Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore dhamma_nachaleเกษียณอายุเท่าไหร่ดี

dhamma_nachaleเกษียณอายุเท่าไหร่ดี

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-07-27 10:43:38

Description: dhamma_nachaleเกษียณอายุเท่าไหร่ดี

Search

Read the Text Version

ประโยคทิ้งท้าย :  ความผิดพลาดในชีวติ บอ่ ยครง้ั เกดิ จากการดว่ นสรปุ หรือผลผี ลามตดั สิน  โดยไมส่ อบถาม หรอื ฟงั ผู้ท่เี ก่ยี วขอ้ งเสียก่อน รวมท้ังคาดเดาถึงทมี่ าที่ไปของมนั แตห่ ากเราตระหนกั หรือระลึกว่านั่นเป็นแค่ “ความคิด” ซ่ึงอาจผิดหรอื ถกู ก็ได้ เรากจ็ ะไม่ด่วนสรปุ ว่ามนั เป็น “ความจริง”  ทำใหพ้ ร้อมที่จะรับฟังขอ้ เท็จจรงิ หรือความเห็นที่ตา่ งออกไป อย่าเพิ่งดว่ นสรปุ ตัดสนิ ช้าลงสกั นดิ พงึ ระลึกว่าความจรงิ นน้ั เปน็ มากกว่าส่งิ ที่เห็นดว้ ยตา ไดย้ ินด้วยหู หรืออาจตรงข้ามกบั สิ่งที่คดิ ในใจกไ็ ด้  แม้จะมขี ้อสรุป กเ็ ผ่ือใจไวบ้ า้ งวา่ ความจริงอาจมิใชเ่ ป็นอย่างทีค่ ิด  ลองสอบถามหรือดูต่อไปสักนดิ   เราอาจเหน็ ความจรงิ อกี ดา้ นหน่ึงท่ีงดงามของคนท่เี รารกั \" \"พระไพศาล วิสาโล\" อบุ าสกิ า... ณชเล สมคั ร/ยกเลกิ รับอีเมลธ์ รรมะเช้าน้ีส่งอีเมล์มาที่ : [email protected]

ชวี ติ สอนอะไรเราบ้าง (พระไพศาล วสิ าโล)

ชวี ิตสอนอะไรเราบา้ ง บทเรยี นชวี ิตน้นั เราสามารถเรียนรูไ้ ด้จากหลายแหลง่   แต่ประสบการณข์ องผู้ใกลต้ าย  คนท่ีอยู่ ปลายสดุ ของชีวติ นั้นยอ่ มเห็นชวี ิตไดแ้ จ่มชัดมากทส่ี ุด  เขาไมเ่ พียงแตป่ ระจกั ษ์แก่ใจว่าว่าชีวติ นนั้ ไมเ่ ทีย่ ง  หากยงั เห็นว่าอะไรคอื สง่ิ ทมี่ คี ุณค่าอย่างแท้จรงิ ของชีวิต สำหรับคนท่ยี ังไกลโรคไกลความตาย แม้จะ “รู้” วา่ ชวี ติ น้ันมรี ะยะท่จี ำกัด แต่นั่นก็เปน็ แค่ “ความ คิด”  ยงั ไม่ “รูส้ ึก” หรอื ร้ซู ึ้งถึงใจ และบ่อยคร้ังกอ็ าจจะหลงลมื เพราะมวั เพลิดเพลินกบั ความสุขสนุกสนาน  หาไมก่ ็งว่ นอย่กู บั การแสวงหาทรัพย์สมบตั ิ  ชอ่ื เสยี ง และอำนาจ  เพราะคดิ วา่ นน่ั คือสงิ่ สำคัญท่ีสุดสำหรบั ชวี ติ    ตอ่ เมือ่ ใกลต้ ายจงึ รูค้ วามจริงว่าสิ่งเหลา่ น้ีไมส่ ามารถเป็นที่พง่ึ ทีแ่ ทจ้ รงิ ได้ คนที่ใกล้ตายน้ันไม่มใี ครเลยสักคนท่ี รอ้ งว่า “ขอใหฉ้ ันเป็นผจู้ ดั การ(หรอื รฐั มนตร)ี นานกว่าน”้ี หรือ “ขอใหฉ้ ันถกู รางวัลท่ี ๑ สกั คร้ังเถดิ ” เรามกั คดิ วา่ ชีวติ น้ันผดั ผ่อนได้ อกี ท้ังยังฝากความหวังไว้กบั วันพรุง่ นวี้ า่ ฉันจะมคี วามสขุ กวา่ นีแ้ น่ถ้า มเี งนิ มากกว่านี้หรอื มบี ้านหลงั ใหญก่ วา่ เดิม   แตค่ นใกล้ตายน้นั ร้ดู ีวา่ ชวี ิตนั้นผดั ผ่อนไมไ่ ด้อกี แลว้   และไม่ สามารถฝากความหวังไวก้ บั อนาคต  ถา้ ตอ้ งการความสขุ และชีวติ ทีไ่ พบูลยก์ ็ตอ้ งหาจากปัจจุบนั เดย๋ี วนแี้ ละตรง น้ี  นัน่ หมายถงึ การเปลีย่ นมุมมองจนเห็นแง่งามหรอื คุณคา่ ของสิง่ ที่มอี ย่แู ละเปน็ อยู่ ซ่ึงแตเ่ ดิมถูกมองข้ามไป เพราะไปจดจอ่ อยู่กับส่งิ นอกตัว หรือคอยคาดหวงั วา่ จะมีส่ิงที่ดีกว่ารออย่ขู า้ งหน้า ความตายนอกจากจะบงั คบั ใหเ้ ราหยุดไล่ล่าอนาคต และหนั มาเผชญิ หน้ากบั ปัจจบุ นั แลว้ ยงั อาจ ทำให้เราตื่นจากความหลง และพบวา่ สง่ิ พื้น ๆ สามญั น้นั ทรงคณุ ค่าอย่างยิง่   เช่น  ความดี ความรัก ความเออื้ อาทร รวมท้ังการรจู้ กั ตัวเอง  เม่อื ภาวะแตกดับใกล้มาถึง สิง่ เหลา่ น้ีสามารถนำพาชีวติ ท่ีเหลืออยู่ใหพ้ บกับความ สขุ และประคองใจให้ไปถึงท่ีสุดอยา่ งสงบ ไมม่ ีอะไรทีท่ ำใหค้ นเราประจักษแ์ จ้งถึงสัจธรรมได้ดีกวา่ ความตายและความพลดั พรากสูญเสยี   ใน มหาวทิ ยาลัยท่ชี ื่อว่าชีวิต   หลักสตู รสำคญั ทีส่ ดุ ก็คือความพลัดพรากสญู เสีย  ผู้ที่ผ่านหลกั สตู รนี้ได้ยอ่ มเรียกว่า “บัณฑติ ” ได้โดยแท้  แต่ส่วนใหญไ่ ม่สามารถผ่านหลักสตู รน้ีได้เพราะไม่สามารถเรยี นรู้อะไรเลยจากความ พลัดพรากสูญเสยี    ตอ่ เมอ่ื ความตายมาประชิดตัวจงึ คอ่ ยเห็นสัจธรรมและเขา้ ใจบทเรยี นชวี ิต เราไมจ่ ำเปน็ ต้องรอให้ความตายมาถงึ ตวั จึงคอ่ ยเกดิ ปญั ญา  เราสามารถเรียนรู้สจั ธรรมและบท เรียนชวี ิตโดยหมัน่ สดับฟังคำสอนจากผรู้ ้ ู หนงึ่ ในบรรดาผู้ร้กู ็คีอผใู้ กลต้ ายนนั่ เอง   เขาเหลา่ นนั้ เปน็ ครูทีส่ อนบท เรียนชีวิตที่ดที ี่สุดแก่เรา และบทเรยี นอย่างหนึ่งทีท่ รงคณุ คา่ ยง่ิ กค็ อื ความจรงิ ท่ีว่าในสถานการณท์ ่ีเลวรา้ ยท่สี ดุ   เราสามารถค้นพบสิ่งประเสรฐิ ท่สี ุดในตวั เรา  สิง่ ประเสรฐิ ทสี่ ุดในตวั เรา ซ่งึ ทางพทุ ธศาสนาเรียกว่า สติ ปัญญา สมาธิ เมตตา น้ีแหละทีส่ ามารถนำพาเราผา่ นพน้ วกิ ฤตไปไดด้ ว้ ยด ี แมว้ กิ ฤตน้ันจะหมายถึงทสี่ ดุ ของความ พลัดพรากอนั ไดแ้ กค่ วามตายก็ตาม

ความตายและความพลัดพรากสญู เสยี จงึ มใิ ช่สิง่ ที่นา่ กลวั   หากเปน็ ส่งิ ทเี่ ราควรทำความเข้าใจตาม ความเปน็ จรงิ และรู้จกั ใช้ให้เกิดประโยชนท์ ง้ั แก่ตนเองและผอู้ น่ื   แนน่ อนว่าดา่ นแรกทีต่ ้องเอาชนะใหไ้ ด้คือ ความกลวั   แมแ้ ตค่ วามตายกไ็ มน่ ่ากลวั เท่ากับความกลัวตาย   เรากลัวเพราะเราไมร่ ู้ และเราไม่รู้กเ็ พราะเราไม่ กลา้ ออกไปเผชญิ    การออกไปเผชิญกับสงิ่ ทเ่ี รากลวั คือการเอาชนะความกลวั   ชนะเพราะรู้ มิใช่ชนะเพราะ ขจดั ส่ิงท่เี รากลวั ออกไป  ความตายและความพลดั พรากไมม่ ใี ครหนพี ้น  แตเ่ ราสามารถเอาชนะไดด้ ว้ ยการกล้า เผชญิ จนรแู้ ละเขา้ ใจตามความจรงิ ไมก่ ลวั และไม่ทุกขเ์ พราะมันอกี ต่อไป ทีม่ า: https://www.visalo.org/prefaces/lifeLessons.html ประโยคทงิ้ ทา้ ย: ความตายนอกจากจะบงั คบั ให้เราหยดุ ไล่ล่าอนาคต  และหันมาเผชญิ หน้ากับปัจจบุ นั แล้ว ยังอาจทำให้เราตืน่ จากความหลง  และพบว่าส่ิงพื้น ๆ สามัญนนั้ ทรงคณุ ค่าอย่างยงิ่   ไม่มอี ะไรท่ที ำให้คนเราประจกั ษ์แจ้งถงึ สจั ธรรมได้ดกี ว่า ความตายและความพลดั พรากสูญเสีย  ในมหาวทิ ยาลยั ท่ชี ่ือวา่ ชีวิต    หลักสตู รสำคญั ที่สดุ ก็คอื ความพลัดพรากสญู เสยี   ผูท้ ี่ผา่ นหลักสูตรนี้ได้ย่อมเรยี กวา่ “บัณฑิต” ได้โดยแท ้   แตส่ ่วนใหญ่ไม่สามารถผ่านหลักสูตรน้ไี ดเ้ พราะไม่สามารถเรยี นรู้อะไรเลย จากความพลดั พรากสญู เสยี    ต่อเมือ่ ความตายมาประชิดตัว จงึ ค่อยเห็นสจั ธรรมและเข้าใจบทเรียนชวี ิต “พระไพศาล วิสาโล” อบุ าสกิ า... ณชเล สมคั ร/ยกเลิกรับอเี มลธ์ รรมะเชา้ น้สี ง่ อีเมล์มาที่ : [email protected]








































Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook