หนว่ ยท่ี 1 ความรพู้ ้ืนฐานเก่ียวกบั อนิ เทอร์เนต็ เคร่อื งมอื อปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์ และความปลอดภยั ในการใชอ้ นิ เทอร์เน็ตจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ สปั ดาห์ท่ี 2 ใบเตรยี มการสอน รหัสวชิ า MTH 1015 เวลา 5-8 คาบ หน่วยท่ี 1 ความรู้พน้ื ฐานเกีย่ วกับอนิ เทอรเ์ น็ต เครื่องมืออุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ และความปลอดภัยในการใช้อนิ เทอรเ์ นต็ จริยธรรมใน การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ บทเรยี น เรื่อง เครอื่ งมอื และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ จดุ ประสงค์การสอน 1.2 รหู้ ลักการใชเ้ ครื่องมือและอุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ 1.2.1 บอกหนา้ ท่ีของอปุ กรณค์ อมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ 1.2.2 อธฺ ิบายการทางานของอปุ กรณ์คอมพิวเตอร์หนว่ ยรับขอ้ มูล 1.2.3 อธบิ ายการทางานของอุปกรณ์คอมพวิ เตอร์หนว่ ยประมวลผล กลาง 1.2.4 อธบิ ายการทางานของอปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์หน่วยความจา 1.2.5 อธบิ ายการทางานของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์หนว่ ยแสดงผล เคร่อื งมือและอปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์ (Hardware) คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีมนุษย์สร้างข้ึนเพ่ือช่วยให้ทางานได้ เร็ว สะดวก และแม่นยามากขึ้น การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อให้ทางานอย่างได้มี ประสิทธิภาพ ต้องเรียนรู้ และเข้าใจ ส่วนประกอบ วิธีการทางานของ คอมพิวเตอร์ เครือ่ งคอมพิวเตอรป์ ระกอบด้วยอปุ กรณ์ต่างๆ มากมาย ซ่ึงแต่ละส่วนก็จะมีหน้าที่และ ความสาคัญแตกต่างกันไป จึงจาเป็นจะต้องมีความเข้าใจถึงหน้าที่การทางานของ อปุ กรณ์แต่ละส่วน เพอื่ เปน็ ความรูพ้ ้นื ฐานก่อนที่จะพิจารณาเลอื กซื้ออุปกรณ์เหล่าน้ีมา ประกอบเคร่ืองได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึงโครงสร้างของเครื่องคอมพิวเตอร์ท่ี สามารถมองเห็นและจับต้องได้เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ จอคอมพิวเตอร์ และตัวเคร่ือง นอกจากนี้ยังประกอบด้วยอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ที่ช่วยเสริมให้คอมพิวเตอร์ทางานได้ กว้าง และมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เช่น เครื่องสแกนเนอร์ เครื่องดิจิไตส์เซอร์ ชุด 18
หนว่ ยท่ี 1 ความรพู้ ้นื ฐานเก่ียวกบั อนิ เทอรเ์ นต็ เคร่ืองมืออปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์ และความปลอดภยั ในการใช้อินเทอร์เนต็ จรยิ ธรรมในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ มัลติมีเดีย อุปกรณ์ส่ือสารอื่นๆ ดังนั้น ส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งตาม หน้าท่ีการทางานของเครอ่ื งไดด้ ังนี้ 1 หนว่ ยรบั ข้อมูล (Input unit) เปน็ อปุ กรณ์รับเขา้ ทาหน้าที่รับโปรแกรม และข้อมูล เขา้ สูเ่ คร่ืองคอมพิวเตอร์ อปุ กรณร์ ับเข้าท่ใี ช้กนั เปน็ สว่ นใหญ่ คือ แปน้ พิมพ์ ( Keyboard ) และเมาส์ ( Mouse) นอกจากน้ียังมอี ุปกรณ์รบั เข้าอนื่ ๆ อีก ได้แก่ สแกนเนอร์ ( Scanner), วดี โี อคาเมรา (Video Camera), ไมโครโฟน (Microphone),ทัชสกรีน (Touch screen), แทร็คบอล (Trackball), ดิจิตเซอร์ เท เบิ้ล แอนด์ ครอสแชร์ (Digiter tablet and crosshair) รปู ภาพที่ 1 อปุ กรณร์ ับข้อมูล แปน้ พมิ พ์ จะรบั ขอ้ มูลจากกดแป้น แล้วทาการเปล่ยี นเปน็ รหัสสัญญาณทาง ไฟฟา้ เพ่อื ส่งเข้าไปในหน่วยประมวลผลของเครือ่ ง แปน้ พมิ พส์ ว่ นใหญจ่ ะถูกออกแบบ แป้นเปน็ กลุ่มคือ - แปน้ อักขระ (Character Keys) - แปน้ ควบคุม (Control Keys) - แปน้ ฟังกช์ น่ั (Function Keys) - แป้นตวั เลข (Numeric Keys) 19
หน่วยที่ 1 ความรพู้ ื้นฐานเกย่ี วกับอินเทอร์เน็ต เคร่อื งมอื อุปกรณค์ อมพวิ เตอร์ และความปลอดภยั ในการใช้อินเทอรเ์ นต็ จรยิ ธรรมในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ รปู ภาพท่ี 2 แปน้ พมิ พ์ เมาส์ (Mouse) ผใู้ ชเ้ พียงแตเ่ ล่อื นเมาส์ ทจี่ อภาพจะปรากฏเปน็ ลูกศร เรยี น กวา่ ตัวชี้เมาส์ (Mouse Pointer) เคลื่อนที่ไปมาบนจอภาพในทิศทางเดียวกันกับท่ผี ใู้ ช้ เมาส์เลอ่ื นไป เมื่อตัวชีเ้ มาส์เล่ือนออกไปอยยู่ ังตาแหน่งทตี่ ้องการ ใหผ้ ู้ใช้กดปมุ่ ด้านซา้ ย ทอี่ ยู่บนตัวเมาส์ (คลกิ ) เพอ่ื เลือกรายการนั้น ๆ ข้ึนมา รปู ภาพท่ี 3 เมาส์ ตัวเลอ่ื นเมาส์พอยท์เตอรแ์ บบสมั ผัส (Touching Pad) เปน็ อปุ กรณ์นาเข้า ขอ้ มูลในเครอ่ื งคอมพวิ เตอรก์ ระเป๋าหิว้ (Note book) ซ่ึงใช้งานแทนเมาส์ มลี ักษณะ เปน็ แผ่นสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ด้านล่างมีป่มุ อยู่ 2 ปมุ่ ทาหน้าท่ีเหมอื นกับปุ่มซ้ายและขวา ของเมาส์ สามารถเล่ือนเมาส์พอยท์เตอร์ไดโ้ ดยการสัมผัสท่ีแผ่นสเี่ หลยี่ ม รปู ภาพที่ 4 ตวั เลื่อนเมาส์พอยทเ์ ตอร์แบบสัมผัส (Touching Pad) 20
หนว่ ยท่ี 1 ความรพู้ นื้ ฐานเกี่ยวกบั อินเทอรเ์ น็ต เครื่องมืออุปกรณค์ อมพิวเตอร์ และความปลอดภยั ในการใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ จอยสตกิ (Joystick) เป็นกา้ นสาหรับใชโ้ ยกข้ึนลงและซา้ ยขวา เพือ่ ย้าย ตาแหน่งของตวั ชต้ี าแหน่งบนจอภาพ หลกั การทางานเช่นเดียวกับเมาส์แต่ตา่ งกันตรงมี แปน้ กดเพ่ิมเติมมาจานวนหน่ึงสาหรับสงั่ งานพิเศษ นยิ มใช้กับการเล่นเกมคอมพิวเตอร์ หรือควบคมุ หุ่นยนต์ รปู ภาพที่ 5 จอยสติก(Joystick) รูปภาพที่ 6 Game Pad จอภาพระบบสัมผสั (Touch Screen) เป็นจอภาพแบบพเิ ศษซ่ึงผ้ใู ช้เพยี ง แตะปลายน่ิวลงบนจอภาพในตาแหนง่ ท่กี าหนดไวเ้ พ่ือเลือก การทางานท่ีต้องการ ซอฟตแ์ วรท์ ่ใี ชจ้ ะเป็นตวั ค้นหาวา่ ผใู้ ชเ้ ลือกทางใดและสั่งให้ทางานตามนั้น จอภาพ ระบบสมั ผสั นใ้ี นปัจจบุ นั เปน็ ท่ีนิยมกนั มาก สมาร์ทโฟนหรือแทบ็ แลต็ รปู ภาพที่ 7 จอภาพระบบสัมผัส (Touch Screen) 21
หนว่ ยที่ 1 ความรพู้ ืน้ ฐานเกย่ี วกบั อนิ เทอรเ์ น็ต เคร่ืองมอื อปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์ และความปลอดภยั ในการใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ สไตลสั (Stylus) เปน็ ปากกาท่ใี ชก้ บั แท็บแลต็ และอุปกรณเ์ คล่ือนท่ีต่าง ๆ ซึง่ ใช้แรงกดในการวาดบนหนา้ จอ สามารถใช้รว่ มกบั ซอฟต์แวร์รูจ้ าลายมอื (handwriting recognition software) เพ่ือแปลงจากลายมือทว่ี าดหรือเขยี นให้อยู่ใน รปู แบบท่ีหนว่ ยระบบสามารถประมวลผลได้ รปู ภาพที่ 8 สไตลัส (Stylus) ปากการแสง (Light pen) ใช้เซลล์แบบซง่ึ มีความไวต่อแสงเปน็ ตวั กาหนด ตาแหน่งบนจอภาพ รวมท้งั สามารถใชว้ าดลกั ษณะหรอื รปู แบบของข้อมูลให้ปรากฏบน จอภาพ การใชง้ านทาได้โดยการแตะปากกาแสงไปบนจอภาพตามตาแหน่งที่ต้องการ นยิ มใชก้ ับงานคอมพิวเตอร์ชว่ ยการออกแบบ (CAD หรอื Computer Aided Design) รูปภาพที่ 9 ปากการแสง (Light pen) เครอ่ื งอา่ นภาพ (Scanner) เป็นอุปกรณท์ ่ใี ช้อ่านหรอื สแกนขอ้ มลู บน เอกสารเข้าสเู่ คร่อื งคอมพวิ เตอร์ใช้วิธสี อ่ งแสงไปยังวัตถุทตี่ ้องการสแกน แสงทีส่ ่องไป ยงั วัตถแุ ลว้ สะท้อนกลับมาจะถูกสง่ ผ่านไปทีเ่ ซลลไ์ วแสง (Charge-Coupled Device หรอื CCD) ปจั จุบันสแกนเนอรท์ นี่ ยิ มมากที่สดุ คือเครื่องสแกนเนอรแ์ บบแท่น 22
หน่วยที่ 1 ความรพู้ ้ืนฐานเก่ยี วกบั อินเทอร์เน็ต เคร่ืองมืออุปกรณค์ อมพวิ เตอร์ และความปลอดภยั ในการใชอ้ ินเทอร์เน็ตจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ รูปภาพท่ี 10 เคร่ืองอ่านภาพ (Scanner) เครื่องอ่านแทบสี (Bar-Core Reader) ทาหนา้ ท่ีอ่านรหัสที่มีลกั ษณะเป็น แถบสขี าวสลบั ดา (Bar-code) ท่นี ยิ มกันมากคอื UPC (Universal Product Code) เป็นรหสั ทีต่ ดิ อยบู่ นห่อสินค้าทัว่ ไป เครอ่ื งอ่านแถบสีจะทาการอา่ นแถบรหสั บนสนิ ค้า แลว้ แปลเปน็ สญั ญาณไฟฟา้ สง่ ไปยังเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ รปู ภาพที่ 11 เครื่องอ่านแถบสี (Bar-Code Reader) เครอ่ื งอา่ นอารเ์ อฟไอดี (RFID readers) เป็นเครอื่ งอ่านความถ่ีคลน่ื วทิ ยซุ ่ึง จะอ่านข้อมลู จากไมโครงชิปอาร์เอฟไอดีทฝ่ี งั อยใู่ นอุปกรณ์หรอื ส่งิ ตา่ ง ๆ เชน่ สินคา้ ใบขับข่ี บตั รประชาชน เปน็ ต้น ในชิปอารเ์ อฟไอดจี ะมกี ารบนั ทกึ ข้อมลู ตา่ ง ๆ ใน รปู แบบอเิ ล็กทรอนิกส์ รูปภาพที่ 12 เคร่ืองอ่านอารเ์ อฟไอดี (RFID Readers) 23
หนว่ ยท่ี 1 ความรพู้ ้ืนฐานเก่ียวกบั อินเทอรเ์ นต็ เครอ่ื งมืออุปกรณค์ อมพวิ เตอร์ และความปลอดภยั ในการใชอ้ ินเทอร์เน็ตจรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ กล้องถ่ายภาพดจิ ทิ ลั (Digital Camera) เปน็ อุปกรณท์ ่ีใชส้ าหรับถา่ ยภาพ แบบไมต่ ้องใช้ฟิลม์ ภาพที่ได้จะประกอบด้วยจุดเล็ก ๆ จานวนมาก และสามารถ นาเข้าเคร่ืองคอมพิวเตอรเ์ พ่ือใช้งานได้โดยไมต่ อ้ งใชอ้ ปุ กรณ์ สแกนเนอร์อีก เปน็ อุปกรณ์ทีเ่ ร่ิมไดร้ บั ความนิยมเพิม่ ขนึ้ แทนท่ีกล้องฟิล์มแบบเดิมเนือ่ งจากสามารถถา่ ยดู ผลลัพธ์ไดท้ นั ที รูปภาพท่ี 13 กล้องถ่ายภาพดิจทิ ัล (Degital Camera) อปุ กรณ์รบั ข้อมูลเสียง (Voice Input DeVeces) เรยี กอีกอยา่ งหน่งึ ว่า ไมโครโฟน เปน็ อปุ กรณ์รับข้อมูลในรูปแบบเสยี ง โดยจะทาการแปลงสัญญาณเสียงเป็น สญั ญาณดิจทิ ลั แล้วจงึ ส่งไปยงั คอมพวิ เตอร์ รปู ภาพท่ี 14 ไมโครโฟน 2 หน่วยประมวลผลกลาง (CPU : Central Processing Unit) จะทา หน้าท่ีเป็นศูนย์กลางควบคุมการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ท้ังหมด โดยนาข้อมูล จากอุปกรณ์รับข้อมูลมาทาการประมวลผลข้อมูลตามคาส่ังของโปรแกรมและส่ง ผลลพั ธท์ ่ไี ดอ้ อกไปทหี่ น่วยแสดงผลในรูปแบบทผ่ี ใู้ ช้เขา้ ใจ หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบข้นึ มาจากวงจรอิเลก็ ทรอนกิ สอ์ ยู่ 2 ส่วน คือ 24
หนว่ ยท่ี 1 ความรพู้ ืน้ ฐานเกย่ี วกับอนิ เทอรเ์ นต็ เครือ่ งมอื อปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์ และความปลอดภยั ในการใช้อินเทอรเ์ นต็ จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ -หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logical Unit : ALU) - สว่ นควบคมุ (Control Unit) รปู ภาพที่ 15 หน่วยประมวลผลกลาง (CPU : Central Processing Unit) หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logical Unit : ALU) ทา หน้าทเี่ หมอื นกบั เครอื่ งคานวณอย่ใู นเครอ่ื งคอมพิวเตอร์โดยทางานเกี่ยวกับการคานวณ ทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คูณ หาร มีความสามารถอีกอย่างหนึ่งท่ีเคร่ือง คานวณธรรมดาไม่มคี ือความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์ ส่วนควบคุม (Control Unit : CU) ทาหน้าที่ควบคุมลาดับขั้นตอนการ ประมวลผล รวมไปถึงการประสานงานกับอุปกรณ์นาเข้าข้อมูล อุปกรณ์แสดงผล และ หน่วยความจาสารองดว้ ย 3 หน่วยความจา (Memory Unit) เปน็ ท่ีเก็บโปรแกรม ข้อมลู และผลลัพธ์ ไวภ้ ายในคอมพิวเตอร์หนว่ ยนรี้ วมถงึ สอื่ ข้อมลู ทชี่ ่วยในการจดจา เช่น แผน่ บนั ทกึ เป็น ตน้ สาหรับหน่วยความจาของคอมพิวเตอร์แบ่งเป็น 2 ประเภท คอื 3.1 หนว่ ยความจาหลัก (Primary Memory Unit) หนว่ ยความจาหลักทางานร่วมกับหน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจาหลักจะอยู่ ภายในตัวเครือ่ งและเปน็ สว่ นทีจ่ าเปน็ ตอ้ งมสี าหรบั คอมพิวเตอร์ 25
หนว่ ยท่ี 1 ความรพู้ นื้ ฐานเกยี่ วกบั อนิ เทอร์เนต็ เคร่ืองมอื อุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ และความปลอดภยั ในการใชอ้ นิ เทอร์เนต็ จรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ 1) แรม (Ram : Random Access Memory) ใช้ในระบบ คอมพวิ เตอร์ ลกั ษระเดน่ คือสามารถเขยี นข้อมลู ลงไปและเรียกข้อมลู ได้ แรมจะเกบ็ ข้อมลู ตราบเท่าที่มกี ระแสไฟฟ้าเลีย้ งวงจรไว้ เรยี กวา่ โวลาไทล์ (Volatile Memory) หากไฟฟา้ เล้ียงวงจรขาดหายไปข้อมูลทเ่ี ก็บไวก้ ็จะสูญหายไป หรอื เรียกว่าหนว่ ยความ ช่วั คราว (Read Write Memory) สามารถแบ่งได้ 2 ชนิด คือ DRAM, SRAM DRAM (Dynamic Random Access Memory) เปน็ ชปิ ของ หน่วยความจาที่นยิ มใชห้ นว่ ยความจาหลักในเครอ่ื ง คอมพิวเตอรส์ ่วนบคุ คล (PC : Personal Computer) มีเวลาในการเข้าถงึ ขอ้ มลู ค่อนข้างชา้ ขอ้ ดีของ DRAM คือ มี ความจสุ งู มากและราคาไม่แพงหาซ้อื ไดง้ ่าย รูปภาพที่ 16 หนว่ ยจา DRAM SRAM (Static Random Access Memory) เปน็ ชปิ ทม่ี เี วลาในการ เข้าถงึ ขอ้ มูล ทเ่ี รว็ กวา่ DRAM มาก SRAM มกั นาไปใชใ้ นหนว่ ยความจาแบบแคช (Cache Memory) เน่อื งจากมีความเรว็ สงู กว่า DRAM มาก ซึ่งใกล้เคียงกับการทางาน ของซีพยี ู ทาให้ไม่มีสภาวะรอคอยเกิดขน้ึ SRAM จะมีราคาคอ่ นข้างสูง ความจุต่อชปิ ก็ น้อยเมื่อ เทยี บกับ DRAM รปู ภาพที่ 17 หนว่ ยจา SRAM 26
หน่วยท่ี 1 ความรพู้ น้ื ฐานเกยี่ วกบั อนิ เทอร์เนต็ เครอื่ งมืออปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์ และความปลอดภยั ในการใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตจริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 2) รอม (Rom : Read Only Memory) เป็นหนว่ ยความจาท่ี ไดร้ บั การบรรจขุ ้อมลู ไวภ้ ายในก่อนแล้ว โดยทั่วไปแล้วรอมจะถูกอ่านอยา่ งเดยี วเท่านัน้ จะเก็บคาส่งั ทใ่ี ช้อย่เู ปน็ ประจาและคาสัง่ เฉพาะโปรแกรมท่ีอย่ใู นรอมน้จี ะอยู่อย่างถาวร แม้จะปิดเครอื่ งโปรแกรมก็จะไม่ถูกลบไป เรยี กวา่ นอน-โวลาไทล์ (Non-Volatile Memory) คือข้อมลู จะไมห่ ายไปเมื่อปดิ เคร่ือง ในหน่วยความจาหลักทเ่ี ปน็ ประเภท ของ ROM มีอีก 3 อย่างคือ - Prom (Programmable Read Only Menory) PROM เป็น ROM ชนดิ ทย่ี งั ไม่มกี ารบันทึกโปรแกรมใด มาจากผู้ผลติ -EPROM (Erasable Programmable Read Only Memory) EPROM มีลกั ษณะคล้าย ROM มาก แต่สามารถลบข้อมลู ได้หลายคร้ัง โดยการใชแ้ สง อลั ตราไวโอเลต (UV) หลงั จากลบข้อมลู แล้วสามารถลงโปรแกรมได้ -EEPROM (Electronic Erasable Programmable Read Only Memory) มีลักษณะคล้ายกบั EPROM ซึง่ สามารถเขียนและลบโปรแกรมท่ีถูกจดั เกบ็ ภายในหน่วยความจาไดโ้ ดยการใชก้ ระแสไฟฟ้า รูปภาพที่ 18 หน่วยความจารอม (Rom : Read Only Memory) 3.2 หนว่ ยความจาสารอง (Secondary Memory Unit) เป็น หน่วยความจาท่ีต้องอาศยั สอ่ื บันทกึ ข้อมูลและอปุ กรณร์ ับ-ส่งข้อมลู ชนิดตา่ ง ๆ หนว่ ยความจาสารองมลี ักษณะ non-volatile แมว้ า่ จะปิดเครื่อง (ไม่มีกระแสไฟฟ้า) ข้อมลู ก็ไมส่ ูญหายได้แก่ ฟล็อปป้ีดสิ ก์ (Floppy Disk) เป็นแผ่นพลาสติกวงกลม ปัจจบุ นั มี ขนาด 3.5 น้ิว (วัดจากเส้นผ่าศูนยก์ ลางของวงกลม) สามารถอ่านไดด้ ้วยดิสก์ไดรฟ์ มี ความจุ 1.44 MB มีแถบป้องกันการบนั ทึก (Write-protection) ผู้ใชส้ ามารถเปดิ แถบ 27
หน่วยที่ 1 ความรพู้ นื้ ฐานเกี่ยวกับอินเทอร์เนต็ เครือ่ งมอื อุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ และความปลอดภยั ในการใชอ้ นิ เทอร์เน็ตจริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ นี้เพือ่ ป้องกันไม่ใหม้ ีการบันทึกขอ้ มลู อืน่ ทบั ไปหรือลบข้อมูลท้งิ ปัจจบุ ันไมน่ ิยมใช้งาน แล้ว ฟลอ็ ปปีด้ สิ ก์กลายเปน็ รูปสัญลกั ษณ์ (Icon) ทีใ่ ช้สื่อถึงการบนั ทึกข้อมูลใน โปรแกรม รปู ภาพที่ 19 ฟล็อปป้ีดสิ ก์ขนาด 3.5 น้วิ ฮาร์ดดิสก์ (Hard disk) ฮารด์ ดสิ กท์ ามากจากแผ่นโลหะแข็ง ฮาร์ดดิสก์ มีหลักการทางานคล้ายกับฟล็อปป้ดี สิ ก์ แต่ฮาร์ดดิสก์ทามาจาก แผ่นโลหะแขง็ ทาให้สามารถเก็บข้อมูลได้มากและทางานได้รวดเร็ว ฮารด์ ดิสก์ส่วน ใหญจ่ ะถูกยึดตดิ อยู่ภายในเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ แต่ กม็ ีบางรุ่นทเี่ ป็นแบบเคล่ือนยา้ ยได้ (Removable disk เกบ็ ข้อมูลไดถ้ ึงหน่วย TB รูปภาพท่ี 20 ฮาร์ดดสิ ก์(Hard disk) ฮาร์ดดิสก์ทนี่ ิยมใช้ในปัจจบุ ัน จะประกอบด้วยจานแม่เหลก็ หลาย ๆ แผน่ และสามารถบันทึกขอ้ มูลได้ท้ังสองหนา้ ของผิวจานแมเ่ หล็ก โดยทท่ี กุ แทรก (Track) และเซกเตอร์ (Sector) ทีม่ ตี าแหน่งตรงกนั ของฮารด์ ดิสก์ชุดหนึ่งจะเรียกวา่ ไซลนิ เดอร์ (Cylinder) 28
หนว่ ยท่ี 1 ความรพู้ ้ืนฐานเกยี่ วกบั อินเทอร์เนต็ เครื่องมืออปุ กรณค์ อมพวิ เตอร์ และความปลอดภยั ในการใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ จรยิ ธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รูปภาพท่ี 21 ส่วนประกอบของฮาร์ดดสิ ก์(Hard disk) โซลิดสเตตไดร์ฟ (Solid State Drive หรือ SSD) เป็นชิปวงจร รวมท่ีประกอบเป็นหน่วยความจาเก็บข้อมูลซึ่งถูกสร้างมาเพื่อทดแทนการใช้งานจาน แม่เหล็กในฮาร์ดดิสก์แบบเดิม ชิปวงจรรวมน้ีส่งผลให้ความเสียหายจากแรงกระแทก ของโซลิดสเตตน้ันน้อยกว่าฮาร์ดดิสก์ ไม่ใช้วิธีการอ่านข้อมูลด้วยวิธีหมุนจานแม่เหล็ก ทาให้อุปกรณ์ชนิดน้ีกินไฟน้อยกว่าเดิม เวลาในการเข้าถึงข้อมูลเร็วข้ึน ขนาดท่ีเล็ก และเบาลงกว่าฮาร์ดดิสก์ทาให้ในถูกนาไปเป็นชิ้นส่วนของเครื่องคอมพิวเตอร์แบบ พกพา สมารท์ โฟน แทบ๊ แลต็ เปน็ ตน้ ซีดี-รอม ( CD-ROM หรือ Compact Disk Read Only Memory) แผน่ ซดี รี อมจะมีลักษณะคล้ายซดี ีเพลง สามารถเก็บข้อมูลได้สูงถึง 700 เม กะไบต์ การใช้งานแผ่นซีดีรอมต้องใช้ร่วมกับซีดีรอมไดร์ฟ (CD-ROM Drive) ซ่ึงจะมี หลายชนิดขึ้นกับความเร็วในการทางาน ซีดีรอมไดร์ฟรุ่นแรกสุดน้ันมีความเร็วในอ่าน ข้อมูลที่ 150 กิโลไบตต์ อ่ วนิ าที เรียกวา่ มีความเร็ว 1 เท่าหรือ 1X รุ่นหลัง ๆ จะอ้างอิง ความเร็วในการอ่านข้อมูลจากรุ่นแรก เช่น ความเร็ว 2 เท่า (2X)5 ความเร็ว 4 เท่า (4x) เปน็ ตน้ ปจั จบุ นั นี้ ซดี รี อมไดรฟ์ ท่ีจะมีความเร็วตง้ั แตส่ บิ เท่าขน้ึ ไป 29
หน่วยท่ี 1 ความรพู้ ื้นฐานเกีย่ วกบั อนิ เทอรเ์ น็ต เคร่ืองมอื อุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ และความปลอดภยั ในการใชอ้ นิ เทอร์เนต็ จริยธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ รปู ภาพท่ี 22 ซดี ี-รอม ( CD-ROM หรอื Compact Disk Read Only Memory) ดีวดี ี (DVD หรือ Digital Versatile Disk) แผ่นดวี ีดีสามารถ เก็บ ขอ้ มลู ไดต้ า่ สดุ ท่ี 4.7 จกิ ะไบต์ ดวี ดี จี ะสามารถมีความจุได้ตั้งแต่ 4.7 GB ถึง 17 GB และมคี วามเร็วในการเข้าถงึ (Accesstime) อยทู่ ี่ 600 กโิ ลไบต์ต่อวนิ าที ถึง 1.3 เมกะ ไบตต์ ่อวินาที สามารถอา่ นแผ่นซดี รี อมแบบเกา่ ได้ด้วย รปู ภาพท่ี 23 ดวี ดี ี (DVD หรือ Digital Versatile Disk) เทปแม่เหลก็ (Magnetic Tape) หลกั การทางานคล้ายเทป บนั ทกึ เสียง การอา่ นข้อมูลแบบลาดบั (Sequential access) ทาใหอ้ า่ นข้อมูลได้ชา้ นยิ มนาเทปแมเ่ หลก็ มาสารองข้อมูลเท่าน้นั ใช้กับข้อมูลทีส่ าคญั และไม่ถูกเรียกใช้ บ่อย ๆ อ่านและลบกี่คร้งั ก็ได้ ราคาตา่ 30
หนว่ ยท่ี 1 ความรพู้ ืน้ ฐานเกยี่ วกับอินเทอรเ์ น็ต เครอ่ื งมอื อปุ กรณค์ อมพิวเตอร์ และความปลอดภยั ในการใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ รูปภาพท่ี 24 เทปแม่เหลก็ (Magnetic Tape) รมี ฟู เอเบิลไดร์ฟ (Removable Drive) เป็นอุปกรณ์เกบ็ ขอ้ มูลที่สามารถ พกพาไปไหนไดโ้ ดยต่อเข้ากบั เครือ่ งคอมพิวเตอรด์ ้วย Port USB ปจั จุบันความจมุ ี ตัง้ แต่ 4, 16, 32, 64, 128, 256 กิกะไบต์ และขยายจนถึง 1 เทอราไบต์ ยังมีไดรฟ์ ลกั ษณะเดียวกนั เรยี กในชือ่ อื่น ๆ เช่น Pen Drive, Thump Drive, Flash Drive , Handy Drive เปน็ ต้น รูปภาพท่ี 25 รมี ูฟเอเบลิ ไดร์ฟ (Removable Drive) ซิบไดร์ฟ (Zip Drive) เป็นส่อื บันทึกขอ้ มลู ทีห่ วังจะมาแทนแผน่ ฟล็อปป้ีดิสก์ มีขนาดความจุ 100 เมกะไบต์ ซึ่งการใช้งานซิปไดร์ฟจะต้องใชง้ านกับซปิ ดิสก์ (Zip Disk) ความสามารถในการเก็บข้อมูลของซิปดิสก์จะเก็บข้อมลู ไดม้ ากกว่าฟล็อปปด้ี ิสก์ 31
หนว่ ยท่ี 1 ความรพู้ น้ื ฐานเกีย่ วกบั อนิ เทอร์เน็ต เครอื่ งมอื อุปกรณค์ อมพิวเตอร์ และความปลอดภยั ในการใช้อนิ เทอร์เนต็ จรยิ ธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รปู ภาพที่ 26 ซิปไดรฟ์ (Zip Drive) การด์ เมมโมรี (Memory Card) เปน็ อุปกรณบ์ ันทกึ ข้อมลู ที่มีขนาด เลก็ พัฒนาขนึ้ เพอื่ นาไปใช้กับอปุ กรณ์เทคโนโลยีแบบต่าง ๆ เชน่ กลอ้ งดจิ ทิ ัล คอมพิวเตอร์มือถอื (Personal Data Assistant - PDA) โทรศพั ท์มอื ถือ เปน็ ต้น เลก็ รูปภาพที่ 27 การ์ดเมมโมรี (Memory Card) 4 หนว่ ยแสดงผล (Output Unit) แบง่ เปน็ 2 ประเภทพ 1) อปุ กรณท์ ่ใี ชแ้ สดงผลลพั ธ์ชัว่ คราว หมายถึงอุปกรณท์ ่ีใหผ้ ลลัพธ์ แก่ผ้ใู ชใ้ นระยะเวลาหนึ่งไม่สามารถเกบ็ ไว้เป็นหลกั ฐานได้ เช่น จอภาพ เป็นตน้ คอมพิวเตอร์จอภาพ (Monitor) ใชแ้ สดงขอ้ มลู หรอื ผลลัพธใ์ ห้ผใู้ ช้ เห็นได้ทนั ที มรี ูปร่างคล้ายจอภาพของโทรทัศน์ บนจอภาพประกอบดว้ ยจดุ จานวน มากมาย เรยี กจุดเหล่านัน้ ว่า พิกเซล (Pixel) ถา้ มีพิเซลจานวนมากก็จะทาใหผ้ ใู้ ช้ 32
หนว่ ยที่ 1 ความรพู้ ้นื ฐานเก่ยี วกบั อนิ เทอร์เน็ต เครือ่ งมอื อุปกรณค์ อมพวิ เตอร์ และความปลอดภยั ในการใชอ้ นิ เทอร์เน็ตจรยิ ธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มองเห็นภาพบนจอได้ชัดเจนมากขนึ้ จอภาพท่ีใชใ้ นปจั จบุ ันแบง่ ไดเ้ ป็นสองประเภท คือ - จอซีอาร์ที (Cathode Ray Tube) นิยมใชก้ บั เครอื่ งไมโครคอมพวิ เตอร์ สว่ นมากในปัจจบุ ัน ใช้หลักการยงิ แสงผา่ นหลอดภาพคลา้ ยกบั โทรทศั น์ - จอแอลซีดี (Liquid Crystal Display) นิยมใช้เปน็ จอภาพของเคร่ือง คอมพวิ เตอร์แบบพกพาทาให้เปน็ จอภาพที่มีความหนาไม่มาก มนี า้ หนักเบาและกนิ ไฟ นอ้ ยกว่าจอภาพซีอารท์ ี แต่มีราคาสูงกว่า รูปภาพท่ี 28 จอซอี าร์ที และจอแอลซีดี อุปกรณ์ฉายภาพ (Projector) เป็นอุปกรณ์ทน่ี ยิ มใชใ้ นการเรยี นการสอน หรอื การประชุม เน่อื งจากสามารถนาเสนอขอ้ มลู ใหผ้ ชู้ มจานวนมากเหน็ พร้อม ๆ กัน ในปัจจุบนั จะมีอยหู่ ลายแบบ ท้งั ทสี่ ามารถตอ่ สัญญาณจากคอมพวิ เตอรโ์ ดยตรง หรือ ใช้อุปกรณ์พิเศษในการวางลงบนเครือ่ งฉายภาพข้ามศรี ษะ (Overhead Projector) ธรรมดา เหมือนกบั อุปกรณน์ ั้นเปน็ แผ่นใส่แผ่นหนึ่ง รปู ภาพที่ 29 อุปกรณ์ฉายภาพ (projector) 33
หน่วยท่ี 1 ความรพู้ ้นื ฐานเกี่ยวกับอนิ เทอร์เนต็ เครื่องมืออุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ และความปลอดภยั ในการใชอ้ นิ เทอร์เน็ตจรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ อปุ กรณ์เสียง (Audio Output) คอมพวิ เตอรร์ นุ่ ใหม่ ๆ มักจะมีหน่วยแสดง เสยี ง ซ่ึงประกอบขนึ้ จาก ลาโพง (Speaker) และ การด์ เสยี ง (Sound card) เพื่อให้ ผู้ใชส้ ามารถฟงั เพลงในขณะทางาน หรือให้เคร่ืองคอมพวิ เตอร์รายงานเป็นเสียงให้ ทราบเมือ่ เกดิ ปัญหาต่าง ๆ รูปภาพท่ี 30 อุปกรณเ์ สียง (Audio output) 2) อุปกรณ์ท่ีแสดงผลลัพธ์แบบถาวร หมายถึง อุปกรณ์ที่ให้ผลลัพธ์ที่ สามารถเก็บไว้เป็นหลักฐานไดต้ ่อ ๆ ไปในอนาคต เชน่ เครื่องพิมพ์ เป็นตน้ เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์เพื่อทา หน้าที่ในการแปลงผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ให้อยู่ในรูป ของอักขระหรือรูปภาพท่ีจะไปปรากฏอยู่บนกระดาษ นับเป็นอุปกรณ์แสดงผลที่นิยม ใชอ้ ยา่ งแพรห่ ลายมากทส่ี ดุ รปู ภาพที่ 31 เคร่ืองพมิ พ์ (Printer) เคร่อื งพมิ พแ์ บบกระทบ (Impact Printer) เคร่อื งพิมพ์แบบกระทบ มีหลาย ลักษณะ เป็นเคร่ืองพิมพ์ท่อี าศัย การกดหวั พมิ พก์ บั แถบผา้ หมึก เพื่อให้เกิดตวั อักษร ได้แก่ เครอ่ื งพมิ พแ์ บบเรยี งจุด (Dot Matrix Printer) เป็นเครอื่ งพิมพ์ ท่ีได้รับความ นิยม 34
หน่วยท่ี 1 ความรพู้ นื้ ฐานเกี่ยวกับอนิ เทอรเ์ นต็ เครือ่ งมืออปุ กรณค์ อมพิวเตอร์ และความปลอดภยั ในการใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ รปู ภาพที่ 32 เคร่ืองพมิ พแ์ บบกระทบ (Impact Printer) เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก (Ink Jet Printer) เคร่ืองพิมพ์แบบพ่นหมึก โดย หัวพิมพ์ ซ่ึงเป็นตลับหมึกของเคร่ืองพิมพ์ จะมีรูเล็กๆ ไว้พ่นหมึกลงบนกระดาษ ใช้ หลักการพ่นหมึกลงในตาแหน่งท่ีต้องการ โดยการควบคุมด้วย ไฟฟ้าสถิตย์จาก คอมพิวเตอร์ ทาให้ไม่เกิดเสียงดัง ในขณะใช้งาน และยังสามารถพ่นหมึกเป็นสีต่าง ๆ เปน็ เครอื่ งพมิ พส์ ไี ด้อกี ด้วย รปู ภาพท่ี 33 เคร่ืองพิมพ์แบบพ่นหมกึ (Ink Jet Printer) เคร่อื งพมิ พเ์ ลเซอร์ (Laser Printer) ใช้หลักการเปลี่ยนตัวอักษร และภาพ ให้ เป็นสัญญาณภาพ ที่มีความละเอียดต้ังแต่ 200 จุดถึง 1,200 จุดต่อนิ้ว จากนั้นใช้แสง เลเซอร์วาดภาพที่จะพิมพ์ลงบนกระบอกรับภาพ การทางานคล้าย เคร่ืองถ่าย เอกสาร 35
หนว่ ยที่ 1 ความรพู้ ้นื ฐานเกยี่ วกับอนิ เทอร์เน็ต เคร่ืองมืออุปกรณค์ อมพิวเตอร์ และความปลอดภยั ในการใช้อนิ เทอรเ์ นต็ จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ รปู ภาพที่ 34 เคร่ืองพมิ พ์เลเซอร์ (Laser Printer) พลอ็ ตเตอร์ (Plotter) Plotter เป็นอุปกรณ์แสดงข้อมูลท่ีมกั จะใช้กับงาน ออกแบบ (CAD) โดยจะแปลงสญั ญาณข้อมลู เป็นเส้นตรง หรือเสน้ โคง้ ก่อนพมิ พ์ลง บนกระดาษ ทาให้แสดงผลเปน็ กราฟแผนที่ แผนภาพตา่ ง ๆ ได้ โดยตัวพล็อตเตอร์ รปู ภาพที่ 34 พล็อตเตอร์ (Plotter) บทสรปุ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึงโครงสร้างของเคร่ือง คอมพิวเตอร์ท่ีสามารถมองเห็นและจับต้องได้เช่น คีย์บอร์ด เมาส์ จอคอมพิวเตอร์ และตัวเคร่ือง นอกจากน้ียังประกอบด้วยอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ที่ช่วยเสริมให้ คอมพวิ เตอร์ทางานได้ แบง่ ตามหนา้ ท่กี ารทางานของเครือ่ งได้ดงั นี้ 1 หน่วยรับข้อมูล (Input unit) เป็นอุปกรณ์รับเข้า ทาหน้าที่รับโปรแกรม และขอ้ มูล เขา้ สู่เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ อปุ กรณ์รับเข้าที่ใช้กันเป็นส่วนใหญ่ คือ แป้นพิมพ์ ( Keyboard ) และเมาส์ ( Mouse) นอกจากน้ียังมีอุปกรณ์รับเข้าอื่น ๆ อีก ได้แก่ สแกนเนอร์ ( Scanner), วีดีโอคาเมรา (Video Camera), ไมโครโฟน 36
หน่วยท่ี 1 ความรพู้ น้ื ฐานเกีย่ วกับอนิ เทอร์เน็ต เครือ่ งมอื อปุ กรณ์คอมพิวเตอร์ และความปลอดภยั ในการใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตจรยิ ธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Microphone),ทัชสกรีน (Touch screen), แทร็คบอล (Trackball), ดิจิตเซอร์ เท เบลิ้ แอนด์ ครอสแชร์ (Digiter tablet and crosshair) 2 หน่วยประมวลผลกลาง (CPU : Central Processing Unit) จะทาหน้าที่ เป็นศูนย์กลางควบคุมการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ท้ังหมด โดยนาข้อมูลจาก อุปกรณ์รับข้อมูลมาทาการประมวลผลข้อมูลตามคาสั่งของโปรแกรมและส่งผลลัพธ์ที่ ไดอ้ อกไปท่หี น่วยแสดงผลในรูปแบบทีผ่ ใู้ ช้เขา้ ใจ หนว่ ยประมวลผลกลาง ประกอบขึน้ มาจากวงจรอเิ ล็กทรอนิกสอ์ ยู่ 2 ส่วน คือ -หนว่ ยคานวณและตรรกะ (Arithmetic and Logical Unit : ALU) - สว่ นควบคุม (Control Unit) 3 หน่วยความจา (Memory Unit) เป็นที่เก็บโปรแกรม ข้อมูล และผลลัพธ์ไว้ ภายในคอมพวิ เตอรห์ นว่ ยนร้ี วมถึงส่ือขอ้ มลู ท่ชี ว่ ยในการจดจา เช่น แผ่นบนั ทกึ เป็นต้น สาหรับหน่วยความจาของคอมพิวเตอรแ์ บ่งเปน็ 2 ประเภท คือ 3.1 หน่วยความจาหลัก (Primary Memory Unit) หน่วยความจา หลักทางานร่วมกับหน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจาหลักจะอยู่ภายในตัวเครื่อง และเปน็ สว่ นท่ีจาเปน็ ตอ้ งมีสาหรับคอมพิวเตอร์ 3.2 หน่วยความจาสารอง (Secondary Memory Unit) เป็น หน่วยความจาท่ีต้องอาศัยสื่อบันทึกข้อมูลและอุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลชนิดต่าง ๆ หน่วยความจาสารองมีลักษณะ non-volatile แม้ว่าจะปิดเคร่ือง (ไม่มีกระแสไฟฟ้า) ขอ้ มูลก็ไม่สูญหายไดแ้ ก่ 4 หน่วยแสดงผล (Output Unit) แบง่ เปน็ 2 ประเภท 4.1 อปุ กรณ์ทใี่ ช้แสดงผลลัพธช์ ่ัวคราว หมายถึงอุปกรณท์ ใ่ี ห้ผลลพั ธ์ แกผ่ ูใ้ ชใ้ นระยะเวลาหนง่ึ ไมส่ ามารถเกบ็ ไวเ้ ป็นหลักฐานได้ เช่น จอภาพ เป็นตน้ 4.2 อุปกรณ์ท่แี สดงผลลพั ธ์แบบถาวร หมายถงึ อุปกรณท์ ี่ให้ผลลัพธ์ ที่สามารถเกบ็ ไวเ้ ป็นหลักฐานได้ต่อ ๆ ไปในอนาคต เช่น เคร่ืองพิมพ์ เป็นตน้ วิธกี ารสอนและกิจกรรม 1. ผูส้ อนบรรยายเนอื้ หา 2. นกั ศกึ ษารว่ มอภปิ ราย 3. ผสู้ อนต้งั คาถามให้ผู้เรยี นมสี ว่ นร่วมในการเรียน 4. นกั ศึกษาสรุปความสาคญั ของเคร่ืองมือและอปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์ 5. นักศึกษาทาแบบฝึกหัด 6. ให้งานท่มี อบหมาย 37
หนว่ ยท่ี 1 ความรพู้ ้ืนฐานเก่ียวกบั อินเทอรเ์ น็ต เครอ่ื งมืออุปกรณค์ อมพิวเตอร์ และความปลอดภยั ในการใช้อนิ เทอร์เนต็ จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สอื่ การสอน 1. เอกสารประกอบการสอน 2.โสตทัศนวัสดุ Power Point Presentation 3. ส่ือคอมพิวเตอรแ์ ละอุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ งานทีม่ อบหมาย 1. ทาแบบฝึกหดั ทา้ ยบทเรยี น 2. ศึกษาค้นคว้าเพ่ิมเติมจากหนังสือและอินเตอร์เน็ตเกี่ยวกับเครื่องมือและ อปุ กรณค์ อมพิวเตอร์ การวัดผล 1. พจิ ารณาการเขา้ ชัน้ เรียนตามเวลากาหนด 2.มสี ่วนรว่ มกิจกรรมการเรียน 3. ตรวจแบบฝกึ หดั การซักถาม-ตอบ 4.สอบกลางภาค กจิ กรรม เร่ืองเครอื่ งมอื และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ อภปิ รายและตอบคาถามในหัวขอ้ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. อธิบายถงึ ความหมายของอปุ กรณ์คอมพวิ เตอรฮ์ ารด์ แวร์ 2.อธิบายการทางานของหนว่ ยรบั ข้อมลู พร้อมยกตัวอย่างอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ของหนว่ ยรบั ข้อมลู มาให้มากทสี่ ดุ 3. อธิบายการทางานของหน่วยประมวลผลกลางมาใหเ้ ข้าใจพอสงั เขป 4. หน่วยความจาหลักมีความแตกต่างกันอยา่ งไรกบั หนว่ ยความจาสารอง 5. หนว่ ยความจา ROM หมายถงึ 6. หน่วยความจา RAM หมายถึง 7. ยกตัวอย่างอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในหน่วยแสดงผลพร้อมบอกหน้าท่ีการ ทางานของอปุ กรณ์เหลา่ นน้ั 8. หน่วยแสดงผล (Output Unit) แบ่งออกเป็นกี่ประเภทอะไรบ้าง 38
Search
Read the Text Version
- 1 - 21
Pages: