Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Green_Book_2018s

Green_Book_2018s

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-09-17 02:37:41

Description: Green_Book_2018s

Search

Read the Text Version

GREEN BOOK 2018 หวั ข้อทดสอบผลติ ภัณฑ์ยา ผลิตภัณฑ์ยาแต่ละรูปแบบ หรือรูปแบบยาเดียวกันแต่ตัวยาส�ำคัญ ตา่ งกนั มหี ัวข้อการควบคุมคณุ ภาพ (requirements) แตกตา่ งกนั อยา่ งไร ก็ตามหัวข้อควบคุมคุณภาพหลักท่ีใช้ตรวจสอบผลิตภัณฑ์ยาทุกรูปแบบยา คอื ลกั ษณะภายนอก การตรวจเอกลักษณ์ของตวั ยา และการหาปรมิ าณตวั ยาส�ำคัญ ส�ำหรับเกณฑ์มาตรฐานทั่วไปของแต่ละหัวข้อท่ีตรวจสอบ มีราย ละเอยี ดดังตอ่ ไปนี้ (ยกเวน้ จะกำ� หนดเป็นอยา่ งอ่นื เฉพาะบางผลติ ภัณฑ)์ 1. ลักษณะภายนอก (Appearance) ยาเม็ดมีลักษณะไม่กร่อนแตกหักหรือเคลือบเม็ดยาหลุด สีสม่�ำเสมอ แคปซูลผิวต้องเรียบ ผงยาไม่ช้ืน ยาน้�ำหรือยาฉีดต้องไม่ตกตะกอน หรือ ร่ัวซึม ไม่มีส่ิงแปลกปลอม ยาน�้ำแขวนตะกอนต้องเป็นเนื้อเดียวกันหลังการ เขย่า เป็นตน้ 2. การตรวจเอกลักษณ์ (Identification) เป็นการตรวจพิสูจน์สารว่าตรงกับที่แจ้งไว้บนฉลากหรือไม่ โดยการ เปรยี บเทียบสารตัวอยา่ งกับสารมาตรฐานโดยเทคนคิ infrared spectroscopy, chromatography หรือวธิ ีอน่ื ๆ ตามที่ระบุไว้ 3. ปริมาณตัวยาส�ำคัญ (Assay หรือ Content of active ingredient(s)) เป็นการตรวจหาปริมาณตวั ยาส�ำคัญตามที่ระบใุ นฉลาก โดยส่วนใหญ่ ก�ำหนดมาตรฐานเป็น 90.0-110.0% ของปริมาณท่ีแจ้ง บางตัวยาที่มีดัชนี การรักษาแคบ จะก�ำหนดเป็น 95.0-105.0% ของปรมิ าณท่ีแจง้ และตัวยาท่ี ไม่คงสภาพ อาจก�ำหนดแตกต่างออกไปเป็น 90.0-115.0% หรือ 95.0- 110.0% ของปรมิ าณท่แี จ้งบนฉลาก เป็นต้น 386

GREEN BOOK 2018 4. ความสม�่ำเสมอของตัวยาในแต่ละหน่วย (Uniformity of dosage units, USP หรือ Uniformity of mass, BP) การทดสอบมี 2 แบบ ขึน้ กับปริมาณตัวยาในแต่ละหน่วยและรูปแบบยา คือ แบบที่ 1 ความแตกต่างจากน�้ำหนักเฉล่ีย (weight variation หรือ uniformity of weight) หรือแบบท่ี 2 ความสม�่ำเสมอของตัวยาในแต่ละ หน่วย (content uniformity หรือ uniformity of content) โดยตำ� รายา ฉบับ USP 29 เปน็ ตน้ ไป มกี ารเปล่ยี นแปลงเกณฑ์มาตรฐานและการคำ� นวณ เป็นคา่ acceptance value £ 15.0% (จากเดิมท่ีก�ำหนดเปน็ ชว่ งของน้ำ� หนักหรือช่วงของปริมาณตัวยาส�ำคัญและค่า relative standard deviation (% RSD) เป็นต้น) 5. การกระจายตัว (Disintegration) การทดสอบการแตกตัวของยาเม็ดหรือแคปซูล ในสภาวะและเวลาที่ ก�ำหนด ซึ่งไม่ได้แสดงถึงการละลายของเม็ดยาหรือตัวยาส�ำคัญ ปัจจุบันวิธี ทดสอบการแตกกระจายของเม็ดยาของ USP และ BP ได้ถูกปรับให้เป็น แนวทางเดียวกนั โดยประกอบด้วย 2 ขัน้ ตอน ขั้นตอนที่ 1 ใช้ตัวยาจ�ำนวน 6 เม็ด ขั้นตอนที่ 2 ใช้ตวั ยา 12 เม็ด รวม 18 เมด็ กรณที ขี่ ัน้ ตอนที่ 1 มีเมด็ ยา หรือแคปซลู แตกตัวไมห่ มด 1-2 เม็ด ให้ทดสอบขั้นตอนที่ 2 ใช้ตวั ยา 12 เม็ด จะสรุปว่ายาเข้ามาตรฐานเม่ือยา 16 ใน 18 เม็ดแตกตวั หมด 6. การละลายของตวั ยา (Dissolution) การทดสอบการละลายของตัวยา เพื่อจ�ำแนกคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และเป็นข้อบ่งชี้ที่ดีกว่าการกระจายตัว (disintegration) ในแง่ของการเอ้ือ ประโยชน์ของยา เปน็ การทดสอบ in vitro ซง่ึ จะแสดงความแตกตา่ งระหวา่ ง ผลิตภัณฑ์ยาของแต่ละบริษัท นอกจากนี้ยังแสดงความแตกต่างของต�ำรับ ปัจจัยท่ีมีผลต่อต�ำรับ และพารามิเตอร์อื่น ๆ ในกระบวนการผลิต ซึ่งการ ทดสอบการละลายของตัวยานี้ อาจสัมพันธ์หรือไม่สัมพันธ์กับการทดสอบ in vivo (bioavailability) 387

GREEN BOOK 2018 ถ้า in vitro dissolution สัมพันธ์กับ in vivo (bioavailability) การท�ำ dissolution profile จะสามารถบ่งบอกถงึ การเอือ้ ประโยชน์ของยา ในร่างกาย ซ่ึงหมายถึง อัตราเร็วและปริมาณตัวยาส�ำคัญที่ถูกดูดซึมเข้าสู่ กระแสเลือด และมผี ลหรือเอ้อื ประโยชนไ์ ด้ ณ จดุ ออกฤทธ์ิ ถา้ in vitro dissolution ไม่สัมพนั ธก์ บั in vivo (bioavailability) การท�ำ dissolution จะถือเป็น physical test คือ เป็นการตรวจสอบ ลักษณะของผลิตภัณฑ์ โดยศึกษาการละลายของตัวยาภายใต้สภาวะ ท่ีกำ� หนด ซึง่ ไม่สามารถบ่งบอกถึง bioavailability ปัจจุบันการทดสอบการละลายของตัวยาใน USP และ BP (เฉพาะบาง monograph) ได้ถูกปรับให้เป็นแนวทางเดียวกัน โดยการทดสอบประกอบ ดว้ ย 3 ขน้ั ตอน ขนั้ ตอนที่ 1 ทดสอบจ�ำนวน 6 หน่วย ขน้ั ตอนที่ 2 ทดสอบ เพิ่มอีก 6 หนว่ ย และขน้ั ตอนที่ 3 ทดสอบเพ่มิ อีกจำ� นวน 12 หนว่ ย รวมเป็น 24 หน่วย การสรปุ ผลการทดสอบจะดำ� เนินการตามเกณฑท์ ก่ี �ำหนด 7. Related substances/Related compounds/Chromato- graphic purity/ Impurities เป็นการตรวจหาสารสลายตัวหรือสารปนเปื้อนอ่ืน ๆ ท่ีไม่ใช่ตัวยา ส�ำคญั ในต�ำรบั อาจเป็นสารซึ่งเกดิ ขึน้ ในกระบวนการสงั เคราะห์ตวั ยาสำ� คญั หรือเป็นสารสลายตัวของตัวยาส�ำคัญ หรือเป็นสารสกัดร่วม (co-extracted) ที่ได้จากการสกัดตัวยาจากสมุนไพร ส่วนใหญ่ใช้วิธี chromatography ในการตรวจวิเคราะห์ 8. Bacterial endotoxins test เป็นการทดสอบหาปริมาณสาร endotoxin ที่ปนเป้ือนในยาฉดี โดย อาศัยหลกั การทำ� ปฏกิ ิรยิ าระหวา่ งสารสกดั จากเลอื ดแมงดาทะเล (Limulus Amoebocyte Lysate) กับปริมาณสาร bacterial endotoxin ในตัวอยา่ ง 388

GREEN BOOK 2018 โดยดูการเกิดวุ้นเมื่อครบเวลาที่ก�ำหนด (gel-clot method) หรือการวัด ความขุ่นท่ีเกิดข้ึนอย่างต่อเนื่องทุกช่วงเวลาของการท�ำปฏิกิริยา (turbidi- metric method) แล้วเปรียบเทียบความขุ่นกับเส้นกราฟของสารเอ็นโด ทอกซนิ มาตรฐาน (standard endotoxins) เพอ่ื หาปรมิ าณของสารเอ็นโด ทอกซินในตัวอย่าง ซ่ึงปริมาณสาร bacterial endotoxin แปรผกผันกับ เวลาทใ่ี ช้ในการทำ� ปฏิกริ ยิ า 9. ความปราศจากเช้ือ (Sterility test) เป็นการตรวจสอบความปราศจากเช้ือของผลิตภัณฑ์ปราศจากเช้ือ เชน่ ยาฉดี ยาหยอดตา สำ� หรบั ผลิตภณั ฑป์ ราศจากเช้อื ที่เปน็ สารละลายหรอื สามารถเตรียมเป็นสารละลายได้ ด�ำเนินการทดสอบโดยวิธีการกรอง ผลิตภณั ฑ์ปราศจากเช้ือผา่ นกระดาษกรองทีม่ รี ูพรุนน้อยกวา่ 0.45 ไมครอน จากน้นั จงึ น�ำกระดาษกรองใสล่ งในอาหารเล้ียงเช้ือ สว่ นผลติ ภัณฑ์ปราศจาก เชื้อท่ีเป็นสารแขวนตะกอน ด�ำเนินการทดสอบโดยน�ำผลิตภัณฑ์ปราศจาก เชื้อใส่ลงในอาหารเล้ียงเชื้อโดยตรง จากน้ันบ่มหลอดอาหารเลี้ยงเช้ือและ สงั เกตการเจริญของเชอ้ื จลุ นิ ทรียเ์ ป็นเวลา 14 วนั ผลการทดสอบตอ้ งไม่พบ การเจรญิ ของเชือ้ จุลินทรีย์ 10. ปรมิ าณน�้ำ (Water) เปน็ การหาปรมิ าณน้�ำหรอื ความชนื้ ในตวั อยา่ ง โดยวธิ ี Karl Fischer 11. น้�ำหนักที่หายไปหลังอบแห้ง (Loss on drying) เป็นการหาปริมาณน้�ำและสารทสี่ ามารถระเหยได้ โดยหาออกมาเป็น เปอรเ์ ซ็นต์น้ำ� หนักทห่ี ายไปภายหลังอบแหง้ ภายใตส้ ภาวะอณุ หภมู ิ ความดัน และเวลาทีก่ ำ� หนด 389

GREEN BOOK 2018 12. ความเป็นกรด–ด่าง (pH) เป็นการวัดค่าความเป็นกรด–ด่าง ของตัวอย่างท่ีอยู่ในรูปแบบ ของเหลว เชน่ ยาฉีด ยานำ�้ ยานำ้� แขวนตะกอน ยาหยอดตา ฯลฯ ความเปน็ กรด-ด่างมีผลต่อความคงสภาพของยาในภาชนะบรรจุ การวัดความเป็น กรด-ด่างของยาท�ำได้โดยใช้ pH meter ซ่ึงท�ำงานโดยใช้หลักการวัด ความต่างศักย์ไฟฟ้าท่ีเกิดขึ้นระหว่างแท่งอิเล็กโทรด 2 แท่ง (glass electrode และ reference electrode) ที่จุ่มในสารละลายของตัวอย่างยา แลว้ เปลี่ยนคา่ ความต่างศกั ยไ์ ฟฟ้าเป็นค่า pH 13. Particulate matter เป็นการตรวจวัดปริมาณอนุภาคชนิด subvisible ในยาฉีด (injection, parenteral infusion) ดว้ ยวิธี light obscuration particle count test โดยมเี กณฑ์มาตรฐานดังนี้ กรณที ี่ 1 ปริมาตรบรรจุตอ่ ภาชนะ น้อยกว่าหรือเท่ากบั 100 มลิ ลิลติ ร ขนาดอนภุ าค จำ�นวนอนภุ าค 10 µm หรอื มากกวา่ ไมเ่ กิน 6000 อนภุ าคตอ่ ภาชนะบรรจุ 25 µm หรอื มากกวา่ ไมเ่ กนิ 600 อนุภาคตอ่ ภาชนะบรรจุ กรณีท่ี 2 ปรมิ าตรบรรจตุ ่อภาชนะ มากกว่า 100 มิลลลิ ิตร ขนาดอนุภาค จำ�นวนอนุภาค 10 µm หรือมากกวา่ ไมเ่ กิน 25 อนภุ าคตอ่ มิลลลิ ติ ร 25 µm หรือมากกว่า ไม่เกิน 3 อนุภาคต่อมลิ ลลิ ติ ร 390

GREEN BOOK 2018 การจดั ทำ� GREEN BOOK การจัดท�ำสารสนเทศด้านคุณภาพยาจากการด�ำเนินโครงการประกันคุณภาพยา ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ มีข้อจ�ำกัดด้วยกฎระเบียบตามพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 และฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม และพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ว่าด้วยการเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณะในส่วนของข้อมูลผลิตภัณฑ์ยาที่ผิด มาตรฐานน้ัน ไม่สามารถกระท�ำได้ทันทีเพราะต้องผ่านกระบวนการตรวจสอบ หาสาเหตุของส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาก่อนที่จะด�ำเนินการตามกฎหมาย ดังน้ันข้อมูลเหล่านี้จึงมีการเผยแพร่เฉพาะหน่วยงานของรัฐท่ีเก่ียวข้อง ซ่ึงต้องก�ำหนด ชนั้ ความลับและให้รหัสการเขา้ ถงึ ข้อมูลแก่บคุ ลากรในหนว่ ยงานราชการเทา่ นนั้ อย่างไรก็ตามการเผยแพร่ข้อมูลคุณภาพยาที่เข้ามาตรฐาน สามารถกระท�ำได้ โดยไม่ขัดต่อพระราชบัญญัติดังกล่าว ซึ่งส�ำนักยาและวัตถุเสพติดได้ก�ำหนดหลักเกณฑ์ ในการคัดเลือก และพัฒนารูปแบบในการน�ำเสนอส�ำหรับผลิตภัณฑ์ยาที่เข้ามาตรฐาน เพื่อเข้าอยู่ในบัญชีรายช่ือผลิตภัณฑ์ยาคุณภาพ โดยจัดท�ำเป็นหนังสือ “รายชื่อ ผลติ ภณั ฑย์ าคณุ ภาพและผูผ้ ลิต หรอื GREEN BOOK” เพอื่ เผยแพร่ขอ้ มูลให้ผ้เู กีย่ วขอ้ ง นอกเหนือจากหน่วยงานของรัฐไดใ้ ชป้ ระโยชนม์ ากขน้ึ หวั ข้อน้ไี ด้กล่าวถงึ การจดั ท�ำสารสนเทศด้านคณุ ภาพยา หรือ GREEN BOOK ในแต่ละปี ซงึ่ เผยแพรต่ ง้ั แต่ ปี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมา พรอ้ มการสำ� รวจความคิดเหน็ และ ความพึงพอใจของผู้ใช้ข้อมูล เพ่ือน�ำมาปรับปรุงและพัฒนาสารสนเทศด้านคุณภาพยา ของกรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทยใ์ ห้มีความสมบูรณ์ย่งิ ขน้ึ การจัดท�ำ GREEN BOOK 1 เป็นการจดั ท�ำ GREEN BOOK เลม่ แรกโดยนำ� ข้อมลู ผลการตรวจสอบคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ยาในโครงการประกันคุณภาพยา ต้ังแต่ปีงบประมาณ 2545-2547 มาพิจารณา การเลือกใช้ผลวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ยาจากโครงการดังกล่าวมาเผยแพร่ เนื่องจากมีการวางแผนในการด�ำเนินการท่ีชัดเจน ทุกผลิตภัณฑ์ที่มีช่ือสามัญและ 391

GREEN BOOK 2018 รปู แบบยาเหมอื นกนั ขนาดความแรงเท่ากนั (pharmaceutical equivalence) ไม่ว่า มาจากแหล่งผลิตใด จะได้รับการตรวจสอบด้วยวิธีและมาตรฐานเดียวกัน หัวข้อ ทดสอบเท่าเทียมกัน ซ่ึงเป็นวิธีและมาตรฐานตามต�ำรายาท่ีรัฐมนตรีประกาศ หรือ ฉบับใหม่กว่าเป็นหลัก ในการก�ำหนดรูปแบบและหลักเกณฑ์ในการคัดเลือกข้อมูล คุณภาพยามาน�ำเสนอนั้น มีการจ�ำแนกข้อมูลผลิตภัณฑ์ยาตามช่ือสามัญทางยาและ แหล่งผลติ พบว่าแต่ละแหลง่ ผลิตมีการขน้ึ ทะเบียนยาชอ่ื สามัญเดียวกัน รูปแบบยาและ ขนาดความแรงเท่ากันจ�ำนวนหลายทะเบียนยา บางรายการมีคุณภาพไม่สม่�ำเสมอ ในแต่ละทะเบียนยาท้ังที่ผลิตจากแหล่งเดียวกัน คือ บางต�ำรับผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ทุกรุ่นผลิต ในขณะท่ีบางต�ำรับผิดมาตรฐานในบางรุ่น ดังน้ัน จึงใช้ทะเบียนยา เป็นตัวส�ำคัญในการคัดเลือก โดยแต่ละต�ำรับต้องมีผลการตรวจสอบผ่านเกณฑ์ มาตรฐานทกุ หวั ขอ้ ท่ีทดสอบทกุ รนุ่ ผลติ อยา่ งนอ้ ย 3 รุน่ และหากมีปัญหาในการตดั สนิ ใจจะน�ำเอกสารทะเบยี นยามาพิจารณารว่ มดว้ ย การระบุรายละเอียดข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องด้านคุณภาพยา จะค�ำนึงถึงประโยชน์ สูงสดุ ในการน�ำข้อมูลไปใช้ โดยจำ� แนกประเภทของยา (category) ตามประสทิ ธิภาพใน การรักษา ระบุช่ือสามัญทางยา (generic name) รูปแบบยา (dosage form) และ หัวข้อทท่ี ดสอบคุณภาพ สำ� หรับผลติ ภณั ฑย์ าทผี่ ่านเกณฑ์การคัดเลือกจะระบุ ช่ือผผู้ ลติ หรือผู้แทนจำ� หน่าย ช่อื การค้าและขนาดความแรงของตัวยาส�ำคัญ พรอ้ มทะเบยี นยา ผลิตภัณฑ์ยาจ�ำนวนมากท่ีผ่านเกณฑ์มาตรฐาน แต่ไม่ได้รับการคัดเลือกมาเผย แพร่ เนอื่ งจากไม่ครบ 3 รนุ่ ผลิต สว่ นใหญไ่ ด้รับการส่มุ ตรวจทะเบียนยาละ 1 ร่นุ ผลิต โดยแตล่ ะชอ่ื สามัญจากแหลง่ ผลิตเดียวกันอาจมกี ารขึน้ ทะเบยี นไว้ 3-5 ทะเบียนยาหรอื มากกว่า ซึ่งในการรักษาสถานภาพของทะเบียนยาที่ได้รับอนุมัติจากส�ำนักงาน คณะกรรมการอาหารและยาน้ัน ต้องมีการผลิตยาออกจ�ำหน่าย ดังนั้น จากจ�ำนวน ผลิตภัณฑ์ยาที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 783 ต�ำรับ แต่ได้รับการคัดเลือกมาเผยแพร่ ใน GREEN BOOK 1 เพียง 261 ต�ำรับ (ร้อยละ 33) เท่านั้น จากชื่อสามัญทางยา 55 รายการ 392

GREEN BOOK 2018 ส�ำหรับยาต้นแบบ พบว่าได้รับการสุ่มตรวจจ�ำนวนน้อย เน่ืองจากโรงพยาบาล ไม่ส่งตรวจ อาจเนื่องจากไม่สงสัยในคุณภาพ ประกอบกับยามีราคาแพง ท�ำให้ข้อมูล ของยาต้นแบบไมไ่ ด้รับการเผยแพรเ่ ทา่ ท่ีควร อยา่ งไรกต็ ามพอสรุปได้ว่าผลติ ภณั ฑ์ยาที่ ไม่ไดร้ บั การเผยแพรม่ าจากสาเหตุ 3 ประการ ประการแรก ผลิตภัณฑ์ยานั้นได้รับการตรวจสอบ 3 รุ่นผลิตหรือมากกว่า ในแต่ละทะเบียนยา แต่มีบางรนุ่ ผลติ ผิดมาตรฐาน ประการที่ 2 ผลิตภัณฑ์ยานั้นได้รับการตรวจสอบและผ่านเกณฑ์มาตรฐาน แต่ไม่ครบ 3 รนุ่ ผลติ ในแต่ละทะเบียนยา ประการสุดท้าย ผลิตภัณฑ์ยานั้นไม่ถูกสุ่มตรวจ เพราะไม่มีใช้ในโรงพยาบาล ในชว่ งทมี่ กี ารสมุ่ ตวั อย่าง การจดั ท�ำ GREEN BOOK 2 จากข้อจ�ำกัด 3 ประการที่ท�ำให้ผลิตภัณฑ์ยาไม่ได้รับการเผยแพร่ใน GREEN BOOK 1 ดงั น้นั เพ่ือให้ไดข้ ้อมลู เผยแพรม่ ากข้นึ การดำ� เนนิ โครงการประกนั คุณภาพยา ปีงบประมาณ 2548 จึงมีการสุ่มตัวอย่างเพิ่มเติมรอบที่ 2 ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ยาท่ีผ่าน เกณฑ์มาตรฐานแล้ว 2 รุ่นผลิต นอกจากนี้ส�ำนักยาและวัตถุเสพติดได้ด�ำเนินโครงการ “ประกันคุณภาพยาทใ่ี ช้ในโรงพยาบาลชุมชนและหนว่ ยปฐมภูมิ” โดยความรว่ มมือและ สนับสนุนงบประมาณจากส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยสุ่มตัวอย่าง ผลติ ภัณฑ์ยา 10 รายชอื่ สามัญทางยาจากโรงพยาบาลชมุ ชน และคัดเลอื กขอ้ มูลมาเผย แพร่ใน GREEN BOOK 2 ด้วย ในการจัดทำ� GREEN BOOK 2 พบวา่ ตวั อย่างผลิตภณั ฑย์ าที่ไดร้ บั การสมุ่ ตรวจ ในโครงการ ส่วนใหญ่ผู้ผลิตใช้ทะเบียนยาเดียวในการผลิตยาช่ือสามัญแต่ละรายการ เพื่อจ�ำหน่ายให้โรงพยาบาลรัฐ ซ่ึงเป็นผลจาก GREEN BOOK 1 ท�ำให้ผู้ผลิตพัฒนา คุณภาพผลิตภัณฑ์ยาภายใต้ทะเบียนยาเดียวโดยไม่จ�ำเป็นต้องขึ้นทะเบียนยาไว้มาก เกินความจ�ำเป็น ท�ำให้แต่ละต�ำรับมีจ�ำนวนรุ่นผลิตมากพอท่ีถูกสุ่มตรวจในโครงการ 393

GREEN BOOK 2018 ประกนั คณุ ภาพยา ส�ำหรับปีงบประมาณ 2548 มตี �ำรบั ทผี่ า่ นเกณฑม์ าตรฐาน ทงั้ หมด 421 ต�ำรับ ได้รับการคัดเลือกมาเผยแพร่ใน GREEN BOOK 2 จ�ำนวน 176 ต�ำรับ (รอ้ ยละ 42) จากช่ือสามัญทางยา 44 รายการ ส�ำหรับต�ำรับยาฉีดยังได้รับการเผยแพร่น้อยและไม่ครอบคลุมทุกแหล่งผลิต เน่ืองจากการตรวจสอบคุณภาพมีหัวข้อทดสอบมากกว่ายารูปแบบอื่น ๆ บางหัวข้อใช้ ตัวอยา่ งจำ� นวนมาก เชน่ sterility, particulate matter เป็นตน้ ดังนนั้ จงึ ไดร้ ับตัวอย่าง ยาจากโรงพยาบาลนอ้ ย เพราะมยี าอยจู่ �ำนวนจำ� กัดเทา่ ทพี่ อใช้ในโรงพยาบาล การสำ� รวจความคดิ เหน็ และความพึงพอใจของผู้ใชข้ อ้ มลู GREEN BOOK 1–2 เกี่ยวกับวิธีการด�ำเนินโครงการประกันคุณภาพยาและการให้บริการสารสนเทศ ด้านคุณภาพยา ได้แก่ เอกสารผลการตรวจวิเคราะห์ยาท้ังท่ีเข้าและผิดมาตรฐาน ในโครงการประกันคุณภาพยา และ GREEN BOOK 1-2 เพื่อน�ำมาปรับปรุงและ พัฒนาการจดั ท�ำสารสนเทศดา้ นคณุ ภาพยา โดยสง่ แบบสอบถามไปยังโรงพยาบาลและ สถานพยาบาลต่าง ๆ ของรัฐ รวมทงั้ สำ� นักงานสาธารณสขุ จงั หวัด ท่วั ประเทศ จ�ำนวน 941 แห่ง ตอบกลับมา 325 แห่ง (ร้อยละ 34.5) ร้อยละ 65 เป็นหัวหน้ากลุ่มงาน เภสัชกรรม อีกร้อยละ 35 เป็นเภสัชกรโรงพยาบาล ซ่ึงความคิดเห็นในเรื่องวิธีการ ด�ำเนินโครงการประกันคุณภาพยา ร้อยละ 92 เห็นด้วยในเร่ืองการสุ่มตัวอย่าง ผลิตภัณฑ์ยาต้ังแต่ 3 รุ่นผลิตขึ้นไปและควรทดสอบคุณภาพยาในทุกหัวข้อตามท่ีตำ� รา ยาก�ำหนด กรณีท่ียามีราคาแพง ร้อยละ 94 เสนอว่าควรมีการชดเชยยาให้แก่ โรงพยาบาลที่ส่งตรวจ และวิธีการชดเชยยา ร้อยละ 45 มีความเห็นว่าควรระบุไว้ ในสัญญาจะซ้ือจะขาย ส�ำหรับความคิดเห็นเรื่องการให้บริการสารสนเทศด้านคุณภาพ ยา รอ้ ยละ 71 ระบวุ ่าใช้เอกสารผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพยาเป็นข้อมลู ส�ำหรบั การ จดั ซอ้ื ยาคราวตอ่ ไป รอ้ ยละ 46 ระบวุ า่ ไดใ้ ช้ GREEN BOOK เปน็ แนวทางในการจดั ซื้อยา และร้อยละ 45 ใช้ GREEN BOOK เป็นแนวทางในการก�ำหนดคคู่ า้ 394

GREEN BOOK 2018 การจัดท�ำ GREEN BOOK 3 ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ยาในโครงการประกันคุณภาพยาที่ผ่านมา จะรับตัวอย่าง ทั้งหมดจากส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัดหรือโรงพยาบาลที่ส่งตรวจคุณภาพโดยไม่มี การคดั เลอื กร่นุ ผลิต จงึ พบปัญหาวา่ ผลติ ภัณฑ์ยาบางรายการมผี ู้ผลิตน้อยราย และมใี ช้ เหมือนกันในโรงพยาบาลหลายแห่งทั่วประเทศ ท�ำให้ได้รับตัวอย่างจากแหล่งผลิต เดียวกันซ้�ำรุ่นผลิตมากหรือหลายรุ่นเกินความจ�ำเป็น ในขณะท่ีผลิตภัณฑ์ยาบาง รายการมีผู้ผลิตหลายราย แต่ได้รับตัวอย่างไม่ครอบคลุมทุกแหล่งผลิต ดังน้ันเพื่อให้ ครอบคลุมแหล่งผลิตที่ได้รับข้อมูลจากโรงพยาบาล ไม่ซ้�ำรุ่นผลิต และจ�ำนวนตัวอย่าง ไม่มากเกินไป จงึ ทำ� การสมุ่ ตัวอย่างในโครงการประกันคุณภาพยา ปงี บประมาณ 2549 โดยขอข้อมลู ยาทม่ี ใี ชใ้ นโรงพยาบาล ตามช่ือสามัญทางยา ความแรง รปู แบบยา ช่อื การ ค้า ทะเบียนยา พร้อมรุ่นผลิต และระบุจ�ำนวนตัวอย่างที่ต้องการในแต่ละผลิตภัณฑ์ และน�ำข้อมูลที่ได้มาบันทึกในโปรแกรมการสุ่มตัวอย่างจนครบทุกโรงพยาบาล ภายใน 1 เดอื น แล้วจงึ สมุ่ เลอื กให้ครอบคลมุ ทกุ แหล่งผลิตและจำ� นวนรุ่นทต่ี ้องการ โดยแจง้ ให้ โรงพยาบาลสง่ ตวั อยา่ งตามทส่ี มุ่ เลือก ทัง้ นต้ี วั อยา่ งยาฉีดได้ลดการทดสอบในบางหวั ขอ้ ที่ต้องใช้ตัวอย่างจ�ำนวนมากและเป็นหัวข้อที่ไม่เคยพบปัญหาผิดมาตรฐาน ท�ำให้ได้รับ ตัวอย่างยาฉีดเพ่มิ ขึ้น และไดผ้ ลิตภณั ฑย์ าครอบคลุมแหลง่ ผลติ มากกว่าเดมิ นอกจากน้ี ส�ำนักยาและวัตถุเสพติดได้รับความร่วมมือและสนับสนุนงบ ประมาณจากสำ� นักงานหลักประกันสุขภาพแหง่ ชาติ ในการด�ำเนินโครงการ “วเิ คราะห์ คุณภาพยา ณ หน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า” ในปี พ.ศ. 2549 โดยสุ่มตัวอย่างยาจ�ำนวน 11 รายชื่อสามัญทางยา ได้ข้อมูลมาเผยแพร่ใน GREEN BOOK 3 ด้วย ซึ่งจำ� นวนตำ� รับท่ีผ่านเกณฑ์มาตรฐาน มีทั้งหมด 312 ตำ� รับ ไดร้ ับการคดั เลอื กมาเผยแพร่ จำ� นวน 211 ต�ำรบั (ร้อยละ 68) จากชอ่ื สามัญทางยา 50 รายการ 395

GREEN BOOK 2018 การจดั ทำ� GREEN BOOK 4 เน่อื งในโอกาสคลา้ ยวนั พระราชสมภพ ครบ 80 พรรษา วนั ท่ี 5 ธันวาคม 2550 กระทรวงสาธารณสุขและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องท้ังภาครัฐและเอกชนต่างพร้อมใจสนอง พระราชจรยิ วตั รในการดูแลสุขภาพผสู้ งู อายุ ภายใตโ้ ครงการ “80 พรรษา สืบสานพระ เมตตา พัฒนาผู้สูงวัย” เพ่ือเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซ่ึงกรม วิทยาศาสตร์การแพทย์ได้ร่วมด�ำเนินโครงการของกระทรวงสาธารณสุข ภายใต้ช่ือ “โครงการประกันคุณภาพยาส�ำหรับผู้สูงอายุ : Golden Drugs for Golden Age (GoldenQ)” โดยการตรวจสอบคุณภาพผลติ ภัณฑย์ าท่ีใช้ในโรคผูส้ ูงอายุ ในระบบหลัก ประกันสขุ ภาพแหง่ ชาติ ไดแ้ ก่ ยาในกลุ่มรกั ษาโรคหวั ใจ ยาขับปสั สาวะ ยาลดความดัน โลหิต ยารักษาโรคเบาหวาน ยาลดไขมันในหลอดเลือด ยารักษาโรคระบบทางเดิน อาหารและทางเดินหายใจ และน�ำข้อมูลคุณภาพยามาจัดท�ำ GREEN BOOK 4 ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลผลิตภัณฑ์ยาในกลุ่มโรคผู้สูงอายุจากทุกโครงการท่ีผ่านมา รวม กบั ขอ้ มลู คณุ ภาพยาในกลมุ่ อ่ืน ๆ ซงึ่ มีการปรบั ระยะเวลาของการส่มุ ตัวอย่างให้รวดเรว็ ข้ึน โดยใช้โทรสารท้ังในเร่ืองการส่งข้อมูลจากโรงพยาบาลและการสุ่มเลือกกลับไป ภายใน 1 สัปดาห์ ท�ำให้ได้รับตัวอย่างตรงตามท่ีสุ่มเลือก และคัดเลือกข้อมูลผลการ ตรวจสอบคุณภาพมาจดั ทำ� GREEN BOOK 4 เผยแพรภ่ ายในวนั ที่ 5 ธนั วาคม 2550 จ�ำนวนผลิตภัณฑ์ยาท่ีใช้ในโรคผู้สูงอายุ ได้รับคัดเลือกมาเผยแพร่รวมทั้งส้ิน 272 ตำ� รับ จากชือ่ สามญั ทางยา 55 รายการ ส�ำหรบั ผลติ ภณั ฑย์ ากล่มุ อน่ื ๆ มีจำ� นวนท่ี ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จ�ำนวน 252 ต�ำรับ ได้รับการคัดเลือกมาเผยแพร่ จ�ำนวน 173 ต�ำรบั (ร้อยละ 69) จากช่อื สามัญทางยา 43 รายการ ส�ำหรับการตรวจวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ยาที่ยังไม่มีระบุในต�ำรายา จะใช้วิธีและ เกณฑ์มาตรฐานในทะเบียนยา ส่วนการคัดเลือกต�ำรับใดมาเผยแพร่จะพิจารณาเกณฑ์ มาตรฐานท่ีระบุไว้ในทะเบียนยาด้วย เพราะแต่ละต�ำรับอาจก�ำหนดหัวข้อควบคุม คณุ ภาพไมเ่ ทา่ กนั เนอื่ งจากข้ึนทะเบยี นยาไวใ้ นแตล่ ะปีท่แี ตกตา่ งกนั ต�ำรบั ยาทม่ี ีหวั ข้อ การควบคุมคุณภาพตามมาตรฐานสากลท่ีทันสมัย จะได้รับการคัดเลือกมาเผยแพร่ 396

GREEN BOOK 2018 ใน GREEN BOOK 4 เช่น ตำ� รับยาทกี่ ำ� หนดหัวขอ้ การละลายของตัวยา (dissolution) ซ่ึงบ่งบอกคุณภาพได้ดีกว่าหัวข้อการกระจายตัว (disintegration) เป็นต้น เพื่อให้โรงพยาบาลได้ใช้เป็นแนวทางในการก�ำหนดคุณลักษณะของผลิตภัณฑ์ยาในการ จัดซ้ือด้วย อย่างไรก็ตามในการคัดเลือกผลิตภัณฑ์ยาท่ีผ่านเกณฑ์มาตรฐานมาเผยแพร่ใน GREEN BOOK 4 พบวา่ ผลติ ภณั ฑย์ าท่ีมีการใช้นอ้ ย หรอื มกี ารน�ำเข้าเพียงปีละ 2 รุ่น ผลิต ทำ� ใหส้ ุม่ ตวั อยา่ งได้ไม่ครบ 3 รุ่น ดังนน้ั ในกรณีท่ีมจี ำ� นวน 2 รุ่นผลติ เหมอื นกนั ทุก แหลง่ ผลิตและเปน็ ยาทไ่ี ม่มีปัญหาดา้ นความคงสภาพ จะอนโุ ลมคดั เลือกจาก 2 รนุ่ ผลติ มาเผยแพรอ่ ย่างเทา่ เทยี มกนั การจัดท�ำ GREEN BOOK 5 การด�ำเนนิ โครงการประกันคุณภาพยาปีงบประมาณ 2551 โดยได้รับผลติ ภัณฑ์ ยาทั้งหมด 1,334 ตัวอยา่ งจาก 356 ทะเบยี นยา การตรวจสอบคณุ ภาพผลิตภณั ฑ์ยาท่ี มีชอื่ สามญั ทางยาและรูปแบบเดยี วกัน โดยอ้างอิงวธิ แี ละเกณฑม์ าตรฐานทร่ี ะบุในต�ำรา ยาเป็นหลัก พบว่าผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 1,199 ตัวอย่าง ประมาณร้อยละ 90 จาก จ�ำนวน 294 ทะเบยี นยา และได้รบั การคดั เลือกมาเผยแพรใ่ น GREEN BOOK 5 จำ� นวน 202 ทะเบยี นยา 54 รายการยาชอื่ สามัญ ทม่ี ีจ�ำนวน 2-3 รนุ่ ผลติ ข้ึนไปและผ่านเกณฑ์ มาตรฐานทั้งหมด ส�ำหรับยาต้นแบบ ในการจัดท�ำ GREEN BOOK 1-4 ที่ผ่านมามี ค�ำถามเสมอว่าท�ำไม GREEN BOOK จึงไม่มีรายชื่อของยาต้นแบบ ท้ังนี้ เนื่องมาจากได้รับตัวอย่างยาต้นแบบจ�ำนวนรุ่นผลิตน้อยกว่าเกณฑ์การคัดเลือก ท�ำให้ ไม่ได้รบั การเผยแพร่ ดงั นนั้ ใน GREEN BOOK 5 เฉพาะยาต้นแบบทกุ ตำ� รับทผ่ี า่ นเกณฑ์ มาตรฐานได้น�ำมาเผยแพร่โดยไม่ก�ำหนดจ�ำนวนรุ่นผลิต ส่วนยาสามัญยังคงคัดเลือก ตามเกณฑท์ ่กี �ำหนด 397

GREEN BOOK 2018 ปัจจัยส�ำคัญประการหนึ่งในการตรวจสอบคุณภาพยา คือ สารมาตรฐาน ซ่ึงส่วนใหญ่ต้องซื้อจากต่างประเทศ ท�ำให้การตรวจวิเคราะห์อาจไม่เป็นไปตามระยะเวลา ท่ีก�ำหนด บางชนิดมีราคาแพงจ�ำเป็นต้องรอตรวจวิเคราะห์ตัวอย่างในคราวเดียวกัน เพื่อความประหยัดและการใช้สารมาตรฐานอย่างคุ้มค่า นอกจากน้ีสารมาตรฐานบาง ชนดิ ท่จี ดั เปน็ วตั ถอุ อกฤทธ์ิ การจัดซอ้ื ตอ้ งผ่านข้ันตอนตามกฎระเบียบของทางราชการ ผ่านส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ท�ำให้การตรวจวิเคราะห์ต้องล่าช้าและ ไม่สามารถตรวจได้ทันเวลาที่ก�ำหนด เช่น ต�ำรับยา alprazolam tablets การตรวจ สอบหวั ขอ้ content uniformity ตอ้ งใช้สารมาตรฐานร่วม (internal standard) ท่เี ป็น วตั ถุออกฤทธติ์ อ่ จิตประสาท ดงั นั้นใน GREEN BOOK 1 จงึ ใช้ผลของ weight variation แทน ซง่ึ ในโครงการฯ ปงี บประมาณ 2552 (ปรากฏใน GREEN BOOK 6) ไดด้ ำ� เนนิ การตรวจ สอบคุณภาพยาต�ำรับน้ีซ�้ำอีก และได้เตรียมสารมาตรฐานดังกล่าวไว้ล่วงหน้า เพอื่ ใหไ้ ดข้ ้อมูลคณุ ภาพทค่ี รบถ้วนตามท่ีตำ� รายากำ� หนด การจดั ท�ำ GREEN BOOK 6 โครงการประกันคุณภาพยา ปีงบประมาณ 2552 ได้รับความร่วมมือในการ ส่งตัวอย่างผลิตภัณฑ์ยาเพ่ือตรวจสอบคุณภาพ จากโรงพยาบาลรัฐ 353 แห่ง รวมจำ� นวน 1,151 ตัวอยา่ งจาก 447 ทะเบยี นยา โดยมผี ลติ ภณั ฑ์ยาทีไ่ ดร้ บั การทบทวน คุณภาพจ�ำนวน 4 รายการ ไดแ้ ก่ albendazole tablets, indomethacin capsules, piroxicam capsules และ warfarin tablets ซ่ึงเป็นต�ำรับท่ีผ่านการคัดเลือกและ เผยแพรใ่ น GREEN BOOK 3, 1, 1 และ 4 ตามล�ำดับนน้ั ผลการตรวจสอบคุณภาพซ�ำ้ พบว่า albendazole tablets และ piroxicam capsules ในบางต�ำรับที่เคยผิด มาตรฐาน หัวขอ้ การละลายของตวั ยา ได้รบั การพฒั นาคุณภาพจนผา่ นเกณฑม์ าตรฐาน ในการตรวจวิเคราะห์ครั้งน้ี แต่ส�ำหรับ indomethacin capsules และ warfarin tablets บางต�ำรับท่ีเคยผ่านเกณฑ์มาตรฐาน ยังพบความไม่สม่�ำเสมอในการผลิตและ ผิดมาตรฐานในการตรวจวเิ คราะหค์ รั้งน้ี นอกจากนย้ี งั ได้น�ำขอ้ มลู จากผลการตรวจสอบ คุณภาพผลิตภัณฑ์ยาที่สุ่มจากร้านขายยา ผู้น�ำเข้าหรือผู้ผลิต โดยส�ำนักงาน คณะกรรมการอาหารและยาในปีเดียวกันมาเผยแพร่ด้วย ท�ำให้ได้ข้อมูลจากแหล่งสุ่ม 398

GREEN BOOK 2018 ตัวอย่างต่างกันเพื่อให้เกิดการเฝ้าระวังคุณภาพยาครอบคลุมมากข้ึน ส�ำหรับผลิตภัณฑ์ ยาที่สุ่ม โดยส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ซึ่งตรวจวิเคราะห์โดยห้องปฏิบัติ การของส�ำนักยาและวัตถุเสพติด ได้คัดเลือกมาเผยแพร่จ�ำนวน 9 รายการ ได้แก่ dicyclomine hydrochloride tablets, diphenhydramine hydrochloride capsules, doxazosin mesilate tablets, fenofibrate capsules/tablets, levothyroxine sodium tablets, methocarbamol tablets, ofloxacin tablets, pioglitazone hydrochloride tablets และ tenoxicam tablets จากเกณฑ์มาตรฐานในตำ� รายาทรี่ ฐั มนตรีประกาศ คือ USP 27, 2004 และ BP 2004 เมือ่ เปรยี บเทยี บกับเกณฑม์ าตรฐานในตำ� รายาฉบับใหมก่ วา่ เชน่ USP 31 และ BP 2008 พบว่า ไม่มีความแตกต่างในส่วนที่เป็นสาระส�ำคัญ ยกเว้นหัวข้อความ สม่�ำเสมอของตัวยา (uniformity of dosage units หรือ content uniformity) ซ่งึ ตั้งแต่ USP 29 และ BP 2008 เป็นตน้ มา มกี ารเปลีย่ นแปลงวิธีคำ� นวณและเกณฑ์ มาตรฐานในหวั ขอ้ content uniformity ซ่งึ เข้มงวดขึ้นจากเดมิ ซ่ึงในการวเิ คราะห์ยา indomethacin capsules ของศนู ยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี 10 อุบลราชธานี พบวา่ USP 31 มคี วามเข้มงวดกวา่ ในกรณที ่คี า่ เฉลย่ี ของปรมิ าณตวั ยาส�ำคญั (mean; ) มีค่า ใกลเ้ คียง upper limit (110.0% la.) หรือใกล้ lower limit (90.0% la.) โดยยอมใหม้ ี คา่ เบย่ี งเบนมาตรฐานแคบกวา่ ใน USP 27 แต่กรณีท่คี ่า มคี า่ ใกล้เคียงกับปรมิ าณตวั ยาท่ีแจ้งบนฉลาก (100.0% la.) ต�ำรายาท้ังสองจะยอมรับค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานได้สูง กว่ากรณีแรกและไม่แตกตา่ งกันมากในการผา่ นเกณฑ์มาตรฐาน การจัดท�ำ GREEN BOOK 7 การจัดท�ำ GREEN BOOK 7 ได้คัดเลือกผลิตภัณฑ์ยาจากการด�ำเนินโครงการ ประกันคุณภาพยา ประจำ� ปงี บประมาณ 2552 และ 2553 ซ่ึงไดร้ ับความรว่ มมือในการ ส่งตัวอย่างยาจากโรงพยาบาลรัฐท้ังในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทั่วประเทศ จ�ำนวน 360 แห่ง และส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ได้รับตัวอย่างท้ังสิ้น จำ� นวน 960 ตวั อยา่ ง (384 ทะเบียนยา) คดั เลอื กรายการยาท้งั ส้ิน จำ� นวน 35 รายการ 399

GREEN BOOK 2018 โดยเป็นผลติ ภณั ฑย์ าที่เคยตรวจวิเคราะหใ์ นโครงการฯ ปที ผ่ี า่ นมา จำ� นวน 22 รายการ โดยคัดเลือกรายการยาที่เคยพบปัญหาคุณภาพมาตรวจสอบซ�้ำเพื่อตรวจสอบคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ยา และเป็นการเฝ้าระวังคุณภาพผลิตภัณฑ์ยาเป็นระยะ ๆ จากการทบทวน คุณภาพในปีนี้ พบว่าส่วนใหญ่มีการพัฒนาคุณภาพและผ่านตามเกณฑ์มาตรฐาน เช่น amitriptyline hydrochloride tablets เป็นรายการยาท่ีมีการพัฒนาคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ จากเดิมเป็นยาเม็ดเคลือบน้�ำตาลเปลี่ยนเป็นเคลือบฟิล์ม ท�ำให้ลดปัญหา ด้านการละลายของตัวยา ส�ำหรับ enalapril maleate tablets พบว่าผู้ผลิตใน ประเทศมีการพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์จนผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดยยาที่ผิดมาตรฐาน เกือบทั้งหมดเป็นยาสามัญทนี่ ำ� เขา้ จากตา่ งประเทศ ส�ำหรบั รายการยาท่ียงั คงพบผดิ มาตรฐาน เชน่ aspirin tablets และ dipotas- sium clorazepate capsules เนื่องจากคุณสมบตั ิความไม่คงสภาพของตวั ยา โดยพบ ผิดมาตรฐานหัวข้อปรมิ าณตวั ยาส�ำคัญ และปริมาณสารสลายตวั ส�ำหรับ aspirin tab- lets พบหลายตัวอย่างท่ีมีลักษณะของยาเส่ือมคุณภาพก่อนวันหมดอายุ คือมีกล่ินฉุน ของ acetic acid และมผี ลกึ salicylic acid ซ่ึงเปน็ สารสลายตัวระเหิดมาเกาะอยทู่ แี่ ผง และเม็ดยา ส�ำหรบั dipotassium clorazepate capsules พบผิดมาตรฐานจำ� นวน มาก จึงไม่ผ่านเกณฑ์คัดเลือกมาเผยแพร่ โดยตัวอย่างท่ีส่งตรวจวิเคราะห์มีลักษณะชื้น ซ่ึงต�ำรับยานี้ตัวยาสลายตัวง่ายเมื่อสัมผัสความชื้น ความร้อน และแสง ต�ำรายาจึง ก�ำหนดให้ยาตำ� รบั นตี้ ้องอยูใ่ นภาชนะบรรจุ class A ซงึ่ ความช้ืนไมส่ ามารถผ่านได้และ ปอ้ งกันแสง ผลิตภัณฑ์ยาท่ีสุ่มตัวอย่างโดยส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา คือ erythropoietin alfa sterile solution กรมวิทยาศาสตร์การแพทยไ์ ด้ตรวจวเิ คราะห์ คณุ ภาพตามมาตรฐานต�ำรายาและเผยแพร่ใน GREEN BOOK 7 ด้วยเช่นกัน 400

GREEN BOOK 2018 การจัดท�ำ GREEN BOOK 8 การด�ำเนินโครงการประกนั คุณภาพยา ปงี บประมาณ 2554 ได้รับความรว่ มมอื จากโรงพยาบาลรฐั ท้งั ในและนอกสังกดั กระทรวงสาธารณสุขทัว่ ประเทศ 336 แหง่ และ ข้อมูลทะเบียนยาจากส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ตรวจวิเคราะห์รายการ ผลิตภัณฑ์ยาแผนปัจจุบัน และผลิตภัณฑ์ยาจากสมุนไพร จ�ำนวน 35 รายการ ได้รับ ตัวอยา่ งทัง้ สน้ิ จ�ำนวน 692 ตวั อยา่ ง (324 ทะเบยี นยา) เปน็ ยาแผนปัจจบุ นั จำ� นวน 581 ตวั อย่าง ผลิตภณั ฑ์ยาจากสมนุ ไพร 111 ตวั อย่าง ในการสมุ่ ตวั อยา่ งผลิตภณั ฑ์ยาแผนปัจจบุ นั 32 รายการ ซ่งึ เปน็ ผลติ ภัณฑย์ าที่ เคยตรวจวิเคราะห์ในโครงการปีที่ผ่านมา 16 รายการเพ่ือติดตามคุณภาพ โดยเป็น รายการยาท่ีเคยพบปัญหาคุณภาพ และเป็นการเฝ้าระวังคุณภาพผลิตภัณฑ์ยาเป็น ระยะ ๆ และอาจมีผู้ผลิตเพ่ิมขึ้น ซ่ึงพบว่าผลิตภัณฑ์ยาท่ีมีปัญหาเหล่าน้ีมีการพัฒนา คุณภาพและเข้ามาตรฐาน นอกจากน้ี การคัดเลือกผลิตภัณฑ์ยาในโครงการยังพิจารณาจากต�ำรายาฉบับ ใหม่ที่มีการเปล่ียนแปลงเกณฑ์มาตรฐานในบางหัวข้อ เช่น amlodipine tablets เคยสุ่มตัวอย่างเม่ือปี 2549 ซ่ึงขณะนั้นยังไม่มีระบุในต�ำรายาท่ีรัฐมนตรีประกาศ จึงใช้เกณฑ์มาตรฐานของผู้ผลิตที่ข้ึนทะเบียนยาไว้ ซึ่งไม่มีข้อก�ำหนดหัวข้อ related substances แตใ่ นปี 2554 มีระบุในตำ� รายา The United States Pharmacopeia 33 (USP 33) ซึ่งก�ำหนดหัวข้อ related compounds ไว้ซ่ึงบ่งบอกอายุของยาได้ หรือ กรณี lithium carbonate capsules ซงึ่ อยใู่ นโครงการฯ ปงี บประมาณ 2551 ตามขอ้ ก�ำหนดของทะเบยี นยาผู้ผลิตไม่มกี ารกำ� หนดหัวข้อการละลายของตัวยา (dissolution) เม่อื มีระบใุ นตำ� รายา USP 33 ท่ีก�ำหนดมาตรฐานการละลายของตัวยาไว้ จึงน�ำมาเขา้ โครงการเพื่อตรวจสอบคุณภาพตามต�ำรายาดังกล่าว ซ่ึงหัวข้อการละลายของตัวยาจะ บ่งบอกถึงคุณภาพท่ีชัดเจนกว่าการทดสอบการกระจายตัวของยา (disintegration) ทร่ี ะบใุ นทะเบียนยา 401

GREEN BOOK 2018 การจัดท�ำ GREEN BOOK 9 โครงการประกันคุณภาพยา ปีงบประมาณ 2555 ได้รับความร่วมมือจาก โรงพยาบาลรัฐท้ังในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทั่วประเทศ 322 แห่ง ตรวจวิเคราะห์รายการผลิตภัณฑ์ยาแผนปัจจุบัน จ�ำนวน 29 รายการ ยาในบัญชียา จากสมุนไพร พ.ศ. 2549 จ�ำนวน 10 รายการ รวมทง้ั ส้นิ 39 รายการ ได้รบั ตัวอย่าง ท้ังสิ้นจ�ำนวน 1,167 ตวั อย่าง เปน็ ยาแผนปัจจุบันจำ� นวน 1,084 ตัวอยา่ ง ผลติ ภัณฑย์ า จากสมุนไพร 83 ตัวอย่าง ส�ำหรับการสุ่มตัวอย่างผลิตภัณฑ์ยาแผนปัจจุบันจ�ำนวน 29 รายการ ซึ่งเป็น รายการยาท่ีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์คัดเลือกจากผลการส�ำรวจโรงพยาบาลรัฐ ท่ัวประเทศเรื่องรายการยาที่ต้องการทราบผลวิเคราะห์คุณภาพ นอกจากน้ีมีการ ทบทวนคุณภาพยาที่เคยตรวจวิเคราะห์ในโครงการปีท่ีผ่านมาจ�ำนวน 22 รายการ เพื่อเป็นการเฝ้าระวังคุณภาพผลิตภัณฑ์ยาอย่างต่อเน่ือง พบว่าผลิตภัณฑ์ยาท่ีเคยมี ปัญหาบางรายการมีการพัฒนาคุณภาพและเข้ามาตรฐาน เช่น enalapril tablets ซึ่งตรวจวิเคราะห์คุณภาพปี 2553 พบผิดมาตรฐานจ�ำนวนมากในผู้ผลิตรายหน่ึงที่น�ำ เข้าจากต่างประเทศ ซ่ึงกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้เผยแพร่ข้อมูลผลตรวจวิเคราะห์ ดังกล่าวน้ีให้โรงพยาบาลรัฐทั่วประเทศทราบ ในปีนี้เมื่อทบทวนคุณภาพอีกครั้งไม่พบ โรงพยาบาลส่งตัวอย่างจากผู้ผลิตดังกล่าวตรวจวิเคราะห์ และผลตรวจวิเคราะห์ยา enalapril tablets ในปีนี้ไมม่ ีตัวอย่างทีผ่ ดิ มาตรฐาน แสดงให้เห็นถึงผลของขอ้ มลู จาก โครงการฯร่วมกับกลไกของหน่วยงานรัฐที่ด�ำเนินการร่วมกันเพ่ือก�ำกับดูแลคุณภาพยา ภายในประเทศ และผู้ผลิตมีการควบคุมคุณภาพให้สม่�ำเสมอ เพ่ือให้ประชาชนผู้รับ บรกิ ารในระบบประกนั สุขภาพไดใ้ ช้ยาท่มี คี ุณภาพ สำ� หรับรายการยาที่ทบทวนคุณภาพ และยังคงพบผิดมาตรฐาน ยากลุ่มนี้ส่วนใหญ่มีปัญหาเรื่องตัวยาส�ำคัญไม่คงสภาพ สลายตัวง่าย ยาไวต่อความช้ืน/แสง หรือยาละลายน้�ำได้น้อย ดังน้ันหัวข้อที่พบผิด มาตรฐานของยาในกลุ่มนคี้ อื ปรมิ าณตัวยาส�ำคัญ ปรมิ าณสารสลายตวั การละลายของ ตวั ยา เป็นตน้ ตัวอย่างเช่น aspirin tablets, warfarin sodium tablets อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าตัวยาส�ำคัญจะมีข้อจ�ำกัดแตกต่างกันท่ีท�ำให้ผลิตภัณฑ์ยามีปัญหาคุณภาพ แตใ่ นภาพรวมผลิตภณั ฑ์ยาสว่ นใหญ่ทใ่ี ช้ในโรงพยาบาลรัฐมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล 402

GREEN BOOK 2018 การจดั ทำ� GREEN BOOK 10 การจัดท�ำ GREEN BOOK 10 ได้คัดเลือกผลิตภัณฑ์ยาจากโครงการประกัน คุณภาพยา ปีงบประมาณ 2555-2556 ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ซ่ึงเข้า มาตรฐานตามต�ำรายาฉบับปัจจุบัน (ปีงบประมาณ 2556 ใช้วิธีและเกณฑ์มาตรฐาน ตาม The United States Pharmacopeia : USP 35 หรือ British Pharmacopoeia : BP 2012) หรืออ้างอิงทะเบียนยากรณีที่ไม่มีระบุในต�ำรายา การสุ่มตัวอย่างได้รับ ความร่วมมือจากโรงพยาบาลรัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุขท่ัวประเทศ 271 แห่ง เป็นผู้ให้ข้อมูลและส่งตัวอย่างตรวจวิเคราะห์ โดยปีงบประมาณ 2556 ได้ผลสรปุ คณุ ภาพยา จำ� นวน 61 รายการ จำ� นวนตัวอยา่ งทง้ั หมด 819 ตัวอยา่ ง จำ� แนกเปน็ ยาแผนปัจจุบัน 47 รายการ จ�ำนวน 664 ตัวอย่าง พบผิดมาตรฐาน 47 ตัวอย่าง (ร้อยละ 7.1) และยาในบัญชยี าจากสมุนไพร พ.ศ. 2555 จ�ำนวน 14 รายการ จำ� นวน 155 ตัวอย่าง พบผิดมาตรฐาน 22 ตัวอยา่ ง (รอ้ ยละ 14.2) ตามท่ีกรมบัญชีกลางประกาศเร่ือง มาตรการควบคุมการเบิกจ่ายยานอกบัญชี ยาหลักแห่งชาติที่มีมูลค่าการใช้สูง พบว่ามีรายการยาที่กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ไม่เคยด�ำเนินการสุ่มตรวจวิเคราะห์คุณภาพยา (ยกเว้นกลุ่มยารักษามะเร็ง และยาที่มี ผู้ผลิตรายเดียว) ได้แก่ alendronate tablets, cilostazol tablets, irbesartan tablets, pamidronate sterile solution, pantoprazole tablets, perindopril tablets, และ quinapril tablets ซึ่งกรมฯ ได้ด�ำเนินการตรวจวิเคราะห์คุณภาพยา ดังกล่าว ในปงี บประมาณ 2556 นอกจากน้ีได้ขยายขอบเขตของโครงการฯ ใหค้ รอบคลมุ แหล่งกระจายยาท่ีส�ำคัญของประเทศ เช่น ร้านขายยา เพื่อตรวจสอบคุณภาพยา ท่ีประชาชนสามารถหาซ้ือด้วยตนเอง โดยคัดเลือกรายการยา paracetamol tablets ซ่ึงมีหลายผู้ผลิตและราคาแตกต่างกันมาก โดยตัวอย่างยาที่สุ่มตรวจวิเคราะห์ เป็นผลติ ภัณฑ์จากผู้ผลิตภายในประเทศ จ�ำนวน 10 ราย และผผู้ ลิตต่างประเทศจำ� นวน 1 ราย รวมท้งั หมด 11 ราย ตรวจวเิ คราะหห์ วั ข้อปรมิ าณตัวยาส�ำคัญ และการละลาย ของตัวยา พบว่าทกุ ตวั อยา่ งทถ่ี กู สุ่มตรวจเขา้ มาตรฐาน 403

GREEN BOOK 2018 ส�ำหรับภาพรวมผลตรวจวิเคราะห์คุณภาพยาแผนปัจจุบันในปีงบประมาณ 2556 พบว่าส่วนใหญ่ยามีคุณภาพ เข้ามาตรฐานสากล แต่ที่พบผิดมาตรฐานจะเป็น เฉพาะบางรายการยา เน่ืองด้วยคุณสมบัติของตัวยาส�ำคัญที่มีแนวโน้มปัญหาคุณภาพ หรือเปน็ การผิดมาตรฐานเฉพาะทะเบียน เฉพาะรุ่น ของผผู้ ลติ บางราย ซง่ึ มปี จั จยั หลาย อยา่ งเกี่ยวขอ้ ง เชน่ วตั ถดุ ิบตวั ยาส�ำคัญ สตู รตำ� รบั การคดั เลือกบรรจภุ ัณฑ์ กระบวนการ ควบคุมการผลติ ทสี่ ม�่ำเสมอ การขนส่ง และสภาพการเก็บรกั ษา ซึง่ ผผู้ ลิตตอ้ งตระหนัก เพ่ือให้ผลิตภัณฑ์ยาสามารถคงสภาพตลอดอายุการใช้งาน ตัวอย่างรายการยาท่ีพบผิด มาตรฐานมาก เชน่ cetirizine hydrochloride tablets เปน็ ยาต้านฮสี ตามนี ใชร้ ักษา อาการแพ้ พบผิดมาตรฐานหัวข้อ related substances จ�ำนวน 15 ตัวอย่าง จากท้ังหมด 39 ตัวอย่าง (ร้อยละ 38.5) เน่ืองจากตัวยาสลายตัวได้ด้วยปฏิกิริยา ออกซิเดชัน ซ่ึงวัตถุดิบตัวยาส�ำคัญ สูตรต�ำรับ กระบวนการผลิต และภาชนะบรรจุ สามารถส่งผลต่อคุณภาพยาท้ังส้ิน หรือยา stavudine capsules เป็นยาต้านไวรัส พบปัญหาคุณภาพเรื่องความช้ืน โดยตรวจวิเคราะห์ 6 ตัวอย่าง พบผิดมาตรฐานทุก ตัวอยา่ ง (ร้อยละ 100.0) ซง่ึ ตัวยาสามารถเกดิ ปฏิกิรยิ า hydrolysis ไดส้ ารสลายตวั เป็น thymine และจากการส�ำรวจคณุ ภาพ stavudine capsules ในปงี บประมาณ 2551 พบว่าร้อยละ 100 ของตัวอย่างท่ีตรวจวิเคราะห์ทั้งหมดจ�ำนวน 18 ตัวอย่างมีปัญหา คณุ ภาพเร่ืองความชืน้ เช่นกัน การจัดท�ำ GREEN BOOK 11 การจัดท�ำ GREEN BOOK 11 ได้คัดเลือกผลิตภัณฑ์ยาจากโครงการประกัน คุณภาพยา ปีงบประมาณ 2557 จ�ำนวน 38 รายการ รวมตัวอย่างที่ตรวจวิเคราะห์ ทั้งส้ินจ�ำนวน 444 ตัวอย่าง จ�ำแนกเป็นยาแผนปัจจุบัน 35 รายการ จ�ำนวน 418 ตวั อย่าง พบผิดมาตรฐาน 20 ตวั อย่าง (รอ้ ยละ 4.8) และยาจากสมุนไพร 3 รายการ จ�ำนวน 26 ตัวอย่าง พบผดิ มาตรฐาน 3 ตัวอย่าง (ร้อยละ 11.5) ในภาพรวมพบว่ายา ส่วนใหญ่มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล โดยยาแผนปัจจุบันพบผิดมาตรฐานเพียง รอ้ ยละ 4.8 404

GREEN BOOK 2018 การด�ำเนินโครงการฯ ในปีงบประมาณ 2557-2558 มีการปรับระบบการ ด�ำเนินงาน โดยให้โรงพยาบาลแสดงความจ�ำนงการส่งตัวอย่างยา เพียงช่องทางเดียว เท่าน้นั คือ บันทึกขอ้ มูลยาผา่ นระบบโปรแกรม Single Window ของกรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ ที่เว็บไซต์ www.tumdee.org/alert จากน้ันจึงท�ำการสุ่มตัวอย่างจาก ข้อมูลในโปรแกรมดังกล่าว และแจ้งโรงพยาบาลให้ส่งตัวอย่างมาที่กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ ทั้งน้ีเพื่อลดระยะเวลาและประหยัดทรัพยากร อย่างไรก็ดีพบว่าจ�ำนวน โรงพยาบาลท่ีแสดงความจ�ำนงเข้ามาในระบบเพื่อให้ข้อมูลและส่งตัวอย่างลดลงถึง ร้อยละ 60 เมื่อเทียบกับการด�ำเนินงานในปีงบประมาณ 2555 - 2556 ซ่ึงใช้วิธีสุ่ม ตวั อยา่ งโดยแจง้ ทางหนังสอื ราชการควบคู่กบั โปรแกรม Single Window พบว่ามีโรงพยาบาล เขา้ รว่ มโครงการในแตล่ ะปปี ระมาณ 300 กว่าแห่ง ดังน้ัน กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ จึงด�ำเนินการส�ำรวจสาเหตุโดยส่งแบบสอบถามถึงโรงพยาบาล ได้รับแบบสอบถาม ตอบกลับจ�ำนวน 107 แห่ง จากข้อมูลท่ีได้รบั พบว่ามีโรงพยาบาลไม่รู้จกั ระบบโปรแกรม Single Window ร้อยละ 29.0 มีปัญหาเร่ืองการเข้าถึงหรือการเช่ือมต่ออินเตอร์เน็ต ของโรงพยาบาลร้อยละ 18.7 เข้าใช้งานเว็บไซต์ไม่ได้/ใช้งานไม่สะดวก ร้อยละ 23.3 ปัญหาอ่ืน ๆ ร้อยละ 8.4 และไม่พบปัญหาการใช้งานเพียงร้อยละ 20.6 ซึ่งกรม วิทยาศาสตร์การแพทย์จะทบทวนขั้นตอนด�ำเนินงาน เพ่ิมการประชาสัมพันธ์และ พฒั นาระบบให้ตอบสนองผูใ้ ชง้ านตอ่ ไป ส�ำหรบั ยา warfarin sodium tablets ซ่งึ เคยตรวจวิเคราะหใ์ นปี 2555 และมี การเผยแพรข่ ้อมลู ไมค่ รบถว้ นใน GREEN BOOK 9 ส�ำนกั ยาและวตั ถเุ สพติดจงึ ได้เพ่มิ เตมิ ข้อมูลท่ีผ่านเกณฑใ์ น GREEN BOOK 11 การจัดท�ำ GREEN BOOK 12 หนังสือรายชอ่ื ผลติ ภณั ฑ์ยาคุณภาพและผู้ผลติ ฉบบั น้ี คัดเลอื กผลิตภณั ฑย์ าจาก การด�ำเนนิ โครงการประกนั คณุ ภาพยาประจำ� ปีงบประมาณ2558ของกรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ ซ่งึ เข้ามาตรฐานตามต�ำรายา The United States Pharmacopeia : USP 37 หรอื British Pharmacopoeia : BP 2014 หรืออ้างองิ ตามทะเบียนยากรณีรายการยา 405

GREEN BOOK 2018 ท่ีไม่มีระบุในต�ำรายา ด�ำเนินการตรวจวิเคราะห์โดยห้องปฏิบัติการของส�ำนักยาและ วัตถุเสพติด และศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ในแต่ละภูมิภาค การสุ่มตัวอย่างได้รับ ความร่วมมือจากโรงพยาบาลรัฐทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงสาธารณสุขท่ัวประเทศ จ�ำนวน 119 แห่ง เป็นผู้ให้ข้อมูลและส่งตัวอย่างผลิตภัณฑ์ยาตรวจวิเคราะห์ โดยปีน้ี ได้ด�ำเนินการสุ่มตัวอย่างผ่านระบบโปรแกรม Single Window ของกรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ ทีเ่ วบ็ ไซต์ www.tumdee.org/alert เพยี งช่องทางเดียว ภาพรวมผลการตรวจสอบคุณภาพยาในโครงการฯ ปีงบประมาณ 2558 จ�ำนวน 49 รายการ รวมตวั อยา่ งทตี่ รวจวิเคราะหท์ ง้ั ส้ิน จำ� นวน 806 ตัวอยา่ ง จำ� แนก เป็นยาแผนปัจจุบนั 48 รายการ จ�ำนวน 784 ตัวอย่าง พบผิดมาตรฐาน 34 ตวั อยา่ ง (ร้อยละ 4.3) และยาจากสมุนไพร 1 รายการ จ�ำนวน 26 ตัวอย่าง พบผิดมาตรฐาน 8 ตวั อยา่ ง (รอ้ ยละ 30.8) ในภาพรวมพบว่ายาสว่ นใหญม่ ีคณุ ภาพตามมาตรฐานสากล โดยยาแผนปจั จบุ นั พบผิดมาตรฐานเพยี งรอ้ ยละ 4.3 การจดั ท�ำ GREEN BOOK 2017 หนังสือ GREEN BOOK 2017 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้รวบรวมรายช่ือ ผลติ ภณั ฑ์ยาคณุ ภาพและผู้ผลติ ในหนงั สอื GREEN BOOK ทุกเล่มตั้งแตเ่ ล่ม 1 - 12 รวม ถึงผลการตรวจสอบคุณภาพยาจากโครงการประกนั คณุ ภาพยาในปี 2559 เพ่ือให้หนว่ ย งานสาธารณสุขสามารถสืบค้นข้อมูลคุณภาพยาประกอบการพิจารณาคัดเลือก ผลิตภัณฑ์ยาได้อย่างสะดวก ซึ่งข้อมูลรายช่ือผู้ผลิตบางรายอาจไม่ตรงกับ GREEN BOOK เล่มท่ีเคยเผยแพร่ เนื่องจากปัจจุบันอาจมีการเปลี่ยนแปลงรายช่ือผู้ผลิตหรือมี การแก้ไขทะเบียนยา ส�ำหรับรายชื่อผลิตภัณฑ์ยาคุณภาพและผู้ผลิตท่ีเคยเผยแพร่ ใน GREEN BOOK 1 - 12 แตป่ ัจจุบนั ยกเลิกทะเบยี นยาแล้ว จะแสดง “*” ที่ทะเบียน ยา (รายชื่อผู้ผลิตและทะเบียนยาท่ีถูกยกเลิก ข้อมูลจากส�ำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยา ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2559) นอกจากน้ี ได้ปรบั ช่อื ลำ� ดับของหนงั สือเปน็ ตามปีทเ่ี ผยแพร่ 406

GREEN BOOK 2018 ภาพรวมการตรวจสอบคุณภาพผลิตภัณฑ์ท้ังยาแผนปัจจุบันและยาจาก สมุนไพรที่มีใช้ในโรงพยาบาลตามโครงการประกันคุณภาพยา ต้ังแต่ปี 2545 จนถึงปัจจุบันจ�ำนวนกว่า 500 รายการยา (มากกว่าร้อยละ 85 เป็นยาในบัญชียา หลักแห่งชาติ) จ�ำนวนตัวอย่างยาที่ตรวจวิเคราะห์ท้ังส้ินกว่า 17,000 ตัวอย่าง พบว่า แนวโนม้ การตรวจพบผลิตภณั ฑ์ยาผิดมาตรฐานลดลง หนังสือ GREEN BOOK 2017 ได้รวบรวมข้อมูลของผู้ผลิตยาคุณภาพท่ีกรม วิทยาศาสตร์การแพทย์สังเคราะห์ข้อมูลจากโครงการประกันคุณภาพยาท่ีด�ำเนินการ มาตั้งแต่พ.ศ. 2545 - 2559 ท�ำให้สรุปภาพรวมและเป็นฐานข้อมูลคุณภาพยาระดับ ประเทศ เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่บุคลากรทางการแพทย์และประชาชนผู้รับบริการ ในระบบสาธารณสุข รวมท้ังคุ้มครองผู้บริโภคให้ได้รับยาที่มีคุณภาพเป็นไปตาม มาตรฐานสากล นอกจากน้ียังสามารถน�ำมาอ้างอิงในการจัดซ้ือยาโดยการใช้หลัก เกณฑ์การประเมนิ ค่าประสิทธิภาพต่อราคา (price performance) ท�ำใหโ้ รงพยาบาล มียาที่มีคุณภาพ ราคาเหมาะสมไว้บริการผู้ป่วย อีกทั้งยังเป็นการสนับสนุนและเพ่ิมขีด ความสามารถในการแข่งขนั ของอุตสาหกรรมการผลิตยาในประเทศ 407

GREEN BOOK 2018 Q & A โครงการประกันคุณภาพยาและ GREEN BOOK 01 กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์มแี นวทาง การประกันคณุ ภาพยาอย่างไร ตอบ : กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ด�ำเนินโครงการประกันคุณภาพยาต่อ เนื่องทุกปีจนถึงปัจจุบัน โดยสุ่มตัวอย่างยาจากโรงพยาบาลรัฐ ทว่ั ประเทศมาตรวจสอบคุณภาพ เกณฑก์ ารส่มุ ตวั อย่างคือ สุ่มตวั อย่าง 3 รุ่น ผลติ (Lot. No.) โดยไม่ซำ้� รนุ่ ผลิตในแต่ละทะเบยี นยาใหค้ รอบคลมุ ทกุ ผู้ผลติ ท่ีได้รับข้อมูลจากโรงพยาบาล โดยใช้วิธีวิเคราะห์และมาตรฐาน ตามต�ำรายาสากลฉบับปัจจุบัน ในทุกตัวอย่างไม่ว่ามาจากแหล่งผลิตใด เพ่ือเปรียบเทียบคุณภาพในหัวข้อท่ีเท่าเทียมกัน บนมาตรฐานเดียวกัน ทกุ แหลง่ ผลติ และเพ่ือเฝา้ ระวงั คณุ ภาพยาทีม่ ีใชใ้ นประเทศว่า หากใชว้ ธิ ีและ มาตรฐานที่ทันสมัยดงั กล่าว ผลิตภัณฑย์ ามปี ญั หาใดบ้าง เพอื่ ใหผ้ เู้ กีย่ วขอ้ งได้ รับทราบข้อมูลและน�ำไปพัฒนาคุณภาพยาตามมาตรฐานสากล 02 รายการยาทีต่ รวจวเิ คราะห์ในโครงการประกันคณุ ภาพยา มีเกณฑก์ ารคดั เลือกอยา่ งไร ตอบ : ผลิตภัณฑ์ยาที่ตรวจวิเคราะห์มีทั้งผลิตภัณฑ์ยาแผนปัจจุบันและยา จากสมุนไพร โดยมเี กณฑก์ ารคดั เลอื กดงั น้ี - ยาในบัญชียาหลักแหง่ ชาติ - รายการยาในแผนยุทธศาสตรข์ องกระทรวงสาธารณสุข - รายการยาชว่ ยชวี ิตหรอื ยาที่มดี ัชนกี ารรกั ษาแคบ 408

GREEN BOOK 2018 - รายการยาทม่ี ีมลู คา่ หรือปริมาณการใช้สูง - รายการยาทพ่ี บปญั หาคุณภาพยาหรือมาตรฐานในต�ำรายา มกี ารเปลย่ี นแปลง - รายการยาท่ีโรงพยาบาลสงสัยคุณภาพยา 03 เหตุใดไม่รับตรวจวิเคราะหร์ ายการยาท่จี ัดซ้ือรว่ ม ตอบ : รายการยาในโครงการแต่ละปี ส่วนใหญ่เป็นรายการยาที่คัดเลอื กจาก รายการยาท่ีโรงพยาบาลสงสัยคุณภาพและเสนอมาเพ่ือตรวจวิเคราะห์ ซึง่ สว่ นหนงึ่ เปน็ รายการยาท่มี ีการจัดซือ้ ร่วม โรงพยาบาลจึงสามารถน�ำข้อมูล ผลวเิ คราะห์ดงั กล่าวมาใช้พจิ ารณาคัดเลือกยาได้ 04 รายการยาที่เคยลงใน GREEN BOOK ฉบับก่อน เหตใุ ด วเิ คราะหซ์ ำ�้ กับที่เคยวเิ คราะหแ์ ลว้ ตอบ : รายการยาในโครงการแต่ละปี ส่วนหนึ่งเป็นรายการยาท่ีพบปัญหา คุณภาพ จึงด�ำเนินการตรวจวิเคราะห์คุณภาพรายการยาซ�้ำกับท่ีเคยตรวจ วิเคราะห์ในโครงการฯ ท่ีผ่านมา โดยเฉพาะยาที่เคยพบว่าผิดมาตรฐาน ผู้ผลิตอาจมีการปรับปรุงคุณภาพจนเข้ามาตรฐานในการตรวจวิเคราะห์ซ�้ำ หรือผู้ผลิตท่ีเคยเข้ามาตรฐานแต่พบความไม่สม่�ำเสมอในการผลิตและผิด มาตรฐานในการตรวจวิเคราะห์ซ้�ำ ดังน้ัน จึงมีการเฝ้าระวังและทบทวน คุณภาพผลติ ภณั ฑ์ยาเปน็ ระยะ ๆ 409

GREEN BOOK 2018 05 ยาทโ่ี รงพยาบาลผลิต สามารถส่งตรวจวิเคราะห์ ทหี่ น่วยงานใดบา้ ง ตอบ : ยาทโ่ี รงพยาบาลผลติ สามารถตดิ ต่อขอสง่ ตวั อย่างตรวจวเิ คราะหไ์ ดท้ ่ี ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ และหน่วยงานท่ีผ่านการรับรอง ความสามารถห้องปฏิบัติการทดสอบด้านสาธารณสุข/คุ้มครองผู้บริโภค (ISO/IEC 17025:2005) สามารถดูรายช่ือหน่วยงานที่ได้รับการรับรองได้ที่ เว็บไซต์ของส�ำนักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข 06 เหตใุ ดไม่มีหนังสอื ราชการแจ้งโรงพยาบาล เรอื่ งการส่งตัวอยา่ ง ตอบ : กรมวิทยาศาสตร์การแพทยม์ นี โยบายลดขนั้ ตอน ลดระยะเวลา และ ลดการใช้พลังงานและทรัพยากรในการด�ำเนินงาน จึงพัฒนาโปรแกรม Sin- gle Window สำ� หรับการสุ่มตัวอยา่ งผลิตภัณฑ์ยาจากโรงพยาบาล และเปน็ ฐานข้อมูลคุณภาพผลิตภัณฑ์ยา ซ่ึงสามารถลดระยะเวลาและลดการใช้ กระดาษได้เป็นจ�ำนวนมาก ดังน้ัน โรงพยาบาลจึงส่งข้อมูลยาเพื่อจองส่งตัว อย่างและติดตามการประกาศผลผู้ผลิต/ผู้แทนจ�ำหน่าย และรุ่นผลิตท่ีถูกสุ่ม ตัวอย่างเพียงช่องทางเดียว คือ โปรแกรม Single Window ของกรม วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ท่ีเว็บไซต์ www.tumdee.org/alert 07 เหตใุ ดจงึ ใช้ตัวอย่างยาจำ� นวนมากในการส่งตรวจวเิ คราะห์ ตอบ : กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ระบุจ�ำนวนตัวอย่างผลิตภัณฑ์ยาท่ี ส่งตรวจในโครงการ เพ่ือให้สามารถตรวจวิเคราะห์ได้ครบทุกหัวข้อตามท่ี ก�ำหนด หากก�ำหนดปริมาณตัวอย่างน้อยอาจไม่เพียงพอส�ำหรับการตรวจ วเิ คราะห์ และตวั อยา่ งยาทีส่ ง่ ตรวจน้ันต้องเปน็ ร่นุ ผลติ เดียวกัน 410

GREEN BOOK 2018 08 โรงพยาบาลจะไดร้ บั การชดเชยยากรณีใดบา้ ง ตอบ : ส�ำนักยาและวัตถุเสพติด กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้ท�ำความ ตกลงกับสมาคมผู้วิจัยและผลิตเภสัชภัณฑ์ (Pharmaceutical Research and Manufacturers Association : PReMA) สมาคมไทยอุตสาหกรรมผลติ ยาแผนปัจจุบัน (Thai Pharmaceutical Manufacturers Association : TPMA) และองค์การเภสัชกรรม เพ่ือขอความร่วมมือชดเชยยาคืนให้แก่โรง พยาบาลท่สี ง่ ตัวอย่างยาตรวจวิเคราะหใ์ นโครงการประกันคณุ ภาพยา ซงึ่ ทาง ผู้ผลิต/ผู้น�ำเข้าตอบรับและยินดีให้ความร่วมมือ แต่อย่างไรก็ตามความร่วม มือดงั กล่าวไม่ครอบคลมุ ผ้ผู ลิต/ผู้น�ำเข้าทงั้ หมดทถี่ กู สมุ่ ยาตรวจวเิ คราะห์ของ โครงการฯ เนื่องจากมีผู้ผลิต/ผู้น�ำเข้ายาแผนปัจจุบันจ�ำนวนหน่ึงท่ีไม่ได้เป็น สมาชิกของสมาคม รวมถึงผู้ผลิตยาจากสมุนไพรท่ีไม่ได้อยู่ในข้อตกลงความ ร่วมมือน้ี อย่างไรก็ตาม กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้พยายามให้โรง พยาบาลได้รับการชดเชยยาได้มากที่สุด โดยส่งหนังสือแจ้งถึงบริษัทผู้ผลิต/ ผู้น�ำเข้ายาแผนปัจจุบันท้ังหมดทุกแห่งท่ีมีโรงพยาบาลส่งตัวอย่างตรวจ วิเคราะห์คุณภาพในโครงการฯ เพื่อขอความร่วมมือให้ด�ำเนินการชดเชยยา คืนแก่โรงพยาบาลด้วย สามารถดูรายช่ือบริษัทท่ีเป็นสมาชิกของแต่ละ สมาคมทีอ่ ย่ใู นขอ้ ตกลงความรว่ มมือการชดเชยยาได้ท่ีเว็บไซตด์ งั นี้ - สมาคมผูว้ ิจัยและผลติ เภสัชภณั ฑ์ (PReMA) : www.prema.or.th - สมาคมไทยอตุ สาหกรรมผลติ ยาแผนปัจจบุ นั (TPMA) : www.tpma.or.th/web/th 09 เหตใุ ดไม่ใช้วิธีวเิ คราะห์และมาตรฐานตามทะเบียนยา ตอบ : การด�ำเนินโครงการประกนั คุณภาพยาสมุ่ ตวั อยา่ งมาจากหลากหลาย ผู้ผลิต ซ่ึงแต่ละทะเบียนยาที่อ้างอิงต�ำรายาต่างกัน จะมีหัวข้อการควบคุม คุณภาพที่แตกต่างกัน เพราะต�ำรายามีการปรับปรุงมาตรฐานทุกปี แต่ทะเบียนยาที่ได้รับอนุมัติจากส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยาเป็น ทะเบียนยาที่มีอายุตลอดชีพ หากอ้างอิงมาตรฐานในทะเบียนยาของแต่ละราย จะไม่สามารถเปรียบเทียบคุณภาพในหัวข้อที่เท่าเทียมกันได้ (pharmaceutical 411

GREEN BOOK 2018 equivalence) และเปน็ เหตผุ ลหนึ่งท่ีท�ำใหโ้ รงพยาบาลตอ้ งก�ำหนด specifi- cation ในการจัดซ้ือยาโดยอ้างอิงต�ำรายาฉบับท่ีรัฐมนตรีประกาศหรือฉบับ ปัจจบุ ัน เพอ่ื ให้ไดย้ าทีม่ คี ุณภาพทันสมัยเช่นกนั นอกจากน้ี กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ด�ำเนินการโดยใช้ระบบคุณภาพ ISO/IEC 17025:2005 ซึ่งก�ำหนดให้ใช้วิธีวิเคราะห์ท่ีเป็นปัจจุบัน จึงไม่ สามารถใชว้ ธิ วี ิเคราะห์และเกณฑม์ าตรฐานในทะเบยี นยาเกา่ ได้ ดังน้ัน จึงใช้ วิธีและมาตรฐานตามต�ำรายาฉบับที่รัฐมนตรีประกาศหรือฉบับปัจจุบัน ใน ทุกตัวอย่างไม่ว่ามาจากแหล่งผลิตใด บนมาตรฐานเดียวกันทุกแหล่งผลิต ยกเว้นกรณีรายการยาน้ันไม่มีในต�ำรายา หรือผลิตภัณฑ์ยาออกฤทธ์ินาน (sustained/extended release) ต้องใช้วิธีที่ผู้ผลิตระบุไว้ เพราะเป็นการ ออกแบบการละลายของแต่ละผู้ผลิต หรือกรณีที่ส�ำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยาส่งตรวจวเิ คราะห์เพ่อื นำ� ไปดำ� เนนิ การทางกฎหมาย จงึ จะใช้วธิ ี วเิ คราะห์และมาตรฐานตามท่ผี ู้ผลิตระบไุ ว้ในทะเบยี นยา หรอื วิธตี ามต�ำรายา ฉบับท่ีรฐั มนตรปี ระกาศ (British Pharmacopoeia : BP 2011 หรอื The United States Pharmacopeia : USP 34/2011) 10 เหตุใดรายงานผลวเิ คราะหจ์ งึ ล่าช้า ตอ้ งการทราบผลวเิ คราะห์ ท่ีรวดเร็วโดยเฉพาะกรณีผิดมาตรฐาน เพอ่ื สามารถคนื ยาได้ทนั ที ตอบ : เนอื่ งจากการด�ำเนนิ โครงการจะรอรบั ตวั อย่างยาของแตล่ ะรายการยา ทส่ี ุ่มทงั้ หมดกอ่ น จึงตรวจวิเคราะห์ในคราวเดียวกนั บนมาตรฐานเดียวกนั ทกุ แหล่งผลิต ผลวิเคราะห์ที่ผิดมาตรฐานจะใช้เวลาตรวจสอบซ้�ำอีกหลายข้ันตอน เพื่อยืนยันผลตามระบบประกันคุณภาพของห้องปฏิบัติการ จากน้ันจึงสรุปผล ในภาพรวมทุกผลิตภัณฑ์ยาในโครงการ เพ่ือน�ำข้อมูลไปใช้ในเชิงบูรณาการ หรือแกไ้ ขอยา่ งเปน็ รปู ธรรม เช่น ออกค�ำสงั่ กระทรวงสาธารณสุข การพัฒนา ปรับปรุงระบบข้ึนทะเบียนยาต่าง ๆ และผู้ผลิตตื่นตัวเรื่องคุณภาพ เป็นต้น ดังนั้นวัตถุประสงค์ของโครงการน้ีจึงมิใช่การวิเคราะห์ยาทุกรุ่นผลิตเพ่ือเรียก คืนยา แตเ่ ป้าประสงคข์ องโครงการนคี้ ือผลกระทบจากข้อมลู ดา้ นคุณภาพยา ท่ีเผยแพร่ โรงพยาบาลจึงควรใช้ผลวิเคราะห์ดังกล่าวเป็นข้อมูลเพ่ือพิจารณา จัดซื้อในคราวตอ่ ไป หรือใชว้ ธิ ีการอื่นตามทเ่ี ห็นสมควร 412

GREEN BOOK 2018 11 กรณยี าผิดมาตรฐาน ควรแจง้ ผลวเิ คราะห์ให้บรษิ ทั ทราบกอ่ น เพ่ือใหโ้ อกาสผผู้ ลิตหรือผู้น�ำเข้าได้พิสูจน์กอ่ นดำ� เนินการ ทางกฎหมายไดห้ รือไม่ ตอบ : กรณีทพี่ บยาผดิ มาตรฐาน กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์จะรายงานผล วิเคราะห์ไปยังส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เพื่อพิจารณาด�ำเนิน การตรวจสอบตามระบบประกันคุณภาพยา โดยอาจสุ่มตัวอย่างจาก re- tained sample ของผ้ผู ลิต ส่งให้ส�ำนักยาและวัตถุเสพติด กรมวทิ ยาศาสตร์ การแพทย์ตรวจวิเคราะห์ยืนยันคุณภาพ ถ้ายังพบผิดมาตรฐานจึงมีการ ด�ำเนนิ การตามกฎหมาย 12 เหตใุ ด GREEN BOOK ไม่ระบุหมายเลขโทรศพั ท์ รูปภาพ ผลิตภณั ฑ์ยาและขอ้ มูลราคายา เพ่อื เป็นข้อมูลส�ำหรบั การจดั ซือ้ ตอบ : สำ� นกั ยาและวัตถเุ สพติด กรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ มบี ทบาทหน้าท่ี ในการประกันคุณภาพยาและสื่อสารข้อมูลคุณภาพผลิตภัณฑ์ยาให้หน่วย งานทีเ่ กยี่ วข้องทราบเพื่อน�ำไปใชป้ ระโยชน์ต่อไป การระบขุ อ้ มูลดงั กลา่ วตาม ท่ีโรงพยาบาลเสนอมา อาจเป็นการสง่ เสรมิ การขายใหก้ บั ผผู้ ลติ บางรายได้ 13 ท�ำไม GREEN BOOK ไม่มีข้อมูลผลติ ภณั ฑย์ าทผ่ี ิดมาตรฐาน ตอบ : ตาม พ.ร.บ.ยา พ.ศ. 2510 (และฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม) ระบวุ ่า กรณที ่ี ตัวอย่างยาผิดมาตรฐาน ต้องมีการตรวจติดตามเพื่อยืนยันผลดังกล่าวและ ผ่านกระบวนการทางกฎหมายสิ้นสุดแล้วโดยส�ำนักงานคณะกรรมการ อาหารและยาเป็นผ้ดู �ำเนนิ การ จึงจะสามารถเผยแพร่สู่สาธารณะได้ อยา่ งไร ก็ตามในส่วนที่เข้ามาตรฐาน สามารถเผยแพร่ได้ตาม พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร ของราชการ พ.ศ. 2540 ซึ่งกรมวทิ ยาศาสตร์การแพทย์ไดเ้ ผยแพร่ในรูปแบบ หนังสือ GREEN BOOK 413

GREEN BOOK 2018 14 GREEN BOOK ไมส่ ามารถน�ำมาอา้ งอิงได้ เพราะไมค่ รอบคลุมทุกบริษทั ตอบ : การด�ำเนินโครงการประกันคุณภาพยายังมีข้อจ�ำกัดของการสุ่ม ตวั อยา่ งยาได้ไมค่ รอบคลุมทกุ ผผู้ ลติ คอื ผลิตภณั ฑย์ าของผูผ้ ลิตนั้นไมม่ ใี ชใ้ น โรงพยาบาลในช่วงเวลาที่สุ่มตัวอย่าง หรือไม่ได้รับข้อมูลผลิตภัณฑ์ยาจาก โรงพยาบาลทุกแห่ง เน่ืองจากขอความร่วมมือตามความสมัครใจของ โรงพยาบาลรัฐท่ัวประเทศประมาณ 1,000 แห่ง แต่ได้รับความร่วมมือจาก โรงพยาบาลในการให้ข้อมูลและส่งผลิตภัณฑ์ยาตรวจวิเคราะห์ประมาณ 100 - 200 แห่ง ทั้งนี้จึงขอความร่วมมือจากโรงพยาบาลเข้าร่วมโครงการฯ สง่ ผลิตภณั ฑย์ าตรวจวเิ คราะห์ ซง่ึ กรมวิทยาศาสตร์การแพทยไ์ ด้เพมิ่ ช่องทาง เพื่อเพ่ิมโอกาสรับตัวอย่างผลิตภัณฑ์ยาให้ครอบคลุมมากข้ึน โดยเพิ่มระยะ เวลาในการสุ่มตัวอย่างผลิตภัณฑ์ยา และขอสุ่มตัวอย่างยาจากโรงพยาบาล รอบสอง รวมถงึ ประสานงานกบั สมาคมไทยอตุ สาหกรรมผลิตยาแผนปัจจบุ นั (TPMA) และสมาคมผู้วิจัยและผลิตเภสัชภัณฑ์ (PReMA) เพ่ือขอข้อมูลการ กระจายยาไปยังแหล่งต่าง ๆ และขอสุ่มตัวอย่างยาเพิ่มเติม หรือจัดท�ำ โครงการร่วมกับส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา เพื่อได้รับตัวอย่าง ยาครอบคลุมมากข้ึน 15 ภาพรวมคุณภาพผลติ ภณั ฑย์ าในโครงการแต่ละปี เปน็ อยา่ งไร? ตอบ : จากข้อมูลการตรวจสอบคุณภาพยาที่ใช้ในโรงพยาบาลตามโครงการ ประกันคุณภาพยาของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ผ่านมา พบว่ายาเข้า มาตรฐานมีแนวโน้มสูงขึ้นในแต่ละปีดังกราฟด้านล่าง โดยในปีงบประมาณ 2553 ตรวจพบยาเขา้ มาตรฐานร้อยละ 87.3 และเพมิ่ ขึ้นอยา่ งต่อเน่อื งทุกปี จนถึงร้อยละ 99.2 ในปี 2559 อย่างไรก็ดปี ีงบประมาณ 2560 พบวา่ ร้อยละ ของยาเข้ามาตรฐานลดลงเล็กน้อยเป็นร้อยละ 95.7 เน่ืองจากกรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์จะพิจารณารายการยาที่เคยพบผิดมาตรฐานเพ่ือทบทวนคุณภาพซ�้ำ 414

GREEN BOOK 2018 หรือเฝ้าระวังรายการยาที่ต�ำรายาฉบับปัจจุบันมีการปรับมาตรฐานท่ีเข้ม งวดขึ้น ตัวอย่างเช่นปีงบประมาณ 2560 รายการ Ibuprofen tablets ในตำ� รายา USP 39 ก�ำหนดใหต้ รวจวิเคราะห์ Impurities เพ่มิ อกี 2 ชนิด ซ่งึ จากเดิมกำ� หนดเพยี งชนิดเดียว ยาที่พบผิดมาตรฐานอาจเนื่องจากผูผ้ ลิต บางรายยังไม่ได้ควบคุมคุณภาพในข้อก�ำหนดที่เพ่ิมข้ึนดังกล่าว รวมถึงมี การคัดเลือกรายการยาที่เคยพบปัญหาคุณภาพเพ่ือทบทวนซ�้ำหลาย รายการ จึงพบว่าร้อยละของยาเข้ามาตรฐานลดลงเล็กน้อย เนื่องจาก เป็นการตรวจวิเคราะห์รายการท่ีแนวโน้มมีปัญหาคุณภาพ ดังนั้นตัวเลข แสดงยาเข้ามาตรฐานอาจแกว่งตัวไดใ้ นแต่ละปี ข้นึ กับนโยบายการคดั เลือก รายการยาเขา้ โครงการฯเพ่อื ตรวจวิเคราะห์ รอ้ ยละการตรวจพบยาเขา้ มาตรฐานในโครงการประกันคุณภาพยา 415

GREEN BOOK 2018 มีข้อสังเกตคือตัวอย่างท่ีพบผิดมาตรฐานมีลักษณะเปล่ียนแปลงจาก อดตี เช่น เดิมเคยพบยาผิดมาตรฐานหัวข้อตัวยาส�ำคญั ถงึ ขั้นยาปลอมหรือ ผิดมาตรฐานการละลายของตัวยาส�ำคัญในทุกรุ่นผลิตของผู้ผลิตเฉพาะ ราย ในปจั จบุ นั การผิดมาตรฐานจะเปน็ ลักษณะเกอื บจะเขา้ มาตรฐานและ เปน็ เฉพาะรนุ่ ผลิต แสดงถึงการพัฒนาของอตุ สาหกรรมยาภายในประเทศ ในช่วงเวลาท่ีผ่านมา แต่ผู้ผลิตพึงต้องรักษามาตรฐานการผลิตท่ีดีและ ระมัดระวังในทุกกระบวนการ เพ่ือให้ยามีคุณภาพสม�่ำเสมอ สร้างความ ม่ันใจแก่ประชาชนและผู้ส่ังใช้ยาว่าจะได้รับยาที่มีคุณภาพตามมาตรฐาน สากล กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ซึ่งเป็นหน่วยงานเฝ้าระวังและคุ้มครอง ผู้บริโภค อีกทั้งเป็นห้องปฏิบัติการอ้างอิงของประเทศ จะไม่หยุดนิ่ง และ ก้าวทันเทคโนโลยีการตรวจวิเคราะห์ท่ีมีความก้าวหน้า มีการค้นพบและ พัฒนาความรู้ใหม่ ๆ ตลอดเวลา โดยมุ่งม่ันพัฒนาเพ่ือเป็นองค์กรท่ีสร้าง ความเช่ือมนั่ และเปน็ ที่พงึ่ ให้แกป่ ระชาชน 416

GREEN BOOK 2018 รายชอื่ ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการประกนั คุณภาพยา กรมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ ณ ปีงบประมาณ 2560 ศนู ยว์ ิทยาศาสตรก์ ารแพทยท์ ่ี : ผอู้ �ำนวยการ วทิ ยนนั ทน์ 1 เชยี งใหม่ : นายสังคม ปราสาททอง 1/1 เชียงราย : นายวิชัย รัตนเดชานาคนิ ทร์ 2 พิษณุโลก : วา่ ทร่ี อ้ ยตรีณฐั พัชร ์ ว่องวไิ ลรตั น์ 3 นครสวรรค์ : นางจินตนา ชัยสมบูรณพ์ ันธ์ 5 สมุทรสงคราม : นางศริ ิวรรณ ทนนั ขัติ 6 ชลบุรี : นายอรัญ ปราสาททอง 7 ขอนแกน่ : นางเลขา บุญยรักษโ์ ยธนิ 8 อดุ รธาน ี : นางสาวเกษร กิติรตั น์ตระการ 9 นครราชสมี า : นายบรรจง ฝอยหิรัญ 10 อุบลราชธาน ี : ดร.กมล อนลุ กั ขณาปกรณ์ 11 สุราษฎรธ์ านี : นางสาวกัลยา สุพรรณ 11/1 ภเู กต็ : นางสาวอรทัย เสาวรญั 12 สงขลา : นางสาวธาริยา อุปพงษ์ 12/1 ตรงั : นายบลั ลงั ก์ 417

GREEN BOOK 2018 คณะวชิ าการโครงการประกนั คุณภาพยา และการจดั ทำ� หนังสอื GREEN BOOK 1. นางสาวสรุ ัชน ี เศวตศิลา ผอู้ �ำนวยการส�ำนักยาและวัตถเุ สพตดิ 2. นางสาวสุภาณ ี ดวงธรี ปรชี า เภสชั กรเชี่ยวชาญ 3. นางขวัญฤดี ลิ้มทองเจริญ เภสชั กรชำ� นาญการพเิ ศษ 4. นายสมศกั ดิ ์ สุนทรพาณชิ ย ์ เภสัชกรชำ� นาญการพิเศษ 5. นางวภิ าพรรณ ไสยสมบัติ เภสัชกรชำ� นาญการพิเศษ 6. นางศศดิ า อยสู่ ุข เภสชั กรช�ำนาญการพเิ ศษ 7. นางสาวจริ านุช แจ่มทวีกลุ เภสัชกรช�ำนาญการพิเศษ 8. นางปฏิมา มณีสถติ ย ์ เภสัชกรช�ำนาญการพเิ ศษ 9. นางสาวลัดดา พูลสวัสดิ ์ เภสชั กรชำ� นาญการพิเศษ 10. นางสาวบญุ ฑรกิ า บุญญาภิวัฒน ์ เภสชั กรชำ� นาญการพเิ ศษ 11. นางณปภา สริ ิศุภกฤตกุล เภสัชกรช�ำนาญการพิเศษ 12. นางสาวมาศวลยั ลขิ ิตธนเศรษฐ ์ เภสชั กรชำ� นาญการพเิ ศษ 13. นางสาวโสมขจ ี หงษ์ทอง เภสชั กรชำ� นาญการพเิ ศษ 14. นางปวณี า เจริญสิทธิ ์ นักวิทยาศาสตร์การแพทยช์ ำ� นาญการพิเศษ 15. นางสาวจันทนา พฒั นเภสชั เภสัชกรช�ำนาญการ 418

ดรรชนี GREEN BOOK 2018

GREEN BOOK 2018 ดรรชนี GREEN BOOK 2018 หนา้ 2 ช่ือสามัญทางยาและรปู แบบยา (generic name and dosage form) 3 4 Abacavir tablets 5 Acetazolamide tablets 6 Acetylcysteine (N-acetylcysteine) sterile solution 8 Acyclovir eye ointment 9 Acyclovir tablets 10 Adenosine sterile solution 11 Albendazole suspension 12 Albendazole tablets 13 Alendronate sodium tablets 15 Allopurinol tablets 16 Alprazolam tablets 17 Amikacin sulfate sterile solution 18 Aminophylline sterile solution 19 Aminophylline tablets 20 Amiodarone hydrochloride tablets 21 Amitriptyline hydrochloride tablets 23 Amlodipine besilate tablets 24 Amoxicillin trihydrate + Potassium clavulanate dry syrup 26 Amoxicillin trihydrate + Potassium clavulanate sterile powder 28 Amoxicillin trihydrate + Potassium clavulanate tablets 30 Amoxicillin trihydrate capsules 31 Amoxicillin trihydrate dry syrup 32 Amphotericin B sterile powder 33 Ampicillin sodium + Sulbactam sodium sterile powder Ampicillin sodium sterile powder Ampicillin trihydrate capsules 420

GREEN BOOK 2018 ดรรชนี GREEN BOOK 2018 ชอ่ื สามญั ทางยาและรปู แบบยา (generic name and dosage form) หน้า Antacid suspension (Aluminium hydroxide + Magnesium hydroxide) 34 Aspirin tablets 35 Atenolol tablets 36 Atorvastatin tablets 37 Atropine sulfate eye drop 38 Atropine sulfate sterile solution 39 Azathioprine tablets 40 Azithromycin capsules 41 Azithromycin dry syrup 42 Baclofen tablets 43 Beclometasone dipropionate inhaler 44 Betamethasone dipropionate cream/ointment 45 Betamethasone valerate cream 46 Bezafibrate tablets 47 Bisacodyl enteric coated tablets 48 Bisacodyl rectal suppositories 49 Bisoprolol fumarate tablets 50 Calcium carbonate tablets 51 Calcium gluconate sterile solution 52 Captopril tablets 53 Carbamazepine oral suspension 54 Carbamazepine tablets 55 Carvedilol tablets 56 Cefaclor monohydrate capsules 57 Cefaclor monohydrate suspension 58 Cefalexin (Cephalexin) capsules 59 421

GREEN BOOK 2018 ดรรชนี GREEN BOOK 2018 หนา้ 61 ช่อื สามัญทางยาและรปู แบบยา (generic name and dosage form) 62 63 Cefalexin (Cephalexin) dry syrup 64 Cefazolin sodium sterile powder 65 Cefdinir capsules 66 Cefixime dry syrup 67 Cefoperazone sodium + Sulbactam sodium sterile powder 68 Cefotaxime sodium sterile powder 69 Cefoxitin sodium sterile powder 70 Ceftazidime sterile powder 71 Ceftriaxone sodium sterile powder 72 Cefuroxime axetil dry syrup 73 Cefuroxime axetil tablets 74 Cefuroxime sodium sterile powder 75 Cetirizine hydrochloride tablets 76 Chloramphenicol ear drop 77 Chloramphenicol eye drop 78 Chloramphenicol sodium succinate sterile powder 79 Chlordiazepoxide hydrochloride capsules/tablets 80 Chloroquine phosphate tablets 81 Chlorpheniramine maleate syrup 82 Chlorpheniramine maleate tablets 83 Chlorpromazine hydrochloride sterile solution 84 Chlorpromazine hydrochloride tablets 85 Chlorpropamide tablets 86 Cilostazol tablets Cimetidine tablets Ciprofloxacin hydrochloride tablets 422

GREEN BOOK 2018 ดรรชนี GREEN BOOK 2018 ช่อื สามัญทางยาและรูปแบบยา (generic name and dosage form) หนา้ Ciprofloxacin lactate sterile solution 88 Clarithromycin dry syrup 89 Clarithromycin tablets 90 Clindamycin hydrochloride capsules 91 Clindamycin phosphate sterile solution 92 Clobetasol propionate cream/ointment 93 Clobetasol propionate solution 94 Clofazimine capsules 95 Clomipramine hydrochloride tablets 96 Clonazepam tablets 97 Clonidine hydrochloride tablets 98 Clopidogrel bisulfate tablets 99 Clotrimazole cream 100 Clotrimazole vaginal tablets 101 Cloxacillin sodium capsules 103 Cloxacillin sodium dry syrup 104 Cloxacillin sodium sterile powder 105 Clozapine tablets 106 Colchicine tablets 107 Colistimethate sodium sterile powder 108 Co-trimoxazole (Sulfamethoxazole + Trimethoprim) oral suspension 109 Co-trimoxazole (Sulfamethoxazole + Trimethoprim) tablets 110 Cycloserine capsules 112 Cyproheptadine hydrochloride tablets 113 Dapsone tablets 115 Desoximetasone cream 116 423

GREEN BOOK 2018 ดรรชนี GREEN BOOK 2018 ช่ือสามัญทางยาและรูปแบบยา (generic name and dosage form) หน้า Dexamethasone (as sodium phosphate or acetate) sterile solution 117 Dexamethasone tablets 118 Dextromethorphan hydrobromide syrup 119 Dextrose sterile solution 120 Diazepam sterile solution 121 Diazepam tablets 122 Diclofenac diethylammonium gel 123 Diclofenac sodium enteric coated tablets 124 Diclofenac sodium sterile solution 126 Dicloxacillin sodium capsules 127 Dicloxacillin sodium dry syrup 129 Dicycloverine (Dicyclomine) hydrochloride syrup 130 Dicycloverine (Dicyclomine) hydrochloride tablets 131 Diethylcarbamazine citrate tablets 132 Digoxin tablets 133 Diltiazem hydrochloride tablets 134 Dimenhydrinate sterile solution 135 Dimenhydrinate syrup 136 Dimenhydrinate tablets 137 Diphenhydramine hydrochloride capsules 138 Dipotassium clorazepate capsules 139 Dipyridamole sterile solution 140 Dobutamine hydrochloride sterile solution 141 Domperidone (as base or maleate) oral suspension 142 Domperidone (as base or maleate) tablets 143 Donepezil hydrochloride tablets 144 424

GREEN BOOK 2018 ดรรชนี GREEN BOOK 2018 หน้า 145 ช่อื สามญั ทางยาและรูปแบบยา (generic name and dosage form) 146 148 Dopamine hydrochloride sterile solution 149 Doxazosin mesilate tablets 150 Doxycycline hydrochloride capsules 151 Efavirenz tablets 152 Enalapril maleate tablets 153 Epinephrine (Adrenaline) sterile solution 154 Ergotamine tartrate + Caffeine tablets 155 Erythromycin (as stearate, estolate, ethylsuccinate) dry syrup 157 Erythromycin stearate tablets 158 Erythropoietin (Epoetin) sterile powder/solution 159 Ethambutol hydrochloride tablets 160 Ethinylestradiol + Levonorgestrel tablets 161 Ethionamide tablets 162 Famotidine tablets 163 Fenofibrate capsules/tablets 164 Fentanyl citrate sterile solution 165 Ferrous fumarate tablets 166 Fexofenadine hydrochloride tablets 167 Finasteride tablets 168 Flecainide acetate tablets 169 Fluconazole capsules 170 Fludrocortisone acetate tablets 171 Fluocinolone acetonide cream 172 Fluorometholone eye suspension Fluoxetine hydrochloride capsules/tablets Fluphenazine decanoate sterile solution 425

GREEN BOOK 2018 ดรรชนี GREEN BOOK 2018 หนา้ 173 ชื่อสามญั ทางยาและรูปแบบยา (generic name and dosage form) 174 175 Folic acid tablets 176 Furosemide sterile solution 178 Furosemide tablets 180 Gabapentin capsules/tablets 181 Gemfibrozil capsules/tablets 182 Gentamicin sulfate cream 183 Gentamicin sulfate sterile solution 184 Glibenclamide tablets 185 Gliclazide tablets 186 Glipizide tablets 187 Glucosamine sulfate capsules 188 Glucosamine sulfate powder 189 Griseofulvin tablets 190 Glyceryl guaiacolate (Guaifenesin) syrup 191 Glyceryl guaiacolate (Guaifenesin) tablets 192 Haloperidol oral solution 193 Haloperidol sterile solution 194 Haloperidol tablets 195 Hydralazine hydrochloride tablets 196 Hydrochlorothiazide tablets 197 Hydrochlorothiazide + Amiloride hydrochloride tablets 198 Hydrocortisone acetate cream 199 Hydrocortisone sodium succinate sterile powder 200 Hydroxychloroquine sulfate tablets Hydroxyzine hydrochloride syrup Hydroxyzine hydrochloride tablets 426

GREEN BOOK 2018 ดรรชนี GREEN BOOK 2018 หน้า 201 ชื่อสามญั ทางยาและรปู แบบยา (generic name and dosage form) 202 203 Hyoscine butylbromide tablets 205 Ibuprofen oral suspension/syrup 206 Ibuprofen tablets 207 Imipenem + Cilastatin sodium sterile powder 208 Imipramine hydrochloride tablets 209 Indomethacin capsules 210 Insulin (human) sterile solution/suspension 211 Irbesartan tablets 212 Isoniazid tablets 213 Isosorbide dinitrate sublingual tablets 214 Isosorbide dinitrate tablets 215 Isosorbide mononitrate tablets 216 Isotretinoin capsules 217 Isotretinoin cream 218 Ketamine hydrochloride sterile solution 219 Ketoconazole tablets 220 Levodopa + Carbidopa monohydrate tablets 221 Levofloxacin sterile solution 222 Levofloxacin tablets 223 Levonorgestrel tablets 224 Levothyroxine sodium (L-thyroxine sodium) tablets 225 Lidocaine hydrochloride sterile solution 226 Lincomycin hydrochloride sterile solution 227 Lisinopril dihydrate tablets Lithium carbonate capsules Loperamide hydrochloride capsules 427

GREEN BOOK 2018 ดรรชนี GREEN BOOK 2018 หนา้ 228 ช่อื สามญั ทางยาและรปู แบบยา (generic name and dosage form) 230 232 Loratadine tablets 233 Lorazepam tablets 234 Losartan potassium tablets 235 Losartan potassium + Hydrochlorothiazide tablets 236 Magnesium sulfate sterile solution 237 Mannitol sterile solution 238 Mebendazole suspension 239 Mebendazole tablets 240 Mebeverine hydrochloride tablets 241 Medroxyprogesterone acetate sterile suspension 242 Medroxyprogesterone acetate tablets 243 Mefenamic acid capsules 244 Meloxicam tablets 246 Meropenem sterile powder 247 Metformin hydrochloride tablets 248 Methocarbamol tablets 249 Methyldopa tablets 250 Metoclopramide sterile solution 251 Metoclopramide tablets 252 Metoprolol tartrate tablets 253 Metronidazole sterile solution 254 Metronidazole tablets 255 Miconazole nitrate cream 256 Minoxidil tablets Mometasone furoate cream Mupirocin ointment 428

GREEN BOOK 2018 ดรรชนี GREEN BOOK 2018 หน้า 257 ชื่อสามัญทางยาและรูปแบบยา (generic name and dosage form) 258 259 Naproxen tablets 260 Neomycin sulfate tablets 261 Neostigmine methylsulfate sterile solution 262 Netilmicin sulfate sterile solution 263 Nevirapine tablets 264 Niclosamide tablets 265 Nicotinic acid (Niacin) tablets 266 Nifedipine capsules 267 Nifedipine extended release tablets 268 Nimodipine tablets 269 Nitrazepam tablets 270 Norepinephrine (as bitartrate or hydrochloride) sterile solution 272 Norethisterone tablets 273 Norfloxacin tablets 274 Nortriptyline hydrochloride tablets 275 Nystatin oral suspension 277 Nystatin vaginal tablets 278 Ofloxacin tablets 279 Omeprazole capsules 280 Omeprazole sodium sterile powder 281 Ondansetron (as base or hydrochloride) tablets 282 Ondansetron hydrochloride sterile solution 283 Oseltamivir phosphate capsules 284 Oxymetholone tablets Oxytocin sterile solution Pamidronate disodium sterile solution 429

GREEN BOOK 2018 ดรรชนี GREEN BOOK 2018 หนา้ 285 ช่ือสามญั ทางยาและรูปแบบยา (generic name and dosage form) 286 287 Pantoprazole sodium delayed release tablets 288 Pantoprazole sodium sterile powder 290 Paracetamol sterile solution 291 Paracetamol suspension/syrup 292 Paracetamol tablets 293 Penicillin G sodium sterile powder 294 Penicillin V potassium dry syrup 295 Penicillin V potassium tablets 296 Perindopril tablets 297 Peritoneal dialysis solution 298 Perphenazine tablets 299 Phenobarbital tablets 300 Phenytoin sodium capsules/tablets 301 Phenytoin sodium sterile solution 302 Pilocarpine (as hydrochloride or nitrate) eye drop 303 Pimozide tablets 304 Pioglitazone hydrochloride tablets 305 Piperacillin sodium + Tazobactam sodium sterile powder 306 Piroxicam capsules 307 Pizotifen maleate tablets 308 Potassium chloride sterile solution 310 Praziquantel tablets 311 Prazosin hydrochloride tablets 312 Prednisolone acetate eye suspension Prednisolone tablets Probenecid tablets 430

GREEN BOOK 2018 ดรรชนี GREEN BOOK 2018 ชอ่ื สามญั ทางยาและรูปแบบยา (generic name and dosage form) หนา้ Propranolol hydrochloride tablets 313 Propylthiouracil tablets 314 Pseudoephedrine hydrochloride tablets 315 Pseudoephedrine hydrochloride + Triprolidine hydrochloride tablets 316 Pyrazinamide tablets 317 Pyridostigmine bromide tablets 318 Pyrimethamine tablets 319 Quinapril hydrochloride tablets 320 Quinine sulfate tablets 321 Ramipril capsules/tablets 322 Ranitidine hydrochloride sterile solution 323 Ranitidine hydrochloride tablets 324 Rifampicin capsules/tablets 325 Rifampicin + Isoniazid capsules/tablets 326 Rifampicin + Isoniazid + Pyrazinamide tablets 327 Rifampicin + Isoniazid + Pyrazinamide + 328 Ethambutol hydrochloride tablets Risperidone oral solution 329 Rivastigmine tartrate capsules 330 Roxithromycin tablets 331 Salbutamol sulfate inhaler 333 Salbutamol sulfate tablets 334 Selegiline hydrochloride tablets 335 Sertraline tablets 336 Sildenafil citrate tablets 337 Simvastatin tablets 338 431

GREEN BOOK 2018 ดรรชนี GREEN BOOK 2018 หนา้ 340 ชอ่ื สามัญทางยาและรูปแบบยา (generic name and dosage form) 341 342 Sodium bicarbonate sterile solution 343 Sodium bicarbonate tablets 344 Sodium chloride sterile solution 345 Sodium valproate oral solution 346 Sodium valproate sterile powder 347 Sodium valproate tablets 348 Spironolactone tablets 349 Stavudine capsules 350 Stavudine dry syrup 351 Stavudine + Lamivudine + Nevirapine tablets 352 Streptomycin sulfate sterile powder 353 Sulfadiazine tablets 354 Sulfasalazine tablets 355 Tenoxicam tablets 356 Terbutaline sulfate sterile solution 357 Terbutaline sulfate tablets 358 Theophylline sustained release capsules/tablets 359 Theophylline tablets (prompt release) 360 Thiamazole (Methimazole) tablets 361 Thioridazine hydrochloride tablets 362 Ticlopidine hydrochloride capsules/tablets 363 Timolol maleate eye drop 365 Tolperisone hydrochloride tablets 366 Tramadol hydrochloride capsules Tramadol hydrochloride sterile solution Tranexamic acid sterile solution 432

GREEN BOOK 2018 ดรรชนี GREEN BOOK 2018 หนา้ 367 ชอื่ สามญั ทางยาและรปู แบบยา (generic name and dosage form) 368 370 Trazodone hydrochloride tablets 371 Triamcinolone acetonide cream 372 Triamcinolone acetonide dental paste 373 Triamcinolone acetonide lotion 374 Triamcinolone acetonide topical aerosol 375 Trifluoperazine hydrochloride tablets 376 Trihexyphenidyl hydrochloride tablets 377 Trospium chloride tablets 378 Valsartan tablets 379 Vancomycin hydrochloride sterile powder 380 Verapamil hydrochloride tablets 381 Verapamil sterile solution 382 Vitamin BC1s(tTehriilaemsionleu)tsiotenr ile solution 383 Vitamin 384 VWitaarmfarininKs1o(dPihuymtotmabelneatsd ione) sterile solution Zidovudine capsules 433


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook