บนั ทกึ ภมู ปิ ญั ญาหมอพน้ื บา้ น ภาคกลาง โครงการศึกษาและพัฒนาการรับรองสถานภาพทางกฎหมาย ของหมอพนื้ บา้ นระยะทีส่ อง โดย สำนกั การแพทยพ์ ้ืนบ้านไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก กระทรวงสาธารณสขุ
บันทกึ ภูมปิ ัญญาหมอพนื้ บ้าน ภาคกลาง ISBN : 978 - 616 - 11 - 1092 - 5 ท่ปี รกึ ษา นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา นายแพทยป์ ภัสสร เจยี มบุญศรี ผูเ้ ขยี น อรจริ า ทองสุกมาก สมคั ร สมแวง บรรณาธิการบริหาร เสาวณยี ์ กุลสมบูรณ์ บรรณาธกิ าร สิริรักษ์ อารทรากร อรจริ า ทองสกุ มาก อรพินท์ ครุฑจับนาค ภราดร สามสูงเนนิ กมลทพิ ย์ สุวรรณเดช สมัคร สมแวง จดั พมิ พ์โดย สำนกั การแพทย์พื้นบา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก กระทรวงสาธารณสุข อำเภอเมือง จังหวัดนนทบรุ ี โทรศพั ท/์ โทรสาร ๐ - ๒๕๙๑ - ๗๘๐๘, ๐ - ๒๑๔๙ - ๕๖๐๐ เว็บไซต ์ http://www.dtam.moph.go.th พิมพ์ครงั้ ท่ี ๑ มกราคม ๒๕๕๕ จำนวน ๑,๕๐๐ เลม่ พิมพท์ ี ่ โรงพมิ พ์ชมุ ชนสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำกดั สนับสนุนโดย กองทนุ ภมู ปิ ัญญาการแพทยแ์ ผนไทย
สำนักการแพทยพ์ ้ืนบา้ นไทย กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก คำนำ หมอพื้นบ้านเป็นบุคคลท่ีมีความรู้ความสามารถในการเยียวยารักษาโรค โดยเรยี นรู้จากตำรา การถ่ายทอดจากรุ่นสูร่ ุ่น และจากประสบการณ์ในบรบิ ทของ วฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ เปน็ ผู้มบี ทบาทเยยี วยาดแู ลรักษาสุขภาพคนในชมุ ชน เปน็ ท่ี ยอมรบั เช่อื ถือจากชุมชน สามารถตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนในการ ดแู ลสุขภาพในหลายมิติ ทั้งดา้ นกาย จิต สังคม วัฒนธรรมและความเชอ่ื ชุดหนังสือบันทึกภูมิปัญญาหมอพื้นบ้าน ๔ ภาค ได้จากการรวบรวม องคค์ วามรหู้ มอพน้ื บา้ นทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการศกึ ษาและพฒั นาการรบั รองสถานภาพทาง กฎหมายของหมอพน้ื บา้ นระยะทส่ี อง ซง่ึ ดำเนนิ การคดั เลอื กหมอพน้ื บา้ นทม่ี คี วามรู้ ความเชี่ยวชาญ มีประสบการณ์ คุณธรรม จริยธรรม ให้การช่วยเหลือดูแล สขุ ภาพในชมุ ชน เพอ่ื ขน้ึ ทะเบยี นและขอรบั ใบอนญุ าตเปน็ ผปู้ ระกอบโรคศลิ ปะสาขา การแพทย์แผนไทย ตามพระราชบญั ญตั กิ ารประกอบโรคศลิ ปะ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๓๓ (๑) (ค) โดยมีหมอพน้ื บา้ นทีไ่ ดร้ ับคดั เลือกเขา้ ร่วมโครงการทั้งสน้ิ ๑๙๐ คน ประกอบดว้ ยหมอพน้ื บ้านจากภาคกลาง(รวมทัง้ ภาคตะวันออก) ๕๕ คน ภาคเหนอื ๒๕ คน ภาคอสี าน ๖๒ คน และภาคใต้ ๔๘ คน ซ่ึงได้รับการประเมนิ และมอบใบ ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผนไทยตามพระราชบัญญัติการประกอบ โรคศลิ ปะ พ.ศ. ๒๕๔๒ มาตรา ๓๓ (๑) (ค) แลว้ ๕๖ คน กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ขอขอบคุณ หมอพน้ื บา้ นผใู้ หข้ อ้ มลู ทกุ ทา่ น และหวงั วา่ บนั ทกึ ภมู ปิ ญั ญาฉบบั นจ้ี ะเปน็ ประโยชน์ ตอ่ การศกึ ษา วจิ ยั และพัฒนา ตอ่ ไปในอนาคต (นายแพทยส์ ุพรรณ ศรีธรรมมา) อธบิ ดกี รมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก มกราคม ๒๕๕๕
สำนักการแพทย์พนื้ บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก สารบญั ๑. นายเลยี บ ลอ้ มลาย หน้า ๒. นายชอบ อำไพ ๘ ๓. นายชม ขำหล่อ ๙ ๔. นายสมบตั ิ วงษ์ขำ ๑๐ ๕. นายยอ่ น หมอ้ ทอง ๑๑ ๖. นายยุ้ย ปานทอง ๑๒ ๗. นายลออง สถติ ย์บตุ ร ๑๓ ๘. นายเทยี นชยั ศิรเิ สน ๑๔ ๙. นายเปรมปรี รวยพนิ ิจ ๑๕ ๑๐. นายสมัคร แกน่ จันทร ์ ๑๖ ๑๑. นางสาวเสาวณี เสนียว์ งศ์ ณ อยธุ ยา ๑๗ ๑๒. นางบุญลอ้ ม ทองคุ้ม ๑๘ ๑๓. นายสม เสง็ มา ๑๙ ๑๔. นายพนม สนิ้ ทกุ ข ์ ๒๐ ๑๕. นายพุฒิพงศ์ กาญจนดิลก ๒๑ ๑๖. นางวรรณา พิมพามา ๒๒ ๑๗. นายสำลี หวังวันเพ็ญ ๒๓ ๑๘. นายเจรญิ สังขภ์ าพ ๒๔ ๑๙. นายอรญั จนั ทร์ศริ ิ ๒๕ ๒๐. นายทองดี เบ้าศร ี ๒๖ ๒๑. นายณรงค์ แสงจันทร์ ๒๗ ๒๘
สำนกั การแพทยพ์ ื้นบา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ๒๒. นายบุญชู แสงทอง หนา้ ๒๙ ๒๓. นายสมาน เมอื งทอง ๓๐ ๓๑ ๒๔. นางหนม นาคปาน ๓๒ ๓๓ ๒๕. นายสุนทร คลา้ ยสอน ๓๔ ๓๕ ๒๖. นายประครองทรัพย์ ชาญเชิดศักด ์ิ ๓๖ ๓๗ ๑๗. นายประสพสขุ อังคะวะรา ๓๘ ๓๙ ๒๘. นายสัมฤทธ์ิ ไม้ทอง ๔๐ ๔๑ ๒๙. นายกิตตพิ งษ์ ปงั ศรีวนิ ิจ ๔๒ ๔๓ ๓๐. นายสมั ฤทธ์ิ จำแนกวุฒิ ๔๔ ๔๕ ๓๑. นายสม งามนิคม ๔๖ ๔๗ ๓๒. นายสม้ โอ เกรกิ ชยั วัน ๔๘ ๔๙ ๓๓. นางรตั นาวดี อนิ ทรถาวร ๕๐ ๕๑ ๓๔. นายบญุ เลี้ยง เภสชั เวชกจิ ๓๕. นายสวัสดิ์ เรอื งทองดี ๓๖. นายบุญส่ง ศรีสำราญ ๓๗. นายสวา่ ง เชย่ี วชาญ ๓๘. นายประจวบ สงิ หวิบูลย์ ๓๙. นายปรงุ มาลยั ๔๐. นายบญุ มี เหนยี วแน่น ๔๑. นายสะโอด เนียมสะอาด ๔๒. นายหอมชาย ยาจันทา ๔๓. นายวิชัย สุขเจรญิ ๔๔. นายชชู พี คงคาศร ี
สำนักการแพทยพ์ ื้นบ้านไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ๔๕. นายจรญู พรหมจนั ทร ์ หน้า ๔๖. นายแวน วงศแ์ ววด ี ๕๒ ๔๗. นายทวิ า วงศค์ ง ๕๓ ๔๘. นายประเสริฐ แก้วงาม ๕๔ ๔๙. นายเที่ยง ศรที องคำ ๕๕ ๕๐. นายสายยน ใหญก่ ระโทก ๕๖ ๕๑. นายวนิ ยั สายเปลี่ยน ๕๗ ๕๒. นายสงั วาล สอนทอง ๕๘ ๕๓. นายเสริญ เสี่ยงเคราะห์ ๕๙ ๕๔. นายบรรจง ฟักทอง ๖๐ ๕๕. นายมูล เจตะปกิ ๖๑ ๖๒
รายชือ่ หมอพ้นื บ้าน ภาคกลาง
สำนกั การแพทยพ์ นื้ บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ๑.นายเลียบ ลอ้ มลาย อายุ ๗๒ ปี ประสบการณ์การรักษา ๔๐ ปี ไดร้ ับสืบทอดความรจู้ ากมาจากครู ทีอ่ ยู่ ๕/๒ ม.๘ ต.ดงดอน อ.สรรคบุรี จ.ชยั นาท โทรศพั ท์ ๐๘๑-๒๙๓๖๑๔๗ ความเชี่ยวชาญ อมั พฤกษ์ อมั พาต รกั ษาดว้ ยยา ๘ ชนิด คอื ดปี ลี ฝักคณู พริกไทย ชะลดู ใบพิมเสน เทยี นดำ แห้วหมู ใบมะกา อาหารแสลง คือ หน่อไม้ดอง ของหมกั ดอง และน้ำเยน็ ระดทู บั ไข้ รกั ษาดว้ ยยา ๔ ชนดิ คอื หวั ยาขา้ วเยน็ ใต้ หวั ยาขา้ วเยน็ เหนอื รากมะลิ รากมะพรา้ ว ซางลำไสเ้ ด็ก รกั ษาด้วยยา ๕ ชนดิ คือ แกแล ๑ สว่ น ฝาง ๑ สว่ น ซังข้าวโพด ๑ สว่ น ดีปลี ๓ เม็ด พริกไทย ๗ เม็ด 8 บนั ทกึ ภมู ปิ ัญญาหมอพ้ืนบ้าน ภาคกลาง
สำนักการแพทย์พืน้ บ้านไทย กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ๒.นายชอบ อำไพ อายุ ๗๗ ปี ประสบการณ์การรกั ษา ๔๕ ปี ได้รับสืบทอดความรู้จากความฝัน ที่อยู่ ๑๕๓ หมู่ ๓ ต.ชัยนาท อ.เมอื ง จ.ชยั นาท โทรศัพท์ ๐๕๖-๔๐๕๗๔๒ ความเช่ียวชาญ อมั พฤกษ์ รักษาดว้ ยยา ๕ ชนิด คอื ใบมะกา ๓ กำมอื ฝกั คณู ๕ ฝกั ดีเกลอื ๑/๒ ขดี ยาดำ ๑/๒ กรมั แก่นข้เี หล็ก ๕ ขดี อาหารแสลง คือ ของหมกั ดอง ของมนึ เมา เน้อื ไก่ อาหารทะเล ไหลต่ ิด นวดคลายเส้น และจัดกระดูก สมองตบี ผา่ สมอง นวดคลายเส้นใหเ้ ลอื ดลมไหลเวียนดี บันทกึ ภมู ปิ ญั ญาหมอพน้ื บา้ น ภาคกลาง 9
สำนักการแพทย์พน้ื บา้ นไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ๓.นายชม ขำหลอ่ อายุ ๗๔ ปี ประสบการณก์ ารรักษา ๔๓ ปี ไดร้ บั สืบทอดความรู้จากครู ท่ีอยู่ ๑๑๑ ต.เทีย่ งแท้ อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท ความเชย่ี วชาญ อัมพฤกษ์ อมั พาต รกั ษาด้วยยา ๕ ชนิด คือ ขา่ ๑ ส่วน ไพล ๑ สว่ น แห้วหมู ๑ สว่ น ใบมะกา ๓ ส่วน กระชาย ๑ ส่วน สนั นิบาตปากเบี้ยวตาแหก รักษาด้วยการนวดและทานยาสมุนไพร ๔ ชนดิ คอื มะขามเปยี ก ๑ ส่วน ไพล ๑ ส่วน มหาหงิ ส์ ๑ ส่วน ยาดำ ๑ สว่ น เกลือ ๑/๒ สว่ น ไข้ทบั ระดู ระดูทบั ไข้ รักษาด้วยยา ๔ ชนิด คอื รากหมาก รากตาล รากมะพรา้ ว กำลัง พายเลอื ดพายลม รกั ษาด้วยยา ๗ ชนดิ คือ ขา่ ๑ สว่ น ไพล ๑ ส่วน ใบหนาด ๑ สว่ น ลูกมะกรดู ๙ ลกู ใบมะนาว ๙ ใบ ใบมะกา ๔ ก่งิ ขมน้ิ อ้อย ๑ สว่ น อาหารแสลง คือ หมู ไก่ แปง้ หมัก ข้าวเหนียว ปลาหลด ปลาไหล 10 บนั ทึกภมู ิปญั ญาหมอพื้นบา้ น ภาคกลาง
สำนักการแพทยพ์ น้ื บา้ นไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ๔.นายสมบัติ วงษ์ขำ อายุ ๗๕ ปี ประสบการณก์ ารรักษา ๓๐ ปี ได้รบั สบื ทอดความรู้จากอาจารยเ์ หมง็ ท่อี ยู่ ๒๔ หมู่ ๑๒ ต.ง้ิวราย อ.เมือง จ.ลพบรุ ี โทรศัพท์ ๐๓๖-๖๕๖๔๙๓ ความเชยี่ วชาญ กระดูกหัก รักษาดว้ ยยา ๑๗ ชนิด คือ นำ้ ไพลสด ๕๐ กโิ ลกรมั ขม้ินออ้ ย ๕๐ กโิ ลกรมั วา่ นเพชรสงั ฆาต ๑๐ กโิ ลกรมั วา่ นเถาเอน็ ออ่ น ๑๐ กโิ ลกรมั วา่ นมา้ ฮอ้ ๑๐ กโิ ลกรมั วา่ นมาเหลยี ว ๒๐ กโิ ลกรัม ว่านมา้ ๑๐ กโิ ลกรมั เถาคนั ๑๐ กิโลกรัม สบ่เู ลอื ด ๑๐ กโิ ลกรัม เถาตำลงึ ๑๐ กโิ ลกรมั น้ำมันงา ๒๐ ปบ๊ี เลก็ น้ำมนั มะพรา้ ว ๗ ลกู น้ำส้มสายชู ๒ ขวด สารสม้ ๒ บาท พมิ เสน ๑/๒ กโิ ลกรมั การบูร ๑/๒ กโิ ลกรัม เมนทอล ๑/๒ กโิ ลกรมั อมั พฤกษ์ อมั พาต รกั ษาดว้ ยยา ๑ ชนิด คือ รตั นวาโย โรคพิษสนุ ัขบ้า รกั ษาดว้ ยยา ๒ ชนิด คือ ผักขมหนาม ๑ ตน้ เหลา้ ขาว ๑ แกว้ บันทึกภมู ิปัญญาหมอพื้นบ้าน ภาคกลาง 11
สำนกั การแพทย์พ้ืนบ้านไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ๕.นายยอ่ น หม้อทอง อายุ ๗๘ ปี ประสบการณก์ ารรักษา ๓๙ ปี ได้รบั สืบทอดความรจู้ ากพระอาจารยไ์ สว เจรญิ ยศ ทีอ่ ยู่ ๖๘ หมู่ ๒ ต.ทา่ วุ้ง อ.ทา่ วุง้ จ.ลพบุรี ความเช่ยี วชาญ เบาหวาน รกั ษาด้วยยา ๓ ชนดิ คือ กระท้อนทัง้ ๕ บอระเพด็ ตวั ผู้ หนอนตายอยาก อัมพฤกษ์ อัมพาต รกั ษาดว้ ยยา ๑๓ ชนดิ แตบ่ อกไดเ้ พียง ๕ ชนิด คือ โกฎท้งั ๕ เทยี นทัง้ ๕ พริกไทย ดปี ลี ชา้ พลู อาหารแสลง คือ ของหวาน สรุ า ฉหี่ นู รักษาด้วยยา ๕ ชนิด คอื เหงา้ สบั ปะรด งวงตาล สารส้ม เหงือกปลาหมอ น้ำตาลทรายกรวด 12 บนั ทกึ ภมู ปิ ัญญาหมอพ้ืนบา้ น ภาคกลาง
สำนกั การแพทยพ์ นื้ บ้านไทย กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ๖.นายยยุ้ ปานทอง อายุ ๗๘ ปี ประสบการณก์ ารรกั ษา ๓๕ ปี ไดร้ ับสบื ทอดความรู้จากตำรา ที่อยู่ ๔๒ หมู่ ๑ ต.คอทราย อ.คา่ ยบางระจนั จ.สิงหบ์ รุ ี โทรศัพท์ ๐๘๖-๐๑๒๘๐๗๕ ความเชี่ยวชาญ ปวดหวั เข่ากระดูกเสื่อม รักษาด้วยยา ๒ ชนดิ คือ ตะไคร้ ๕ ต้น ใบยา่ นาง ๑ กำมอื แผลตดิ เชอื้ รักษาด้วยยา ๔ ชนิด คอื หมาก ๓ แวน่ ปนู ๑ ชอ้ นชา ใบพลู ๑ ใบ สีเสยี ด ๒-๓ เส้น แผลพุพองเนา่ ทั้งตวั ภูมิแพ้ เหน่อื ยหอบ วัณโรค รกั ษาดว้ ยยา ๗ ชนิด คือ ฟา้ ทะลายโจร หนุมานประสานกาย ทองพนั ช่งั ช้าพลู ไพล แพงพวยบก หญ้าหนวดแมว บันทกึ ภูมปิ ัญญาหมอพืน้ บา้ น ภาคกลาง 13
สำนักการแพทยพ์ ื้นบ้านไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ๗.นายลออง สถิตย์บุตร อายุ ๗๔ ปี ประสบการณก์ ารรกั ษา ๕๐ ปี ได้รับสืบทอดความรู้จากบดิ า ทอี่ ยู่ ๔๒/๒ หมู่ ๓ ต.พกิ ลุ ทอง อ.ท่าชา้ ง จ.สงิ ห์บรุ ี โทรศพั ท์ ๐๘๙-๗๘๐๑๓๑๙ ความเชย่ี วชาญ งสู วัด และลมพษิ รกั ษาดว้ ยยา ๔ ชนดิ คอื ใบบวั หลวง ๓ ใบ รากคดั คา้ ว ๑ บาท รากตะขบปา่ ๑ บาท รากพุงดอ ๑ บาท เบาหวาน รกั ษาด้วยยา ๔ ชนิด คอื ใบหนาด ๕ บาท ทองพันชง่ั ๕ บาท รากพทุ รา ๕ บาท สารส้ม ๒ บาท เส้นยึด กระดูกทบั เสน้ เสน้ จม การรักษาคือการกดจดุ ตามเส้น 14 บันทึกภมู ิปัญญาหมอพน้ื บา้ น ภาคกลาง
สำนักการแพทย์พน้ื บ้านไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ๘.นายเทียนชยั ศิรเิ สน อายุ ๕๘ ปี ประสบการณ์การรักษา ๒๐ ปี ไดร้ ับสืบทอดความรจู้ ากบดิ า ที่อยู่ ๗๗ หมู่ ๔ ต.บ่อเงนิ อ.ลาดหลมุ แก้ว จ.ปทุมธานี โทรศัพท์ ๐๘๙-๒๐๕๑๗๑๑ ความเชยี่ วชาญ ข้อบวม ปวด รักษาดว้ ยยา ๔ ชนิด คือ ใบอนิ ทนิลน้ำ ๓ ส่วน หญา้ ขัดมอญ ๓ สว่ น หญ้าดอกขาว ๑ สว่ น หวั ว่านน้ำ ๓ ส่วน โรคปวดเม่อื ย รักษาดว้ ยยา ๕ ชนิด คือ เถาวลั ยเ์ ปรียง ๔ ส่วน หญา้ หมอน้อย ๒ สว่ น ดอกดปี ลี ๒ สว่ น กำแพงเจด็ ชนั้ ๑ สว่ น ใบมะขามแขก ๑ สว่ น โรครดิ สีดวงทวาร รกั ษาดว้ ยยา ๔ ชนดิ คอื เพชรสงั ฆาต ๓ สว่ น หวั ไพล ๒ สว่ น ขมน้ิ ออ้ ย ๒ สว่ น ใบมะขามแขก ๓ สว่ น โรคความดันโลหิตสูง รักษาด้วยยา ๕ ชนดิ คอื รากหญ้าคา ๑ สว่ น หญา้ หมอน้อย ๒ สว่ น หญา้ หนวดแมว ๓ สว่ น กาฝากมะมว่ ง ๒ ส่วน ดีปลี ๒ ส่วน โรคนอนไมห่ ลับ รกั ษาด้วยยา ๔ ชนดิ คือ ดอกข้ีเหล็ก ๖ ส่วน เมลด็ ชุมเห็ดไทย ๑ สว่ น ดีปลี ๒ ส่วน ลกู กระวาน ๑ ส่วน บันทึกภูมิปญั ญาหมอพน้ื บ้าน ภาคกลาง 15
สำนกั การแพทย์พนื้ บ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ๙.นายเปรมปรี รวยพินิจ อายุ ๖๐ ปี ประสบการณก์ ารรักษา ๓๗ ปี ได้รับสบื ทอดความร้จู ากบดิ า ครู อาจารย์ ท่อี ยู่ ๓๓๑ หมู่ ๒ ต.บางโปรง อ.เมอื ง จ.สมทุ รปราการ โทรศพั ท์ ๐๒-๗๕๖๗๓๑๓ ความเช่ยี วชาญ โรคมะเรง็ กระดูก รกั ษาดว้ ยยา ๕ ชนดิ คอื ขา้ วเยน็ เหนอื ขา้ วเยน็ ใต้ ๒๐ บาท หนอนตายอยาก ๒๐ บาท ขนั ทองพยาบาท ๒๐ บาท กระดกู ควาย ๒๐ บาท กำมะถันเหลอื ง ๒๐ บาท โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต รกั ษาดว้ ยยา ๕ ชนดิ คอื ใบพมิ เสน ๓ กำมอื มะระขน้ี กทง้ั ๕ บอระเพด็ ๗ ชน้ิ ไพล ๕-๗ แว่น สมอพเิ ภก ๕ ลูก กระดูกเคลอ่ื นคดงอ และกระดูกหกั อบุ ัตเิ หตุ รักษาด้วยยา ๕ ชนิด คือ น้ำมันเลยี งผา ๑ กิโลกรัม เพชรมา้ ๑ กิโลกรมั เอน็ เหลือง ๑ กโิ ลกรัม สบูเ่ ลอื ด ๑ กโิ ลกรมั ไพล ๒ กโิ ลกรัม โรคเบาหวาน รักษาดว้ ยยา ๔ ชนิด คือ บอระเพด็ ยาว ๑ คบื หมากดบิ ๔ ลูก ผ่า ๔ ใบย่านาง ๑ กำมอื น้ำสุก ๑ แก้ว 16 บันทึกภูมปิ ัญญาหมอพน้ื บ้าน ภาคกลาง
สำนักการแพทยพ์ ้ืนบ้านไทย กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ๑๐.นายสมัคร แก่นจันทร์ อายุ ๕๓ ปี ประสบการณก์ ารรักษา ๒๐ ปี ได้รับสบื ทอดความรจู้ ากบรรพบรุ ุษ ที่อยู่ ๔๗/๒ หมู่ ๔ ต.บางยอ อ.พระประแดง จ.สมทุ รปราการ โทรศัพท์ ๐๘๑-๒๙๒๖๖๙๘ ความเชีย่ วชาญ โรคเข่าอกั เสบ รักษาด้วยยา ๔ ชนิด คอื ไพล ๓ หัว ขม้ิน ๓ หัว ข่าแก่ ๑ แงง่ โรคอมั พาต อมั พฤกษ์ รักษาด้วยยา ๒ ชนดิ คอื ไพล ๓ หัว น้ำมันงา ๓ ถว้ ย โรคนิ่ว รกั ษาดว้ ยยา ๕ ชนดิ คอื ตน้ หญา้ หนวดแมว เบย้ี จกั จน่ั เหงา้ สบั ปะรด รากหญา้ คา สารสม้ บันทึกภมู ปิ ญั ญาหมอพื้นบา้ น ภาคกลาง 17
สำนักการแพทย์พนื้ บ้านไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ๑๑.นางสาวเสาวณี เสนยี ์วงศ์ ณ อยธุ ยา อายุ ๕๓ ปี ประสบการณ์การรกั ษา ๓๐ ปี ไดร้ ับสบื ทอดความร้จู ากย่า ทีอ่ ยู่ ๑๓๙/๙ หมู่ ๓ ต.บางหญ้าแพรก อ.เมอื ง จ.สมทุ รสาคร โทรศัพท์ ๐๘๑-๘๙๙๙๖๐๔ ความเชย่ี วชาญ เลอื ดกำเดาไหล รักษาดว้ ยยา ๒ ชนิด คือ บวบแก่ห่ันเปน็ ท่อน ๑/๒ กโิ ลกรัม ใบพลู ๑ ใบ ลมพษิ รักษาด้วยยา ๒ ชนดิ คอื ดอกจอก ๑ กำมือ เหล้าขาว ๒ แกว้ เลอื ดในลมไฟ รักษาด้วยยา ๑ ชนดิ คอื ไพล ๕ ชิ้น อาหารแสลง คือ หา้ มด่มื น้ำเย็น 18 บนั ทกึ ภมู ปิ ัญญาหมอพ้ืนบ้าน ภาคกลาง
สำนกั การแพทยพ์ น้ื บ้านไทย กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ๑๒.นางบญุ ลอ้ ม ทองคุ้ม อายุ ๖๐ ปี ประสบการณ์การรักษา ๓๐ ปี ได้รับสืบทอดความรู้จากมารดาท่ีเปน็ หมอตำแย เรยี นจากสมาคมแพทยแ์ หง่ ประเทศไทย ท่ีอยู่ ๔ หมู่ ๓ ต.ชัยมงคล อ.เมือง จ.สมทุ รสาคร ความเชีย่ วชาญ เสน้ เลอื ดสมองแตกทผ่ี ่าตัดแล้วเป็นอัมพาต รกั ษาด้วยยา ๑๕ ชนิด คอื เถาวลั ยเ์ ปรยี ง ๕๐ บาท เถาเอ็นอ่อน ๕๐ บาท เถาสะคา้ น ๕๐ บาท ดปี ลี ๕๐ บาท เจตมลู เพลงิ ๕๐ บาท หวั แหว้ หมู ๕๐ บาท กำลงั เสอื โครง่ ๕๐ บาท ฝกั สม้ ปอ่ ย ๕ บาท ดอกคำฝอย ๒๐ บาท กระชายดำ ๓๐ บาท ผลมะกรดู ๙ ผล รากตะไคร้ ๙ ตน้ ยอดผกั บงุ้ แดง ๕ ยอด ฟา้ ทะลายโจร ๕ บาท บอระเพ็ด ๕ บาท ดแู ลมารดาหลงั คลอด รกั ษาดว้ ยยา ๘ ชนิด คือ ไพล ๑ กโิ ลกรัม ขม้ินออ้ ย ๑ กิโลกรัม ฝกั สม้ ปอ่ ย ๑๐ บาท ขมน้ิ ชนั ๑ กโิ ลกรมั ดอกคำฝอย ๒๐ บาท ตะไคร้ ๑ กโิ ลกรมั การบรู ๑/๒ กโิ ลกรมั ใบมะขามแขก ๑ กโิ ลกรัม บันทึกภูมปิ ัญญาหมอพื้นบ้าน ภาคกลาง 19
สำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ๑๓.นายสม เส็งมา อายุ ๗๖ ปี ประสบการณ์การรกั ษา ๔๐ ปี ได้รับสืบทอดความรู้จากอาจารย์ทอ่ี ยู่ในปา่ เขา ท่อี ยู่ ๑๒๕/๒ หมู่ ๑ ต.ดอนไกด่ ี อ.กระทุม่ แบน จ.สมุทรสาคร โทรศพั ท์ ๐๘๙-๒๒๙๖๘๑๖ ความเชี่ยวชาญ นว่ิ ในไต รักษาด้วยยา ๔ ชนดิ คอื ดอกบานไม่รโู้ รยสีขาว ๒ บาท ยอดสับปะรด ๒ บาท ข้าวเหนียว ๒ บาท สารสม้ ๑ บาท เบาหวาน รักษาดว้ ยยา ๕ ชนดิ คือ รากหมาก ๒ บาท รากตาล ๒ บาท รากมะละกอ ๒ บาท รากไทร ๒ บาท หญ้าคา ๒ บาท ก่อนเป็นมะเร็งเต้านม รกั ษาด้วยยา ๑ ชนดิ คือ รากกระเจ๊ยี บมอญ 20 บนั ทกึ ภมู ิปญั ญาหมอพนื้ บา้ น ภาคกลาง
สำนักการแพทยพ์ น้ื บ้านไทย กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ๑๔.นายพนม ส้ินทกุ ข์ อายุ ๕๔ ปี ประสบการณก์ ารรกั ษา ๒๗ ปี ได้รบั สบื ทอดความรู้จากบรรพบุรุษ ท่อี ยู่ ๑๕๘ หมู่ ๒ ต.บ้านกมุ่ อ.เมือง จ.เพชรบุรี โทรศัพท์ ๐๘๕-๑๘๑๖๙๕๒ ความเชยี่ วชาญ ไหลต่ ดิ เขา่ เสื่อม ยอกหลงั ขอ้ เท้าแพลง รักษาดว้ ยการนวดแผนโบราณ ไมเกรน (ลมปะกงั ) ปวดศีรษะข้างเดียว รักษาดว้ ยนวดพน้ื ฐานทีศ่ ีรษะ บันทึกภูมปิ ญั ญาหมอพน้ื บ้าน ภาคกลาง 21
สำนักการแพทย์พ้ืนบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ๑๕.นายพฒุ ิพงศ์ กาญจนดลิ ก อายุ ๔๗ ปี ประสบการณ์การรกั ษา ๒๕ ปี ได้รบั สืบทอดความร้จู ากบรรพบุรษุ ท่อี ยู่ ๓๖/๑๒ หมู่ ๘ ต.ธงชัย อ.เมือง จ.เพชรบุรี ความเชย่ี วชาญ ปวดหัวเข่า รกั ษาดว้ ยการนวดกดจดุ สัญญาณห้าขาดา้ นนอกและดา้ นใน เนน้ รอบสะบ้า ๓ จุดใหญ่ คอตกหมอน รักษาดว้ ยการนวดพ้นื ฐานบา่ คลายกลา้ มเน้อื ไมเกรนปวดหวั ข้างเดียว นวดพืน้ ฐานบ่าดา้ นท่ีเปน็ นวดสญั ญาณ ๕ ทีศ่ รี ษะดา้ นหนา้ และดา้ นหลงั 22 บันทกึ ภูมปิ ญั ญาหมอพืน้ บ้าน ภาคกลาง
สำนักการแพทย์พน้ื บา้ นไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ๑๖.นางวรรณา พิมพามา อายุ ๖๑ ปี ประสบการณก์ ารรักษา ๒๕ ปี ได้รับสบื ทอดความรู้จากคุณสุวรรณ สงั ข์ขร, เรยี นรู้จากวดั ปากคลองอทุ ศิ ยาลัยอทุ ศิ ท่อี ยู่ ๘๒ หมู่ ๔ ต.บางครก อ.บ้านแหลม จ.เพชรบรุ ี โทรศพั ท์ ๐๘๖-๐๓๑๗๘๖๑ ความเชยี่ วชาญ ปวดหลัง รกั ษาดว้ ยการนวดคลายเสน้ ทง้ั ตวั นวดเน้นที่บรเิ วณเอวที่ปวด จุดที่ ๑ และ ๕ นวดขาทง้ั ๒ ข้างทั้งด้านในและดา้ นนอก ปวดเข่า รักษาด้วยการนวดบริเวณเขา่ ดา้ นใน ดา้ นนอก ด้านหลัง ด้านหนา้ ไหล่ติด รกั ษาดว้ ยการนวดคลายกล้ามเนอ้ื กดสะบักสัญญาณ ๕ เน้นสะบักหลัง บันทึกภมู ปิ ญั ญาหมอพืน้ บา้ น ภาคกลาง 23
สำนกั การแพทย์พนื้ บ้านไทย กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ๑๗.นายสำลี หวังวันเพญ็ อายุ ๕๒ ปี ประสบการณก์ ารรักษา ๔๐ ปี ได้รบั สบื ทอดความร้จู ากบรรพบุรษุ และจากธรรมชาติ ทีอ่ ยู่ ๙๘/๒๒ หมู่ ๒ ต.สมเด็จเจรญิ อ.หนองปรอื จ.กาญจนบุรี โทรศัพท์ ๐๘๙-๙๔๙๓๙๖๕ ความเชี่ยวชาญ โรคหวั ใจ รักษาด้วยยา ๗ ชนิด คือ วา่ นน้ำ ๔ บาท โคกกระสนุ ๔ บาท เมด็ ข่อย ๔ บาท พรกิ ไทย ๔ บาท ตะโกนา ๔ บาท ทิ้งถอ่ น ๔ บาท แห้วหมู ๔ บาท โรคตาตอ้ ตาฟาง ตามวั ตาเจบ็ รักษาดว้ ยยา ๓ ชนิด คอื วา่ นทิพยเนตร ๓ หัว นำ้ นม ๓ ชอ้ น พิมเสนพอสมควร บาดแผล รักษาด้วยยา ๓ ชนิด คือ เหงอื กปลาหมอ ๓ กำมือ หัวสามสิบ ๓ กำมือ ยอดเปลา้ น้อย ๓ กำมือ 24 บันทกึ ภมู ิปญั ญาหมอพ้นื บา้ น ภาคกลาง
สำนักการแพทย์พนื้ บ้านไทย กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ๑๘.นายเจรญิ สงั ขภ์ าพ อายุ ๕๓ ปี ประสบการณก์ ารรกั ษา ๓๐ ปี ไดร้ บั สืบทอดความร้จู ากก๋ง หลวงตาเมอื ง พระดาวเรือง และนายบญุ มา ทอ่ี ยู่ ๘๐/๒ หมู่ ๕ ต.หนองบวั อ.เมือง จ.กาญจนบรุ ี โทรศัพท์ ๐๘๙-๙๑๕๗๓๙๑ ความเชยี่ วชาญ น่วิ รกั ษาด้วยยา ๓ ชนิด คือ มะเฟืองช้าง ๑ กำมอื รากลวก ๑ กำมอื สารส้มเท่าปลายน้วิ กอ้ ย บดิ รกั ษาด้วยยา ๓ ชนิด คือ เปลอื กแคบ้าน ๑ กำมอื น้ำปนู ใส ๑ แกว้ วา่ นหอยแครง ๑ กำมอื ไอเรื้อรัง รกั ษาด้วยยา ๕ ชนดิ คอื มะนาว ๑/๒ ลูก เกลอื ๑ ลำพัด มะแวง้ เครือ ๑ กำมือ น้ำผึง้ ๑ ชอ้ นโตะ๊ ตะไครแ้ กง ๕ ตน้ บนั ทกึ ภูมปิ ัญญาหมอพ้นื บา้ น ภาคกลาง 25
สำนกั การแพทยพ์ ื้นบา้ นไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ๑๙.นายอรัญ จันทร์ศิริ อายุ ๗๔ ปี ประสบการณก์ ารรกั ษา ๕๐ ปี ได้รบั สบื ทอดความรจู้ ากปู่ เรียนรู้เพมิ่ เติมจากมูลนธิ ิ การแพทยแ์ ผนไทยพฒั นา ท่อี ยู่ ๔๑๕ ต.ท่ามะขาม อ.เมือง จ.กาญจนบรุ ี โทรศพั ท์ ๐๓๔-๕๑๒๕๙๖ ความเชยี่ วชาญ กระเพาะอาหาร รกั ษาดว้ ยตัวยา ๓ ชนิด คอื หวั ขมน้ิ ชนั ๑ บาท หัวขม้ินออ้ ย ๑ บาท เหงา้ ไพล ๑ บาท ปวดเมือ่ ยเส้นเอน็ และกลา้ มเน้ือ รักษาดว้ ยตัวยา ๓ ชนิด คือ เถาวัลย์เปรียง ๑ กำมอื เถารางจดื ๑ กำมอื เถาเอ็นอ่อน ๑ กำมอื ไขพ้ ิษ รกั ษาดว้ ยตวั ยา ๕ ชนดิ คือรากชิงชี่ ๑ กำมือ รากหญา้ นาง ๑ กำมือ รากคนทา ๑ กำมอื รากเทา้ ยายมอ่ ม ๑ กำมือ รากมะเดอ่ื ชุมพร ๑ กำมอื 26 บันทกึ ภมู ิปัญญาหมอพ้นื บ้าน ภาคกลาง
สำนกั การแพทย์พ้นื บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ๒๐.นายทองดี เบ้าศรี อายุ ๗๕ ปี ประสบการณ์การรักษา ๕๒ ปี ไดร้ ับสืบทอดความรูจ้ ากบรรพบรุ ุษและพระอาจารย์ (ไสยศาสตร์) ท่อี ยู่ ๖๙ หมู่ ๓ ต.วงั กรด อ.บางมูลนาก จ.พิจติ ร โทรศพั ท์ ๐๘๖-๑๑๙๒๓๖๒ ความเชย่ี วชาญ ธาตุพิการ รักษาดว้ ยตัวยา ๒ ชนิด คือ ขิงสด ขม้นิ ชนั เมาเบื่อ รกั ษาด้วยตวั ยา ๒ ชนดิ คอื รางจืด ๑ ขดี ย่านางแดง ๑ ขดี ไข้หวัด รักษาด้วยตัวยา ๒ ชนดิ คอื ฟา้ ทะลายโจร ๑ ขดี บอระเพด็ ๑ ขีด กระเพาะอาหารพกิ าร รกั ษาด้วยตวั ยา ๒ ชนดิ คือ เพชรสงั ฆาต ๑ กโิ ลกรัม ขมน้ิ ชนั ๑ กโิ ลกรมั หดื หอบ รกั ษาดว้ ยตัวยา ๔ ชนดิ คือ สงั กรณี ๑ ขดี ตรชี วา ๑ ขดี หนมุ านประสานกาย ๑ ขีด เถาแจร ๑ ขีด บนั ทึกภมู ปิ ัญญาหมอพนื้ บา้ น ภาคกลาง 27
สำนกั การแพทยพ์ ื้นบ้านไทย กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ๒๑.นายณรงค์ แสงจนั ทร์ อายุ ๗๒ ปี ประสบการณก์ ารรักษา ๒๕ ปี ไดร้ บั สืบทอดความรูจ้ ากคณุ ตา บิดา คณุ ลงุ ทอ่ี ยู่ ๖๑ หมู่ ๗ ต.โพธไิ ทรงาม อ.บงึ นาราง จ.พจิ ติ ร โทรศัพท์ ๐๘๖-๒๑๔๖๓๗๘ ความเชีย่ วชาญ โรคเก๊าท์ รักษาด้วยตวั ยา ๔ ชนิด คือ ไผน่ ้ำเต้า ยอบา้ น ยอป่า มะรุม โรคขยุม้ ตนี หมา ไฟลามทงุ่ งูสวัด รกั ษาดว้ ยตัวยา ๓ ชนดิ คอื กัญชาป่า ๑ กำมือ สารพดั พษิ ๑ กำมือ เหล้า ๔๐ ดกี รี โรคเบาหวาน รกั ษาด้วยตัวยา ๓ ชนิด คือ ใบช้าพลู ๑ กำมอื รางจดื ๑ กำมือ เถาฟกั ข้าว ๑ กำมอื โรคกระดกู ทับเส้น รกั ษาดว้ ยตัวยา ๕ ชนดิ คือ คัดเคา้ ปอบดิ เถาวลั ยเ์ ปรียง วัวเถลิง ฝาง 28 บนั ทกึ ภมู ิปัญญาหมอพนื้ บ้าน ภาคกลาง
สำนกั การแพทยพ์ ้นื บ้านไทย กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ๒๒.นายบญุ ชู แสงทอง อายุ ๕๙ ปี ประสบการณ์การรกั ษา ๓๑ ปี ได้รบั สืบทอดความรู้จากบรรพบุรษุ ที่อยู่ ๖๕/๒ หมู่ ๑๑ ต.บางไผ่ อ.บางมูลนาก จ.พิจติ ร โทรศัพท์ ๐๕๖-๖๘๓๑๐๘ ความเชย่ี วชาญ กระดกู หักในไมโ่ ผล่ รักษาดว้ ยตัวยา ๑ ชนิด คือ นำ้ มะพรา้ ว เริม ขยมุ้ ตนี หมา รักษาดว้ ยตัวยา ๕ ชนิด คอื หมาก ปนู ใบพลู เปลือกฝอย พิมเสน กระดกู ทับเสน้ รกั ษาดว้ ยตวั ยา ๑ ชนิด คอื นำ้ มะพร้าว ดบั พิษไฟ หลังคลอด ทำนำ้ มนตร์ ักษา คอื น้ำเปลา่ ๑/๒ ขนั เทียนข้ีผึ้ง ๑ เล่ม ธูป ๓ ดอก บันทกึ ภมู ิปัญญาหมอพน้ื บ้าน ภาคกลาง 29
สำนักการแพทยพ์ น้ื บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ๒๓.นายสมาน เมืองทอง อายุ ๗๓ ปี ประสบการณ์การรักษา ๒๖ ปี ไดร้ ับสืบทอดความร้จู ากคณุ ปู่ คุณตา และหมอบญุ ยง่ิ มาอินทร์ ทอ่ี ยู่ ๑๖๙ ต.ตะพานหนิ อ.ตะพานหนิ จ.พิจติ ร โทรศพั ท์ ๐๘๙-๐๖๙๖๙๕๙ ความเชีย่ วชาญ หดั รักษาดว้ ยตัวยา ๔ ชนิด คือ ยาลดไข้ ยาเขยี ว ใบข่อย ๑๐ - ๒๐ ใบ นำ้ และ ข้าวสาร ซางหละ รกั ษาด้วยตัวยา ๕ ชนิด คือ ยาแกส้ ะดงุ้ ผวา ๒ เมด็ น้ำกระเทียมต้ม ๒๕ ซซี ี ยาแก้ลมปกั ษี ๒ เมด็ นำ้ ต้มใบหนาด ๒๕ ซีซี ยากวาด ๒ เม็ด ไฟลามทุ่ง รักษาดว้ ยตัวยา ๕ ชนดิ คือ ยาแก้ไข้ ๑-๒ เมด็ ยามหานิล ๑-๒ เม็ด สรุ า ๒-๓ ชอ้ นโต๊ะ ว่านมหากาฬ วา่ นเสลดพงั พอน ตาลขโมย รักษาดว้ ยตัวยา ๑ ชนดิ คือ ยาหมอ้ ตาลขโมย ๑ หม้อ ชกั รักษาด้วยตวั ยา ๑ ชนิด คอื ยาหม้อแก้ชัก 30 บนั ทึกภูมปิ ญั ญาหมอพืน้ บ้าน ภาคกลาง
สำนักการแพทย์พืน้ บา้ นไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ๒๔.นางหนม นาคปาน อายุ ๗๒ ปี ประสบการณก์ ารรกั ษา ๔๓ ปี ได้รบั สบื ทอดความรจู้ ากมารดา ท่อี ยู่ ๙๒/๓ หมู่ ๖ ต.สวนใหญ่ อ.เมือง จ.นนทบรุ ี โทรศัพท์ ๐๘๖-๐๗๗๑๑๔๑ ความเชีย่ วชาญ จบั โปรง่ นำ้ จับโปร่งแหง้ นวดคลายกล้ามเนอื้ และเส้นเอน็ ก่อนแล้วจงึ ใช้ลกู ประคบท่ีจดุ โรค นาน ๑๕ ที แลว้ นวดกดที่ข้อเขา่ เพ่ือใหพ้ ังผืดทเี่ กาะหวั เขา่ และหนิ ปนู อ่อนลง หมอนรองกระดูกทบั เส้น นวดแก้อาการตามประสบการณ์และใช้ความร้อนตรงบรเิ วณก้นกบทเ่ี ปน็ จุดก่อโรค นาน ๑๕ นาที ไหล่ติด นวดคลายกล้ามเนอ้ื และใชล้ ูกประคบจากสมุนไพรประคบ ข้อเทา้ พลกิ แพลง นวดตรงข้อเทา้ และใชล้ ูกประคบสมนุ ไพร อมั พฤกษ์ อัมพาต นวดกดจุดท่ีเปน็ อมั พฤกษ์ ให้ผปู้ ว่ ยแลบลิ้น ดึงหน้าเขาตามอาการทีเ่ ป็น จนผู้ปว่ ย รสู้ กึ กลืนน้ำลายได้และอาการปากเบ้ยี วจะทุเลาลงตามอาการหนักเบา บันทึกภมู ิปญั ญาหมอพ้ืนบา้ น ภาคกลาง 31
สำนกั การแพทย์พ้ืนบา้ นไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ๒๕.นายสนุ ทร คลา้ ยสอน อายุ ๗๐ ปี ประสบการณก์ ารรักษา ๓๐ ปี ไดร้ บั สบื ทอดความรู้จากบรรพบุรษุ ท่ีอยู่ ๕๔ หมู่ ๖ ต.หนองเพรางาย อ.ไทรน้อย จ.นนทบุรี โทรศัพท์ ๐๒-๙๒๗๖๖๗๕ ความเช่ียวชาญ โรคเริม งสู วดั ขย้มุ ตนี หมา ไฟลามทุ่ง รกั ษาด้วยตัวยา ๒ ชนดิ คือ เสลดพังพอน ๒๐ ใบ สุรา ๒๘ ดกี รี ทอ้ งรว่ ง ถ่ายเหลวมาก รกั ษาดว้ ยตวั ยา ๒ ชนิด คอื ใบฝร่งั ๑๕ – ๒๐ ใบ สารสม้ ๑ ข้อนว้ิ กอ้ ย ไข้ทบั ระดู รกั ษาดว้ ยตัวยา ๓ ชนดิ คือ ใบบัวสตั ตบุษยม์ ัดด้วยตอกไมไ้ ผ่ ๓ ใบ สารส้ม องคุลีน้วิ กอ้ ย นำ้ ๔ แกว้ สะบักจม ขาแพลง ขอ้ เท้าแพลง กดจดุ ตรงทเี่ ป็นตามอาการ บวมปวดหาสาเหตุไม่ได้ เสกคาถาเปา่ 32 บันทกึ ภมู ิปัญญาหมอพ้ืนบา้ น ภาคกลาง
สำนักการแพทย์พน้ื บ้านไทย กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ๒๖.นายประครองทรัพย์ ชาญเชดิ ศักด์ิ อายุ ๔๔ ปี ประสบการณก์ ารรกั ษา ๒๖ ปี ไดร้ บั สืบทอดความร้จู ากบรรพบรุ ุษ ท่ีอยู่ ๓๘ หมู่ ๒ ต.บางมว่ ง อ.บางใหญ่ จ.นนทบรุ ี โทรศพั ท์ ๐๒-๙๒๔๗๔๓๕ ความเชยี่ วชาญ โรคเบาหวาน รกั ษาดว้ ยตวั ยา ๓ ชนดิ คอื กระเพราทง้ั ๕ ๒ สว่ น บอระเพด็ ๒ สว่ น พรกิ ไทย ๑ สว่ น โรคมะเร็ง รักษาด้วยตวั ยา ๕ ชนดิ คอื วา่ นชักมดลูก หนมุ านประสานกาย หวั พุทธรกั ษา เถาชงิ ช้าชาลี เปลือกทิ้งถ่อน ทกุ อยา่ ง อย่างละเท่ากัน โรคตบั อกั เสบและตบั แข็ง รกั ษาด้วยตวั ยา ๕ ชนิด คือ พังพองน้ำ ๑ กำมอื ผักเปด็ นำ้ ๑ กำมอื หญ้าใต้ใบ ๑ กำมือ ใบมะนาว ๑๐๘ ใบ เถาตดหมตู ดหมา ๑ กำมือ โรคลมคลั่งขอ้ รกั ษาดว้ ยตวั ยา ๕ ชนดิ คอื เถากระดง้ ๑๕๐ กรมั เปลอื กกระดงั งาไทย ๑๕๐ กรมั ว่านมา้ ห้อ ๗๕ กรัม แห้วหมู ๗๕ กรัม ขา่ ตาแดง ๗๕ กรัม โรคไข้เลือดออก รกั ษาดว้ ยตัวยา ๓ ชนิด คอื ตะไครแ้ กง ๕ ต้น หญ้าใต้ใบสแี ดง ๑ กำมอื หวั คณู สุมไฟเอาไว้ หนกั ๑๕ กรมั บันทึกภูมิปัญญาหมอพน้ื บ้าน ภาคกลาง 33
สำนักการแพทยพ์ ื้นบา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ๒๗.นายประสพสุข อังคะวะรา อายุ ๕๗ ปี ประสบการณ์การรักษา ๒๙ ปี ได้รบั สืบทอดความรู้จากบรรพบรุ ุษ ที่อยู่ ๑๐๔/๑๑๒ หมู่ ๖ ต.แสมดำ อ.บางขุนเทยี น จ.กรงุ เทพมหานคร โทรศพั ท์ ๐๘๑-๓๓๔๔๔๙๖ ความเช่ียวชาญ ปวดหลงั ปวดสะโพก ปวดแขน ปวดเขา่ ขอ้ มอื นวดคลายกลา้ มเน้อื เส้นเอน็ และจดั กระดูก 34 บนั ทกึ ภูมปิ ญั ญาหมอพื้นบ้าน ภาคกลาง
สำนกั การแพทยพ์ ื้นบ้านไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ๒๘.นายสมั ฤทธ์ิ ไม้ทอง อายุ ๖๘ ปี ประสบการณก์ ารรักษา ๓๔ ปี ไดร้ บั สบื ทอดความรู้จาก สถาบันการศกึ ษา ท่ีอยู่ ๒๑๑/๑ แขวงหลกั สอง จงั หวัดกรุงเทพมหานคร โทรศัพท์ ๐๘๑-๘๓๘๐๐๓๐ ความเชี่ยวชาญ การรกั ษาโรคกระดูกทับเสน้ ใชว้ ธิ กี ารนวดแผนโบราณ พฤตกิ รรมตอ้ งหา้ ม คอื หา้ มยกของหนกั ถา้ ยกแลว้ ปวดอกี อาจเกิดอาการเรื้อรัง บนั ทึกภมู ปิ ัญญาหมอพ้นื บา้ น ภาคกลาง 35
สำนกั การแพทยพ์ ้นื บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ๒๙.นายกติ ติพงษ์ ปงั ศรวี นิ จิ อายุ ๖๗ ปี ประสบการณก์ ารรกั ษา ๓๒ ปี ได้รบั สืบทอดความร้จู าก คณุ ยาย อ.ปราโมทย์ ศรีภิรมย์ และอ.นิยม กลิน่ หอม ท่อี ยู่ ๑๒๒/๔๕๖ หมู่ท่ี ๒ แขวงทงุ่ ครุ เขตทุง่ ครุ จังหวดั กรุงเทพมหานคร โทรศพั ท์ ๐๒-๘๗๑๘๘๔๒ ความเช่ยี วชาญ กระดูกทับเสน้ ประสาท รักษาด้วยการนวดให้กระดกู ทคี่ ดโค้งคนื สภู่ าวะปกติ โรคนิว่ ทางเดนิ ปัสสาวะ รักษาดว้ ยยา ๓ ชนิด คอื รากหญา้ คา ๔ บาท รากอีเหนยี ว ๒ บาท สารสม้ เท่าเมลด็ พทุ รา ลมขนึ้ เบ้อื งสงู (ความดันโลหติ สูง) รักษาดว้ ยตัวยา ๑๑ ชนดิ คอื โกฐทง้ั ๕ หนกั ๒ บาท เทียนทัง้ ๕ หนัก ๑ บาท เจตมลู เพลิง ๑ บาท สมอไทย ๒ บาท กมุ่ นำ้ ๑ บาท กุม่ บก ๑ บาท ดีปลี ๑ บาท พรกิ ไทยออ่ น ๑ บาท ดเี กลอื ๒ บาท ยาดำ ๓ บาท หสั คุณเทศ ๑ บาท 36 บนั ทกึ ภูมิปญั ญาหมอพนื้ บ้าน ภาคกลาง
สำนักการแพทยพ์ ้นื บา้ นไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ๓๐.นายสมั ฤทธ์ิ จำแนกวฒุ ิ อายุ ๖๐ ปี ประสบการณ์การรักษา ๓๖ ปี ไดร้ บั สืบทอดความรู้จากบรรพบุรษุ ทีอ่ ยู่ ๘/๒ หมู่ ๕ ต.หนองนำ้ สม้ อ.อทุ ัย จ.พระนครศรีอยธุ ยา โทรศพั ท์ ๐๘๑-๙๑๓๙๒๙๐ ความเชย่ี วชาญ กระดกู หกั ซ่ีโครงหกั ไหปลารา้ หกั ดงึ กระดกู ใหเ้ ขา้ กนั แลว้ จงึ วดั ขา้ งทไ่ี มห่ กั วา่ ยาวเทา่ ไหร่ แลว้ จงึ มาวดั ขา้ งทห่ี กั ใหเ้ ทา่ กบั ขา้ งทด่ี ี แลว้ ทานำ้ มนั ใช้สำลรี อง เข้าเฝอื กไม้ไผแ่ ล้วลงคาถากำกับ ไฟลามทุ่ง รักษาดว้ ยตวั ยา ๕ ชนิด คอื มหากาฬ ย่านาง ตำลึง ลกู เขยตายแม่ยายทำศพ กระสายสรุ าขาว ดนิ สอพอง ใชอ้ ตั ราสว่ นเท่ากนั อัมพาต นวดประคบด้วยสมุนไพร เขา่ รักษาด้วยตัวยา ๕ ชนดิ คือ ไพล ขมิน้ ชนั ผิวมะกรูด ตะไคร้ ใบมะขาม ปวดหลังหรอื กระดกู ทบั เส้น นวดประคบสมนุ ไพร บนั ทึกภูมปิ ัญญาหมอพน้ื บ้าน ภาคกลาง 37
สำนกั การแพทย์พน้ื บ้านไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ๓๑.นายสม งามนิคม อายุ ๗๒ ปี ประสบการณก์ ารรกั ษา ๓๘ ปี ได้รบั สบื ทอดความรู้จากอาจารยน์ ้อย รนื่ สุข ที่อยู่ ๑๒๖ หมู่ ๑๑ ต.หนองแคนาค อ.ทา่ เรือ จ.พระนครศรอี ยธุ ยา ความเช่ียวชาญ รักษางกู ัด รักษาด้วยตัวยา ๔ ชนดิ คือ ย่านางแดง เหมือดคน จันแดง จนั หอม อยา่ งละ ๑ บาท รอ้ นใน (ปากเปน็ แผล) รกั ษาด้วยตัวยา ๕ ชนดิ คือ ยา่ นางแดง เหมอื ดคน จันแดง จนั ขาว จนั หอม อยา่ งละ ๑ บาท 38 บันทกึ ภมู ิปัญญาหมอพืน้ บ้าน ภาคกลาง
สำนกั การแพทย์พื้นบ้านไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ๓๒.นางส้มโอ เกรกิ ชัยวัน อายุ ๖๙ ปี ประสบการณ์การรกั ษา ๓๔ ปี ได้รบั สบื ทอดความรู้จากบดิ า ทอี่ ยู่ ๒๐๐/๑๒ หมู่ ๔ ต.บ้านเลอื ก อ.โพธาราม จ.ราชบุรี โทรศัพท์ ๐๓๒-๓๔๘๑๐๓ ความเชี่ยวชาญ โรคมะเรง็ รักษาด้วยตวั ยา ๗ ชนิด คอื ตน้ โปร่งฟ้า ๑ ขดี ไก่ ๕ ขีด เน้ือวัว ๕ ขดี เนอื้ กุ้ง ๕ ขดี เนือ้ กบ ๕ ขีด กะทิ ๕ ขดี นวดจบั เสน้ เคลด็ ขดั ยอก กดบริเวณเสน้ เอน็ เขี่ยและแกะเส้นเอน็ ทำการจัดรปู กระดูก บนั ทกึ ภมู ิปัญญาหมอพ้นื บ้าน ภาคกลาง 39
สำนักการแพทย์พน้ื บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ๓๓.นางรตั นาวดี อินทรถาวร อายุ ๗๓ ปี ประสบการณก์ ารรักษา ๒๓ ปี ได้รบั สบื ทอดความรจู้ ากบรรพบุรุษ ศึกษาจากตำรา ท่อี ยู่ ๑๘ หมู่ ๓ ต.ไชโย อ.ไชโย จ.อ่างทอง โทรศพั ท์ ๐๘๗-๓๖๙๔๖๐๖ ความเช่ยี วชาญ มะเร็ง รักษาด้วยตวั ยา ๕ ชนิด คือ ข้าวเยน็ เหนือขา้ วเย็นใต้ ๑๐ บาท ฝหี มอบ ๑๐ บาท ขนั ทองพยาบาท ๑๐ บาท แซม่ ้าทะลาย ๑๐ บาท รากลำเจียก ๑๐ บาท อมั พฤกษ์ ใชก้ ารกดจดุ ต้นแขน ต้นข้อศอก ประตลู มขา้ งบน ไหลต่ ดิ ใช้ไมต้ อกเสน้ บริเวณไหล่ สะบักจม เสน้ หย่อน ใช้มอื ดึงเส้นใต้สะบัก จนเสน้ ออกมาใตส้ ะบกั การอยู่ไฟหลังคลอดบุตร ตัวยาน่ึงใหท้ ้องยุบรักษาดว้ ยตัวยา ๕ ชนดิ คอื กระเทียม ๑ ส่วน ใบมะกาบด ๗ สว่ น ดีปลี พรกิ ไทย ว่านชกั มดลูก ผสมเหลา้ ขาว ตัวยาดว้ ยผงธญั พชื มตี วั ยา คอื ใบยา่ นาง รางจดื เสลดพังพอน ดนิ สอพอง ผสมน้ำนมและน้ำเปล่า นั่งถ่าน มตี ัวยาคอื ผวิ มะกรดู ขา้ วเยน็ สารส้ม ดนิ ประสวิ ขัดผิว มีตัวยาคอื มะเฟือง เกสรบวั ดนิ สอพอง หมัก ๓ – ๔ เดอื น กระดูกทับเสน้ ใชต้ อกเส้นบริเวณก้นกบเป็นสำคญั 40 บนั ทึกภูมปิ ัญญาหมอพ้นื บ้าน ภาคกลาง
สำนักการแพทย์พ้นื บ้านไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ๓๔.นายบญุ เลีย้ ง เภสชั เวชกิจ อายุ ๖๕ ปี ประสบการณก์ ารรกั ษา ๕๒ ปี ได้รบั สบื ทอดความรจู้ ากมารดา ทอ่ี ยู่ ๒๑๖ หมู่ ๔ ต.บ้านแหลม อ.บางปลามา้ จ.สพุ รรณบุรี โทรศัพท์ ๐๘๑-๒๙๒๖๕๔๓ ความเช่ียวชาญ ซางหละเดก็ เลก็ รกั ษาดว้ ยตวั ยา ๒๖ ชนดิ แต่บอกได้ ๕ ชนดิ คือ จนั ทรแ์ ดง ลนิ้ ทะเล เถาเตา่ ไห่ พิมเสน กฤษณา กระษัย รักษาด้วยตวั ยา ๔๒ ชนดิ แตบ่ อกได้ ๕ ชนดิ คือ เถาวลั ยเ์ ปรียง ๒ สว่ น เถาคันแดง ๑ ส่วน, เถาโคคลาน ๑ ส่วน แสมสาร ๑ ส่วน ใบมะกา ๑ ส่วน โรคผวิ หนงั ผ่ืนคัน รักษาดว้ ยตัวยา ๓๐ ชนิด แตบ่ อกได้ ๕ อยา่ ง คือ ขันทอง ๑ ส่วน พลแู ก ๑ ส่วน เหงือกปลาหมอ ๑ สว่ น ข้าวเย็นเหนอื ๑ สว่ น ข้าวเยน็ ใต้ ๑ ส่วน บนั ทึกภมู ิปัญญาหมอพ้นื บ้าน ภาคกลาง 41
สำนกั การแพทย์พื้นบา้ นไทย กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ๓๕.นายสวัสด์ิ เรืองทองดี อายุ ๕๖ ปี ประสบการณก์ ารรักษา ๒๑ ปี ได้รับสืบทอดความรจู้ ากบิดา ที่อยู่ ๑๔/๔ หมู่ ๔ ต.หนองหญา้ ไซ อ.หนองหญา้ ไซ จ.สพุ รรณบรุ ี โทรศัพท์ ๐๘๑-๗๔๔๖๔๑๙ ความเช่ยี วชาญ ไขท้ ับระดู ระดูทับไข้ รักษาดว้ ยตัวยา ๓ ชนดิ คอื ตะไคร้ท้ังหา้ ๑๐ ตน้ ต้นงวงชา้ ง ๓ ตน้ ตน้ ใตใ้ บ ๑ กำมอื เก๊าท์ รกั ษาดว้ ยตัวยา ๔ ชนดิ คือ ขา้ วเยน็ เหนอื – ใต้ ทองพันชงั่ เหงอื กปลาหมอ ขันทองพยาบาท ใช้อย่างละ ๑๐ บาท อมั พฤกษ์ อัมพาต เปล้านอ้ ย เปล้าใหญ่ แก่นขเ้ี หลก็ เถาวลั ย์เปรียง มะเร็ง รักษาด้วยตัวยา ๔ ชนิด คือ ขันทองพยาบาท รากชิงชี่ รากหมากดดู รากมะขามปอ้ ม ใช้อยา่ งละ ๒๐ บาท เบาหวาน รกั ษาด้วยตัวยา ๔ ชนดิ คอื ขลู่ รากยอป่า เถาวลั ยเ์ ปรยี ง รากไทรย้อย อยา่ งละ ๑๐ บาท 42 บนั ทกึ ภูมปิ ัญญาหมอพน้ื บา้ น ภาคกลาง
สำนักการแพทยพ์ นื้ บา้ นไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ๓๖.นายบญุ สง่ ศรสี ำราญ อายุ ๘๕ ปี ประสบการณ์การรกั ษา ๕๗ ปี ได้รับสืบทอดความรู้จากบรรพบุรษุ ที่อยู่ ๑๓ ต.พลบั พลาไชย อ.อทู่ อง จ.สุพรรณบุรี ความเชี่ยวชาญ อัมพฤกษ์ อัมพาต รักษาดว้ ยตวั ยา ๖ ชนิด คือ เถาเอ็นอ่อน เถาวัลย์เปรียง ลูกสมอไทย ฝกั คณู ยาดำ เจตมูลเพลงิ ตกขาว รกั ษาดว้ ยตวั ยา ๕ ชนดิ คอื หัวข้าวเย็นเหนอื – ใต้ เหง้าสับปะรด หน่ออ้อ สารสม้ หญ้าชนั กาด มะเรง็ เตา้ นม รกั ษาดว้ ยตวั ยา ๑๖ ชนดิ คอื รากพทุ ธรกั ษาสขี าว ขา้ วเยน็ เหนอื ขา้ วเยน็ ใต้ ๕ บาท กระดูกควายเผือก กระดกู ม้า กำมะถนั เหลือง กำมะถนั แดง หญ้าปีกไกด่ ำ ดินประสิว ๒ บาท สารสม้ ๒ บาท หนอนตายอยาก รดิ สดี วงทวาร รกั ษาด้วยตัวยา ๘ ชนดิ คอื เพชรสังฆาต อัคคที วาร ว่านโอทกา ลูกจันทร์ มหาหิงคุ์ ยาดำ การบรู ว่านชักมดลูก พรกิ ไทย ใชอ้ ยา่ งละ ๔ บาท งูสวดั ไฟลามทงุ่ รกั ษาดว้ ยตวั ยา ๓ ชนดิ คอื ตน้ อคั คี ตน้ ตดหมตู ดหมา ตน้ อเี หมน็ บนั ทึกภมู ิปัญญาหมอพ้นื บา้ น ภาคกลาง 43
สำนักการแพทย์พ้ืนบา้ นไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ๓๗.นายสวา่ ง เชี่ยวชาญ อายุ ๖๔ ปี ไดร้ บั สืบทอดความร้จู ากอาจารย์แสวง รุ่งเรอื ง อาจารย์โพธ์ิ ค้ายาดี ทอี่ ยู่ ๑๐๒ หมู่ ๖ ต.บางพลบั อ.สองพีน่ อ้ ง จ.สุพรรณบรุ ี โทรศัพท์ ๐๘๑-๓๘๓๕๔๓๔ ความเชี่ยวชาญ งสู วดั ไฟลามทงุ่ รักษาด้วยตวั ยา ๑๒ ชนิด คอื เป่าพน่ ยาต้ม เรยี กดับพิษ เกสรทง้ั ห้า รากตะละพกุ รากขอ่ ย รากคนทา รากมะปรางหวาน รากเหมือดคน ดอกบวั ๓ ดอก เม็ดมะกอกนำ้ ๓ เม็ด จนั ทรท์ ั้ง ๒ ไข้ทบั ระดู ระดทู บั ไข้ รักษาด้วยตวั ยา ๔ ชนิด คอื ตน้ งวงชา้ งท้งั ห้า ๑ ต้น ตน้ ลูกใต้ใบท้งั หา้ ๑ ตน้ ตน้ ครอบจกั รวาล ๑ กง่ิ ผกั เส้ียนผีทั้งห้า ๑ ตน้ 44 บนั ทกึ ภมู ปิ ญั ญาหมอพื้นบา้ น ภาคกลาง
สำนกั การแพทย์พนื้ บา้ นไทย กรมพฒั นาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ๓๘.นายประจวบ สิงหวิบูลย์ อายุ ๖๒ ปี ประสบการณก์ ารรักษา ๓๐ ปี ไดร้ บั สบื ทอดความรจู้ ากบดิ า ที่อยู่ ๒๙๑/๓ หมู่ ๓ ต.เกาะหวาน อ.ปากพลี จ.นครนายก โทรศพั ท์ ๐๘๑-๙๔๐๒๒๗๕ ความเช่ยี วชาญ ปวดท้อง รักษาดว้ ยตวั ยา ๖ ชนดิ คอื ตำลึงทอง การบรู ๓ สว่ น พมิ เสน ๓ ส่วน ไอโอดีน ๒ ส่วน หวั นำ้ ตาล ๒ สว่ น เมนทอล ๒ ส่วน มะเร็งตับ รกั ษาดว้ ยตวั ยา ๓ ชนดิ คอื โลต่ น้ิ ๑/๒ สว่ น เพชรสงั ฆาต ๑ สว่ น พญาไรใ้ บ ๑ สว่ น ปวดหลัง รกั ษาดว้ ยตวั ยา ๓ ชนดิ คอื โลต่ น้ิ ๑ สว่ น เพชรสงั ฆาต ๒ สว่ น พญาไรใ้ บ ๒ สว่ น รดิ สดี วงทวาร รกั ษาดว้ ยตวั ยา ๓ ชนดิ คอื โลต่ น้ิ ๑ สว่ น เพชรสงั ฆาต ๒ สว่ น พญาไรใ้ บ ๒ สว่ น เบาหวาน รกั ษาดว้ ยตวั ยา ๓ ชนดิ คอื โลต่ น้ิ ๑ สว่ น เพชรสงั ฆาต ๒ สว่ น พญาไรใ้ บ ๒ สว่ น บันทกึ ภมู ปิ ญั ญาหมอพ้ืนบา้ น ภาคกลาง 45
สำนักการแพทยพ์ ้ืนบ้านไทย กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ๓๙.นายปรงุ มาลัย อายุ ๕๕ ปี ประสบการณก์ ารรกั ษา ๓๕ ปี ได้รับสบื ทอดความรูจ้ ากลงุ ฟงุ้ ท่ีอยู่ ๓ หมู่ ๖ ต.ปา่ ขะ อ.บ้านนา จ.นครนายก โทรศัพท์ ๐๘๗-๑๓๒๐๔๔๖ ความเช่ยี วชาญ กระดูกทับเสน้ รักษาโดยการจัดเรียงกระดูกใหใ้ หม่ ไม่ใหก้ ดทบั เส้นประสาททเี่ ปน็ อยู่ หวั เขา่ เสอื่ ม ฝนหนิ ปูนที่หัวเขา่ โดยการโยกขาขนึ้ ลงและชว่ ยสนั มือคลงึ ชว่ ย อัมพฤกษ์ นวดบำบัดและกายภาพบำบดั ประคบสมนุ ไพร กระดกู หกั ใชน้ ำ้ มนั นวด จบั กระดกู และเขา้ เฝอื ก จดั กระดกู ให้ตรงเข้าท่ตี ามเดมิ หวั ไหล่ติด น้ิวล็อค จบั โยกหวั ไหล่ให้หนิ ปูนหลดุ และใช้ชกั รอกชว่ ยในส่วนท่ปี วด 46 บนั ทึกภมู ปิ ัญญาหมอพ้นื บา้ น ภาคกลาง
สำนักการแพทยพ์ ้นื บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ๔๐.นายบุญมี เหนียวแน่น อายุ ๕๙ ปี ประสบการณก์ ารรกั ษา ๓๐ ปี ได้รับสืบทอดความรจู้ ากคณุ ตา และพระอาจารยเ์ จยี ม ทีว่ ดั เกาะโพธิ์ ทอี่ ยู่ ๖๘ หมู่ ๔ ต.คลองตระเกรา อ.ท่าตะเกยี บ จ.ฉะเชิงเทรา โทรศพั ท์ ๐๘๔-๗๒๑๖๑๕๖ ความเช่ยี วชาญ เริม งสู วัด ไฟลามทงุ่ ขยุ้มตนี หมา รักษาดว้ ยยา ๔ ชนิด คอื ใบหง่ิ หาย ๑ กำมอื ใบโคกกระออม ๑ กำมือ ใบข่อยดำ ๑ กำมอื , ดนิ สอพอง ๓ เมด็ โรคผวิ หนงั มะเรง็ ไฟ สะเกด็ เงนิ รกั ษาด้วยยา ๓ ชนดิ คอื รากรางจดื ๗๕ กรมั ทองพันชงั่ ทัง้ ๕ ใช้ ๗๕ กรัม เหงือกปลาหมอท้งั ๕ ใช้ ๗๕ กรัม ซางเดก็ หละ รกั ษาดว้ ยยา ๓ ชนิด คือ หางงูเหา่ เผาไฟ ๑ ช้อนชา มะนาว ๑ ชิน้ ต่อ ๑ คน เกลอื ตวั ผู้ ๑ เม็ด ต่อ ๑ คน บันทกึ ภมู ปิ ัญญาหมอพ้นื บ้าน ภาคกลาง 47
สำนักการแพทย์พ้นื บ้านไทย กรมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก ๔๑.นายสะโอด เนียมสะอาด อายุ ๖๗ ปี ประสบการณ์การรักษา ๒๗ ปี ได้รับสืบทอดความรู้จากบิดาและคณุ ลงุ ท่ีอยู่ ๕๖๗ หมู่ ๑๒ ต.คลองตระเกรา อ.ท่าตะเกียบ จ.ฉะเชิงเทรา โทรศพั ท์ ๐๘๖-๑๕๔๙๑๕๙ ความเชีย่ วชาญ เกา๊ ท์ รักษาด้วยยา ๔ ชนิด คอื เถาวัลย์เปรยี ง ๓๐ กรมั กำแพงเจ็ดชัน้ ๓๐ กรัม ขา้ วเย็นเหนือ แก่นกัดลิ้น ๓๐ กรัม หัวใจโต รักษาด้วยยา ๕ ชนดิ คือ ข้าวเยน็ ทัง้ สอง ๖๐ กรมั กำแพงเจด็ ช้นั ๖๐ กรมั ชะเอมเทศ ๖๐ กรมั กำมะถนั เหลือง ๑๕ กรัม ริดสดี วงจมูก รกั ษาดว้ ยยา ๕ ชนิด คอื ใบสงิ ห์โมราแหง้ ๑ หยิบมือ ดอกปีบแห้ง ๑ หยิบมอื เขาควายเผือก ๑ หยิบมือ ใบหนาด ๑ หยบิ มือ ใบลำโพง ๑ หยบิ มือ 48 บนั ทึกภูมปิ ัญญาหมอพ้นื บา้ น ภาคกลาง
สำนักการแพทยพ์ นื้ บ้านไทย กรมพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทย์ทางเลอื ก ๔๒.นายหอมชาย ยาจนั ทา อายุ ๕๖ ปี ประสบการณ์การรักษา ๒๓ ปี ได้รับสืบทอดความรจู้ ากบิดา ที่อยู่ ๑๙ หมู่ ๕ ต.โพธิงาม อ.ประจันทคาม จ.ปราจีนบรุ ี โทรศัพท์ ๐๘๗-๐๒๖๑๖๕๙ ความเชย่ี วชาญ อัมพฤกษ์ อมั พาต รกั ษาดว้ ยตัวยา ๘ ชนิด คือ น้ำมนั งาหรือน้ำมนั มะพรา้ ว ๘ สว่ น ไพล ๑ ส่วน ว่านกบี แรด ๑ ส่วน ว่านร้อยทอง ๑ สว่ น งูสวัด รกั ษาด้วยตัวยา ๒ ชนดิ คอื ถั่วเขียว ๑ หยบิ มอื นำ้ ซาวขา้ ว ๑ หยบิ มือ ปวดศรี ษะรุนแรง รกั ษาด้วยตวั ยา ๓ ชนิด คอื มะนาว วา่ นหางจระเข้ ปูนกนิ หมาก ไขท้ ับระดู รกั ษาดว้ ยตวั ยา ๓ ชนดิ คือ กาฝากหม่อน ไมไ้ ผ่สีสกุ แก่นข้าวโพด แก่นข้าวโพด รักษาด้วยตัวยา ๓ ชนิด คอื ย่านางแดง รางจดื เถา กาฝากมะมว่ ง บันทึกภมู ปิ ญั ญาหมอพื้นบ้าน ภาคกลาง 49
สำนักการแพทย์พนื้ บา้ นไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก ๔๓.นายวชิ ัย สุขเจริญ อายุ ๗๐ ปี ประสบการณก์ ารรกั ษา ๕๕ ปี ไดร้ ับสบื ทอดความรจู้ ากคณุ ตาและบดิ า ทีอ่ ยู่ ๕๐/๑ หมู่ ๑๘ ต.เนนิ หอม อ.เมอื ง จ.ปราจีนบรุ ี โทรศพั ท์ ๐๘๙-๙๘๐๕๙๕๖ ความเชี่ยวชาญ เบาหวาน รักษาดว้ ยตวั ยา ๓ ชนดิ คอื ว่านเอน็ เหลอื ง ๒.๕ กรัม รากเลบ็ เหยี่ยว ๒.๕ กรัม กระแตไต่ไม้ ๒.๕ กรัม กระดูกทับเส้น รกั ษาด้วยตวั ยา ๕ ชนดิ คอื ไพล ๑ สว่ น ขม้ินอ้อย ๑ สว่ น ขมิ้นชัน ๑ สว่ น ใบสม้ ปอ่ ย ๑/๒ สว่ น ตะไคร้หอม ๑/๒ สว่ น งสู วดั รักษาดว้ ยตวั ยา ๓ ชนดิ คอื หวั คลา้ ๒.๕ กรมั ข้าวสาร ๓ หยิบมือ นำ้ ซาวข้าว ๑ แกว้ มดลกู พกิ าร รกั ษาด้วยตวั ยา ๓ ชนิด คือ วา่ นชกั มดลูก วา่ นมหาปราบ วา่ นมหาเมฆ มุตกิด รกั ษาดว้ ยตวั ยา ๓ ชนดิ คอื เปลอื กขอ่ ย ๓ สว่ น ตน้ หนามเคลด็ ข้ี ๓ สว่ น หมากพลู 50 บันทึกภูมิปญั ญาหมอพ้ืนบ้าน ภาคกลาง
Search