Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1683-file

1683-file

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-09-02 06:13:53

Description: 1683-file

Search

Read the Text Version

กรอบคุณวฒุ ิแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ National Qualifications Framework 2017 สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

๓๗๙.๕๙๓ สำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษา ส ๖๙๑ ก กรอบคุณวุฒิแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ กรงุ เทพฯ: สกศ., ๒๕๖๒ ๓๗ หน้า ISBN: ๙๗๘-๖๑๖-๒๗๐-๒๐๓-๗ ๑. กรอบคณุ วฒุ ิแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒. ชอ่ื เรือ่ ง กรอบคุณวุฒแิ หง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ สิ่งพมิ พ์ สกศ. อันดบั ท่ี ๓๒/๒๕๖๒ พิมพคร้ังท่ี ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๐ จำนวน ๓,๐๐๐ เล่ม พิมพครัง้ ท่ี ๒ พฤษภาคม ๒๕๖๒ จำนวน ๒,๐๐๐ เล่ม ผจู้ ัดพิมพ์เผยแพร ่ กลุ่มนโยบายการผลติ และพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์ สำนักนโยบายและแผนการศกึ ษา สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร โทร. ๐ ๒๖๖๘ ๗๑๒๓ ต่อ ๒๔๔๘ โทรสาร ๐ ๒๒๔๓ ๗๙๑๗ Web site : http://www.onec.go.th ผพู้ มิ พ ์ บรษิ ัท พรกิ หวานกราฟฟคิ จำกดั ๙๐/๖ ซอยจรัญสนทิ วงศ์ ๓๔/๒ ถนนจรัญสนทิ วงศ์ แขวงอรณุ อมรินทร์ เขตบางกอกนอ้ ย กรงุ เทพฯ ๑๐๗๐๐ โทรศพั ท์ ๐ ๒๔๒๔ ๓๒๔๙, ๐ ๔๒๔ ๓๒๕๒ โทรสาร ๐ ๒๔๒๔ ๓๒๔๙, ๐ ๔๒๔ ๓๒๕๒

(ก)กรอบคณุ วุฒิแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ คำนำ กรอบคุณวุฒแิ ห่งชาติ เป็นกลไกในการเช่อื มโยงระบบการเรยี นรขู้ อง ภาคการศึกษาให้ยึดโยงกับมาตรฐานการปฏิบัติงานที่ตลาดแรงงานยอมรับ และสร้างโอกาสการเรียนรู้ให้แก่คนที่อยู่ทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษา ได้เทียบโอนประสบการณ์เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต อันจะนำไปส ู่ การได้รับค่าตอบแทนที่สอดคล้องกับสมรรถนะ ซึ่งถือเป็นกลไกท่ีสำคัญ ในการยกระดับการผลิตและพัฒนาคนให้มีศักยภาพในการพัฒนาประเทศ โดยคณะรฐั มนตรใี นคราวประชมุ เมอื่ วนั ที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๖๐ มมี ตเิ หน็ ชอบ “กรอบคณุ วฒุ แิ หง่ ชาติ ฉบบั ปรบั ปรงุ ” ซงึ่ ไดด้ ำเนนิ การปรบั ปรงุ ใหส้ อดคลอ้ ง กับกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน (ASEAN Qualifications Reference Framework: AQRF) อันจะทำให้เกิดความคล่องตัวในการเทียบเคียงระดับ คณุ วุฒิของผู้เรยี นและแรงงานไทยในอนาคต ด้วยความสำคัญของกรอบคุณวุฒิแห่งชาติซ่ึงเป็นกลไกหน่ึงท่ีสำคัญ ต่อการปฏิรูปการศึกษา สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาจึงได้จัดพิมพ์ “กรอบคณุ วฒุ ิแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐” ขึ้นเป็นคร้งั ที่ ๒ เนื่องจากการจดั พิมพ ์ ในคร้ังท่ี ๑ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้รับความสนใจจากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ตลอดจนนักเรียน นักศึกษา และกำลังคนวัยแรงงาน นำไปใช้ประโยชน ์ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยการจัดพมิ พใ์ นครงั้ นไี้ ด้มีการปรับปรงุ ระดับมาตรฐานอาชีพ ของกระทรวงแรงงานท่ีได้ดำเนินการปรับเป็น ๘ ระดับ ให้สอดคล้องกับ กรอบคณุ วฒุ แิ หง่ ชาติ ทง้ั น้ี สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษาหวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ กรอบคุณวุฒิแห่งชาติฉบับน้ี จะช่วยสร้างความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึง ความสำคัญของกรอบคุณวุฒิแห่งชาติแก่ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะ

(ข) กรอบคณุ วุฒิแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและพัฒนากำลังคนให้ร่วมกันขับเคล่ือน กรอบคุณวุฒิแห่งชาติไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม อันจะนำไปสู่การผลิต และพัฒนากำลังคนของประเทศให้มีสมรรถนะตรงตามความต้องการของ ตลาดแรงงานท้ังในและตา่ งประเทศ และรองรับการพัฒนาประเทศไทย ๔.๐ (นายสภุ ัทร จำปาทอง) เลขาธกิ ารสภาการศึกษา

(ค)กรอบคณุ วุฒแิ ห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ สารบญั หน้า (ก) คำนำ (ค) สารบัญ ๑ กรอบคุณวฒุ ิแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๑ ๑. บทนำ ๕ ๒. สาระสำคญั ของกรอบคุณวุฒิแห่งชาต ิ ๕ ๒.๑ หลกั การสำคัญของกรอบคุณวฒุ แิ หง่ ชาติ ๗ ๒.๒ นิยามศพั ทท์ ี่เกยี่ วขอ้ ง ๙ ๒.๓ วัตถุประสงคข์ องกรอบคณุ วฒุ ิแหง่ ชาต ิ ๑๐ ๒.๔ โครงสรา้ งกรอบคณุ วุฒแิ ห่งชาติ ๑๖ ๓. บทบาทและภารกจิ ของหน่วยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับ กรอบคุณวฒุ แิ หง่ ชาติ ๔. ยทุ ธศาสตร ์ ๒๐ ภาคผนวก ๒๔ ● มติคณะรฐั มนตรี ๒๕ เรอ่ื ง (ร่าง) กรอบคณุ วุฒแิ หง่ ชาติ ฉบับปรับปรุง ● มติคณะรฐั มนตรี เร่อื ง แต่งต้ังคณะกรรมการกรอบคุณวฒุ แิ ห่งชาติ ๒๗ ● คณะผู้ดำเนินการ (พิมพ์คร้ังที่ ๑) ● คณะผดู้ ำเนนิ การ (พมิ พค์ ร้งั ท่ี ๒) ๓๐ ๓๑



กรอบคณุ วุฒแิ ห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ .................................................... ๑. บทนำ รัฐบาลปัจจุบันได้ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคนทุกช่วงวัย โดยสง่ เสรมิ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ เพอ่ื ใหส้ ามารถมคี วามรแู้ ละทกั ษะทสี่ ามารถ ประกอบอาชีพได้หลากหลายตามแนวโน้มการจ้างงานในอนาคต ส่งเสริม อาชีวศึกษาและการศึกษาระดับวิทยาลัยชุมชน เพ่ือสร้างแรงงานท่ีมีทักษะ โดยเฉพาะในท้องถิ่นที่มีความต้องการแรงงาน และพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน การศึกษาใหเ้ ช่อื มโยงกบั มาตรฐานอาชพี ซ่งึ นายกรฐั มนตรี (พลเอก ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา) กล่าวไว้ในรายการคืนความสุขให้คนในชาติว่า “วันนี้การผลิต กำลังคน ต้องมาดูก่อนว่าคุณภาพท่ีเราต้องการเป็นอย่างไร มีคุณสมบัติอะไร อย่างไร ต้องมุ่งหวังคุณภาพมากกว่าปริมาณ การผลิตกำลังคน ในสายวิชาชีพให้เป็นแรงงานคุณภาพหรือแรงงานท่ีมีฝีมือของประเทศนั้น จบมาแล้วต้องมีงานทำ ถ้าเราไม่ปรับระบบการศึกษาเพื่อผลิตกำลังคน ใหส้ อดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน จบมากไ็ ม่มีงานทำอีก” รฐั บาลไดต้ ง้ั เปา้ หมายในการนำพาประเทศเขา้ สโู่ มเดล “ประเทศไทย ๔.๐ (Thailand 4.0)” ท่ีมุ่งปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่ “เศรษฐกิจ ท่ีขับเคล่ือนด้วยนวัตกรรม” รูปแบบเศรษฐกิจจะเปลี่ยนจากอุตสาหกรรม ทเ่ี นน้ การผลติ ปรมิ าณมากและใชแ้ รงงานราคาถกู ไปสกู่ ารพฒั นาอตุ สาหกรรม ท่ีพ่ึงพาความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล แนวคิดดังกล่าวน้ีได้รับการอภิปรายอย่างกว้างขวางทั้งในระดับชาติและ ระดบั นานาชาติ โดยในระดบั นานาชาติ ประเทศสมาชกิ องคก์ ารสหประชาชาติ ได้กำหนดเป้าหมายการพัฒนาท่ียั่งยืน (Sustainable Development

2 กรอบคณุ วฒุ แิ ห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ Goals: SDGs) เพ่ือสร้างหลักประกันว่าทุกคนมีการศึกษาที่มีคุณภาพ อย่างครอบคลุมและเท่าเทียม และสนับสนุนโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต เข้าถึงการศึกษาวิชาเทคนิค อาชีวศึกษา อุดมศึกษา รวมถึงมหาวิทยาลัย ที่มีราคาที่สามารถจ่ายได้และมีคุณภาพ ภายในปี ๒๕๗๓ ซึ่งประเทศไทย ได้กำหนดเป็นวาระแห่งชาติตามยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ของคณะรักษา ความสงบแห่งชาติ (คสช.) ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน ที่มุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต การยกระดับการศึกษาและ การเรียนรู้ให้มีคุณภาพเท่าเทียมและท่ัวถึง สอดคล้องกับแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี ๑๒ (๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) ท่ียึดคนเป็น ศูนย์กลางการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแข่งขัน ของชาติ เป็นผลให้การพัฒนากำลังคนต้องปรับตัวเพ่ือให้สอดรับกับ โลกในศตวรรษที่ ๒๑ ใน ๔ มิติ คอื ๑) เป็นคนไทยทม่ี ีความรู้ ทกั ษะ และ ความสามารถท่ีสอดรับกับโลกในศตวรรษที่ ๒๑ ๒) เป็นคนไทยที่ม ี ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคม ๓) เปน็ คนไทยทีม่ อี ตั ลกั ษณ์ความเปน็ ไทยสามารถ ยืนอย่างมีศักด์ิศรีในเวทีสากล และ ๔) เป็นดิจิทัลไทยเพื่อสอดรับกับ การเข้าสู่ยุคดิจิทัล ประกอบกับการก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) อย่างเป็นทางการในปี ๒๕๕๘ ก่อให้เกิดการเช่ือมโยง ทงั้ ในดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง และวฒั นธรรม โดยเฉพาะการเคลอื่ นยา้ ย แรงงานระหว่างประเทศสมาชิก ประเทศไทยจึงจําเป็นต้องพัฒนากําลังคน ให้มีมาตรฐานเทียบเคียงกับอาเซียนและนานาชาติเพื่อเตรียมพร้อมสู่สังคม ยุคใหม่ และเพมิ่ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ท้งั ในอาเซยี นและสากล สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาในฐานะหน่วยงานระดับนโยบาย ท่ีมีภารกิจสำคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของชาติ ได้ให้ความสำคัญ ในเรื่องดังกล่าวอย่างย่งิ โดยเฉพาะในแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ระบุไวใ้ นยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๒ เรือ่ งการผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัย

3กรอบคุณวุฒแิ ห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ และนวัตกรรมเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ซึ่งมี เป้าหมายที่จะพัฒนากำลังคนให้มีสมรรถนะตรงตามความต้องการของ ตลาดแรงงานและการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ โดยมีแนวทาง ในการพัฒนาเพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว คือ การส่งเสริมสนับสนุน การขับเคล่ือนระบบคุณวุฒิท้ังด้านการศึกษาและอาชีพสู่การปฏิบัติ ซึ่งสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ในฐานะหน่วยงานหลักในการจัดทำ “กรอบคณุ วฒุ แิ หง่ ชาต”ิ (National Qualifications Framework: NQF) ตามที่คณะรัฐมนตรีใหค้ วามเหน็ ชอบเมอ่ื วันท่ี ๘ มกราคม ๒๕๕๖ และจัดทำ แผนการขับเคล่ือนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ ตามท่ีคณะรัฐมนตรี ใหค้ วามเหน็ ชอบ เม่อื วันที่ ๒๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗ ได้ดำเนนิ การขับเคล่อื น กรอบคุณวุฒิแห่งชาติมาอย่างต่อเน่ือง ผ่านกลไกการดำเนินงานของ คณะกรรมการทปี่ รึกษาการขบั เคลื่อนกรอบคณุ วฒุ แิ หง่ ชาติ และคณะทำงาน ขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ เพ่ือร่วมกันกำหนดแนวทาง การนำกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสูก่ ารปฏิบตั ิ โดยท่ีการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ เป็นเรื่องท่ีเก่ียวเน่ืองกับ หลายหน่วยงาน ท้ังหน่วยงานด้านการศึกษาและด้านอาชีพ คณะกรรมการ ทป่ี รกึ ษาการขบั เคลอื่ นกรอบคณุ วฒุ แิ หง่ ชาติ ในคราวประชมุ ครง้ั ที่ ๑/๒๕๕๙ เมอ่ื วนั ที่ ๗ มนี าคม ๒๕๕๙ ซงึ่ มี พลเอก ดาวพ์ งษ์ รตั นสวุ รรณ รฐั มนตรวี า่ การ กระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานการประชุม มีมติเห็นชอบให้แต่งต้ัง “คณะกรรมการกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ” โดยมีรองนายกรัฐมนตรี ท่ีกำกับ ดูแลงานคุณวุฒิการศึกษา/งานคุณวุฒิวิชาชีพ เป็นประธานกรรมการ และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นรองประธานกรรมการ ทำหน้าท่ี แทนคณะกรรมการท่ีปรึกษาการขับเคล่ือนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติเดิม เพ่ือทำหน้าท่ีเป็นคณะกรรมการระดับชาติที่มีอำนาจหน้าท่ี (authority) ในการประสานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องท้ังภายในและนอก

4 กรอบคุณวฒุ ิแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ กระทรวงศึกษาธิการ โดยได้มีการปรับกลไกและกรอบการดำเนินงานใหม่ ให้มีความชัดเจนย่ิงขึ้น อันจะส่งผลให้สามารถนำกรอบคุณวุฒิแห่งชาติไปสู่ การปฏบิ ตั อิ ยา่ งเปน็ ระบบมากยง่ิ ขนึ้ ซงึ่ คณะรฐั มนตรมี มี ตเิ หน็ ชอบการแตง่ ตงั้ คณะกรรมการกรอบคุณวุฒแิ หง่ ชาติ เม่ือวนั ท่ี ๒ สงิ หาคม ๒๕๕๙ นอกจากน้ี ในการประชุมดังกล่าวยังมีมติให้ปรับระดับกรอบคุณวุฒิ แห่งชาติจาก ๙ ระดับ เป็น ๘ ระดับ เพ่ือให้สอดคล้องกับระดับคุณวุฒิของ กรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน (ASEAN Qualifications Reference Framework: AQRF) ซ่ึงเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) เป็นสำคัญในการจัดระดับคุณวุฒิ หลีกเลี่ยงปัญหาความสับสนและง่ายต่อ การเทยี บเคยี งระดบั คณุ วฒุ ขิ องผเู้ รยี นและแรงงานไทยในอนาคต โดยมอบหมาย ให้สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาในฐานะฝ่ายเลขานุการดำเนินการ ร่วมกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ได้แก่ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขน้ั พน้ื ฐาน สำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การ มหาชน) กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และสถาบนั วิจยั เพอ่ื การพฒั นาประเทศไทย พิจารณาปรับระดบั กรอบคุณวุฒิ จาก ๙ ระดับ เป็น ๘ ระดับ พร้อมท้ังจัดทำรายละเอียดองค์ประกอบ ระดบั คณุ วฒุ ิ รวมทง้ั ปรบั ปรุงโครงสรา้ งระบบงานท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั กรอบคณุ วฒุ ิ แห่งชาติให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น โดยเฉพาะกำหนดบทบาทและภารกิจของ หน่วยงานในประเทศให้สอดคล้องกับกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ และเกณฑ์ การเทยี บเคยี งกรอบคณุ วฒุ อิ า้ งองิ อาเซยี น ซงึ่ จะทำใหส้ ามารถนำกรอบคณุ วฒุ ิ แห่งชาติสู่การปฏิบัติอย่างเป็นระบบและเป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น โดยจัดทำเป็น “(ร่าง) กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง” และให้นำเสนอคณะกรรมการ กรอบคณุ วฒุ แิ หง่ ชาตพิ จิ ารณา เพอื่ เสนอคณะรฐั มนตรใี หค้ วามเหน็ ชอบตอ่ ไป

5กรอบคณุ วุฒแิ ห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ คณะกรรมการกรอบคณุ วฒุ แิ หง่ ชาติ ในคราวประชมุ ครงั้ ที่ ๑/๒๕๖๐ เมอ่ื วนั ท่ี ๙ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๐ มมี ตเิ หน็ ชอบ “(รา่ ง) กรอบคณุ วฒุ แิ หง่ ชาติ ฉบับปรับปรุง” โดยให้นำข้อเสนอแนะจากการประชุมไปปรับปรุงให้มี ความสมบรู ณ์ ถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ าการ และมคี วามเปน็ สากลยง่ิ ขน้ึ กอ่ นนำเสนอ คณะรฐั มนตร ี ๒. สาระสำคญั ของกรอบคณุ วุฒแิ หง่ ชาต ิ ๒.๑ หลักการสำคญั ของกรอบคุณวฒุ แิ ห่งชาต ิ กรอบคุณวฒุ ิแหง่ ชาติพฒั นาข้นึ ภายใตห้ ลักการสำคญั ดังน ้ี ๑) สร้างความเช่ือมโยงผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้ท่ีสำเร็จ การศกึ ษาจากสถาบนั การศกึ ษากบั สมรรถนะในการปฏบิ ตั งิ านตามความตอ้ งการ ของภาคการผลิตและบริการ ซึ่งกรอบคุณวุฒิแห่งชาติกำหนดสมรรถนะ แกนกลางและสมรรถนะอาชีพ และใช้สมรรถนะที่ได้รับการยอมรับร่วมกัน ดงั กลา่ วมาพฒั นาและกำหนดหลกั สตู ร รวมทงั้ ออกแบบระบบการเรยี นการสอน พัฒนาผู้บริหาร คณาจารย์ ครู ผู้ควบคุมการฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ (ภาคอุตสาหกรรม เกษตรกรรม ธุรกิจและบริการ) และบุคลากรทาง การศกึ ษา สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ดา้ นวสั ดุ อปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื เครอ่ื งจกั ร เพอื่ เตรยี ม ความพร้อมของสถานศึกษาและสถานประกอบการในการจัดการเรียน การสอนทสี่ นองตอบความต้องการของภาคการผลิตและบรกิ าร ๒) พัฒนาระบบการทดสอบ วัดและประเมินความรู้ ทักษะ และเทียบโอนประสบการณ์ท่ีเปิดกว้าง ยืดหยุ่น หลากหลาย เพ่ือให้ทุกคน สามารถเข้าถึงได้ง่าย สะดวก และตลอดเวลา เป็นการยกระดับความร ู้ ความสามารถและคุณวุฒิทางการศึกษาของผูท้ ีอ่ ยใู่ นตลาดแรงงาน

6 กรอบคณุ วุฒแิ ห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๓) เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถของสถาบันการศึกษา ในการบริหารและจัดการศึกษาเพื่อสนองตอบความต้องการของภาคการผลิต และบริการ ซ่ึงจำเป็นต้องบริหารและจัดการโดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ๓ ฝ่าย ทั้งฝ่ายสถาบันการศึกษาในฐานะผู้ผลิตกำลังคน ฝ่ายผู้ผลิตสินค้าและบริการ ในฐานะผู้ใช้ประโยชน์ และฝ่ายกำลังแรงงานท่ีเป็นผลผลิตจากหน่วยงาน ทางดา้ นการศกึ ษา ๔) พฒั นาศักยภาพของผูบ้ รหิ าร คณาจารย์ ครูและบุคลากร ทางการศึกษา และผู้ควบคุมการฝึกปฏิบัติในสถานประกอบการ ให้มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดการเรียนการสอนรูปแบบที่หลากหลาย โดยเน้น สมรรถนะอาชีพ ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ และการแก้ปญั หา ๕) สร้างความเข้มแข็งให้แก่สถานประกอบการในแต่ละ กลุ่มสาขาวิชา/วิชาชีพ รวมทั้งสถาบัน/องค์กรวิชาชีพในการให้การรับรอง สมรรถนะแกนกลางและสมรรถนะอาชีพ อันเป็นกลไกสำคัญในการสร้าง แรงจูงใจให้เกิดการพัฒนาระบบการศึกษาตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาต ิ ผ่านการกำหนดค่าตอบแทนที่สะท้อนศักยภาพ ความสามารถและสมรรถนะ ในการปฏบิ ัติงานในแต่ละระดบั คณุ วุฒภิ ายใต้กรอบคุณวฒุ ิแห่งชาติ กรอบคณุ วฒุ แิ หง่ ชาติ (National Qualifications Framework: NQF) จึงเป็นกรอบแนวทางการเช่ือมโยงระบบคุณวุฒิของประเทศทุกระดับ และประเภท ให้ยึดโยงกับระดับความสามารถของบุคคลท่ีเป็นผลลัพธ์ของ การเรียนรู้ การศึกษา การฝึกอบรม และประสบการณ์ จากกรอบคุณวุฒิ ทางการศึกษาซ่ึงเป็นความรับผิดชอบของหน่วยงานทางการศึกษา และ กรอบมาตรฐานอาชพี ซง่ึ เปน็ ความรบั ผดิ ชอบของหนว่ ยงานดา้ นมาตรฐานอาชพี / ฝีมือแรงงาน/วิชาชีพ และองค์กรต่าง ๆ ซึ่งต้องใช้กลไกของกรอบคุณวุฒ ิ แห่งชาติในการเช่ือมโยง เพ่ือให้เกิดระบบการพัฒนากำลังคนระดับชาต ิ ที่เป็นเอกภาพ ดังแสดงในแผนภาพท่ี ๑

7กรอบคณุ วฒุ ิแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ กรอบคุณวฒุ ิแหง่ ชาต ิ คณุ วฒุ ิทางการศึกษา มาตรฐานอาชพี ● คุณวฒุ ิทางการศึกษาระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ■ มาตรฐานอาชีพและคณุ วุฒิวชิ าชพี สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน สถาบนั คณุ วฒุ วิ ชิ าชพี (องค์การมหาชน) ■ มาตรฐานฝีมือแรงงาน ● คุณวฒุ ิทางการศึกษาระดบั อาชีวศกึ ษา กระทรวงแรงงาน สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ■ กรอบสมรรถนะอาเซยี นด้านการทอ่ งเที่ยว กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกีฬา ● คุณวุฒทิ างการศกึ ษาระดับอุดมศึกษา ■ มาตรฐานวชิ าชีพขององค์กรวชิ าชพี หรอื สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศกึ ษา มาตรฐานอาชีพของสถานประกอบการ แผนภาพที่ ๑ ความเช่อื มโยงระหวา่ งคณุ วุฒิทางการศึกษากับมาตรฐานอาชีพ ๒.๒ นิยามศัพทท์ ่ีเกี่ยวข้อง ๑) กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (National Qualifications Framework) หมายถึง กรอบแนวทางการเชื่อมโยงผลลัพธ์การเรียนรู้ของ ระดับคุณวุฒิการศึกษาตามเกณฑ์มาตรฐานการเรียนรู้ในแต่ละระดับและ ประเภทการศกึ ษากับระดับการปฏิบัตงิ านตามมาตรฐานอาชีพ ๑.๑) คณุ วฒุ กิ ารศกึ ษา (Educational Qualifications) หมายถึง แนวทางการจัดและแบ่งระดับคุณวุฒิการศึกษา ตามระดับและ ประเภทการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน อาชวี ศึกษา และอดุ มศึกษา ๑.๒) มาตรฐานอาชีพ (Occupational Standard) หมายถึง แนวทางการกำหนดระดับความสามารถในการปฏิบัติงาน หรือ ระดับสมรรถนะในการปฏิบัติที่มีความยุ่งยากซับซ้อนต่างกัน ประกอบด้วย มาตรฐานอาชีพและคุณวุฒิวิชาชีพ มาตรฐานฝีมือแรงงาน และมาตรฐาน อาชีพในระดบั สากล

8 กรอบคุณวฒุ ิแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒) ผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) หมายถึง เกณฑ์บ่งชี้คุณลักษณะการเรียนรู้และผลของการเรียนรู้ ทั้งที่เกิดข้ึนจาก กระบวนการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรท่ีกำหนดไว้ในแต่ละ ระดับและประเภทการศึกษา และ/หรือประสบการณ์ท่ีเกิดขึ้นจากฝึกปฏิบัติ และ/หรอื จากการทำงาน ประกอบด้วย ๓ มติ ิ ได้แก ่ ๒.๑) ความรู้ (Knowledge) หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับ ข้อเท็จจริง หลักการ ทฤษฎี และแนวปฏิบัติต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับสาขาวิชา ที่เรียน/ทำงาน โดยเน้นความรู้เชิงทฤษฎีและ/หรือข้อเท็จจริงเป็นหลัก (Theoretical and/or factual) ๒.๒) ทักษะ (Skills) หมายถึง ความสามารถปฏิบตั งิ าน ซ่ึงบุคคลนั้นควรทำได้เมื่อได้รับมอบหมาย โดยสามารถเลือกใช้วิธีการจัดการ และแก้ปญั หาการทำงาน ด้วยทกั ษะด้านกระบวนการคดิ (Cognitive Skills) ที่เก่ียวข้องกับการใช้ตรรกะ ทักษะการหย่ังรู้และความคิดสร้างสรรค์ (Logical, Intuitive, and Creative Thinking) หรือทักษะการปฏิบัติ/ วธิ ปี ฏบิ ตั ทิ มี่ คี วามคลอ่ งแคลว่ และความชำนาญในการปฏบิ ตั ติ ามกรอบคณุ วฒุ ิ แต่ละระดบั ๒.๓) ความสามารถในการประยกุ ตใ์ ชแ้ ละความรบั ผดิ ชอบ (Application and Responsibility) หมายถึง ความสามารถของบุคคล ท่ีเกิดจากกระบวนการเรียนรู้ การใช้ความรู้ ทักษะทางสังคม ในการทำงาน/ ศกึ ษาอบรม เพอ่ื การพฒั นาวชิ าชพี ของบคุ คล ซง่ึ ประกอบไปดว้ ยความสามารถ ในการสอ่ื สาร ภาวะผนู้ ำ ความรบั ผดิ ชอบ (Responsibility) และความเปน็ อสิ ระ (Autonomy) ในการดำเนินการต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง เช่น ความสามารถ ในการตัดสนิ ใจและความรบั ผิดชอบตอ่ ตนเองและผู้อืน่

9กรอบคณุ วฒุ แิ หง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๓) สมรรถนะ (Competency) หมายถึง ความสามารถ ในการปฏิบัติงานที่เกิดจากการประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะ ทพ่ี งึ ประสงค์ ซ่งึ แบง่ เปน็ ๒ สว่ น คอื ๓.๑) สมรรถนะแกนกลาง (Core Competency) หมายถึง ความรู้ ทักษะ และคุณลักษณะท่ัวไปที่ใช้ในการปฏิบัติงาน เช่น การส่ือสาร การคำนวณ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การคิดวิเคราะห ์ การแก้ปญั หา และการทำงานเปน็ ทีม เป็นตน้ ๓.๒) สมรรถนะอาชีพ (Occupational Competency) หมายถึง ความรู้ ความสามารถและทักษะเฉพาะในการปฏิบัติงานในแต่ละ สาขางานหรอื สาขาวิชาชพี (Functional Competency) ๒.๓ วตั ถุประสงค์ของกรอบคณุ วุฒิแหง่ ชาต ิ ๑) เพ่ือเป็นกลไกการปฏิรูปการศึกษา ด้วยการเช่ือมโยง ความต้องการกำลังคนเชิงคุณภาพของภาคการผลิตและบริการกับระบบ คุณวุฒิทางการศึกษา ให้ก้าวทันการเปล่ียนแปลงของโลกอาชีพ โดยใช้ระบบ การประกันคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา อันจะเป็นการยกระดับคุณภาพ การศกึ ษาใหม้ คี วามเป็นสากล โปร่งใส และเทยี บเคยี งไดก้ ับนานาชาต ิ ๒) เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Learning) และการเพ่ิมโอกาสการศึกษา (Widening Education Participation) ท่ีจำเป็นต่อการสร้างศักยภาพกำลังคนในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศ ๓) เพื่อสร้างความเช่ือมโยงกับกรอบคุณวุฒิของต่างประเทศ อันจะเป็นกลไกสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันด้านกำลังคนของประเทศ เสรมิ สร้างความคลอ่ งตัว และความมปี ระสทิ ธิภาพในการเคลือ่ นย้ายกำลงั คน และนักเรยี นนักศกึ ษาในภูมิภาค (Mobility of Manpower and Student)

10 กรอบคณุ วุฒิแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๔) เพื่อยกระดับคุณค่าของผู้มีความสามารถหรือสมรรถนะ ในการปฏิบัติงาน ที่ต้องการเพ่ิมพูนคุณวุฒิการศึกษาด้วยระบบการเทียบโอน ประสบการณแ์ ละความรทู้ ม่ี อี ยกู่ อ่ น (Recognition of Prior Learning: RPL) รวมทั้งการเชื่อมโยงเส้นทางการเรียนรู้และความก้าวหน้าในอาชีพ ทห่ี ลากหลายของบุคคล ๒.๔ โครงสร้างกรอบคณุ วฒุ แิ หง่ ชาต ิ กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ (NQF) ได้กำหนดองค์ประกอบของ คณุ วฒุ ิ (Descriptors) ท่เี ป็นแกนกลางในการอา้ งองิ ไว้ ๘ ระดับ บนฐานของ ผลลัพธ์การเรียนรู้ (Learning Outcomes) ซึ่งประกอบด้วย ๓ ส่วน ได้แก่ ความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skills) และความสามารถในการประยุกต์ใช้ และความรับผิดชอบ (Application and Responsibility) ดงั นี้ ๑) ระดับคุณวฒุ ิ (Levels) กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ ได้กำหนดระดับความสามารถ หรือความสามารถในการปฏิบัติงานตามขอบเขตความรู้ ทักษะ และ ความสามารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ ซึ่งเชื่อมโยงกับผลลัพธ์ การเรียนรู้ ที่มีข้อกำหนดขอบเขตท่ีแตกต่างกันต้ังแต่ระดับง่ายไปยาก จากระดับ ๑ – ๘ โดยมีลักษณะเป็นแกนกลางท่ีสามารถประยุกต์ใช้ได้กับ กำลงั คนในแตล่ ะกลุม่ สาขาอาชีพ/วิชาชพี ๒) ผลลพั ธ์การเรียนรู้ (Learning outcomes) ผลลพั ธก์ ารเรยี นรตู้ ามกรอบคณุ วฒุ แิ หง่ ชาติ ประกอบดว้ ย ๓ ด้าน ได้แก่ (๑) ความรู้ (Knowledge) ครอบคลุมในเรื่องความร ู้ เชงิ วชิ าการ แนวคิด ทฤษฎี ข้อเทจ็ จรงิ ตา่ ง ๆ (๒) ทกั ษะ (Skills) ครอบคลมุ ทกั ษะดา้ นการคิดอยา่ งมีเหตุผล การหยง่ั รู้ การคดิ สรา้ งสรรค์ และการปฏบิ ตั ิ

11กรอบคณุ วฒุ ิแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ และ (๓) ความสามารถในการประยกุ ตใ์ ชแ้ ละความรบั ผดิ ชอบ (Application and Responsibility) ผลลัพธ์การเรียนรู้ทั้ง ๓ ด้านน้ี มีความแตกต่างกันไป ในแต่ละระดับ ท้ังในด้านความซับซ้อนและความลึกของความรู้ความเข้าใจ ด้านวิชาการ และทักษะความสามารถที่ควรมีในแต่ละระดับการศึกษา เช่น ความสามารถในการบรู ณาการความรู้ ความเปน็ อสิ ระ และความคดิ สรา้ งสรรค์ ทักษะในการประยุกต์ใช้ความรู้และการปฏิบัติงาน โดยคุณวุฒิในแต่ละระดับ มอี งคป์ ระกอบทใี่ ชอ้ ธบิ ายคณุ วฒุ ิ (Descriptors) ตามมติ แิ ตล่ ะดา้ น รายละเอยี ด ดังตารางท่ี ๑

ตารางท่ี ๑ ผลลพั ธก์ ารเรียนรตู้ ามระดับคุณวุฒิตามกรอบคุณวุฒแิ ห่งชาต ิ 12 กรอบคณุ วฒุ แิ หง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ระดับ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ความรู้ ความรู้เบอ้ื งตน้ ความรใู้ นการ ความรใู้ นหลกั การ ความรู้ทางทฤษฎี ความรู้ทางทฤษฎี ความรู้ทางทฤษฎี ความรใู้ นระดบั ความรใู้ นระดบั เกย่ี วกบั สอื่ สาร และ (Principles) ทว่ั ไป และเทคนิค และเทคนคิ เชงิ ลกึ และเทคนิค แนวหนา้ แนวหน้า งานอาชพี สารสนเทศ ของงานอาชพี เฉพาะ ที่ครอบคลุม ภายใตข้ อบเขต เฉพาะทาง อย่างลกึ ซงึ้ อยา่ งเชีย่ วชาญ กในากรสาื่อรปสาฏริบ ัติงาน ใพนืน้ กฐาารนปตฏาิบม ัติงาน แเบลอ้ื ะงกตา้นรวรเิ วคมราทะง้ั ห ์ งขาอนบอเขาชตีพขอแงล ะ ข องงานอาชีพ แอลยะา่ งเปกน็วา้รงะขบวบา ง ส งู สดุ และการใช้ชวี ติ ขอ้ เท็จจรงิ มคี วามร ู้ ความร้ภู าษา ในงานอาชีพ ในโลกของงาน (Factual) ภาษาอังกฤษ องั กฤษ และ ของลกั ษณะ และเทคโนโลย ี เทคโนโลย ี งานอาชีพ สารสนเทศที ่ สารสนเทศและ สามารถใชใ้ นการ การสือ่ สาร สอื่ สารเบ้ืองตน้ ได้ ในระดบั ทเี่ ชอื่ มโยง กบั การทำงาน ทักษะ ทักษะพ้ืนฐาน ทกั ษะในการ ทกั ษะในการเลอื ก ทกั ษะในการปรบั ใช้ ทักษะในการ ทักษะในการคิด ทักษะในการคิด รเิ ริ่มคิดและวจิ ยั ดา้ นงานอาชีพ ปฏิบัตงิ าน และประยุกต์ใช้ (Adapting) คดิ วเิ คราะห์ และ วิเคราะห์ วิจารณ์ วเิ คราะห์ ทม่ี ผี ลต่อการสร้าง ทักษะการส่ือสาร ตามข้นั ตอน วิธีการ เคร่ืองมือ กระบวนการ การแกป้ ญั หา และเปรยี บเทียบ สรา้ งสรรค ์ องคค์ วามร ู้ ทกั ษะชวี ิต และ และมาตรฐาน และวสั ดขุ นั้ พนื้ ฐาน ปฏิบตั งิ านให ้ และทักษะ ปัญหา ผลงานวิจัย หรอื แนวปฏบิ ตั ใิ หม ่ ทักษะในการ ทีก่ ำหนด รวมทัง้ รวมทั้งการสื่อสาร เหมาะสม และ ในการวางแผน ด้วยตวั เอง ไดด้ ้วยตนเอง ปฏิบัติงานประจำ ทกั ษะการคดิ และเทคโนโลยี ความปลอดภยั การบรหิ ารจดั การ รวมทง้ั ทกั ษะ รวมท้งั สามารถ ทไ่ี มม่ คี วามซบั ซอ้ น ทกั ษะชีวิต สารสนเทศ และ ท่ีเช่อื มโยงกัน การประสานงาน ในการขยาย ใชภ้ าษาอังกฤษ ทอยัก่าษงะสกราา้ รงสสอ่ืรรสคาร ์ ทควักาษมะปในลอดดา้ นภ ัย ทใน่หี กลาารกทหำลงาานย ใแนลกะกาารรปปฏรบิะเัตมงินิ าผนล อแลงคะ์คแวนาวมปรฏ ู้ บิ ัต ิ ใผนลกงาานรนทาำงเสวชนิ าอก าร ทีเ่ ก่ยี วข้อง และสามารถ และมีผลงาน ใช้ภาษาองั กฤษ ทางวชิ าการ ในเชงิ วชิ าการ ท่ีได้รับการตีพิมพ ์ และเปน็ ท่ยี อมรบั ในระดบั นานาชาต ิ

ระดับ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ กรอบคณุ วุฒิแหง่ ชาติ พ.ศ. 13๒๕๖๐ ความ ● ความสามารถ ● ความสามารถ ● ความสามารถ ● ความสามารถ ● ความสามารถ ● แก้ไขปัญหา ● แก้ปัญหา ● เชยี่ วชาญ สามารถ ในการปฏิบัติงาน ในการปฏบิ ัตงิ าน ในการปฏบิ ตั งิ าน ในการปฏบิ ตั งิ าน ในการปฏบิ ตั งิ าน ทซ่ี ับซอ้ นและ ทซ่ี ับซอ้ นและ ในการแก้ปัญหา ในการ ประจำตามขน้ั ตอน ตามหลักการและ ตามแบบแผน และ ตามแบบแผน และ ภายใต้ เปล่ียนแปลง คาดการณ์ไมไ่ ด ้ ท่ซี ับซ้อน พฒั นา ประยุกต์ใช้ ทก่ี ำหนด มาตรฐานท ่ี สามารถปรับตัว สามารถปรบั ตัว ความเปลย่ี นแปลง อยู่ตลอดเวลา พฒั นาและ และทดสอบ และ ● ความสามารถ กำหนด กบั การเปลยี่ นแปลง กบั การเปลยี่ นแปลง ตลอดเวลา (Complex and ทดสอบ ทฤษฎใี หม่ หรือ ความ ในการปฏิบัติงาน ● ความสามารถ ท่ไี ม่ซับซ้อน (Change) ● ความสามารถ Changing) วธิ ีการใหม่ ๆ คน้ หาคำตอบใหม ่ รบั ผดิ ชอบ ภายใต้การกำกับ ในการปฏบิ ตั งิ าน ● ความสามารถ ● ความสามารถ ในการประเมินผล ● สามารถรเิ รมิ่ รวมทง้ั หาคำตอบ ที่ซับซอ้ นและ ดแู ล และแนะนำ ดแู ล และตดั สนิ ใจ ในการใหค้ ำแนะนำ ในการแก้ปญั หา การปฏิบตั งิ าน ปรบั ปรุง อยา่ งสรา้ งสรรค ์ เปน็ นามธรรม อย่างใกลช้ ิด แกไ้ ขปญั หา พ้นื ฐานที่ต้องใช ้ ดว้ ยตนเอง และ ด้วยตนเอง วางแผนกลยทุ ธ์ (Innovative (Complex and เบือ้ งต้น การตัดสินใจและ ประสานงาน เพอ่ื แก้ปญั หา ในการแก้ปัญหา Solutions) Abstract Issue) การวางแผน เพ่ือแกป้ ัญหา ที่ซับซ้อนและ ทซ่ี บั ซ้อนและ ● สามารถให ้ ● เป็นผู้เช่ียวชาญ ในการแก้ไขปญั หา ที่ไมค่ ุ้นเคย เปน็ นามธรรม เป็นนามธรรม ความคดิ เห็น และผู้นำ โดยไมอ่ ยภู่ ายใต้ (Unfamiliar (Abstract ในการปฎบิ ตั ิงาน (Judgment) (Authoritative) การควบคมุ Issues) Issues) รวมทัง้ วางแผน และรบั ผิดชอบ สามารถใหค้ วามเหน็ ในบางเร่ือง เป็นบางครัง้ การบรหิ ารและ ในฐานะผเู้ ชยี่ วชาญ ด้านความรู ้ ● ประยกุ ต์ใช้ การจดั การ ที่มอี งคค์ วามรู ้ ในวชิ าชพี เพ่อื ความรู้ ทกั ษะ ในสาขาอาชพี ทงั้ การปฏบิ ัติ การบริหารจดั การ ทางวชิ าชพี และ และการบรหิ าร ดา้ นงานวิจัยหรอื เทคโนโลย ี จัดการ องค์กร สารสนเทศและ ● เปน็ ผเู้ ช่ียวชาญ (Organization) การส่ือสาร ที่มอี งค์ความรู้ และรับผดิ ชอบ ในการแกป้ ญั หา ทง้ั ภาคทฤษฎี อย่างสำคญั และการปฏบิ ตั งิ าน และภาคปฏบิ ตั ิ ในการขยาย ในบรบิ ทใหม่ ตลอดจน องค์ความรู้ รวมทง้ั รบั ผิดชอบ การบริหารจัดการ และแนวปฏบิ ัต ิ ต่อตนเองและ รวมท้งั สร้างสรรค ์ ผอู้ น่ื แนวความคดิ และ/ หรอื กระบวนการ ใหม่ในวิชาชพี หมายเหตุ: คำทข่ี ีดเส้นใต้ คือ ความรู้ ทักษะ ความสามารถในการประยกุ ตใ์ ช้และความรบั ผิดชอบ ที่เพ่มิ ขน้ึ ในแตล่ ะระดับ ซงึ่ สอดคล้องกับรายละเอียดของผลลัพธก์ ารเรียนร ู้ ของกรอบคณุ วุฒอิ า้ งองิ อาเซยี น

14 กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๓) กลไกการเชื่อมโยงเติมเต็ม/เทียบเคียง (Connecting, Filling-up/Benchmarking Mechanism) การเช่ือมโยงและเทียบเคียงเข้าสู่กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ ท้ังในส่วนของผู้ที่สำเร็จการศึกษาจากสถาบันการศึกษา และผู้ท่ีได้รับ การรับรองมาตรฐานอาชีพ ต้องมีกลไก/ระบบการเข้าสู่ระดับคุณวุฒิท่ีมี ความยืดหยุ่น หลากหลาย และสามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลา เพ่ือใหบ้ ุคคลทมี่ ี คุณวุฒิทางการศึกษาหรือมีทักษะ ความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ หรอื สมรรถนะจากการปฏบิ ตั ิงานสามารถเทียบโอนหรอื เตมิ เตม็ อยา่ งตอ่ เนือ่ ง ตลอดชีวิต เพ่ือให้ได้รับการรับรองและยกระดับคุณวุฒิตามกรอบคุณวุฒิ แห่งชาติ ดงั แผนภาพท่ี ๒ “ท้ังน้ี ในอนาคตหากมีการจัดทำและปรับปรุงหลักสูตร การเรียนการสอน/ฝึกอบรมให้เป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะท่ีเป็นไปตาม หลกั การของกรอบคุณวฒุ ิแห่งชาตแิ ล้ว ผ้ไู ด้รบั คณุ วฒุ ิการศกึ ษาตามหลักสตู ร ที่เป็นไปตามหลักการของกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ จะมีสมรรถนะสอดคล้องกับ ความต้องการของตลาดแรงงาน ขณะที่ผูม้ ที กั ษะความสามารถตามมาตรฐาน อาชีพ หากต้องการคุณวุฒิการศึกษาสามารถเทียบเคียง เพื่อรับการประเมิน และเตมิ เตม็ สว่ นท่ีขาดดา้ นการศกึ ษาไดอ้ ย่างคลอ่ งตวั เปน็ ระบบ”

15กรอบคุณวฒุ แิ หง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ คุณวุฒกิ ารศกึ ษา กรอบคุณวุฒ ิ มาตรฐานอาชพี ขนั้ พืน้ ฐาน อาชวี ศกึ ษา อุดมศกึ ษา แห่งชาติ มาตรฐานฝมี ือ กรอบคุณวุฒวิ ิชาชพี แรงงานแห่งชาต ิ ปริญญาเอก ระดับ ๘ คณุ วฒุ ิวชิ าชีพชั้น ๘ มรช. ๖ ระดบั ๗ คุณวฒุ วิ ิชา ชีพช้นั ๗ มรช . ๕ ปรญิ ญ าโท ระดบั ๖ คุณวฒุ ิวชิ า ชพี ชัน้ ๖ มรช . ๔ ปริญญาตร ี ปริญญาตรี ระดบั ๕ คุณวุฒิวชิ าชพี ชน้ั ๕ มรช.๓ (ทล .บ.) ระดับ ๔ คุณวุฒวิ ชิ าชีพช้ัน ๔ มรช.๒ ประกาศนยี บตั ร วิชาชพี ชนั้ สูง อนปุ รญิ ญา (ปวส.) ระดับ ๓ คณุ วฒุ ิวิชาชีพช้นั ๓ มรช.๑ ม.ปลาย + ประกาศนยี บัตร ทักษะอาชพี วิชาชพี (ปวช.) ระดับ ๒ คณุ วฒุ วิ ชิ าชีพชน้ั ๒ มฐอ. ๒ ระดับ ๑ คณุ วุฒวิ ิชาชพี ชนั้ ๑ มฐอ. ๑ ม.ปลาย ม.ตน้ กลไกเช่อื มโยง/การเติมเตม็ เพ่ือเทยี บเคียง/เทียบโอนระหวา่ งคุณวฒุ กิ ารศกึ ษากับมาตรฐานอาชีพ - การทดสอบ วดั และประเมนิ ผล - การศกึ ษาหาความรูเ้ พ่มิ เตมิ จากการศึกษาในระบบ นอกระบบ ตามอธั ยาศยั - การเทยี บโอนประสบการณจ์ ากการทำงาน/การฝกึ ฝนและปฏบิ ตั ิจรงิ จากการทำงาน - การสะสมหน่วยการเรียน (Credit Bank) การศึกษาตอ่ เนือ่ ง/การศึกษาตลอดชีวิต แผนภาพท่ี ๒ แนวทางการเชือ่ มโยง/เทยี บเคยี งสกู่ รอบคุณวฒุ แิ ห่งชาติ

16 กรอบคุณวุฒิแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๓. บทบาทและภารกิจของหน่วยงานทีเ่ ก่ยี วข้องกบั กรอบคุณวุฒ ิ แห่งชาติ ในการดำเนินงานขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติให้ประสบ ความสำเร็จและบรรลุเป้าหมาย สามารถเป็นเคร่ืองมือสำคัญในการปฏิรูป การศึกษาและพัฒนากำลังคนของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ควรมี การกำหนดบทบาทและภารกิจของหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับกรอบคุณวุฒิ แห่งชาติให้มีความชัดเจน ทั้งหน่วยงานทางด้านการศึกษา หน่วยงาน ด้านมาตรฐานอาชีพ ตลอดจนสถานศึกษา/องค์กรฝึกอบรม ซ่ึงต้องเช่ือมโยง และประสานการทำงานอย่างเป็นระบบ เพ่ือสร้างความเช่ือม่ันว่าผลลัพธ์ การเรียนรู้จากระบบการศึกษาทุกระดับเช่ือมโยงหรือเป็นไปตามสมรรถนะ การปฏบิ ตั งิ านของผใู้ ชแ้ รงงาน มรี ะบบการประกนั คณุ ภาพ ทสี่ รา้ งความเชอ่ื มน่ั ท้ังภายในประเทศและระดบั สากล ดงั น้ี ๓.๑ องคก์ รดา้ นการศึกษา มหี น้าท่ี ดงั น ี้ ๑) พฒั นาหลักสตู รท่ีสอดคล้องกับกรอบคุณวฒุ ิแหง่ ชาติ ๒) ปรบั หลกั สตู รเดิม/พฒั นาหลักสตู รใหม ่ ๓) ลงทะเบียนหลักสูตรตามกรอบคุณวุฒแิ ห่งชาติ ๔) สนบั สนุนการพฒั นาคร ู ๕) ติดตามและรายงานผลการดำเนนิ งาน สำหรับประเทศไทยมีหน่วยงานท่ีรับผิดชอบในการดำเนินการ ดังกล่าว อาทิ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สำนักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงาน ส่งเสริมการศึกษาเอกชน สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร กรมส่งเสริม การปกครองท้องถิน่ เป็นต้น

17กรอบคุณวฒุ แิ หง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๓.๒ สถานศกึ ษาและองคก์ รฝกึ อบรม เปน็ หนว่ ยงานทจี่ ดั การศกึ ษา และฝกึ อบรม ภายใตก้ ารกำกับดแู ลขององคก์ รดา้ นการศึกษา มหี น้าท่ ี ๑) จัดการเรียนการสอนท่สี อดคล้องกบั มาตรฐานอาชีพ ๒) ร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการเรียนการสอน อาทิ การจัดการศึกษาทวิภาคี สหกิจศึกษา การฝึกอบรมในขณะปฏิบัติงาน (on the job training) การส่งบุคลากรจากสถานประกอบการเข้ามา ช่วยสอน เป็นตน้ ๓) วัดและประเมินผลผู้เรียนตามสภาพจริง เพ่ือประเมิน สมรรถนะตามทกี่ รอบคุณวฒุ แิ ห่งชาตกิ ำหนด ๓.๓ องค์กรดา้ นมาตรฐานอาชพี มหี น้าท่ี ดงั นี ้ ๑) จัดทำ ปรับปรุง พัฒนามาตรฐานอาชีพให้สอดคล้องกับ ความต้องการของประเทศและสากล ๒) สนับสนุนให้องค์กรด้านการศึกษานำมาตรฐานอาชีพ ไปพฒั นาหลกั สตู รฐานสมรรถนะทสี่ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของตลาดแรงงาน ๓) พัฒนาระบบทดสอบเพ่ือพัฒนาทักษะ ความรู้และ ยกระดับมาตรฐานอาชพี สำหรับประเทศไทยมีหลายหน่วยงานที่รับผิดชอบการดำเนินงาน ดงั กลา่ ว อาทิ กระทรวงแรงงาน ทำหนา้ ทจี่ ดั ทำมาตรฐานฝมี อื แรงงานแหง่ ชาติ สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน) ทำหน้าที่จัดทำคุณวุฒิวิชาชีพและ มาตรฐานอาชีพ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ทำหน้าที่จัดทำ กรอบสมรรถนะอาเซียนด้านการท่องเท่ียว และองค์กร/สภาวิชาชีพ/ กลมุ่ อาชีพ/สถานประกอบการ ทำหนา้ ท่ีจัดทำมาตรฐานอาชพี เฉพาะ

18 กรอบคณุ วุฒิแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๓.๔ องค์กรกลาง เพ่ือทำหน้าที่เป็นหน่วยงานกลางบริหารและ จัดการให้มีการเช่ือมโยงระหว่างคุณวุฒิการศึกษากับมาตรฐานอาชีพ อย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง รวมทั้งประสานการดำเนินงานในระดับชาติและ สร้างเครือข่ายในระดับนานาชาติ เพ่ือสร้างความเป็นเอกภาพระบบคุณวุฒิ ของประเทศ โดยมีอำนาจหนา้ ท ่ี ดังนี ้ ๑) พัฒนานโยบาย และแผนการดำเนินงานเพื่อผลักดันให้มี การเชือ่ มโยงระหวา่ งคุณวุฒกิ ารศกึ ษากับมาตรฐานอาชีพ ๒) จัดทำเกณฑ์มาตรฐาน และให้การรับรองหลักสูตร ทส่ี อดคล้องกับกรอบคณุ วุฒแิ หง่ ชาต ิ ๓) พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ท้ังระดับ หลักสูตรและระดับสถาบัน เพ่ือให้การจัดการเรียนการสอนเป็นไปตาม กรอบคณุ วฒุ ิแห่งชาต ิ ๔) พัฒนาระบบการเทียบเคียง เพ่ือสร้างความก้าวหน้า ให้กับผู้เรียนและกำลังแรงงาน โดยเชื่อมโยงระบบคุณวุฒิการศึกษากับ มาตรฐานอาชีพ ๕) จัดระบบและพัฒนาฐานข้อมูลระบบคุณวุฒิท่ีสอดคล้อง กบั กรอบคณุ วฒุ แิ ห่งชาติ ๖) ติดตาม ประเมินผล และส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตร ใหส้ อดคล้องกบั การเปล่ียนแปลงท้งั ของประเทศและสังคมโลก ๗) พัฒนาระบบการเทียบเคียงกรอบคุณวุฒิแห่งชาติกับ กรอบคณุ วฒุ ิอา้ งองิ อาเซยี นและสากล ๘) ประชาสมั พันธ์ สร้างความรคู้ วามเขา้ ใจใหก้ ับทกุ ภาคสว่ น ในสงั คม และสรา้ งเครอื ข่ายความร่วมมอื ระหว่างหนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง

องคก์ รดา้ นการศกึ ษา องคก์ รกลาง องค์กรดา้ นมาตรฐานอาชพี ● พฒั นาหลกั สตู รทส่ี อดคล้องกับ ● พฒั นานโยบาย และแผนการดำเนนิ งาน ● จัดทำ ปรับปรุง พฒั นามาตรฐาน มาตรฐานอาชีพ เพื่อผลักดนั ให้มีการเชอ่ื มโยงระหว่าง อาชีพใหส้ อดคลอ้ งกับความต้องการ ● ปรับหลักสตู รเดิม/พัฒนา คณุ วุฒกิ ารศกึ ษากับมาตรฐานอาชีพ ของประเทศและสากล ● จดั ทำเกณฑม์ าตรฐาน และให้การรบั รอง ● สนับสนนุ ใหอ้ งคก์ รด้านการศกึ ษา หลกั สตู รใหม ่ หลักสตู รทีส่ อดคล้องกับกรอบคุณวฒุ ิ นำมาตรฐานอาชพี ไปพฒั นาหลกั สตู ร ● ลงทะเบยี นหลักสตู รตาม แห่งชาต ิ ฐานสมรรถนะทส่ี อดคล้องกับ กรอบคุณวฒุ แิ หง่ ชาติ ● พัฒนาระบบการประกนั คณุ ภาพ ความตอ้ งการ ● สนบั สนนุ การพฒั นาครู การศกึ ษา ท้งั ระดบั หลักสตู รและระดับ ● พัฒนาระบบทดสอบเพือ่ พัฒนา ● ติดตามและรายงานผล สถาบัน เพื่อให้การจดั การเรียนการสอน ทกั ษะ ความรแู้ ละยกระดับ การดำเนนิ งาน เป็นไปตามกรอบคุณวุฒแิ ห่งชาติ มาตรฐานอาชพี ● พฒั นาระบบการเทียบเคยี ง เพอ่ื สรา้ ง ความก้าวหน้าใหก้ บั ผู้เรยี นและ กรอบคุณวฒุ แิ ห่งชาติ พ.ศ. 19๒๕๖๐ สถานศึกษาและองคก์ รฝึกอบรม กำลังแรงงาน โดยเช่ือมโยงระบบคณุ วฒุ ิ ● จัดการเรยี นการสอนทีส่ อดคลอ้ ง การศกึ ษากบั มาตรฐานอาชีพ ● จัดระบบและพฒั นาฐานข้อมูลระบบ กบั มาตรฐานอาชีพ คณุ วฒุ ทิ สี่ อดคลอ้ งกบั กรอบคณุ วฒุ แิ หง่ ชาต ิ ● รว่ มมอื กับสถานประกอบการ ● ตดิ ตาม ประเมนิ ผล และสง่ เสรมิ การพฒั นา ในการจัดการเรียนการสอน/ หลกั สตู รใหส้ อดคลอ้ งกบั การเปลย่ี นแปลง การฝกึ อบรม ทง้ั ของประเทศและสงั คมโลก ● พัฒนาระบบการเทียบเคยี งกรอบคณุ วุฒิ แหง่ ชาติกบั กรอบคุณวฒุ อิ ้างอิงอาเซยี น และสากล ● ประชาสัมพนั ธ์ สรา้ งความร้คู วามเขา้ ใจ ใหก้ บั ทุกภาคส่วนในสังคม และสร้าง เครอื ข่ายความร่วมมอื ระหว่างหน่วยงาน ท่ีเกย่ี วขอ้ ง แผนภาพที่ ๓ บทบาทและภารกจิ ของหน่วยงานที่เก่ยี วข้องกบั กรอบคณุ วฒุ แิ ห่งชาติ

20 กรอบคณุ วุฒแิ หง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๔. ยทุ ธศาสตร ์ ๔.๑ การสง่ เสริมการนำกรอบคุณวุฒแิ หง่ ชาตสิ ู่การปฏิบัต ิ ๑) สร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องกับ การดำเนินงานตามกรอบคุณวฒุ ิแห่งชาตแิ ละกรอบคุณวฒุ อิ ้างอิงอาเซียน ๒) ประชาสัมพันธ์แก่สังคม นักเรียน นักศึกษา ผู้ปกครอง และกำลงั แรงงาน ใหต้ ระหนกั ถงึ คณุ คา่ ของระดบั ความสามารถในการปฏบิ ตั งิ าน ท่ียดึ โยงกับคุณวฒุ ิการศกึ ษาในแตล่ ะระดับ ๓) สร้างการยอมรับและพัฒนาแนวทางการดำเนินงาน เพ่ือนำกรอบคุณวุฒิแห่งชาติไปใช้ในทุกระดับการศึกษา และทุกระดับ มาตรฐานอาชีพ เพ่ือให้เกิดการเช่ือมโยงและบูรณาการกันทั้งในการศึกษา และฝกึ อบรมของผู้เรียนและแรงงาน ๔) สร้างการมีส่วนร่วมของเครือข่ายเจ้าของอาชีพ เพ่ือให้ เกิดความรู้สึกเปน็ เจ้าของ (Sense of Ownership) ในการรบั รองมาตรฐาน สมรรถนะการปฏบิ ัติงาน ๕) จัดทำข้อตกลงระหว่างภาคอาชีพและภาคการศึกษา เพื่อผลิตกำลงั คนให้ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน ๖) ต่อยอดและขยายผลการดำเนินงานต้นแบบความร่วมมือ ระหว่างหน่วยงานที่จัดทำมาตรฐานอาชีพกับหน่วยงานด้านการศึกษา ทร่ี ่วมมือกันพฒั นามาตรฐานการปฏิบตั ิงาน พัฒนาหลักสตู ร และจดั การเรยี น การสอน ๔.๒ การพัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการตาม กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ ๑) พัฒนากลไกการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติทั้งระบบ ให้ตอบสนองกับแนวทางการพฒั นาประเทศ

21กรอบคุณวฒุ ิแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒) จัดให้มีกลไกการขับเคลื่อนการนำกรอบคุณวุฒิแห่งชาต ิ สู่การปฏิบัติ ผ่านคณะอนุกรรมการภายใต้คณะกรรมการกรอบคุณวุฒ ิ แหง่ ชาต ิ ๓) จัดให้มีองค์กรกลางหรือหน่วยงานรับผิดชอบเพ่ือ ทำหน้าท่ีในการกำหนดนโยบาย แผน และยุทธศาสตร์ อนุมัติเกณฑ์ กรอบมาตรฐานอาชีพ/สมรรถนะ ระบบเทยี บโอน และระบบประกนั คณุ ภาพ การศึกษาและการฝึกอบรม อนุมัติหลักเกณฑ์ คุณสมบัติ และให้การรับรอง หน่วยงานให้การรับรอง (Third Party) ส่งเสริมสนับสนุนการเช่ือมโยง เทยี บเคียงคณุ วฒุ ิระดบั นานาชาติ ๔) พฒั นาระบบฐานขอ้ มูลสมรรถนะรายบุคคลของประชากร วัยแรงงาน และผู้สำเร็จการศึกษา ระบบคลังสะสมหน่วยการเรียนรู้ และ ระบบฐานข้อมูลหลักสูตรที่เช่ือมโยงมาตรฐานอาชีพกับคุณวุฒิการศึกษาตาม กรอบคณุ วุฒิแห่งชาต ิ ๕) พัฒนา ปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ ์ ที่เกี่ยวข้องกับกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ เช่น การมีกฎหมายและหลักเกณฑ์ท ี่ ส่งเสริมการเทียบประสบการณ์ หรือการรับรองความรู้เดิมของบุคคล เพอื่ การเพมิ่ พนู ความรู้ ทกั ษะ และคณุ วฒุ ิ การมกี ฎหมายหรอื ระเบยี บขอ้ บงั คบั รองรับองค์กรกลางเพื่อให้มีความเป็นอิสระในการตัดสินใจและมีอำนาจ เบ็ดเสร็จ รวมท้ังมีมาตรการจูงใจที่เอื้อต่อการดำเนินงานตามกรอบคุณวุฒ ิ แห่งชาติ เปน็ ตน้ ๖) ใช้กรอบคุณวุฒิแห่งชาติเป็นแกนกลางในการกำหนด กรอบคณุ วฒุ กิ ารศกึ ษา และการจดั ทำมาตรฐานอาชพี ๗) ติดตามและประเมินผลการขับเคล่ือนกรอบคุณวุฒิ แห่งชาติส่กู ารปฏิบตั ิ เพือ่ ทบทวนและพัฒนาการดำเนนิ งาน

22 กรอบคุณวุฒแิ ห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๔.๓ การพัฒนามาตรฐานอาชพี ตามกรอบคณุ วฒุ ิแหง่ ชาต ิ ๑) จัดทำมาตรฐานอาชีพ ติดตามประเมินผล ทบทวน พัฒนา ปรับปรุง ให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาประเทศ ภูมิภาค และ ระดบั โลก ๒) จัดระบบบัญชีรายช่ือมาตรฐานอาชีพในสาขาที่ตรงกับ ความต้องการของตลาดงานและการพัฒนาประเทศ ๓) จัดให้มีการประสานงานและดำเนินงานร่วมกันระหว่าง หน่วยงานที่จัดทำมาตรฐานอาชีพกับหน่วยงานทางการศึกษาและ การฝึกอบรม ให้เป็นไปตามเกณฑ์และมาตรฐานกรอบคุณวฒุ แิ ห่งชาติ ๔) จัดให้มีระบบการตรวจสอบ ติดตาม และประเมิน มาตรฐานอาชีพ เพื่อการปรับปรุงพัฒนามาตรฐานให้เหมาะสม ทันสมัย มปี ระสิทธภิ าพ และเป็นปจั จบุ นั อย่เู สมอ ๔.๔ การพัฒนามาตรฐานด้านการศึกษา และการจัดการเรียน การสอน/การฝกึ อบรมตามกรอบคณุ วุฒแิ หง่ ชาติ ๑) จดั ทำเกณฑแ์ ละระบบการประกนั คณุ ภาพตามกรอบคณุ วฒุ ิ แห่งชาติท้ังด้านการศึกษาและอาชีพที่ผ่านการรับรองและข้ึนทะเบียน ตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ ๒) จัดทำมาตรฐานการจัดการศึกษาที่เก่ียวข้องตาม กรอบคณุ วฒุ แิ หง่ ชาตโิ ดยความรว่ มมอื ของหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ ง เชน่ มาตรฐาน หลกั สตู ร มาตรฐานสถานศกึ ษา/ฝกึ อบรม มาตรฐานการจัดการเรยี นการสอน มาตรฐานอุปกรณ์/เครื่องมอื มาตรฐานคร/ู ผ้ฝู ึกสอน เปน็ ตน้ ๓) พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอน/ การฝึกอบรมให้เป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ ท่ีมีการจัดสภาพแวดล้อม ในการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมในการทำงานจริง และยึดโยงกับ ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ตามกรอบคณุ วฒุ แิ หง่ ชาติ

23กรอบคุณวุฒแิ หง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๔) พัฒนาการจัดการเรียนการสอน/การฝึกอบรมท่ีมุ่งเน้น การพัฒนาทักษะ สมรรถนะและคุณลักษณะของผู้เรียนให้สอดคล้อง กับกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ โดยเน้นการจัดการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติ ในสถานการณ์จริงทั้งในระบบทวิภาคีและ/หรือระบบอ่ืน โดยความร่วมมือ กับสถานประกอบการหรือผเู้ ก่ยี วขอ้ งทุกระดบั ๔.๕ การยกระดับกรอบคณุ วฒุ แิ หง่ ชาติสมู่ าตรฐานระดบั อาเซียน และสากล ๑) ส่งเสริมให้เกิดการเทียบเคียงคุณวุฒิการศึกษากับ มาตรฐานอาชีพของไทยกับกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียนในระดับการศึกษา และสาขาอาชพี ๒) ติดตาม ประเมินผลการเทียบเคียงกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ กบั กรอบคณุ วฒุ อิ า้ งองิ อาเซยี นตามตวั ช้วี ัดของอาเซียน ๓) ส่งเสริมการเทียบเคียงคุณวุฒิของไทยกับคุณวุฒิของ นานาประเทศ

24 กรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ภาคผนวก

25กรอบคุณวฒุ แิ ห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐

26 กรอบคุณวุฒแิ ห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐

27กรอบคุณวฒุ แิ ห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐

28 กรอบคุณวฒุ ิแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ คณะกรรมการกรอบคณุ วุฒิแหง่ ชาต ิ องคป์ ระกอบ ๑. รองนายกรัฐมนตร ี (ทกี่ ำกบั ดแู ลงานคณุ วฒุ กิ ารศกึ ษา/งานคณุ วุฒิวชิ าชพี ) ประธาน ๒. รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร รองประธาน ๓. ปลัดกระทรวงแรงงาน กรรมการ ๔. ปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กรรมการ ๕. ปลดั กระทรวงพาณชิ ย ์ กรรมการ ๖. ปลัดกระทรวงอตุ สาหกรรม กรรมการ ๗. ปลัดกระทรวงการทอ่ งเทีย่ วและกีฬา กรรมการ ๘. ปลัดกระทรวงการคลงั กรรมการ ๙. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ์ กรรมการ ๑๐. ปลัดกระทรวงคมนาคม กรรมการ ๑๑. ปลดั กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม กรรมการ ๑๒. ปลัดกระทรวงดจิ ิทลั เพื่อเศรษฐกจิ และสงั คม กรรมการ ๑๓. ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ กรรมการ ๑๔. ประธานสภาอตุ สาหกรรมแหง่ ประเทศไทย กรรมการ ๑๕. ประธานสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย กรรมการ ๑๖. ประธานสภาอตุ สาหกรรมทอ่ งเทย่ี วแหง่ ประเทศไทย กรรมการ ๑๗. เลขาธกิ ารคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชาติ กรรมการ ๑๘. เลขาธกิ ารคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน กรรมการ ๑๙. เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอดุ มศึกษา กรรมการ ๒๐. เลขาธกิ ารคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กรรมการ ๒๑. เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน กรรมการ ๒๒. อธิบดีกรมพัฒนาฝีมอื แรงงาน กรรมการ ๒๓. ผู้อำนวยการสถาบันคุณวุฒวิ ชิ าชีพ (องค์การมหาชน) กรรมการ ๒๔. ผู้อำนวยการสำนักงานรบั รองมาตรฐาน กรรมการ และประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา (องค์การมหาชน)

29กรอบคุณวฒุ ิแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๕. นายอมเรศ ศลิ าอ่อน กรรมการ ๒๖. นางศิริพรรณ ชุมนุม กรรมการ ๒๗. รองศาสตราจารยย์ งยุทธ แฉลม้ วงษ ์ กรรมการ ๒๘. นายอรรถการ ตฤษณารงั สี กรรมการ ๒๙. เลขาธิการสภาการศึกษา กรรมการและเลขานุการ ๓๐. รองเลขาธิการสภาการศกึ ษา กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร ๓๑. รองผอู้ ำนวยการสถาบนั คณุ วฒุ วิ ชิ าชีพ กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ (องค์การมหาชน) ๓๒. ผู้อำนวยการสำนักพัฒนามาตรฐานและ กรรมการและผ้ชู ว่ ยเลขานุการ ทดสอบฝีมือแรงงาน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ๓๓. ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและแผนการศกึ ษา กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา อำนาจหน้าท ่ี ๑. กำหนดนโยบายและกลยุทธ์การขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติเพ่ือผลักดันให้ องค์กรและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องจัดการศึกษาและฝึกอบรมท่ีสอดคล้องกับ มาตรฐานอาชีพ มาตรฐานฝีมอื แรงงาน ๒. เร่งรัดส่งเสริมการพัฒนามาตรฐานอาชีพ มาตรฐานฝีมือแรงงานที่สนับสนุน การยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา ๓. ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพ มาตรฐานฝีมือ แรงงาน ๔. ส่งเสริมระบบการสะสมและเทียบโอนผลการเรียนรู้ของบุคคลจากประสบการณ์ เพ่ือเพิ่มพูนคุณวุฒิและระดับความสามารถด้วยกลไกของสถาบันการศึกษา เพอื่ สง่ เสรมิ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต ๕. จัดให้มีฐานข้อมูลหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับ กรอบคุณวฒุ แิ หง่ ชาติ เพอ่ื การประชาสัมพันธ์และเชื่อมโยงกบั นานาชาต ิ ๖. กำหนดมาตรการเชื่อมโยงกรอบคุณวุฒิแห่งชาติกับกรอบคุณวุฒิอ้างอิงอาเซียน และระดับสากล ๗. กำกับ ติดตาม รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน และแต่งตั้งอนุกรรมการ/ คณะทำงานตามท่เี หน็ สมควร

30 กรอบคุณวุฒแิ ห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ คณะผดู้ ำเนินการ ทป่ี รกึ ษา (พิมพ์ครง้ั ที่ ๑) นายกมล นางวัฒนาพร รอดคล้าย เลขาธกิ ารสภาการศึกษา นางศิรพิ รรณ ระงบั ทกุ ข ์ รองเลขาธิการสภาการศกึ ษา ชมุ นุม ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ คณะผพู้ ิจารณา คณะกรรมการกรอบคณุ วฒุ ิแห่งชาต ิ คณะผจู้ ดั ทำ นางเรืองรัตน์ วงศป์ ราโมทย์ ผอู้ ำนวยการสำนกั นโยบายและแผนการศกึ ษา นางพรพมิ ล เมธริ านันท์ ผู้อำนวยการกลุ่มยุทธศาสตรก์ ารพฒั นา การศึกษาเฉพาะด้าน นางสาวโรจนา ถดั ทะพงษ ์ นกั วชิ าการศึกษาชำนาญการ นางสาวกาญจนา หงษร์ ัตน์ นักวชิ าการศกึ ษาชำนาญการ นางสาวดวงทพิ ย์ วิบูลย์ศักดิ์ชัย นกั วชิ าการศึกษาชำนาญการ นายธีระพจน์ คำรณฤทธิศร นกั วชิ าการศึกษาชำนาญการ นางสาวนวพร กาญจนศรี นกั วิชาการศึกษาชำนาญการ นายปิติพงษ์ คำแกว้ นักวชิ าการศกึ ษาปฏิบตั กิ าร หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ สำนกั นโยบายและแผนการศึกษา สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา

31กรอบคณุ วุฒแิ หง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ คณะผู้ดำเนินการ (พมิ พ์ครั้งที่ ๒) ที่ปรกึ ษา เลขาธกิ ารสภาการศึกษา นายนายสภุ ทั ร จำปาทอง เลขาธกิ ารสภาการศึกษา นายชยั พฤกษ์ เสรีรักษ์ (กันยายน 2560 – พฤศจกิ ายน 2561) รองเลขาธกิ ารสภาการศึกษา นายสมศกั ดิ ์ ดลประสิทธ ิ์ รองเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา นายชยั ยศ อิม่ สวุ รรณ ์ (พฤษภาคม 2560 – กนั ยายน 2561) ผทู้ รงคุณวุฒิ นางศิริพรรณ ชมุ นุม ผชู้ ว่ ยเลขาธิการสภาการศกึ ษา นางสาวสมรัชนกี ร ออ่ งเอิบ คณะผพู้ จิ ารณา คณะกรรมการกรอบคณุ วฒุ แิ หง่ ชาต ิ คณะผจู้ ัดทำ ผอู้ ำนวยการสำนกั นโยบายและแผนการศกึ ษา นายกวิน เสือสกลุ นกั วชิ าการศกึ ษาชำนาญการพเิ ศษ นางสาวกาญจนา หงษ์รตั น ์ นักวิชาการศกึ ษาชำนาญการ นายธรี ะพจน์ คำรณฤทธิศร นักวิชาการศกึ ษาชำนาญการ นางสาวนวพร กาญจนศรี นกั วชิ าการศึกษาปฏิบัตกิ าร นายภทั รธ์ นชาติ อาษากจิ หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ สำนักนโยบายและแผนการศึกษา สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

32 กรอบคุณวุฒแิ ห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐

National Qualifications Framework National (QRueavliisfeicdatEiodnistioFnr)amework (Revise2d01E7 dition) Office of the Education Council Ministry of Education OfficeKionfgdthoemEdouf cTahtaioilnanCdouncil Ministry of Education Kingdom of Thailand ����������� eng ��������.indd 1 8/24/17 9:54:52 AM

379.593 Office of the Education Council O37392.5N93 OffiNceatoiof nthael QEduualciafitcioantioCnosuFnrcaiml ework 3O7392.5N93 OffiN(NcReaaettoivioofinsntahealdelQQEuduauialtilcifioaficintcia)oat.intBoionCansnosFguFkrnarocmakimle: weOwoEroCkrk,22001177 . O 32 N BN2(R8aaentpivgo.iknsoeakdl:QEOudEaiCtliio,fin2c)0a.1tBi9o annsgFkroakm: eOwEoCrk, 2017. 2(I2RS98BeppvN.. is:e9d7E8-d6i1ti6o-n3)9. 5B-a8n6g7k-9ok: OEC, 2017. I12ISS8.BBNpNN.a:t:i99o77n88a-l-66Q116u6-a-2l37i9f0i5c-2-a80ti63o7-n7-s9 Framework 2. Title 1I1S..NB(NRaNateit:ovi9oni7snae8aldl-Q6QEu1dua6lia-itl3fiiio9fcin5ac)t-ai8oti6no7sn-sF9rFarmameweowrokr2k0172. T2.itTleitle 1. N(Raetivoinseadl QEudaitliiofinc)ations Framework 2. Title National Qualifi(cRaetviiosendsEFdirtiaonm) ework 2017 (NRaetvioisneadl EQduiatiloifnic)ations Framework ON(REaetCvioiPsnueabdlliEQcadutiiaotilnoifnic)aNNtiooo..n312s5/2/F2010r91a 7mework (IORSEBeCNviPsuebdliEcadtiiotinon) 99N77o88.--66111566/-2-230791057--280637--79 OIFSiErBsCNt EPduibtiloicnation N9A7ou8.g-61u15s6t/2-2300911577-867-9 INPFNFNPSNSeiuuiuuuurrBcbbmmmmssoNttllniibbbbssEEdeeeehhddrrrreeEiiddoooottdiiffffoobbitcCCCnnyyiooooopnpppi eiiieeessss 9O11MAA1O2M7,,,,uffu0000ia8ffngg0000yii-cci6uu0000s2ee1ss t06ttrooy-122ff3900o9tt 11hhf577ee-E8EEd6udd7c-uu9acctaaiottiinoonn Council Council Published by O9M9fi/fn2ici0setSroyufkothhfoeEtEhdaudicuaRctaoiotainodn, DCuosuint cil Printed by Printed by MB99ai/nn2gi0sktSoryukko1hf0oE3t0hd0aui,caRTthoioanidl,anDdusit 9TB9eal/n:2g00kSo2uk6k61h80o37t0h10a2i,3RThoaaidl,anDdusit FBTeaalxn::g0ko2k26461180387031032,03Thailand WTFeaelx:b:s00ite22:26w4618w87w31.32o03nec.go.th PFWraeixgb:ws0iate2n:2Gw41rwa8pw3h.3oic0nCeco.g.,oL.tthd. 9WP0rei/g6bwsSiatoeni: GCwhrwaapwrah.noicsnaCencoi.tg.w,oLo.ttnhdg. 34/1 Printed by PC90rhi/ag6rwaSnaonsiaGCnihrtawaproahnicgsaCRnoiot.wa, dLo,tnAdg.ro3o4n/1amarin 9BC0ah/na6graSknoosikanCnoihtiwa, rBoannagnsagRnkiotwakdo1,n0Ag7r0o30o4,n/1Tamhaairlainnd CTBehalna:rg0akn2os4ka2nn4oitiw3, 2Bo4na9gn,gR0koo2ak4d21,40A73r02o05o,2nTamhaairlainnd BFTeaalxn::g00k2o24k42n24o4i3,32B244a9n9,g,0k0o22k44212404733022055,22Thailand TFealx::002244224433224499,,002244224433225522 Fax: 0 2424 3249, 0 2424 3252 ����������� eng ��������.indd 2 8/24/17 9:54:52 AM ����������� eng ��������.indd 2 8/24/17 9:54:52 AM

(A)National QuNalaifiticoantaiolnQsuFarlaifmicaetwioonrks F(RraemviseewdoErkdi2ti0o1n7) Pref ace c(paaQFT lweeiwsnAehstrghxrluoiaQaeoatrpaalhmarewdmdniiRieknrlliesuenefFadriekeofiddnc)lewiiatn.lncratdonTAcritoaTgntboadechothrsdysNnpetkistteeoomhsaiaalwGot(ntleoyNlrdaieuiuiisAemonetfnQrjntplhnuknxdkesFeeFpgeidosiaaavsdrn)rrtttrlgrtaarahiedatsonetsmQldasetoecofiahnnteDuwrtehanrmed8AgaiaywicecdtttSlpaochhlsiec9EofeonyoieierCssAcrvestnpedrklahNotedfaegonum,teuteltmivihcwcnsmloiRaQnafe,oaaeginemtanlgutluidtlrntsiopeatoFtraiuooafih tlhdornnnoociptagfewaatarifeemwcpchdsksvteoeayoeuiemtieeeotlrtshmrywirhwinftteoeeepeoubaptioetndnlomsrnnnheoeNrtosuydi,keitnte,sbdncaueiRMteg(FanettuglsneNeoesitoticomcnilfQrcaooaetesiifntioereiosFnncatrronaisntsea)ernrcniel.nnnsnsi7reortsieitgsicsQhnfapnhfctoTeaMoegoneuetttghf.rshoeumdnaaFieEcesrttldrtrNeciodchaTtfwwloiccohimnueahescbhomiiticteatatreyeauea2ihahrtoewnxnpnqt0iNosittnkeittroto1usQhhhiernroooamn6riysepeeFyksffrl,,,, tthheemAQwRitFh. Tphoitsenwtiilallsavinailcofluenxtibryilitdyevinelorepfmereenntc.ingThteheCalebvineelst oatf qitsuamlifeiceatitniognosno1f 8TAhapirile2a0r1n7eraspapnrdovwedortkhfoercrevisnedthveerfsuiotunreo.f Tthe ONafftiicoenaolf QthuealiEfidcuactiaotnionFraCmouenwcoilr,kinwhciocohpweraastioanligwneitdh wreitlhevtahnet aAgSeEnAcNieQs,uarelivfiicsaetdionasnReewferednicteionFraomf ethweorNk:aAtiQonRFa.l QThuiasliwficilal taiovanisl Fthraemfelewxoibrkil,itnyoitnornelfyeraednjucisntgingthteheq9ualleifvicealstionf sthoef NTQhFa,i bleuatrnalesros calnadrifwyoinrgkfothrcee ginlotshsearfiuetsuraen. d strategies. The new edition was p resentWedithtoththeeimNpatoiortnaanlceQuoaflitfhiceatNioQnFs wFrhaimchewisoarkkCeoymfamctiottreein, cehdauirceadtiobny AreirfoCrhmie,ftMhearsOhfaflicPeraojifntChheaEndtouncga,tDioenpuCtoyuPnrcimilethMeirneisfoterre, aget ttshtehemseeectoinngd opnrin9tinJagnoufatrhye2N01Q7F. 2T0h1e7;mbeectaiunsgeeanfdteorrstehde ftihrset rpervinistiendg iendtihtieonyeoafr 2th01e7,NtQhFe pwuitbhlictahteionrehcaosmbmeen dcaotniotinus.ouTshley finratmereewstoerkd wanasd cuotmilipsleedtebdywriethlatehde raeuctohmormiteiensd,astitoundsenantsd, fminaanlpizoewdebr,yeatcll. cIonntcheirsneditaiount,hothrietieosccinupclautdioinsg a2s epxepretrhtse: Pstroanf.dPaaridtosonofStinhlearaLtaabnodurDrM. iSniriisptaryn aCrheooamlsnoooamdj.uTstheedn titowbaes

(B) National Qualiffiications Framework 2(R0e1v7i sed Edition) pcoremsepnateibdletowithethCeabNiQneF.t oTnhe18OfAfipcerilo2f0t1h7e aEndducgaotitonapCporuonvcail wstirtohnignldyichatoiopnesthtahtat htehiMs inpiustbrlyicoaftioEdnucwaitliloncreaantde rebleatteedr augnednecrsietasndsihnog,ukldnofwolremdguelaatnedaawpalarennetsos foofsitserotlhese aNmQoFnginthtoe cstoankcerheotledeirms, pplaermticeunlatralytiothneinacultuhodriintigesmrealkaitnegd sttoakmeahnoplodweresr upnroddeurscttaiondn tahnedNdQeFvefolor pacmceunratt,eainmdplpeumshentthaetioNnQ. F to concrete practiceTsh,eleOadffiincge tof tthhee reEqduicreadtiocnomCopeutnecnilc,ietshebryefdoorem,ehstaisc panudblfioshreeigdn tmhaisrkNetastiaonndasleQrvuinagliTfihcaitlaionnds4.F0radmeveewlooprmk,eRnet.vised E dition, for awareness and understanding in NQF of all s takeholders to join force in fostering the NQF into concrete im mapnlpeomweenrttaotihoanvewphoicthenwtiaiSllliutyplehfaoadrt to quality development of TChhaaimlapnadto4n.0g, Ph.D. Secretary-General of the Education Council (Dr. Kamol Rodklai) Secretary-General of the Education Council

(C)National QuNalaifiticoantaiolnQsuFarlaifmicaetwioonrks F(RraemviseewdoErkdi2ti0o1n7) CONTENTS Preface Page (A) Contents (C) List of Figures (D) List of Tables (D) National Qualifications Framework (2R0e1v7i sed Edition) 1 1. Introduction 1 2. Synopsis 4 2.1 Principles of National Qualifications Framework 4 2.2 Definition of Key Terms 7 2.3 Objectives of National Qualifications Framework 8 2.4 Structures of National Qualifications Framework 9 3. Roles and Responsibilities of Related Agencies 14 4. Strategies 18

(D) National Qualifications Framework (Revised Edition) List of Figures Page 6 Figure Figure 1 Linkages between Educational Qualifications 13 17 and Occupational Standards in National Qualifications Framework (NQF) Figure 2 Connecting and Validating Qualifications in National Qualifications Framework Figure 3 Roles and Responsibilities of Related Agencies List of Tables Page 10 Tables Table 1 Learning Outcomes at each level of National Qualifications Framework (NQF)

11National QuNaalitfiiocantaiol nQsuFarlaifmicaetwioonrsk F(RraemviesewdoErkd2it0io1n7) National Qualificationss FFrraammeewwoorrkk (Revise20d17E dition) 1. Introduction The government has realized the importance of human development at every range of life through lifelong learning in order to gain knowledge and skills required by various occupations for future employment. Vocational and Community Education are promoted to produce skilled labour, especially, demanded labour in local areas, and strengthen quality of education which links to occupation standards. The Prime Minister (General Prayut Chan-o-cha) mentioned in the television programme on Happiness of People in the Country that “At present, for manpower production, we expect quality rather than quantity, especially, technical and vocational manpower; they should be qualified or skilled labour for employability. If we do not improve our education quality to produce manpower as demanded by the labour market, those graduates will not be employed.” The government has set a goal to lead the country to “Thailand 4.0” focusing on changing the economic structures to “Innovation-based Economy” which would change the economic model from a big volume of products produced by cheap labour to knowledgeable, innovative, digital and technological production. This concept has been discussed at both national and international levels. At international arena, Members of the United Nations have focused on Sustainable

22 National Qualiffiications Framework 2(R0e1v7i sed Edition) Development Goals (SDGs) to ensure that everyone would receive quality and equity in education, access to lifelong learning, Technical and Vocational Education and Training (TVET), quality and affordable costs of higher education by 2030. For Thailand, those policy issues are developed as national agenda in the 20-year National Strategies. The Human Capacity Development and Promotion, aiming at lifetime human development, strengthening quality and equity in education and learning, is relevant to the Twelfth National Economic and Social Development Plan (2017 – 2021). People-centered and Participation Model is the main focus of this plan to increase competitiveness of the country. This has also resulted in manpower requirement of the 21st century skills of Thai citizens, including: 1) having knowledge, skills and capability to cope with the world in the 21st century; 2) having Thai identity and being compatible with international society; and 3) being digital Thais for digital economy and society. Furthermore, since 2015, Thailand has officially involved in ASEAN Community, resulting in creating economic, social, political, and cultural linkages, especially, mobility of labour among Member States. Therefore, Thailand needs to strengthen manpower development to meet the standards in ASEAN and international communities. The Office of the Education Council (OEC) as a policy organization, responsible for the national education quality, has realized the importance of manpower development issue. The strategy 2 of the 20-year Education

33National QuNaalitfiiocantaiol nQsuFarlaifmicaetwioonrsk F(RraemviesewdoErkd2it0io1n7) Development Plan (2017 – 2036), focusing on manpower production and development, research and innovation for national competitiveness, aims at developing manpower in response to National Qualifications Framework (NQF) approved by the Cabinet in 20134 . OEC has planned and implemented the National Qualifications Framework (NQF) through the Advisory Committee and working groups. Since a number of organizations have been involved in the implementation of National Qualifications Framework (NQF); therefore, at the first meeting on March 7, 20165 of the Advisory Committee on National Qualifications Framework (NQF) Implementation, chaired by General Dapong Ratanasuwan, the Minister of Education, agreed to establish the National Qualifications Framework (NQF) Committee, chaired by Deputy Prime Minister, and the Cabinet approved on August 2, 2016. The National Qualifications Framework (NQF) Committee is responsible for coordinating and collaborating with related agencies in implementing the National Qualifications Framework (NQF). At the meeting on March 7, 20165, the NQF Advisory Committee also agreed to adjust the National Qualifications Framework (NQF) from 9 levels to 8 levels to accord with ASEAN Qualifications Reference Framework (AQRF) learning outcomes. This helps prevent the problems in referencing the qualifications of students and manpower in the future. OEC as the secretariat has worked closely with related agencies including Office of Vocational Education Commissions (OVEC), Office of Higher Education Commission (OHEC), Office of Basic Education Commission (OBEC),

44 National Qualiffiications Framework 2(R0e1v7i sed Edition) Non – formal and Informal Education Promotion Office, Department of Skill Development, Thailand Professional Qualifications Institute (Public Organization), Ministry of Tourism and Sports, Thailand Chamber of Commerce, and Thailand Development and Research Institute (TDRI). Those organization representatives agreed to revise the 9 levels of NQF to 8 levels with detailed component of each qualification level. Roles and responsibilities of the organizations relevant to NQF and AQRF are also revised which would systematically facilitate the implementation of NQF. The revised National Qualifications Framework (NQF) was submitted to the National Qualifications Framework Committee for consideration before seeking approval from the Cabinet. The National Qualifications Framework Committee, at the meeting on January 9, 2017, approved the revised National Qualifications Framework before submitting to the Cabinet. 2. Synopsis 2.1 Principles of National Qualifications Framework National Qualifications Framework has been developed under the following principles: 1) Establish linkages between learning outcomes of the graduates from educational institutions and working competencies as required by production and service sectors. National Qualifications Framework identified core competencies and occupational competencies which are accepted by related agencies and organizations and will be used in curriculum development; teaching and learning design; training of administrators, teachers and trainers in enterprises (industrial,

55National QuNaalitfiiocantaiol nQsuFarlaifmicaetwioonrsk F(RraemviesewdoErkd2it0io1n7) agricultural, business and service sectors) as well as educational personnel. National Qualifications Framework would also facilitate the provision of materials, tools, equipment, etc., in order to prepare educational institutions and enterprises for delivery programmes as required by production and service sectors. 2) Develop the evaluation systems on knowledge, skills and experiences, with opportunities, flexibility, and diverse methods, which facilitate easy access to anyone, anytime. This would help to upgrade knowledge and skills as well as educational qualifications of those in the labour market. 3) Increase capacity and competitiveness of educational institutions as required by production and service sectors. All stakeholders include educational institutions responsible for manpower production, producers of commodities and services as users of the graduates, and labour force as the output of the education delivery. 4) Build capacity of administrators, teachers, education personnel and trainers in enterprises in order to get knowledge, understanding and skills in carrying out various models of teaching and learning process, especially, occupational competencies and skills in thinking, analyzing, and problem solving. 5) Strengthening enterprises in each occupational group and professional organization in accreditation of core competencies and occupational competencies which will be a mechanism in providing incentives for improving education system according to National Qualifications Framework as well as


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook