็นมิตรกับส่งิ แวดลอ้ ม ยุทธศาสตรท์ ี่ 6 : การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศกึ ษา 6.1 โครงสร้าง บทบาท และระบบการบริหารจัดการการศึกษา มีความคล่องตัวชัดเจน และสามารถ ตรวจสอบได้ 6.2 ระบบการบริหารจัดการศึกษา มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลส่งผลต่อคุณภาพและมาตรฐาน การศกึ ษา 6.3 ทุกภาคสว่ นของสังคมมสี ่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษาท่ตี อบสนองความต้องการของประชาชนและพน้ื ที่ 6.4 กฎหมายและรูปแบบการบริหารจัดการทรพั ยากรทางการศึกษารองรับลกั ษณะทีแ่ ตกตา่ งกนั ของผู้เรียน สถานศึกษา และความตอ้ งการกำลังแรงงานของประเทศ 6.5 ระบบบริหารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษามคี วามเปน็ ธรรม สร้างขวัญกำลงั ใจ และส่งเสรมิ ให้ปฏบิ ตั งิ านได้อย่างเตม็ ตามศกั ยภาพ ➢ นโยบายรฐั บาล พลเอกประยุทธ์ จนั โอชา นายกรัฐมนตรี คำแถลงนโยบายของรัฐบาล พล.อ. ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ที่จะแถลงต่อสภานิติบัญญัติ แห่งชาติ โดยกำหนดไว้ 11 ด้าน ที่สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย โดยมีนโยบายเก่ียวข้องกับภารกิจของ สำนักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาจงั หวดั สมทุ รปราการ ดังนี้ นโยบายที่ 1 การปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษตั ริย์ นโยบายท่ี 2 การรกั ษาความม่นั คงของรฐั และการตา่ งประเทศ นโยบายท่ี 4 การศกึ ษาและเรียนรู้ การทะนบุ ำรุงศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม นโยบายท่ี 8 การพฒั นาและส่งเสริมการใชป้ ระโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวจิ ัยและพัฒนานวัตกรรม นโยบายที่ 10 การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินทีม่ ีธรรมาภิบาลและการป้องกันปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบในภาครฐั ➢ นโยบายความมนั่ คงแหง่ ชาติ (พ.ศ.2558 – 2564) 1. เสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมขุ 2. สร้างความเปน็ ธรรม ความปรองดอง และความสมานฉันทใ์ นชาติ 3. ป้องกนั และแก้ไขการกอ่ ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ แผนปฏิบตั ิการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลอื 17

➢ เป้าประสงค์ตามประเดน็ ยุทธศาสตร์ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 1. ผู้เรียนไดร้ บั การศกึ ษาทม่ี ีคณุ ภาพทีส่ อดคล้องเหมาะสมกับการเสรมิ สรา้ งความมัน่ คง 2. ผเู้ รยี นมีสมรรถนะและความสามารถในการแข่งขนั ทีส่ นองความต้องการของตลาด งานและประเทศ 3. ผูเ้ รยี นได้รบั การศึกษาทมี่ ีคณุ ภาพ และมีทักษะของผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21 4. ผูเ้ รียนไดร้ ับโอกาสทางการศึกษาอยา่ งท่ัวถึง และเสมอภาค 5. ผู้เรียนมีคุณภาพชีวติ ท่ีเปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดล้อม 6. หน่วยงานท้งั ในส่วนกลางและภมู ภิ าคมีระบบบรหิ ารจดั การท่ีมีประสิทธิภาพและประสทิ ธิผล ➢ นโยบายรฐั มนตรีกระทรวงศกึ ษาธิการ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ ไดม้ อบนโยบาย และจดุ เน้นการดำเนนิ งานของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร มี สาระสำคญั ดังนี้ 1. นอ้ มนำแนวพระราชดำริ สืบสานพระราชปณิธานและพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษา 1.1 พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวมหวชิราวงกรณบดนิ ทรเทพยวรางกรู 1.2 สืบสานพระราชปณิธานด้านการศกึ ษาของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช ➢ นโยบายและจุดเนน้ การดำเนินงานสำนักงาน กศน. วิสยั ทศั น์ คนไทยได้รับโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดํารงชีวิตท่ีเหมาะสม กับช่วงวัย สอดคลอ้ งกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และมีทักษะทีจ่ ําเป็นในโลกศตวรรษท่ี 21 พันธกจิ 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับ หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อยกระดับการศึกษา พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย ให้เหมาะสมทุกช่วงวัย พร้อมรบั การเปลยี่ นแปลงบรบิ ททางสงั คม และกา้ วสู่การเปน็ สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชวี ิต อยา่ งย่ังยืน 2. ส่งเสริม สนับสนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชิงรุกกับภาคีเครือข่าย ให้เข้ามามีส่วนร่วม ในการ สนับสนนุ และจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวติ ในรูปแบบต่างๆ ใหก้ ับประชาชน 3. ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนําเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้พัฒนาประสิทธิภาพในการจัดและ ให้บริการการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ใหก้ ับประชาชนอย่างท่วั ถึง 4. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรม การวัดและประเมินผลในทุกรูปแบบให้มี คณุ ภาพและมาตรฐาน สอดคล้องกบั บริบทในปัจจบุ ัน 5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการองค์กรให้มีประสิทธิภาพ เพ่ือมุ่งจัดการศึกษา และการเรียนรู้ท่ีมี คณุ ภาพ โดยยดึ หลักธรรมาภิบาล แผนปฏบิ ัติการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลอื 18

เปา้ ประสงค์ 1. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รับโอกาส ทางการศึกษาใน รูปแบบการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน การศึกษาตอ่ เน่ือง และการศึกษา ตามอธั ยาศยั ทมี่ ีคณุ ภาพอยา่ งเท่า เทยี มและทว่ั ถงึ เป็นไปตามสภาพ ปัญหา และความตอ้ งการของแตล่ ะกลุม่ เปา้ หมาย 2. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สรา้ งเสรมิ และปลูกฝังคุณธรรม จรยิ ธรรม ความเป็นพลเมอื ง ที่สอดคลอ้ ง กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อนั นําไปสู่การยกระดบั คุณภาพชวี ิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ ชุมชน เพื่อพัฒนา ไปสคู่ วามมัน่ คงและย่งั ยนื ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวตั ิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม 3. ประชาชนได้รับโอกาสในการเรียนรู้ และมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถ คิด วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาํ วนั รวมท้ังแกป้ ัญหาและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ได้อยา่ งสรา้ งสรรค์ 4. ประชาชนไดร้ ับการสรา้ งและสง่ เสริมให้มีนสิ ยั รักการอา่ นเพื่อพัฒนาการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง 5. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษา นอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั รวมทง้ั การขับเคล่ือนกิจกรรมการเรียนรขู้ องชมุ ชน 6. หนว่ ยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนาํ เทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยดี ิจทิ ลั มาใช้ในการยกระดับ คณุ ภาพในการจัดการเรียนรู้และเพ่มิ โอกาสการเรียนรใู้ ห้กับประชาชน 7. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพ่ือแก้ปัญหาและ พัฒนา คุณภาพชีวิต ท่ีตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และ สิง่ แวดลอ้ ม รวมทั้งตามความต้องการของประชาชนและชมุ ชนในรูปแบบทหี่ ลากหลาย 8. หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการองค์กรที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และเป็นไป ตามหลักธรร มาภบิ าล 9. บคุ ลากร กศน.ทุกประเภททุกระดับไดร้ ับการพัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะในการปฏบิ ัติงานการศึกษา นอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั และการปฏิบตั งิ านตามสายงานอย่างมีประสิทธิภาพ ตวั ชี้วดั ตวั ชว้ี ดั เชิงปรมิ าณ 1. จํานวนผเู้ รียนการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐานทไี่ ด้รับการสนับสนนุ คา่ ใช้จา่ ยตามสทิ ธิ ท่กี ําหนดไว้ 2. จํานวนของคนไทยกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ที่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ได้รับบริการกิจกรรมการศึกษา ต่อเน่ือง และการศึกษาตามอธั ยาศัยทสี่ อดคล้องกบั สภาพ ปญั หา และความต้องการ 3. รอ้ ยละของกําลงั แรงงานทส่ี าํ เร็จการศึกษาระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ ข้นึ ไป 4. จาํ นวนภาคีเครอื ขา่ ยทเ่ี ขา้ มามีส่วนร่วมในการจดั /พฒั นา/ส่งเสริมการศึกษา (ภาคีเครือข่าย : สถาน ประกอบการ องคก์ ร หน่วยงานทม่ี ารว่ มจัด/พัฒนา สง่ เสริมการศึกษา) 5. จํานวนประชาชน เด็ก และเยาวชนในพื้นท่ีสูง และชาวไทยมอแกน ในพ้ืนท่ี 5 จังหวัด 11 อําเภอ ได้รับบริการ การศึกษาตลอดชวี ิตจากศนู ยก์ ารเรียนชุมชนสงั กัดสาํ นกั งาน กศน. 6. จํานวนผู้รับบริการในพื้นที่เป้าหมายได้รับการส่งเสริมด้านการรู้หนังสือและการพัฒนาทักษะชีวิต 7. จํานวน นักเรียน/นกั ศึกษาทไ่ี ด้รับบริการตวิ เข้มเต็มความรู้ 8. จํานวนประชาชนทไ่ี ด้รับการฝกึ อาชีพระยะสนั้ สามารถสรา้ งหรือพัฒนาอาชีพเพื่อสรา้ งรายได้ แผนปฏบิ ตั กิ าร ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลือ 19

9. จํานวน ครู กศน. ตําบล จากพื้นท่ี กศน.ภาค ได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านการจัดการเรียน การสอน ภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร 10. จาํ นวนประชาชนทไ่ี ด้รับการฝกึ อบรมภาษาตา่ งประเทศเพื่อการส่ือสารด้านอาชีพ 11. จํานวนผผู้ ่านการอบรมหลกั สูตรการดแู ลผสู้ ูงอายุ 12. จาํ นวนประชาชนท่ผี า่ นการอบรมจากศูนยด์ ิจทิ ัลชมุ ชน 13. จํานวนศูนย์การเรียนชุมชน กศน. บนพ้ืนท่ีสูง ในพื้นท่ี 5 จังหวัด ท่ีส่งเสริมการพัฒนาทักษะ การฟัง พูด ภาษาไทยเพื่อการสอื่ สาร ร่วมกนั ในสถานศกึ ษาสงั กัด สพฐ. ตชด. และกศน 14. จํานวนหลักสูตรหรือสื่อออนไลน์ที่ให้บริการกับประชาชน ท้ังการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเน่ือง และการศึกษาตามอธั ยาศยั ตัวชว้ี ัดเชิงคณุ ภาพ 1. รอ้ ยละของคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทกุ รายวชิ าทุก ระดบั 2. รอ้ ยละของผู้เรียนท่ีไดร้ ับการสนบั สนนุ การจดั การศึกษาขั้นพน้ื ฐานเทยี บกบั ค่าเป้าหมาย 3. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเปา้ หมายทล่ี งทะเบียนเรียนในทุกหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษาตอ่ เน่ือง เทียบกบั เปา้ หมาย 4. ร้อยละของผู้ผ่านการฝึกอบรม/พัฒนาทักษะอาชีพระยะสั้นสามารถนําความรู้ไปใช้ในการ ประกอบอาชีพหรือ พฒั นางานได้ 5. ร้อยละของผู้เรียในเขตพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ได้รับการพัฒนาศักยภาพ หรือทักษะ ด้านอาชีพ สามารถมี งานทาํ หรอื นําไปประกอบอาชีพได้ 6. รอ้ ยละของผู้จบหลักสูตร/กจิ กรรมที่สามารถนําความรู้ความเข้าใจไปใช้ได้ตามจุดมุ่งหมาย ของหลักสตู ร/กจิ กรรม การศกึ ษาต่อเนื่อง 7. ร้อยละของประชาชนที่ได้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการบริการ/เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาตาม อัธยาศัย 8. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายท่ีได้รับบริการ/เข้าร่วมกิจกรรมท่ีมีความรู้ความเข้าใจ/เจตคติ/ ทักษะ ตาม จดุ ม่งุ หมายของกิจกรรมทก่ี าํ หนด ของการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 9. รอ้ ยละของผ้สู ูงอายุท่ีเป็นกลมุ่ เป้าหมาย มโี อกาสมาเข้ารว่ มกิจกรรมการศกึ ษาตลอดชวี ิต แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลอื 20

นโยบายเร่งด่วนเพือ่ ร่วมขบั เคล่อื นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ 1.ยุทธศาสตร์ดา้ นความมัน่ คง 1.1 พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ พร้อมท้ังน้อมนําและเผยแพร่ศาสตร์ พระราชา หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รวมถงึ แนวทางพระราชดํารติ ่าง ๆ 1.2 เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และการมีส่วนร่วมอย่างถูกต้องกับการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในบริบทของไทย มีความเป็นพลเมืองดี ยอมรับและเคารพ ความหลากหลายทางความคิด และอุดมการณ์ 1.3 ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาเพอ่ื ป้องกันและแก้ไขปัญหาภยั คุกคามในรปู แบบใหม่ ทง้ั ยาเสพตดิ การคา้ มนุษย์ ภัยจากไซเบอร์ ภยั พิบตั จิ ากธรรมชาติ โรคอุบตั ใิ หม่ ฯลฯ 1.4 ยกระดับคุณภาพการศึกษาและสร้างเสริมโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษา ในเขตพัฒนาพิเศษ เฉพาะกิจ จงั หวัดชายแดนภาคใต้ และพืน้ ทชี่ ายแดนอ่ืน ๆ 1.5 สร้างความรู้ ความเข้าใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้าน กลุ่มชาติพันธุ์ และ ชาวตา่ งชาติที่มีความหลากหลาย 2. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสร้างความสามารถในการแข่งขนั 2.3 พัฒนาและส่งเสริมประชาชนเพ่ือต่อยอดการผลิตและจําหน่ายสินค้าและผลิตภัณฑ์ กศน. ออนไลน์ พร้อมท้ัง ประสานความรว่ มมือกบั ภาคเอกชนในการเพ่ิมช่องทางการจําหนา่ ยสนิ คา้ และผลติ ภณั ฑ์ใหก้ ว้างขวางย่ิงข้นึ 3. ยุทธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 3.1 สรรหา และพัฒนาครูและบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมและการเรียนรู้ เป็นผู้เชื่อมโยง ความรู้กับ ผ้เู รียนและผู้รับบริการ มีความเป็น “ครูมืออาชีพ” มีจิตบริการ มีความรอบรู้และทันต่อการเปล่ยี นแปลง ของสงั คม และเป็น “ผ้อู ํานวยการการเรียนรู้” ทีส่ ามารถบริหารจดั การความรู้ กิจกรรม และการเรยี นรู้ท่ีดี 1) เพม่ิ อตั ราขา้ ราชการครูใหก้ บั สถานศกึ ษาทุกประเภท 2) พฒั นาขา้ ราชการครูในรปู แบบครบวงจร ตามหลกั สตู รทเี่ ช่ือมโยงกับวทิ ยฐานะ 3) พัฒนาครูให้สามารถปฏิบตั ิงานไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ โดยเนน้ เร่อื งการพฒั นาทกั ษะการจัด การเรียนการสอนออนไลน์ ทักษะภาษาต่างประเทศ ทกั ษะการจดั กระบวนการเรียนรู้ 4) พัฒนาศึกษานเิ ทศก์ ใหส้ ามารถปฏิบตั ิการนเิ ทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5) พัฒนาบุคลากรทุกระดบั ทุกประเภทให้มีความร้แู ละทักษะเรื่องการใชป้ ระโยชน์จากดิจทิ ัล และภาษาตา่ งประเทศ ทจ่ี าํ เป็น รวมท้งั ความรเู้ กีย่ วกับอาชีพทีร่ องรบั อุตสาหกรรมเปา้ หมายของประเทศ (First S-Curve และ New S-Curve) 3.2 พัฒนาหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพระยะสั้น ให้มีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสม กับบริบทของพื้นท่ี และตอบสนองความต้องการของประชาชนผู้รบั บรกิ าร 3.3 สง่ เสริมการจดั การเรยี นรู้ท่ีทนั สมยั และมีประสทิ ธิภาพ เอื้อต่อการเรียนรู้สาํ หรับทุกคน สามารถ เรียนไดท้ ุกทีท่ ุก เวลา มีกจิ กรรมท่หี ลากลาย น่าสนใจ สนองตอบความตอ้ งการของชุมชน แผนปฏบิ ัติการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลอื 21

3.4 เสรมิ สรา้ งความร่วมมือกบั ภาคีเครือข่าย ประสาน ส่งเสริมความร่วมมือภาคีเครือขา่ ย ท้ังภาครัฐ เอกชน ประชา สังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมท้ังส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อสร้างความเข้าใจ และให้ เกดิ ความรว่ มมือในการสง่ เสริม สนบั สนุน และจดั การศกึ ษาและการเรยี นรใู้ ห้กบั ประชาชนอยา่ งมีคุณภาพ 3.5 พัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาเพือ่ ประโยชน์ตอ่ การจัดการศึกษาและกล่มุ เป้าหมาย เช่น จัดการศึกษาออนไลน์ กศน. ท้ังในรูปแบบของการศึกษาขั้นพื้นฐาน การพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะอาชีพ และการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งส่งเสริม การใช้เทคโนโลยใี นการปฏิบตั ิงาน การบรหิ ารจัดการ การจัดการเรยี นรู้ และใช้การวิจยั อยา่ งงา่ ยเพือ่ สร้างนวัตกรรมใหม่ 3.6 พฒั นาศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา และประชาชนทั่วไป ด้านความรู้ความเข้าใจ และทักษะในการใช้ เทคโนโลยดี ิจิทลั (Digital Literacy) 3.7 ยกระดับการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายทหารกองประจําการ รวมท้ังกลุ่มเป้าหมายพิเศษอ่ืน ๆ อาทิ ผู้ต้องขัง คนพิการ เด็กออกกลางคัน ประชากรวัยเรียนที่อยู่นอกระบบการศึกษา ให้จบการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ัน พน้ื ฐาน 3.8 พัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบต่าง ๆ โดยเน้นทักษะ ภาษาเพื่ออาชีพ ทง้ั ในภาคธรุ กิจ การบรกิ าร และการท่องเทยี่ ว 3.9 เตรยี มความพร้อมของประชาชนในการเขา้ สู่สังคมผู้สูงอายุท่เี หมาะสมและมีคณุ ภาพ 3.10 จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เชิงรุกให้กับประชาชนในชุมชน โดยให้ความรู้วิทยาศาสตร์อย่างง่าย ทั้งวิทยาศาสตร์ ในวถิ ีชวี ติ และวทิ ยาศาสตรใ์ นชีวติ ประจาํ วัน รวมทง้ั ความก้าวหน้าทางวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม 3.11 ส่งเสรมิ การรู้ภาษาไทยให้กับประชาชนในรูปแบบตา่ ง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพ้ืนท่ีสงู ให้สามารถฟัง พูด อา่ น และเขียนภาษาไทย เพือ่ ประโยชนใ์ นการใชช้ ีวติ ประจาํ วนั ได้ 4. ยุทธศาสตรด์ ้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 4.1 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ มีความพร้อม ในการให้บริการ กิจกรรมการศกึ ษาและการเรียนรู้ 1) เร่งยกระดับ กศน.ตาํ บลนําร่อง 428 แห่ง (อําเภอละ 1 แหง่ ) ให้เป็น กศน.ตําบล 5 ดี พรเี มยี ม ที่ประกอบด้วย ครดู ี สถานที่ดี (ตามบรบิ ทของพน้ื ที่) กิจกรรมดี เครอื ข่ายดี และมนี วัตกรรมการเรียนรู้ทีด่ ีมีประโยชน์ 2) จัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. เพื่อยกระดับการเรียนรู้ เป็นพ้ืนที่การเรียนรู้ (Co - Learning Space) ท่ี ทันสมยั สําหรบั ทุกคน มีความพรอ้ มในการใหบ้ รกิ ารตา่ ง ๆ 3) พัฒนาหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” ใหเ้ ป็น Digital Library 4.2 จดั ต้ังศนู ย์การเรียนรสู้ าํ หรบั ทุกชว่ งวัยท่มี กี จิ กรรมท่ีหลากหลาย ตอบสนองความต้องการ ใน การเรยี นรูใ้ นแต่ละวัย เพื่อให้มพี ัฒนาการเรยี นรู้ทีเ่ หมาะสม และมคี วามสขุ กบั การเรียนรู้ตามความสนใจ 4.3 ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาและการเรียนรสู้ ําหรับกลุ่มเป้าหมายผู้พิการ โดยเน้น รูปแบบการศึกษา ออนไลน์ แผนปฏิบัติการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลือ 22

5. ยทุ ธศาสตร์ด้านการสรา้ งการเตบิ โตบนคุณภาพชีวิตที่เปน็ มติ รต่อส่ิงแวดล้อม 5.1 ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้กับประชาชนในการรับมือและปรับตัวเพ่ือลดความเสียหายจากภัยธรรมชาติและ ผลกระทบท่ีเกย่ี วข้องกบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ 5.2 สร้างความตระหนักถึงความสําคัญของการสร้างสังคมสีเขียว ส่งเสริมความรู้ให้กับประชาชน เกี่ยวกับการคัด แยกตงั้ แตต่ น้ ทาง การกาํ จัดขยะ และการนาํ กลับมาใช้ซํา้ 5.3 ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม รวมท้ังลดการใช้ ทรัพยากรท่ีส่งผล กระทบต่อสง่ิ แวดลอ้ ม เช่น รณรงคเ์ รอื่ งการลดการใช้ถงุ พลาสติก การประหยัดไฟฟ้า เปน็ ต้น 6. ยุทธศาสตรด์ า้ นการปรบั สมดุลและพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการภาครัฐ 6.1 พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและ ประพฤติมิชอบ บริหารจดั การบนข้อมูลและหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ มงุ่ ผลสมั ฤทธิ์มีความโปรง่ ใส 6.2 นาํ นวัตกรรมและเทคโนโลยรี ะบบการทํางานทเี่ ปน็ ดิจทิ ัลมาใช้ในการบริหารและพัฒนางาน 6.3 ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับอย่างต่อเน่ือง ให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐานตําแหน่ง ให้ตรงกับสาย งาน ความชาํ นาญ และความตอ้ งการของบคุ ลากร ภารกจิ ตอ่ เนอื่ ง 1. ด้านการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ 1.1 การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐาน 1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยดําเนินการให้ผู้เรียนได้รบั การ สนับสนนุ คา่ จดั ซ้ือหนังสือเรียน คา่ จดั กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น และคา่ จดั การเรยี น การสอนอย่างทวั่ ถงึ และเพียงพอ เพ่อื เพิม่ โอกาสในการเขา้ ถึงบริการทางการศึกษาที่มีคุณภาพโดยไม่เสยี ค่าใชจ้ า่ ย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาส ทาง การศึกษา ผ่านการเรยี นแบบเรยี นรู้ด้วยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบช้ันเรยี น และการจดั การศึกษาทางไกล 3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งด้าน หลักสูตร รูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน ส่ือและนวัตกรรม ระบบการวัดและประเมินผล การเรียน และระบบการ ให้บริการนกั ศกึ ษาในรปู แบบอื่นๆ 4) จัดให้มีการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ท่ีมีความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กําหนด และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ 5) จัดใหม้ ีกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผ้เู รยี นทม่ี ีคุณภาพท่ีผเู้ รียนตอ้ งเรยี นรแู้ ละเข้ารว่ มปฏิบตั กิ จิ กรรม เพ่อื เป็นสว่ นหน่ึง ของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรมเก่ียวกับการป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติด การ แข่งขันกีฬา การบําเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเน่ือง การส่งเสริมการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสา และการจัดต้ังชมรม/ชุมนุม แผนปฏิบตั ิการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลอื 23

พร้อมท้ังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนาํ กจิ กรรมการบําเพญ็ ประโยชน์อืน่ ๆ นอกหลักสูตร มาใช้ เพิม่ ชวั่ โมงกิจกรรมให้ผู้เรยี นจบตาม หลักสูตรได้ 1.2 การส่งเสรมิ การรู้หนังสอื 1) พฒั นาระบบฐานข้อมลู ผู้ไมร่ ้หู นังสือ ใหม้ ีความครบถ้วน ถูกต้อง ทนั สมัยและเป็นระบบเดยี วกัน ทั้งสว่ นกลางและ ส่วนภูมภิ าค 2) พัฒนาหลักสูตร ส่ือ แบบเรยี น เครื่องมอื วัดผลและเครอ่ื งมือการดําเนินงานการส่งเสรมิ การรู้หนังสือที่สอดคล้อง กับสภาพแต่ละกลุม่ เป้าหมาย 3) พฒั นาครู กศน. และภาคเี ครอื ขา่ ยท่ีรว่ มจดั การศึกษา ให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะ การจัด กระบวนการเรยี นรู้ให้กบั ผไู้ ม่รู้หนังสอื อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ และอาจจัดให้มีอาสาสมคั รสง่ เสริมการรู้หนงั สือในพื้นท่ี ท่ี มคี วามต้องการจําเป็นเปน็ พเิ ศษ 4) ส่งเสริม สนบั สนุนให้สถานศกึ ษาจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ การรู้หนงั สอื การคงสภาพการรู้หนังสอื การพัฒนาทักษะการรู้หนังสือให้กับประชาชนเพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการศึกษาและเรียนรู้อย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต ของ ประชาชน 1.3 การศึกษาตอ่ เนอื่ ง 1) จัดการศึกษาอาชีพเพอ่ื การมีงานทาํ อย่างย่งั ยนื โดยให้ความสาํ คัญกบั การจดั การศึกษาอาชพี เพ่ือการมีงานทําในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชีพเฉพาะทางหรือการบริการ รวมถงึ การเนน้ อาชีพช่างพน้ื ฐาน ที่สอดคลอ้ งกับศกั ยภาพของผู้เรียน ความตอ้ งการและศักยภาพของแต่ละพื้นท่ี มีคณุ ภาพได้ มาตรฐานเป็นท่ียอมรับ สอดรับกับความต้องการของตลาดแรงงาน และการพัฒนาประเทศ ตลอดจน สร้างความเข้มแข็ง ให้กับศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน โดยจัดให้มีหน่ึงอาชีพเด่น รวมทั้งให้มีการกํากับติดตาม และรายงาน ผลการจัดการศึกษาอาชีพ เพ่ือการมีงานทําอย่างเปน็ ระบบและต่อเน่ือง 2) จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับทุกกลุ่มเป้าหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผู้สูงอายุท่ีสอดคล้องกับความ ต้องการจาํ เป็นของแต่ละบุคคล และมงุ่ เน้นใหท้ ุกกลุ่มเปา้ หมายมีทักษะการดํารงชีวติ ตลอดจน สามารถประกอบอาชีพพึ่งพา ตนเองได้ มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้ อย่างมีความสุข สามารถเผชิญ สถานการณ์ต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตประจําวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อม สําหรับการปรับตัวให้ทันต่อการ เปลี่ยนแปลงของข่าวสารข้อมูลและเทคโนโลยีสมัยใหม่ในอนาคต โดยจัดกิจกรรม ท่ีมีเน้ือหาสําคัญต่างๆ เช่น สุขภาพกาย และจิต การป้องกันภัยยาเสพติด เพศศึกษา คุณธรรมและค่านิยม ที่พึงประสงค์ ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ผ่าน การศกึ ษารปู แบบตา่ ง ๆ อาทิ คา่ ยพฒั นาทกั ษะชวี ิต การจัดตง้ั ชมรม/ชุมนมุ การสง่ เสรมิ ความสามารถพเิ ศษต่าง ๆ 3) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบบูรณาการใน รูปแบบของการฝึกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ การจัดกิจกรรม จิตอาสา การส ร้างชุมชนนัก ปฏิบัติ และรูปแบบอื่นๆ ท่ีเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และบริบทของชุมชน แต่ละพ้ืนท่ี เคารพความคิดของผู้อื่น ยอมรับ ความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ์ รวมทั้งสังคม พหวุ ัฒนธรรม โดยจดั กระบวนการใหบ้ ุคคลรวมกลุ่ม เพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน สร้างกระบวนการจิตสาธารณะ การสร้างจิตสํานึกความเป็นประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิ และรับผิดชอบต่อหน้าที่ความเป็นพลเมืองดี การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม การบําเพ็ญประโยชน์ในชุมชน การบริหาร แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลือ 24

จดั การน้ํา การรับมือกับสาธารณภัย การอนุรักษ์พลังงานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ชว่ ยเหลือซึ่งกันและกันในการ พฒั นาสงั คมและชมุ ชน อยา่ งย่ังยืน 4) การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในรปู แบบต่างๆ ให้กับประชาชน เพ่ือเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน สามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง และมีการบริหารจัดการ ความเสี่ยงอย่าง เหมาะสม ตามทิศทางการพฒั นาประเทศสู่ความสมดุลและย่ังยืน 1.4 การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 1) พัฒนาแหล่งการเรียนรู้ท่ีมีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านและพัฒนาศักยภาพ การเรียนรู้ให้ เกิดข้ึนในสังคมไทย ให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางและท่ัวถึง เช่น พัฒนาห้องสมุดประชาชนทุกแห่งให้มี การบริการที่ทันสมัย ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การสร้างเครือข่ายส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วย บริการเคลื่อนท่ีพร้อม อุปกรณ์เพ่ือจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลายให้บริการกับประชาชน ในพ้ืนที่ต่างๆ อย่างท่ัวถึง สม่ำเสมอ รวมทั้งเสริมสร้างความพร้อมในด้านบุคลากร ส่ือ อุปกรณ์เพื่อสนับสนุนการอ่าน และการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม การอา่ นอยา่ งหลากหลาย 2) จัดสร้างและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตลอดชีวิต ของประชาชน เป็นแหล่งสร้างนวัตกรฐานวิทยาศาสตร์ และเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงศิลปะวิทยาการประจําท้องถ่ิน โดยจัดทําและพัฒนา นทิ รรศการ ส่อื และกิจกรรมการศกึ ษาทีเ่ น้นการเสริมสรา้ งความรแู้ ละสร้างแรงบันดาลใจ ด้านวิทยาศาสตร์ สอดแทรกวิธีการ คิดเชิงวิเคราะห์ การคิดเชิงสร้างสรรค์ และปลูกฝังเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ผ่านการกระบวนการเรียนรู้ที่บูรณาการความ รู้ ด้านวิทยาศาสตร์ ควบคู่กับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ รวมทั้งสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง บรบิ ทของชุมชน และประเทศ รวมท้ังระดบั ภูมิภาคและ ระดับโลก เพือ่ ใหป้ ระชาชนมีความร้แู ละสามารถนาํ ความรู้ และทักษะไปประยุกต์ใช้ในการดําเนินชีวิต การพัฒนา อาชีพ การรักษาสิ่งแวดล้อม การบรรเทาและป้องกันภัยพิบัติทาง ธรรมชาติ รวมท้ังมีความสามารถในการปรับตัว รองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของโลกท่ีเป็นไปอย่างรวดเร็วและ รนุ แรง (Disruptive Change) ได้อย่าง มีประสิทธภิ าพ 1.5 ประสานความร่วมมือหน่วยงาน องค์กร หรือภาคสว่ นต่างๆ ท่ีมีแหล่งเรยี นรู้อนื่ ๆ เพ่ือส่งเสริม การจัดการศกึ ษา ตามอัธยาศัยให้มีรูปแบบท่ีหลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน เช่น พิพิธภัณฑ์ ศูนย์เรียนรู้ แหล่ง โบราณคดี หอ้ งสมุด เปน็ ตน้ 2. ด้านหลกั สูตร สอ่ื รูปแบบการจดั กระบวนการเรียนรู้ การวดั และประเมินผล งานบรกิ าร ทางวชิ าการ และการประกันคณุ ภาพการศึกษา 2.1 ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้และกิจกรรม เพ่ือส่งเสริมการศึกษา นอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมทั้งหลักสูตรท้องถ่ินที่สอดคล้องกับสภาพบริบท ของพื้นท่ี และความ ตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมายและชุมชน 2.2 ส่งเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน ส่ืออิเล็กทรอนิกส์และสื่ออื่นๆ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน กลุ่มเป้าหมาย ทัว่ ไปและกลุม่ เปา้ หมายพิเศษ 2.3 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทางไกลให้มีความทันสมัย ด้วยระบบห้องเรียนและการควบคุม การสอบ ออนไลน์ แผนปฏบิ ัติการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลอื 25

2.4 พัฒนาระบบการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ เพื่อให้มี คุณภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้ง มีการ ประชาสัมพนั ธใ์ ห้สาธารณชนไดร้ ับรูแ้ ละสามารถเขา้ ถงึ ระบบการประเมนิ ได้ 2.5 พัฒนาระบบการวัดและประเมินผลการศึกษานอกระบบทุกหลกั สตู ร โดยเฉพาะหลกั สตู ร ในระดับการศึกษาขั้น พน้ื ฐานให้ไดม้ าตรฐาน โดยการนําแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Exam) มาใชอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ 2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัย เพื่อพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัด และ ประเมินผล และเผยแพร่รูปแบบการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย รวมทงั้ ให้มีการนาํ ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิอย่างกวา้ งขวางและมีการพฒั นาใหเ้ หมาะสมกับบริบทอย่างต่อเนือ่ ง 2.7 พัฒนาระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษาให้ได้มาตรฐาน เพื่อพร้อมรับการประเมินคณุ ภาพ ภายนอก โดย พัฒนาบุคลากรใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสําคัญของระบบการประกันคุณภาพและสามารถดําเนินการประกัน คณุ ภาพภายในของสถานศึกษาได้อย่างตอ่ เนื่องโดยใช้การประเมินภายในดว้ ยตนเอง และจัดให้มีระบบสถานศึกษาพี่เล้ยี งเข้า ไปสนับสนุนอย่างใกล้ชิด สําหรับสถานศึกษาท่ียังไม่ได้เข้ารับการประเมิน คุณภาพภายนอก ให้พัฒนาคุณภาพการจัด การศกึ ษาใหไ้ ด้คณุ ภาพตามมาตรฐานท่ีกาํ หนด 2.8 ประชาสัมพันธ์/สร้างการรับรู้ให้กับประชาชนทั่วไปเก่ียวกับการบริการทางวิชาการด้าน การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย และสร้างช่องทางการแลกเปล่ียนเรียนรู้ด้านวิชาการของหน่วยงาน และสถานศึกษาในสังกัด อาทิ ข่าวประชาสมั พันธ์ ผา่ นส่อื รปู แบบต่างๆ การจดั นิทรรศการ/มหกรรมวิชาการ กศน. 3. ด้านเทคโนโลยเี พอ่ื การศกึ ษา 3.1 ผลิตและพัฒนารายการวิทยุและรายการโทรทัศน์เพื่อการศึกษา เพ่ือให้เชื่อมโยงและตอบสนองต่อ การจัด กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา เพ่ือกระจายโอกาสทางการศึกษา สําหรับ กลุ่มเป้าหมายต่างๆ ให้มีทางเลือกในการเรียนรู้ที่หลากหลายและมีคุณภาพ สามารถพัฒนาตนเองให้รู้เท่าทัน ส่ือและ เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการสอ่ื สาร เช่น รายการพัฒนาอาชพี เพือ่ การมงี านทํา รายการตวิ เข้มเติมเตม็ ความรู้ ฯลฯ เผยแพร่ ทางสถานีวิทยุศึกษา สถานีวิทยโุ ทรทัศน์เพอื่ การศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร (ETV) และทาง อนิ เทอร์เนต็ 3.2 พัฒนาการเผยแพรก่ ารจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั โดยผ่านระบบ เทคโนโลยีดจิ ิทัล และ ช่องทางออนไลน์ต่างๆ เช่น Youtube Facebook หรือ Application อ่ืนๆ เพื่อส่งเสริมให้ ครู กศน. นําเทคโนโลยีดิจิทัลมา ใช้ในการสรา้ งกระบวนการเรียนรูด้ ้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) 3.3 พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศน์เพ่ือการศึกษา เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต และการออกอากาศให้ กลุ่มเป้าหมายสามารถใช้เป็นช่องทางการเรียนรู้ที่มีคุณภาพได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยขยายเครือข่ายการรับฟังให้ สามารถรับฟังได้ทุกท่ี ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นท่ีท่ัวประเทศ และเพ่ิมช่องทาง ให้สามารถรับชมรายการโทรทัศน์ได้ทั้งระบบ Ku - Band C Band Digital TV และทางอินเทอร์เน็ต พร้อมที่จะ รองรับการพัฒนาเป็นสถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา สาธารณะ (Free ETV) 3.4 พัฒนาระบบการให้บริการสื่อเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา เพื่อให้ได้หลายช่องทางท้ังทางอินเทอร์เน็ต และรูปแบบ อ่ืนๆ อาทิ Application บนโทรศัพท์เคล่ือนที่ และ Tablet รวมท้ังสื่อ Offline ในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้ กลุ่มเป้าหมาย สามารถเลอื กใช้บรกิ ารเพื่อเข้าถงึ โอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูไ้ ดต้ ามความตอ้ งการ แผนปฏบิ ัติการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลอื 26

3.5 สํารวจ วิจัย ติดตามประเมินผลด้านการใช้ส่ือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพ่ือนําผล มาใช้ในการ พัฒนางานใหม้ คี วามถกู ต้อง ทนั สมัยและสามารถสง่ เสรมิ การศกึ ษาและการเรยี นรูต้ ลอดชีวติ ของประชาชนได้อยา่ งแท้จริง 4. ดา้ นโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดําริ หรือโครงการอันเก่ยี วเนอ่ื งจากราชวงศ์ 4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ หรือโครงการ อันเก่ียวเนื่องจาก ราชวงศ์ 4.2 จัดทาํ ฐานข้อมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน. ที่สนองงานโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดําริ หรือโครงการ อนั เก่ยี วเนือ่ งจากราชวงศ์ เพ่อื นาํ ไปใช้ในการวางแผน การตดิ ตามประเมนิ ผลและการพัฒนางาน ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 4.3 ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดําเนินงาน เพื่อสนับสนุนโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ เพื่อให้เกิดความ เข้มแข็งในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 4.4 พัฒนาศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” เพื่อให้มีความพร้อมในการจัดการศึกษา นอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศัยตามบทบาทหน้าทีท่ ี่กาํ หนดไว้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 4.5 จัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพ้ืนที่สูง ถิ่นทุรกันดาร และพื้นท่ี ชายขอบ 5. ดา้ นการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ พื้นท่ีเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ และพื้นท่ีบริเวณชายแดน 5.1 พฒั นาการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ 1) จัดและพัฒนาหลักสูตร และกิจกรรมส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรู้ท่ีตอบสนองปัญหา และความต้องการของ กลมุ่ เป้าหมาย รวมทัง้ อัตลกั ษณ์และความเป็นพหุวัฒนธรรมของพน้ื ท่ี 2) พัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานอย่างเข้มข้นและต่อเน่ือง เพ่ือให้ ผู้เรียนสามารถ นําความรู้ทีไ่ ด้รบั ไปใช้ประโยชนไ์ ดจ้ ริง 3) ใหห้ น่วยงานและสถานศกึ ษาจัดให้มีมาตรการดูแลรกั ษาความปลอดภัยแกบ่ ุคลากรและนักศึกษา กศน. ตลอดจน ผู้มาใช้บรกิ ารอย่างท่วั ถงึ 5.2 พัฒนาการจัดการศกึ ษาแบบบรู ณาการในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ 1) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการจัดทําแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์ และบริบทของแต่ละ จงั หวดั ในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ 2) จัดทําหลกั สูตรการศกึ ษาตามบรบิ ทของพ้นื ที่ โดยเน้นสาขาท่ีเป็นความต้องการของตลาด ใหเ้ กิดการพัฒนาอาชีพ ไดต้ รงตามความตอ้ งการของพนื้ ที่ 5.3 จดั การศกึ ษาเพ่ือความมั่นคง ของศูนย์ฝกึ และพฒั นาอาชีพราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน (ศฝช.) 1) พฒั นาศูนยฝ์ ึกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อใหเ้ ปน็ ศนู ย์ฝึกและสาธิต การประกอบอาชีพดา้ น เกษตรกรรม และศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบการจัดกิจกรรมตามแนวพระราชดําริปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง สําหรับประชาชน ตามแนวชายแดน ดว้ ยวิธกี ารเรียนรูท้ ห่ี ลากหลาย 2) มุ่งจัดและพัฒนาการศึกษาอาชีพโดยใช้วิธีการหลากหลาย ใช้รูปแบบเชิงรุก เพ่ือการเข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย เช่น การจัดมหกรรมอาชีพ การประสานความร่วมมือกับเครือข่าย การจัดอบรมแกนนําด้านอาชีพ ท่ีเน้นเร่ืองเกษตรธรรมชาติท่ี สอดคลอ้ งกับบริบทของชุมชนชายแดน ใหแ้ กป่ ระชาชนตามแนวชายแดน แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลอื 27

6. ด้านบคุ ลากร ระบบการบริหารจัดการ และการมีส่วนรว่ มของทุกภาคส่วน 6.1 การพัฒนาบคุ ลากร 1) พัฒนาบุคลากรทุกระดับ ทุกประเภทให้มีสมรรถนะสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ท้ังก่อนและระหว่าง การดํารงตําแหน่ง เพื่อให้มีเจตคติที่ดีในการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานและบริหารจัดการการดําเนินงาน ของหน่วยงานและสถานศึกษาได้ อย่างมีประสิทธิภาพ รวมท้ังส่งเสริมให้ข้าราชการในสังกดั พัฒนาตนเอง เพ่ือเลื่อนตําแหน่งหรือเลื่อนวิทยฐานะ โดยเน้นการ ประเมนิ วิทยฐานะเชงิ ประจกั ษ์ 2) พัฒนาศึกษานิเทศก์ กศน. ให้มีสมรรถนะที่จําเป็นครบถ้วน มีความเป็นมืออาชีพ สามารถ ปฏิบัติการนิเทศได้ อย่างมีศกั ยภาพ เพอ่ื รว่ มยกระดบั คุณภาพการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ในสถานศึกษา 3) พัฒนาหัวหน้า กศน. ตําบล/แขวง ให้มีสมรรถนะสูงขึ้นเพื่อการบริหารจัดการ กศน. ตําบล/แขวง และการ ปฏบิ ัติงานตามบทบาทภารกจิ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ โดยเนน้ การเป็นนักจัดการความรแู้ ละผอู้ ํานวย ความสะดวกในการเรียนรู้ เพ่อื ใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ทีม่ ีประสิทธภิ าพอยา่ งแทจ้ ริง 4) พัฒนาครู กศน. และบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกบั การจัดการศึกษาให้สามารถจัดรปู แบบการเรียนรู้ได้ อย่างมีคุณภาพ โดยส่งเสริมให้มีความรู้ความสามารถในการจัดทําแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัด และประเมินผล และการ วิจยั เบื้องตน้ 5) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ท่ีรับผดิ ชอบการบรกิ ารการศึกษาและการเรียนรู้ ให้มีความรู้ความสามารถ และมีความ เป็นมอื อาชีพในการจดั บรกิ ารส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชน 6) ส่งเสริมให้คณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีส่วนร่วมในการบริหาร การ ดาํ เนินงานตามบทบาทภารกิจของ กศน. อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 7) พฒั นาอาสาสมัคร กศน. ใหส้ ามารถทาํ หนา้ ท่สี นบั สนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั ได้ อย่างมีประสิทธภิ าพ 8) พัฒนาสมรรถนะและเสรมิ สร้างความสัมพันธร์ ะหว่างบุคลากร รวมท้ังภาคีเครือข่ายท้ังใน และต่างประเทศในทุก ระดับ โดยจัดให้มีกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน ร่วมกันในรูปแบบท่ีหลากหลาย อย่างต่อเน่ือง อาทิ การแข่งขนั กีฬา การอบรมเชิงปฏิบัติการพฒั นาประสิทธิภาพ ในการทาํ งาน 6.2 การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐานและอัตรากาํ ลัง 1) จัดทําแผนการพัฒนาโครงสรา้ งพ้ืนฐานและดําเนินการปรบั ปรุงสถานท่ี และวัสดุอปุ กรณ์ ให้มี ความพร้อมในการ จดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ 2) บริหารอัตรากําลังที่มีอยู่ ท้ังในส่วนที่เป็นข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้าง ให้เกิด ประสทิ ธิภาพสูงสุดใน การปฏิบัตงิ าน 3) แสวงหาความร่วมมือจากภาคีเครือขา่ ยทุกภาคส่วนในการระดมทรัพยากรเพ่อื นํามาใช้ในการ ปรับปรุงโครงสรา้ ง พื้นฐานให้มีความพร้อมสําหรับดําเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการส่งเสริมการเรียนรู้ สําหรับประชาชน แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลือ 28

6.3 การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ 1) พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย และเช่ือมโยงกันท่ัวประเทศ อย่างเป็นระบบเพ่ือให้ หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนําไปใช้เป็นเคร่ืองมือสําคัญในการบริหาร การวางแผน การปฏิบัติงาน การ ติดตามประเมนิ ผล รวมทัง้ จัดบรกิ ารการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อยา่ งมีประสิทธภิ าพ 2) เพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารจัดการงบประมาณ โดย พัฒ นาระบบการกํากับ ควบคุม และเร่งรัด การเบิกจา่ ยงบประมาณให้เปน็ ตามเป้าหมายท่ีกําหนดไว้ 3) พัฒนาระบบฐานข้อมูลรวมของนักศึกษา กศน. ให้มคี วามครบถ้วน ถูกตอ้ ง ทันสมยั และเชื่อมโยง กันท่ัวประเทศ สามารถสืบคน้ และสอบทานได้ทันความต้องการเพื่อประโยชน์ในการจัดการศึกษาให้กับผู้เรยี น และการบรหิ ารจัดการอย่างมี ประสิทธิภาพ 4) ส่งเสริมให้มีการจัดการความรู้ในหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมท้ังการศึกษาวิจัย เพ่ือสามารถนํามาใช้ ในการพัฒนาประสิทธิภาพการดําเนินงานท่ีสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และชุมชนพร้อมท้ังพัฒนาขีด ความสามารถเชงิ การแข่งขนั ของหนว่ ยงานและสถานศึกษา 5) สร้างความร่วมมือของทุ กภ าคส่วนทั้ งใน ป ระเท ศและต่างป ระเทศ ใน การพั ฒ น าและส่งเสริม การจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั และการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต 6) ส่งเสริมการใช้ระบบสํานักงานอิเล็กทรอนิกส์ (E - office) ในการบริหารจัดการ เช่น ระบบการลา ระบบสาร บรรณอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ระบบการขอใชร้ ถราชการ ระบบการขอใช้ห้องประชมุ เป็นตน้ 6.4 การกํากับ นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมิน และรายงานผล 1) สร้างกลไกการกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษา ตามอัธยาศัยให้เชอื่ มโยงกับหน่วยงาน สถานศึกษา และภาคีเครือขา่ ยท้งั ระบบ 2) ให้หน่วยงานและสถานศึกษาท่ีเก่ียวข้องทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกํากับ ติดตาม และรายงาน ผลการนํา นโยบายส่กู ารปฏบิ ัติ ใหส้ ามารถตอบสนองการดําเนินงานตามนโยบายในแต่ละเร่อื งได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 3) ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และสื่ออื่น ๆ ท่ีเหมาะสม เพ่ือการกํากับ นิเทศ ติดตาม ประเมนิ ผล และรายงานผลอยา่ งมีประสิทธิภาพ 4) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําปี ของหน่วยงาน สถานศึกษา เพ่ือการรายงานผลตามตัวช้ีวัดในคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําปีของสํานักงาน กศน. ให้ดําเนินไปอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ เป็นไปตามเกณฑ์ วธิ ีการ และระยะเวลาทก่ี ําหนด 5) ให้มีการเช่ือมโยงระบบการนิเทศในทุกระดับ ทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกองค์กร ตั้งแต่ ส่วนกลาง ภูมิภาค กลุ่มจังหวัด จังหวัด อําเภอ/เขต และตําบล/แขวง เพ่ือความเป็นเอกภาพในการใช้ข้อมูล และการพัฒนางานการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย แผนปฏบิ ัติการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลือ 29

➢ ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาการศกึ ษาภาคกลาง 1 (2562 – 2565) ยทุ ธศาสตร์ ที่ 1 การจดั การศึกษาเพ่ือเสรมิ สร้างความมัน่ คง ยุทธศาสตร์ ที่ 2 ผลิตและพัฒนากำลังคนให้สอดคล้องกับการพฒั นาประเทศ ตามศักยภาพ และโอกาสของพน้ื ที่ ยทุ ธศาสตร์ ท่ี 3 ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา พฒั นาผเู้ รยี นใหม้ ที ักษะการดำรงชวี ติ ในศตวรรษท่ี 21 ยุทธศาสตร์ ที่ 4 เสรมิ สรา้ งโอกาสแห่งการเรยี นรู้ทมี่ คี ุณภาพ เสมอภาคและเท่าเทียม ยุทธศาสตร์ ท่ี 5 สรา้ งสำนกึ รักษส์ ่งิ แวดล้อมตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ยุทธศาสตร์ ที่ 6 การพฒั นาประสิทธภิ าพของระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษาตามหลักธรรมาภิบาล ➢ แผนพฒั นาจังหวดั สมุทรปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561 – 2564) 1. ส่งเสริมอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมให้มีศักยภาพเพ่ือการแข่งขันในภูมิภาคอาเซียนโดยพัฒนา กระบวนการผลติ ที่เป็นมิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ ม รวมทั้งอนุรกั ษ์และฟื้นฟูทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม 2. พัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน โดยยกระดับรายได้และการจัดการด้านการศึกษา สาธารณสุข ศาสนา ศิลปวฒั นธรรม สาธารณปู โภค และสาธารณปู การใหเ้ พียงพอ เท่าเทยี มและท่ัวถึง 3. ส่งเสริมระบบ Logistics สู่ประชาคมอาเซียน โดยพัฒนาการบริหารจัดการ และปรับปรุงโครงข่าย การ คมนาคมขนสง่ ให้สมบรู ณย์ ง่ิ ขึน้ เพือ่ ลดต้นทนุ และเพ่มิ ขีดความสามารถการแข่งขนั 4. ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ประวัติศาสตร์ และศิลปวัฒนธรรม โดยการพัฒนาแหล่ง ทอ่ งเที่ยว สนิ คา้ การบริการและประชาสมั พันธใ์ หเ้ ปน็ ที่รู้จกั และประทบั ใจของนักท่องเทยี่ ว 5. เสริมสร้างความปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชน โดยการพัฒนาระบบป้องกันและแก้ไข ปญั หาภยั คุกคามความม่ันคง พร้อมทัง้ พฒั นาวถิ ชี ีวิตประชาธิปไตยแก่ประชาชน ➢แผนพฒั นาการศกึ ษาศกึ ษาธกิ ารจังหวดั สมทุ รปราการ 4 ปี (พ.ศ. 2561 – 2564) นโยบายการจดั การศึกษาของจังหวัดสมุทรปราการ 1. น้อมนาแนวพระราชดาริ สืบสานพระราชปณิธานและพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช และสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวมหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร ขบั เคลอื่ นงานด้านการศกึ ษา ให้เกดิ เป็นรูปธรรม 2. ยกระดับคุณภาพการศึกษา เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานของหลักสูตร มีคุณธรรม จริยธรรม ทักษะ อาชีพ ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ และทักษะในศตวรรษท่ี 21 พัฒนาระบบบริหารงานบุคคลของข้าราชการ ครู และบุคลากรทางการศึกษา 3. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การสร้างประสบการณอ์ าชพี ใหก้ ับผ้เู รยี น เพ่อื การมีงานทาและรองรบั ตลาดแรงงาน 4. ส่งเสรมิ สนับสนุนการจดั การศึกษาท่ีปลกู จติ สานึกผู้เรียน ท่เี ป็นมติ รกบั ส่ิงแวดลอ้ มอย่างยง่ั ยนื 5. คณาจารย์ ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาทุกคนได้รบั การสง่ เสรมิ และพัฒนาความสามารถอยา่ งมืออาชีพ 6. สถานศึกษามรี ะบบการประกนั คุณภาพภายในท่ีเข้มแข็ง และดาเนินการอย่างต่อเนอื่ ง แผนปฏิบัติการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลือ 30

7. ส่งเสริมการพฒั นาการบริหารเชิงพ้ืนที่ให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีสว่ นร่วมใน การบรู ณาการจัดการศกึ ษา 2.2 ผลการวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ ม กศน.ตำบล กศน.ตำบล ได้ดำเนินการการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกำหนด จุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา รวมทั้งโอกาสและอุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอกสถานศึกษา อันเป็นปัจจัยต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษา เพื่อนำผลไปใช้ในการกำหนดทิศทางการดำเนินงานของสถานศึกษา ซ่ึง ได้ผลการประเมนิ สถานการณข์ องสถานศึกษา ดังน้ี จุดแขง็ 1. ทีต่ ัง้ กศน.ตำบล เป็นเอกเทศ 2. สถานทต่ี ัง้ กศน.ตำบล ตงั้ อย่ใู นทท่ี ีม่ กี ารคมนาคมไปมาสะดวก 3. จดั กิจกรรมตรงกบั ความตอ้ งการของประชาชน จดุ อ่อน 1. งบประมาณทใ่ี ชใ้ นการบริหารจัดการ กศน.ตำบล มีนอ้ ยไม่เพียงพอต่อการใช้จ่าย 2.บุคลากรมนี อ้ ย คือมีครู กศน.ตำบล จำนวน 1 คน ครู ศรช. จำนวน 1 คน ซึ่งต้องทำงานหลายดา้ น เช่น การจัดการเรียนการสอน การบริหาร การประสานงานภาคีเครอื ข่าย ซึ่งมีท้ังหมด 8 หมูบ่ า้ น ส่งผลการทำงานมปี ระสิทธิภาพ น้อย โอกาส 1. นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เร่อื งเรยี นฟรี 15 ปี ทำให้ประชาชนมคี วามต่ืนตวั เหน็ ความสำคัญของ การศกึ ษาและสมคั รเข้าเรยี น กศน. 2. มีงบประมาณในการจดั การศกึ ษาต่อเน่อื ง ตามความต้องการของผู้เรยี น ทำให้กล่มุ เปา้ หมาย ได้ลงมอื ฝกึ ปฏบิ ตั ิจริง 3. การคมนาคมภายในชุมชนมีความสะดวก เนอ่ื งจากถนนมีสภาพดี 4. กำนัน/ผู้ใหญ่บา้ น/ผู้นำชุมชน/อสม./ประชาชน ใหก้ ารสนับสุนนส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษา กศน.ตำบล 5. ภาคีเครอื ข่ายในพ้ืนทีใ่ ห้การสนับสุนน การจดั กิจกรรม กศน. 6. มแี หล่งเรยี นรภู้ ูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชน อปุ สรรค - หมู่ 1 และหมู่ 6 ตำบลนาเกลอื ไม่สะดวกในการคมนาคม เนื่องจากเป็นหมู่บ้านที่ตอ้ งข้ามฝ่ัง ตอ้ งอาศัย เรอื รบั จา้ ง ซง่ึ ค่าโดยสารมรี าคาแพง และต้องดูตารางน้ำข้ึน – นำ้ ลง เปน็ หลกั แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลอื 31

สว่ นที่ 3 สาระสำคัญของแผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 3.1 ทศิ ทางการดำเนินงานของ กศน.ตำบล จากผลการประเมินสถานการณข์ อง กศน.ตำบล โดยวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมและศกั ยภาพ (SWOT Analysis) ของ กศน.ตำบล ดังกล่าวข้างต้น สามารถนำมากำหนดทิศทางการดำเนินงาน ของ กศน. ตำบล ได้แก่ ปรัชญา วิสัยทัศน์ อัต ลกั ษณ์ เอกลักษณ์ พนั ธกิจ เป้าประสงค์ ตัวชวี้ ัดความสำเรจ็ และกลยทุ ธ์ ดงั น้ี  ปรชั ญา การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เป็นกลไกสำคัญของการศึกษาตลอดชีวิต เพ่ือเสริมสร้างสังคม แห่งการเรียนรู้ และพัฒนาศักยภาพของประชาชนให้เป็นคน “คิดเปน็ ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น” นำสู่คณุ ภาพชีวิตท่ีดีและมี ความสขุ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง  วิสัยทศั น์ กศน.อำเภอพระสมุทรเจดยี ์ จัดการศึกษาและการเรียนร้ตู ลอดชีวติ อยา่ งมีคณุ ภาพ สามารถดำรงชวี ติ ที่เหมาะสม สอดคลอ้ งกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมที ักษะทีจ่ ำเปน็ ในศตวรรษท่ี 21  อัตลักษณ์ ใฝร่ ู้ คิดเปน็  พนั ธกจิ ของสถานศกึ ษา 1. จดั และส่งเสรมิ การศึกษาตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 อย่างมี คุณภาพ 2. จดั และส่งเสริมการจดั กจิ กรรมการศึกษาต่อเนื่องประกอบดว้ ยการจดั การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อ พฒั นาทกั ษะชวี ิตและการศกึ ษาเพื่อพฒั นาสังคมและชมุ ชน เพอ่ื ใหป้ ระชาชนได้พฒั นาความรู้ ความสามารถ ทกั ษะในการ ประกอบอาชีพ และมีทักษะชีวิตทจ่ี ำเปน็ สำหรบั การดำรงชีวิตในสังคมปจั จบุ ัน 3. จัดและสง่ เสริมการศึกษาตามอัธยาศยั อย่างเท่าเทียม ทั่วถึง และสอดคล้องกบั บริบทชุมชน เพอื่ การเรียนรูต้ ลอด ชีวิตอย่างมีคุณภาพ 4. สนับสนุนและพัฒนา กศน.ตำบล แหล่งเรยี นรู้ ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ ใหม้ ีความพร้อมสำหรบั การ เรียนรตู้ ลอดชวี ิตของประชาชนอยา่ งมีคณุ ภาพ 5. สง่ เสริม สนบั สนุน และประสานงานให้ภาคีเครือขา่ ยมสี ่วนรว่ มในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั 6. พัฒนาระบบการบริหารจดั การสถานศึกษาใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ โดยยึดหลักธรรมาภิบาล แผนปฏิบตั ิการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลือ 32

 เปา้ ประสงค์ ตัวช้ีวัดความสำเร็จ เปา้ ประสงค์ เชิงปริมาณ จำนวนของผเู้ รียนไดร้ ับการยกระดับการศึกษา เชงิ คุณภาพ รอ้ ยละของผู้เรยี นมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นและผล 1. ผู้เรยี นไดร้ ับการยกระดบั การศกึ ษาตาม การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (n-net) ตามเกณฑท์ ่ี หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั สำนักงาน กศน. กำหนด การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 เชิงปริมาณ จำนวนผู้เรียน/ผรู้ บั บริการ ที่เขา้ ร่วมกิจกรรม การศกึ ษาต่อเน่ือง 2. ประชาชนได้รบั โอกาสทางการศกึ ษาใน เชงิ คณุ ภาพ ร้อยละของผเู้ รียน/ผรู้ ับบรกิ ารท่จี บหลักสูตร/ผา่ น รปู แบบการศึกษาต่อเนื่อง ได้พฒั นาความรู้ การอบรม สามารถนำความรู้ไปใชไ้ ดต้ ามวตั ถุประสงคข์ อง ความสามารถ ทักษะในการประกอบอาชีพ หลกั สูตร และมีทักษะชีวิตท่ีจำเป็นสำหรับการ เชิงปรมิ าณ จำนวนผรู้ บั บริการ ที่เข้ารว่ มกจิ กรรมการศึกษาตาม ดำรงชีวติ ในสงั คมปัจจบุ นั อธั ยาศัย 3. ประชาชนไดร้ ับโอกาสทางการศึกษาใน เชิงคุณภาพ รอ้ ยละของผูร้ ับบริการท่เี ข้ารว่ มกิจกรรม สามารถนำ รูปแบบการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างเท่า ความรู้ไปใช้ไดต้ ามวตั ถุประสงคข์ องกิจกรรมที่กำหนด เทียม ทัว่ ถึง และสอดคลอ้ งกับบรบิ ทชุมชน เชิงปริมาณ จำนวน กศน.ตำบล แหลง่ เรยี นรู้ ภมู ิปัญญาท้องถนิ่ ท่ี เพือ่ การเรียนรตู้ ลอดชีวติ อย่างมีคุณภาพ ไดร้ บั การพัฒนา 4. พฒั นา กศน.ตำบล แหลง่ เรยี นรู้ เชิงคุณภาพ ร้อยละของจำนวน กศน.ตำบล แหล่งเรยี นรู้ ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น ให้มคี วามพร้อมสำหรับ ภูมปิ ัญญาท้องถ่ินทไ่ี ดร้ ับการพัฒนาใหม้ ีความพร้อมสำหรับการ การเรียนรตู้ ลอดชวี ิตของประชาชนอยา่ งมี เรยี นรู้ตลอดชีวติ ของประชาชนอยา่ งมีคุณภาพ คณุ ภาพ เชิงปรมิ าณ จำนวนภาคเี ครือขา่ ยในพืน้ ท่สี ง่ เสริม สนบั สนนุ ใน การจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 5. ภาคเี ครือขา่ ยทกุ ภาคสว่ น ร่วมจัด เชงิ คุณภาพ ร้อยละของภาคเี ครือข่ายในพนื้ ทีท่ สี่ ่งเสรมิ สนับสนนุ สง่ เสริม สนบั สนุน ในการจัดการศึกษานอก ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เชิงปรมิ าณสถานศึกษามีระบบบรหิ ารจดั การตามที่เกณฑท์ ่ี กำหนด 6. สถานศกึ ษามีระบบการบริหารจัดการให้ เชิงคุณภาพสถานศกึ ษาผา่ นเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายใน/ มปี ระสิทธิภาพตามเกณฑ์ท่กี ำหนด และ ภายนอก สถานศึกษา และตามหลกั ธรรมาภบิ าล ตามหลกั ธรรมาภิบาล แผนปฏิบตั ิการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลือ 33

 กลยทุ ธ์ กลยทุ ธ์ท่ี 1 เข้าถึงกลุม่ เป้าหมายอย่างเสมอภาค หลากหลาย และทั่วถึง กลยุทธ์ท่ี 2 ปรบั วธิ ีการเรียนร/ู้ วิธกี ารจดั กจิ กรรมให้สอดคล้องกับความต้องการของกล่มุ เป้าหมาย กลยุทธท์ ่ี 3 พฒั นาแหล่งเรยี นรู้ เทคโนโลยแี ละภูมปิ ัญญา กลยทุ ธท์ ่ี 4 ผนึกกำลังภาคเี ครือขา่ ยให้มีสว่ นร่วมจัดและส่งเสริมการศึกษา กลยุทธ์ที่ 5 เพิ่มประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การ AFA กศน. กศน. ตำบล แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลอื 34

พันธกิจ จากพันธกจิ การดำเนนิ งานให้เป็นตามนโนยาบและจุดเนน้ ของสำนักงาน กศน. กศน.ตำบลนาเกลือ จงึ ไดก้ ำหนดเปา้ หมายในการดำเนินกิจกรรมโครงการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ดงั น้ี แผนปฏบิ ัติการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลือ 35

แผนภมู เิ ป้าหม กศน.ตำบลนาเกลอื ตน.T48 ตน.T43 อศT68 ม.2 สร.T6 พฐ.T12 พรบ.T68 พฐ.T28 ม.1 สร.T4 ตน.T10 ม.1 พฐ.T27 สร.T4 ม. พฐ.T5 ตน.T139 อศT157 อศT99 พร พรบ.T88 ม.5 ม.6 ตน.T25 พฐ.T5

มายการดำเนนิ งาน อศT79 พรบ.T74 ตน.T145 ม.3 อศ.T74 สร.T2 00 พฐ.T10 พรบ.T60 อศT136 ม.2 พรบ.T121 ตน.T68 ตน.T46 .4 สร.T4 อศT101 ม.7 อศT90 พฐ.T16 พฐ.T6 พรบ.T88 รบ.T154 พรบ.T77 ม.8 T = Target (ค่าเปา้ หมาย) แผนปฏิบตั ิการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลือ 36

ส่งเสริมการร้หู นงั สอื (สร.) 20 คน การศึกษาข้ันพื้นฐาน (พฐ.) 109 คน การศกึ ษาต่อเน่ือง (ตน.) 386 คน การศึกษาตามอธั ยาศยั (อศ.) 704 คน พรบ.งบประมาณ/อ่นื ๆ (พรบ.) 630 คน

สง่ เสรมิ การรหู้ นงั สือ (สร.) การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน (พฐ.) การศกึ ษาตอ่ เนื่อง (ตน.) การศึกษาตามอัธยาศยั (อศ.) พรบ.งบประมาณ/อน่ื ๆ (พรบ.) แผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลอื 37

3.2 แผนปฏิบตั ิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 จากทิศทางการดำเนินงานของตำบลท่ีกำหนดไว้ สถานศึกษาได้นำมากำหนดเป็นแผนปฏิบัติการประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2565 เพื่อตอบสนองเป้าประสงค์ขอติงสถานศึกษา ทุกกลุ่มเป้าหมายให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์อย่างมี คุณภาพ ดงั นี้  แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ตามนโยบายและจุดเนน้ ประจำปี (Agenda) ท่ี โครงการ/กจิ กรรม วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ระยะเวลา งบประมาณ ตวั ชวี้ ัดผลสำเร็จ 1 โครงการสง่ เสรมิ การรู้ 1.เพ่ือนำผล 5 คน ตุลาคม เชิงปริมาณ หนังสือ สำรวจความ 2564- ร้อยละ 100 ของ -กจิ กรรมส่งเสรมิ การรู้ ตอ้ งการการรู้ 101 คน กนั ยายน กลมุ่ เปา้ หมายผู้ไม่ หนงั สือ หนังสือ และ 2565 รหู้ นังสอื สามารถ ความตอ้ งการ อา่ นหนังสือได้ 2 โครงการการศกึ ษาขน้ั ทางการศกึ ษา ตลุ าคม คล่อง และเขยี น พื้นฐาน อายุ 15 ปขี ้ึนไป 2564- ได้คล่อง มนี ิสยั รกั มาพนั าให้เกดิ การ กันยายน การอ่าน เรยี นรู้ 2565 เชงิ คณุ ภาพ 2.เพอื่ ให้ ผู้ไม่รหู้ นงั สือ อา่ น ประชาชนอ่าน ออก เขียนได้ ภาษาไทยออก คล่อง และเขยี นได้ 1.เพ่ือให้ เชงิ ปรมิ าณ ประชาชนและ ร้อยละ 80 ชอง ผ้เู รียนทกุ คนมี ผเู้ รยี น กศน. โอกาสเขา้ ถงึ ไดร้ ับการพัฒนา แหล่งความรู้และ คุณภาพทาง ได้รับการศึกษา การศึกษา มี อยา่ งทัดเทยี มกัน ความรู้ และมี 2.เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียน คุณภาพชีวิตทดี่ ี นำความรทู้ ีไ่ ดร้ ัย นำความร้ไู ป ไปประยุกตใ์ ช้ใน ประยกุ ต์ใช้ใน ชีวิตประจำวนั ชวี ิตประจำวนั เชิงคุณภาพ ผู้เรยี น กศน. ไดร้ บั การพฒั นา แผนปฏิบตั ิการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลอื 38

ที่ โครงการ/กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ระยะเวลา งบประมาณ ตวั ชว้ี ดั ผลสำเรจ็ 3 โครงการพัฒนาเศรษฐกจิ 1.เพือ่ ใหผ้ ู้เขา้ รว่ ม 30 คน ตลุ าคม 8,334.- คุณภาพทาง ดจิ ทิ ลั กิจกรรมมีความรู้ 2564- การศึกษา มี -กจิ กรรม Digital Literacy ความเข้าใจ การ 300 คน กันยายน ความรู้ ส่ชู ุมชน เขา้ ถึงแหล่งขอ้ มูล 2565 เชงิ ปริมาณ -กิจกรรมพฒั นาสินค้าสู่ และสอ่ื ดจิ ทิ ลั ผา่ น ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรม การค้าออนไลน์ ทางอนิ เทอร์เน็ต ตลุ าคม 30 คน 2.เพ่อื ใหผ้ ูเ้ ขา้ รว่ ม 2564- เชิงคุณภาพ กจิ กรรมฝกึ ปฏิบัติ กันยายน ร้อยละ 80 ของ ในการทำรา้ นคา้ 2565 ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม บนโลกออนไลน์ ความรู้ ความ เขา้ ใจการเข้าถึง 4 โครงการการศกึ ษาตาม 1.เพือ่ สง่ เสรมิ ให้ ขอ้ มลู และสื่อ ดิจิทลั ผา่ นทาง อัธยาศยั ประชาชนใน อินเทอร์เน็ต เปิด รา้ นคา้ บนโลก -กิจกรรมส่งเสริมการอ่านรถ ชุมชนรักการอา่ น ออนไลนไ์ ด้ เชิงปริมาณ โมบายเคล่ือนท่ี 2.เพอ่ื อำนวย ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม 300 คน -กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่าน ความสะดวกแก่ เชงิ คณุ ภาพ ร้อยละ 80 ของ บา้ นหนังสือ ประชาชนนอก ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม มีความรู้ เพิ่มขน้ึ สถานท่ี และสามารถใช้ เวลาว่างให้เกดิ 3.เพอ่ื ปลูกฝังเด็ก ประโยชน์ ก่อให้เกดิ นสิ ัยรัก เยาวชน บคุ คล การอ่าน พัฒนา คุณภาพชีวติ ให้ดี ทว่ั ไปให้เกิดนสิ ัย ขึน้ รักการอ่าน และ สง่ เสรมิ การใช้ เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ รวม 436 แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลอื 39

1. โครงการส่งเสรมิ ผูไ้ มร่ ู้หนังสอื 2. ความสอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 3. ยุทธศาสตรด์ า้ นพฒั นาและเสริมสร้างทรัพยากรมนุษย์ คนไทยในอนาคต มคี วามพร้อมทง้ั กาย ใจ สตปิ ญั ญา มีทกั ษะ ท่จี ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 มที ักษะสื่อสารภาษาอังกฤษ และภาษาท่ี 3 และมีคณุ ธรรม 3. สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดำเนนิ งานของสำนักงาน ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 1.2 การส่งเสริมการรหู้ นงั สอื 1) พัฒนาระบบฐานขอ้ มูลผู้ไม่รหู้ นงั สอื ใหม้ ีความครบถ้วน ถูกตอ้ ง ทนั สมัยและเป็นระบบเดียวกนั ทง้ั ส่วนกลางและ ส่วนภมู ิภาค 2) พัฒนาหลักสูตร ส่อื แบบเรียน เคร่ืองมือวัดผลและเครอ่ื งมอื การดําเนินงานการส่งเสริม การรู้หนังสือท่ีสอดคลอ้ ง กบั สภาพแตล่ ะกลุ่มเป้าหมาย 3) พฒั นาครู กศน. และภาคเี ครอื ข่ายทีร่ ่วมจัดการศกึ ษา ใหม้ ีความรู้ ความสามารถ และทักษะ การจัด กระบวนการเรยี นรู้ใหก้ บั ผู้ไม่ร้หู นงั สอื อย่างมีประสทิ ธภิ าพ และอาจจัดใหม้ อี าสาสมัครสง่ เสรมิ การรูห้ นังสือในพื้นที่ ท่ี มคี วามต้องการจําเป็นเปน็ พเิ ศษ 4) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดกิจกรรมส่งเสรมิ การรู้หนังสือ การคงสภาพการรู้หนังสือการพัฒนาทักษะการ รู้หนังสือใหก้ บั ประชาชนเพอ่ื เปน็ เครอื่ งมอื ในการศกึ ษาและเรยี นรอู้ ย่างต่อเนื่องตลอดชวี ติ ของประชาชน 4. หลกั การและเหตผุ ล ตามนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานของสำนักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ที่มุ่งเน้นให้สถานศึกษาสำรวจความต้องการการรู้หนังสือ และการส่งเสริมให้คนในชาติได้รู้หนังสือ สามารถอ่านออก เขียนได้ และคำนวณเป็น เพื่อมุ่งเน้นให้คนไทยทุกคนได้เรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ อันจะนำไปสู่ การพฒั นาประเทศให้เจริญกา้ วหนา้ และมีศกั ยภาพในการดำรงอยู่อยา่ งม่นั คงและแข่งขนั กับสงั คมโลกได้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอพระสมทุ รเจดีย์ ไดเ้ ล็งเห็นความสำคญั ในเร่ืองนี้วา่ การ ทีป่ ระชาชนรู้หนังสือ และมีความสามารถเขา้ ใจภาษาไทย อ่านออก เขียนได้ ในระดับที่เหมาะสม จะเป็นประโยชน์ต่อการ ดำรงชีวิต ช่วยให้สามารถแสวงหาความรู้มาพัฒนาตนเองให้มคี ุณภาพชีวติ ทีดี สามารถติดต่อสื่อสารในการประกอบอาชพี ให้ ได้ผลสมบูรณ์ ประสบความสำเร็จในชีวิต และเป็นทรัพยากรบุคคลท่ีเป็นพลังสำคัญในการพัฒนาประเทศให้เจริญรุ่งเรือง กา้ วหน้า จึงได้จัดโครงการ “ส่งเสริมผู้ไม่รหู้ นังสือ” ขนึ้ 5. วตั ถุประสงค์ 5.1 เพอ่ื นำผลสำรวจความต้องการการรูห้ นงั สอื และความต้องการทางการศึกษา อายุ 15 ปีขน้ึ ไป มาพฒั นาใหเ้ กิด การเรียนรู้ 5.2 เพื่อให้ประชาชนอ่านภาษาไทยออก และเขียนได้ 6. เป้าหมาย 6.1 เชิงปริมาณ - กลุ่มเป้าหมายผไู้ มร่ ู้หนังสอื ในเขตอำเภอพระสมุทรเจดยี ์ 6.2 เชงิ คุณภาพ - รอ้ ยละ 80 กลมุ่ เปา้ หมายผไู้ ม่ร้หู นงั สือ ในเขตอำเภอพระสมุทรเจดีย์ สามารถอา่ นไดค้ ล่อง และเขยี นได้คล่อง แผนปฏิบตั ิการ ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลือ 40

7. ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน ขนั้ ตอนการดำเนนิ งานตามตารางดังนี้ กจิ กรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พ้นื ที่ ระยะเวลา งบ ดำเนินการ ต.ค. 2564 ประมาณ -ข้าราชการ 2 คน -กศน.พระ 1. นำผลสำรวจขอ้ มูล -เพื่อร่วมกนั -ครูอาสาสมัคร 2 คน สมทุ รเจดยี ์ -ครู กศน.ตำบล 5 คน -พนื้ ท่ี 5 ประชุมช้ีแจง เตรยี มวาง -ครู ศรช. 3 คน ตำบลของ อำเภอพระ ผูเ้ กีย่ วขอ้ ง แต่งต้ัง แผนการจัดทำ สมุทรเจดีย์ คณะทำงานประชมุ โครงการ ข้าราชการ พนักงาน ราชการ ทม่ี หี น้าที่ เกีย่ วขอ้ ง 2. จดั ทำโครงการ -เพอ่ื ให้ได้ -ข้าราชการ 4 คน กศน.พระ ต.ค. 2564 เสนอต่อผู้อำนวยการ โครงการและ -ครอู าสาสมคั ร สมุทรเจดยี ์ สำนกั งาน กศน. กจิ กรรมการ จงั หวดั สมทุ รปราการ ดำเนนิ งานตาม แผนทีว่ างไว้ 3. ดำเนินงานตาม -เพื่อใหป้ ระชาชน -ประชาชนใน -ผ้ไู ม่รู้ -กศน.พระ ต.ค.2564- หนังสือ สมทุ รเจดีย์ ก.ย.2565 แผน ในเขตอำเภอพระ เขตอำเภอพระ ผลการ กศน. อำเภอ ก.ย. 2565 -กิจกรรมส่งเสริมผูไ้ ม่ สมทุ รเจดีย์ อ่าน สมุทรเจดีย์ ร้หู นงั สอื และเขียนหนงั สือ 1.จดั การเรยี นการ ไดค้ ล่อง มนี สิ ยั รกั สอนผไู้ ม่รู้หนงั สือ ทุก การอ่าน เห็น ตำบล ประโยชน์ของการ 2.จัดหาส่ือสำหรับ อ่านหนังสอื ผไู้ มร่ หู้ นงั สอื 4. ติดตาม -เพอ่ื รายงานผล -ข้าราชการ ประเมินผลโครงการ/ การจดั กจิ กรรม -ครอู าสาสมคั ร ดำเนินงาน พระสมุทร สรปุ ผลการ เจดีย์ ดำเนินงาน แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลอื 41

8. งบประมาณดำเนินการ งบประมาณปี 2565 งบดำเนนิ งาน ผลผลติ ท่ี 4 ส่งเสริมการรหู้ นงั สือ (ผู้ไม่รู้หนงั สือ) 9. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ กจิ กรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 ( ต.ค. – ธ.ค.) ( ม.ค. – ม.ี ค.) ( เม.ย. – มิ.ย.) ( ก.ค. – ก.ย.) -จดั ทำคู่มือคัดลายไทย แบบ กศน. -การจดั หาส่ือการเรียนการ สอนสำหรบั ผไู้ มร่ ู้หนงั สอื 10. ระยะเวลาในการดำเนินงาน ตลุ าคม 2564 – สิงหาคม 2565 11. สถานท่ดี ำเนินโครงการ 10.1 กศน. ตำบลทง้ั 5 แหง่ 10.2 กศน. อำเภอพระสมทุ รเจดีย์ 12. ผรู้ บั ผอิ ชอบโครงการ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอพระสมุทรเจดีย์ 13. เครือขา่ ย 12.1 สำนกั งาน กศน.จงั หวดั สมุทรปราการ 12.2 องค์การบริหารส่วนตำบลทุกตำบล 14. ผลท่คี าดว่าจะไดร้ ับ กลุ่มเปา้ หมายผู้ไมร่ ้หู นงั สอื ในเขตอำเภอพระสมทุ รเจดยี ์ สามารถอ่านหนังสอื ได้คลอ่ ง และ เขยี นได้คลอ่ ง มีนิสยั รกั การอ่าน 15. ดัชนีวัดผลสำเรจ็ ของโครงการ 15.1 ตัวชว้ี ัดผลผลิต รอ้ ยละ 100 ของกลมุ่ เปา้ หมายผู้ไม่รหู้ นังสอื จำนวน 30 คน สามารถอ่านออก เขียนได้คล่อง 15.2 ตวั ชวี้ ดั ผลลัพธ์ ผูไ้ ม่รู้หนังสอื จำนวน 5 คน อา่ นออก เชยี นได้คลอ่ ง 16. การติดตามประเมินผลและรายงาน การตดิ ตามและประเมินผลโดยเจา้ หน้าทีต่ ิดตามและประเมินผลดว้ ยวิธีนเิ ทศติดตามผลสรุปรายงานผล แผนปฏิบตั กิ าร ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลอื 42

1. โครงการจดั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน 2. ความสอดคล้องกับยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2561 - 2580 3. ยุทธศาสตร์ด้านพฒั นาและเสริมสรา้ งทรพั ยากรมนุษย์ คนไทยในอนาคต มีความพร้อมทง้ั กาย ใจ สติปัญญา มีทักษะ ทีจ่ ำเป็นในศตวรรษท่ี 21 มที กั ษะสือ่ สารภาษาอังกฤษ และภาษาท่ี 3 และมีคณุ ธรรม 3. สอดคล้องกบั นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนินงานของสำนกั งาน 1. ด้านการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู้ 1.1 การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน 1) สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบต้ังแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยดําเนินการให้ผู้เรียนได้รบั การ สนบั สนนุ ค่าจดั ซ้ือหนังสือเรียน ค่าจดั กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น และค่าจัดการเรียน การสอนอยา่ งทวั่ ถงึ และเพียงพอ เพอ่ื เพิ่มโอกาสในการเขา้ ถงึ บรกิ ารทางการศึกษาที่มีคุณภาพโดยไม่เสียคา่ ใช้จา่ ย 2) จัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทาง การศึกษา ผ่านการเรียนแบบเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การพบกลุ่ม การเรียนแบบชัน้ เรยี น และการจดั การศึกษาทางไกล 3) พัฒนาประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ท้ังด้าน หลักสูตร รูปแบบ/กระบวนการเรียนการสอน ส่ือและนวัตกรรม ระบบการวัดและประเมินผล การเรียน และระบบการ ใหบ้ ริการนกั ศึกษาในรปู แบบอนื่ ๆ 4) จัดให้มีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ท่ีมีความโปร่งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได้ มีมาตรฐานตามที่กําหนด และสามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ 5) จดั ใหม้ ีกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี นท่ีมีคุณภาพท่ผี ู้เรยี นตอ้ งเรยี นรูแ้ ละเข้าร่วมปฏิบัตกิ ิจกรรม เพอ่ื เป็นส่วนหน่ึง ของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสร้างความสามัคคี กิจกรรมเก่ียวกับการป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติด การ แข่งขันกีฬา การบําเพ็ญสาธารณประโยชน์อย่างต่อเนื่อง การส่งเสริมการปกครองในระบอบ ประช าธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสา และการจัดตั้งชมรม/ชุมนุม พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นนํากจิ กรรมการบําเพญ็ ประโยชน์อ่ืน ๆ นอกหลักสูตร มาใช้ เพ่ิมชัว่ โมงกิจกรรมใหผ้ ู้เรียนจบตาม หลักสูตรได้ 4. หลกั การและเหตุผล จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับปี พุทธศักราช 2542 ที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2545 กำหนดไว้วา่ การศึกษาเป็นการพัฒนาคนให้เป็นมนษุ ย์ทส่ี มบูรณ์ ทัง้ รา่ งกายและจิตใจ ให้เป็นคนเก่ง คนดี มคี วามสุข และมี การศึกษาท่ีสงู ขึ้น การปฏิรปู การศึกษาในทศวรรษทส่ี อง รัฐบาลจะมุ่งเน้นให้คนไทยได้เรียนรอู้ ยา่ งมีคุณภาพ โดยมเี ป้าหมาย หลักสามประการ คือ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาและเรียนรู้ของ คนไทย เพิ่มโอกาสทางการศึกษาและเรียนรู้ อย่างท่ัวถึงและมีคุณภาพ และส่งเสริมการมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วนของสังคม ในการบริหารการศึกษา ตลอดจนการจัด การศึกษานอกระบบได้ยึดแนวคิดท่ีสำคัญว่า การศึกษาเรียนรู้ของมนุษย์สามารถเกิดขึ้นได้ตลอดชีวิต ในทุกสถานท่ี แผนปฏิบัตกิ าร ประจำปี 2565 กศน.ตำบลนาเกลอื 43


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook