คูม่ อื กดจุดสะท้อนเท้า (Foot Reflexology) เพอ่ื สขุ ภาพผสู้ งู อายุ 3. ระบบประสาทการสัมผสั อาการทพ่ี บบ่อย ไดแ้ ก่ อาการ หอู อื้ มีเสียงในหู น้ำ� ในหไู มเ่ ท่ากนั อาการตาลายตาพรา่ มวั กลไก : เป็นการไปกระตุ้นการท�ำงานของระบบ ประสาทสมั ผัส สง่ ผลให้เซลล์การรบั ความรูส้ ึกต่าง ๆ ได้แก่ ตา หู จมกู ล้ิน ผวิ หนังหรือผิวกาย ทำ� งานไดด้ ขี ึน้ กลับคืนสู่ ภาวะปกติ จงึ ลดอาการตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขึน้ ได้ 4. ระบบประสาทฮอร์โมน อาการทพ่ี บบ่อย ไดแ้ ก่ วัยทอง ลดความอว้ น กลไก : ฮอรโ์ มนเป็นสารเคมีทรี่ ่างกายมนษุ ยส์ ร้างข้นึ มาเพอื่ ใชส้ อื่ สารและทำ� หนา้ ทรี่ ว่ มกบั อวยั วะตา่ ง ๆ ในรา่ งกาย โดยฮอร์โมนจะหล่ังออกมาจากต่อมไร้ท่อ และซึมเข้าสู่ เสน้ เลอื ดจากนนั้ จะอาศยั ระบบการไหลเวยี นของกระแสเลอื ด ส่งต่อไปยังเซลล์หรืออวัยวะต่าง ๆ ของร่างกายการกระตุ้น ระบบประสาทฮอร์โมน จึงทำ� ใหเ้ กดิ ภาวะสมดุลของรา่ งกาย ไดท้ ุกระบบโดยเฉพาะระบบสืบพนั ธ์ุ กองการแพทยท์ างเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก 44 กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือ กดจดุ สะท้อนเท้า (Foot Reflexology) เพือ่ สขุ ภาพผู้สูงอายุ 5. ระบบโครงสร้างกระดกู และไขสันหลัง อาการที่พบบอ่ ย ไดแ้ ก่ ปวดคอปวดหลงั ปวดเอว ปวดกน้ กบ กลไก : กระดกู เปน็ โครงสรา้ งสำ� คญั ทช่ี ว่ ยรองรบั อวยั วะ ตา่ ง ๆ ภายในรา่ งกายไมใ่ หไ้ ดร้ บั อนั ตรายอกี ทง้ั ทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ แกนกลางคำ้� จนุ รา่ งกายเปน็ สว่ นทใ่ี ชเ้ คลอ่ื นไหว ภายในกระดกู มีไขกระดูกท�ำหน้าที่ผลิตเม็ดเลือด และเป็นที่เก็บแร่ธาตุ ในร่างกายการกระตุ้นปรับโครงสร้างกระดูกไขสันหลัง จึงเป็นการปรับสมดลุ ร่างกาย 6. ระบบประสาทการเคล่ือนไหว อาการที่พบบ่อย ได้แก่ ปวดบา่ ไหล่ สะบกั ปวด สะโพก ปวดเขา่ กลไก : ระบบประสาทการเคลื่อนไหวเป็นระบบที่ ควบคุมการเคล่ือนไหวของร่างกาย ซึ่งการเคลื่อนไหวของ รา่ งกาย เปน็ ไปตามการทำ� งาน ของกลา้ มเนอื้ ในการเคลอ่ื นไหว ทั้งที่ข้ึนอยู่กับอ�ำนาจจิตใจ และท่ีอยู่นอกอ�ำนาจจิตใจ (ปฏกิ ริ ยิ าอตั โนมตั )ิ กดจดุ สะทอ้ นเทา้ จงึ ไปชว่ ยใหก้ ารทำ� งาน ของระบบการเคล่ือนไหวของร่างกายได้ดเี ปน็ ปกติ กองการแพทย์ทางเลอื ก 45 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ
คู่มือ กดจุดสะทอ้ นเท้า (Foot Reflexology) เพ่ือสขุ ภาพผูส้ ูงอายุ 7. ระบบภูมิต้านทาน/น�้ำเหลือง อาการที่พบบ่อย ได้แก่ ภูมแิ พ้ทว่ั ไป หวัด กลไก : ระบบภมู ติ า้ นทานหรอื ระบบภมู คิ มุ้ กนั ทำ� หนา้ ที่ ปกป้องร่างกายจากเช้ือโรคและส่ิงแปลกปลอมต่าง ๆ ผ่าน ทางเซลล์เม็ดเลือดขาว ซ่ึงสร้างจากอวัยวะหลายส่วนของ รา่ งกายตอ่ มนำ�้ เหลอื งเปน็ ตอ่ มทกี่ ระจายอยตู่ ามทอ่ นำ้� เหลอื ง เปน็ แหลง่ เกบ็ เมด็ เลอื ดขาวจำ� นวนมากไว้ และทำ� หนา้ ทกี่ รอง เชื้อโรคและส่ิงแปลกปลอม การกดจุดสะท้อนเท้าจึงกระตุ้น ใหก้ ารทำ� งานของอวยั วะตา่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ้ งทำ� งานดขี นึ้ สง่ ผล ใหภ้ มู คิ ้มุ กนั ในรา่ งกายเพ่ิมข้นึ เช่นกนั ขอ้ ควรระวังการกดจุดสะท้อนเท้า 1. ไมน่ วดในรายทมี่ ไี ขส้ งู ผปู้ ว่ ยความดนั โลหติ สงู มาก ๆ หรือผ้ปู ว่ ยหอบหดื 2. ไม่ควรนวดหลังรับประทานอาหารทันที ควรนวด ภายหลังอย่างนอ้ ย 1 ช่ัวโมง 3. ไม่นวดในรายท่ีได้รับอุบัติเหตุบริเวณเท้า เช่น กระดูกหกั ข้อเคลือ่ น แผลเปิด ภาวะทมี่ เี ลอื ดออก กองการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 46 กระทรวงสาธารณสขุ
ค่มู อื กดจุดสะทอ้ นเทา้ (Foot Reflexology) เพือ่ สุขภาพผู้สงู อายุ 4. ไมค่ วรนวดระหวา่ งทผ่ี ถู้ กู นวดมปี ระจำ� เดอื น เพราะ อาจจะท�ำใหป้ ระจ�ำเดือนมามากกวา่ ปกติ 5. ระมัดระวังในการนวดผูป้ ว่ ยโรคเบาหวาน ผ้สู งู อายุ หรือผู้ที่มีผิวหนังบอบบางมากเป็นพิเศษ เพราะจะท�ำให้เกิด ภาวะแทรกซ้อนได้ ข้อห้ามในการกดจดุ สะทอ้ นเทา้ 1. ผู้ป่วยมะเร็งผิวหนงั 2. ผปู้ ่วยโรคตดิ เชื้อเฉียบพลัน 3. เสน้ เลอื ดดำ� และทางเดนิ นำ�้ เหลอื งอกั เสบเฉยี บพลนั 4. ผู้ป่วยที่เป็นเชอื้ ราทแ่ี พร่เชื้อ 5. ผู้ท่เี ท้าเจรญิ ผิดปกติ 6. ผู้ที่มีความเสยี่ งในขณะต้ังครรภ์และผู้ทต่ี ้งั ครรภ์ใน ระยะ 3 เดอื นแรก คำ�แนะนำ�หลงั การนวดกดจุดสะท้อนเท้า 1. ควรดมื่ นำ้� อนุ่ หรอื นำ�้ สมนุ ไพรตามอาการ กอ่ น-หลงั การนวดเพ่อื ขับของเสยี ออกจากร่างกาย 2. ไมค่ วรอาบน�้ำ สระผม ดื่มน้ำ� เย็น หรือลา้ งเทา้ ทนั ที หลงั การนวด ควรรออย่างน้อย 1 ชัว่ โมง กองการแพทย์ทางเลือก 47 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ
คมู่ อื กดจดุ สะท้อนเท้า (Foot Reflexology) เพือ่ สุขภาพผู้สูงอายุ ประโยชนข์ องการกดจดุ สะทอ้ นเท้า 1. กระตุ้นการไหลเวียนเลือด และปรับสมดุลของ อวัยวะภายในร่างกาย เช่น ลดอาการปวดศีรษะ/ไมเกรน ลดการตึงเครียด ผ่อนคลาย ลดปัญหาอาการนอนไม่หลับ เป็นต้น 2. กระตุ้นการไหลเวียนของระบบน�้ำเหลือง เช่น ลดการตงึ ตัวของกลา้ มเนื้อ การหายของแผลเรว็ ขึ้น เปน็ ต้น 3. ปรับสมดุลของร่างกาย ช่วยให้การท�ำงานของ ต่อมไร้ท่อในร่างกายอยู่ในภาวะที่ปกติ เช่น ลดอาการปวด ประจำ� เดือน ปรับฮอร์โมนใหส้ มดลุ ในวยั ทองและลดน้ำ� หนกั เปน็ ต้น 4. เพ่ิมการขับถ่ายของเสีย/ขจัดสารพิษออกจาก รา่ งกาย เชน่ ลดอาการท้องผูก ท้องอดื จดุ เสยี ด แน่นทอ้ ง ปสั สาวะผดิ ปกติ (ขดั แสบ กระปดิ กระปรอย) เปน็ ตน้ 5. ปรบั สมดลุ ระบบประสาทการเคลอ่ื นไหวของรา่ งกาย ลดอาการปวด เช่น ปวดคอ บ่า ไหล่ เอวสะโพก เขา่ เปน็ ตน้ 6. ปรับสมดุลระบบประสาทสัมผัสของร่างกาย เช่น ลดอาการหอู อ้ื ตาลาย เป็นตน้ 7. เพมิ่ ระบบภมู คิ มุ้ กนั ของรา่ งกายเชน่ ภมู แิ พ้ ออ่ นเพลยี หวัด เป็นต้น 8. ทำ� ให้ผู้สูงอายดุ ูอ่อนกวา่ วยั ชะลอความแก่ กระชุ่ม กระชวย กองการแพทย์ทางเลอื ก กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก 48 กระทรวงสาธารณสขุ
ค่มู ือ กดจุดสะทอ้ นเทา้ (Foot Reflexology) เพอื่ สุขภาพผู้สูงอายุ บรรณานุกรม ไกรสิงห์ รงุ่ โรจนส์ กลุ พร.2549. หนงั สือเรียน วชิ าการนวดกดจุดสะทอ้ นเทา้ (เพ่อื สุขภาพ) หลกั สตู ร 60 ชว่ั โมง. เอกสารประกอบการอบรมนวดกดจดุ สะทอ้ นเทา้ (อดั สำ� เนา). ราชบณั ฑิตยสถาน.2551. ขอความอนเุ คราะห์พจิ ารณาบญั ญตั ศิ พั ทแ์ ละความหมาย Foot Reflexology. หนังสือราชการท่ี รถ 0003/1808 ลงวันท่ี 22 ตลุ าคม 2551.ถึง ส�ำนักการแพทย์ทางเลอื ก. ลดาวัลย์ อุ่นประเสริฐพงศ์. 2551. นวด กดจุดฝ่าเท้า ที่ถูกหลักทางการแพทย์. เอกสาร ประกอบการอบรมการนวดกดจุดสะท้อนเท้า วันที่ 7-8 มิถุนายน 2551 ณ ไทยลดา กรุงเทพฯ. (อัดสำ� เนา) . วันเพ็ญ ปานยิ้ม. 2543. ผลของการนวดจุดฝ่าเท้าต่อความปวดและความทุกข์ทรมานใน ผู้ป่วยหลังผ่าตัดมดลูก ทางหน้าท้อง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. สาขา วิชาการพยาบาลผูใ้ หญ่ บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั มหิดล. ศรณั ยา หวงสุวรรณากร. 2546. ผลของการนวดกดจดุ สะทอ้ นทเ่ี ท้าต่อระดับความเจ็บปวด สัญญาณชพี และความพงึ พอใจในผปู้ ่วยหลงั ผา่ ตดั ชอ่ งทอ้ ง. วทิ ยานพิ นธ์ปรญิ ญา มหาบณั ฑิต. สาขาวิชาการ พยาบาลผู้ใหญ่ บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล. ศิราวัลย์ เหรา. 2546. ผลของการนวดและกดจุดสะท้อนที่เท้าต่ออาการปวดข้อในผู้ป่วย โรคข้อเข่าเสอ่ื ม. วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญามหาบัณฑติ . สาขาวชิ าการพยาบาลผใู้ หญ่ บัณฑิตวิทยาลยั . สธุ าทพิ เกษตรลกั ษม.ี ผลของโปรแกรมการใหข้ อ้ มลู กอ่ นผา่ ตดั รว่ มกบั การนวดกดจดุ สะทอ้ น ทเี่ ทา้ ดว้ ยนำ�้ มนั หอมระเหย ตอ่ กลมุ่ อาการไมส่ บาย ในผปู้ ว่ ยหลงั ผา่ ตดั หวั ใจแบบเปด็ . วทิ ยานพิ นธป์ ริญญา มหาบณั ฑติ . สาขาวชิ าการพยาบาลผูใหญ่ บัณฑิตวทิ ยาลัย จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . เสมียน ขันมั่น. 2544. ผลของการพยาบาลโดยการใช้วิธีการนวดเท้าในการร่วมรักษาต่อ อาการชาในผ้ปู ว่ ยเบาหวานชนดิ ไม่พ่ึงอินซูลิน. วทิ ยานิพนธป์ ริญญามหาบัณฑิต. สาขาวชิ าการพยาบาลผใู้ หญ่บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยมหิดล. กองการแพทยท์ างเลอื ก 49 กรมการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข
คมู่ อื กดจุดสะทอ้ นเท้า (Foot Reflexology) เพอ่ื สุขภาพผู้สงู อายุ Association of Reflexologist.2008. What is a Reflexology. Available:http//www. reflexology-Research. [2008, August 20] Beryl C.1988. Illustrated Elements of reflexology. Element Book Limited.London Chris S. 1966. Teach yourself reflexology. Transet Limited ,Conventry, England Clinical Reflexology: A Guide for inteqrated practice by Denise Tiran and Peter A Maekereth (63-72) 2011. Dougans, I. 1996. The complete Illustrated guide to reflexology therapeutic foot massage forhealth and well-being. USA: Element Books. Frankel, B. S. M. 1997. The effect of reflexology on baroreceptor reflex sensivity, blood pressure and sinus arrhythmia. Complementary Therapies Medicine 5: 80-84. Hulme, J., Waterman, H., and Hillier, V. F. 1 9 9 9 . The effect of foot massage on patients’ perception of care following laparoscopic sterilization as day case patients. Journal of Advanced Nursing 30(2): 460-468. Keane, A., McMenamin, E. M., and Polomano, R. C. 2002. Pain: The fifth vital sign. In Ignatavicius, D. D. and Workman, M. L. (Ed.), Medical-Surgical Nursing, Vol 1. 4th ed. (pp. 61-94). USA: W.B. Saunders Company. Kuhn, M. A. 1999. Complementary Therapies For Health Care Providers. USA: Lippincott Williams&Wilkins. Lockett, J. 1992. Reflexology-a nursing tool?. The Australian Nurses Journal 22(1) : 14-15. กองการแพทย์ทางเลือก กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 50 กระทรวงสาธารณสุข
Search