Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1_04 บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค ภาคที่ 2 อาขยาต และ กิตก์

1_04 บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค ภาคที่ 2 อาขยาต และ กิตก์

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-02-17 00:47:33

Description: 1_04 บาลีไวยกรณ์ วจีวิภาค ภาคที่ 2 อาขยาต และ กิตก์

Search

Read the Text Version

ประโยค๑ - บาลไี วยากรณ วจีวภิ าค ภาคท่ี ๒ อาขยาต และ กิตก - หนา ที่ 200 ตเว.๑ กาตเว เพอ่ื จะทาํ กรฺ ธาตุ เปน กา. คนตฺ เว เพ่อื จะไป คมฺ ธาตุ เอาท่สี ดุ ธาตุเปน น.ฺ ปจ จัยนีล้ งในจตุตถวี ิภัตตินาม. ต.ิ มฺ ตี - ติ มติ. [ปญ ญาใด] ยอ มร,ู เหตุนั้น [ปญ ญาน้นั ] ชือ่ วาผูร.ู มฺติ เอตายา - ติ วา มต.ิ อกี อยางหนึ่ง [ชน] ยอ มรู ดว ยปญ ญานน่ั . เหตุน้นั [ปญญาน่นั ] ช่ือวาเปน เหตุรู [แหง ชน]. มนน วา มติ. อกี อยา งหน่งึ ความรู ชอื่ วามติ มนฺ ธาตุ ใน ความรู, ลบท่สี ุดธาต.ุ วิเคราะหตน เปนกัตตุรปู กัตตสุ าธนะ, วเิ คราะหกลาง เปนกตั ตุรูป กรณสาธนะ, วิเคราะหห ลงั เปน ภาวรูป ภาวสาธนะ. สรตี - ติ สต.ิ [ธรรมชาตใิ ด] ยอ มระลึก, เหตุน้นั [ธรรมชาตินน้ั ] ชื่อวาผรู ะลึก. สรติ เอตายา - ติ วา สติ อีก อยา งหนึ่ง [ชน] ยอ มระลกึ ดว ยธรรมชาตินัน่ เหตนุ นั้ [ธรรมชาติ นั่น] ชือ่ วา เปน เหตรุ ะลึก [แหง ชน]. สรณ วา สติ อีกอยา งหนง่ึ ความระลกึ ชอื่ วาสต.ิ สรฺ ธาตใุ นความ ระลกึ . สมฺปชชฺ ิตพพฺ า - ติ สมปฺ ตตฺ ิ. [ธรรมชาตใิ ด] อันเขาพึงถงึ พรอม, เหตุนนั้ [ธรรมชาตนิ น้ั ] ชื่อวาอนั เขาพึงถงึ พรอ ม. ส เปน บทหนา ปทฺ ธาตุ ในความถึง, เอาท่ีสุดธาตุ เปน ตฺ เอานคิ คหิต ๑. ปจ จยั เกาชดุ นีม้ ี ๓ คือ ตเว เชน ปหาตเว, เนตเว. ตเย เชน เหตุเย. ตาเย เชน ทกฺขิตาเย.

ประโยค๑ - บาลีไวยากรณ วจวี ภิ าค ภาคที่ ๒ อาขยาต และ กิตก - หนา ที่ 201 เปน มฺ ดวยนิคคหติ สนธิ (๓๒), เปนกัมมรปู กมั มสาธนะ. คจฉฺ นฺติ เอตฺถา - ติ คติ. [ชน ท.] ยอ มไป ในภูมนิ ั่น, เหตุน้ัน [ภูมนิ ่ัน] ชื่อวาเปน ทีไ่ ป [แหงชน ท.]. คมฺ ธาตุ ในความ ไป, ในความถึง, ลบทสี่ ดุ ธาต.ุ ต.ุ กาตุ เพือ่ จะทํา กรฺ ธาตุ คนฺตุ เพ่ือจะไป คมฺ ธาต.ุ ปจจยั นลี้ งในปฐมาและจตตุ ถวี ภิ ตั ตินาม. ย.ุ เจตยตี - ติ เจตนา. [ธรรมชาตใิ ด] ยอมคิด, เหตนุ ้ัน [ธรรมชาตินนั้ ] ชอื่ วาผคู ิด. จิตฺ ธาตุ ในความ คดิ , พฤทธ์ิ อิ เปน เอ, เอา ยุ เปน อน, อติ ถีลงิ ค ปฐมาวภิ ัตตนิ าม เปน อา (๕๒). เปนกัตตรุ ปู กตั ตสุ าธนะ. กุชฌฺ ติ สเี ลนา - ติ โกธโน. [ผใู ด] ยอ มโกรธ โดยปกต,ิ เหตุนัน้ [ผนู น้ั ] ช่ือวาผูโ กรธโดยปกติ. กุธฺ ธาตุ ในความ โกรธ, พฤทธิ์ อุ เปน โอ เปน กตั ตุรปู กัตตุสาธนะ, ลงในตัสสลี ะ. ภุ ฺชิตพพฺ นฺ - ติ โภชน. [ส่งิ ใด] อันเขาพึงกนิ , เหตุน้ัน [สิง่ นนั้ ] ช่ือวา อันเขาพึงกิน. ภุชฺ ธาตุ ในความ กนิ . เปน กัมมรูป กมั มสาธนะ. คจฺฉยิ เต - ติ คมน. [อันเขา] ยอมไป, เหตนุ นั้ ชือ่ วา ความไป. คมฺ ธาตุ ในความ ไป, เปนภาวรูป ภาวสาธนะ.

ประโยค๑ - บาลไี วยากรณ วจวี ภิ าค ภาคที่ ๒ อาขยาต และ กติ ก - หนา ท่ี 202 กโรติ เตนา - ติ กรณ. [เขา] ยอมทํา ดวยส่ิงนน้ั , เหตุนัน้ [สงิ่ นั้น] ชือ่ วา เปน เคร่อื งทํา [แหงเขา]. กรฺ ธาตุ ในความทํา, เปน กัตตุรูป กรณสาธนะ. สวณฺณิยติ เอตายา - ติ สว ณฺณนา. [เนือ้ ความ] อันทา น ยอ มพรรณนาพรอ ม ดวยวาจานน่ั , เหตนุ น้ั [วาจานั่น] ช่อื วา เปน เคร่ืองอนั ทานพรรณนาพรอ ม [แหงเน้ือความ]. ส เปนบทหนา วณฺณ ธาตุ ในความ พรรณนา, เปนกมั มรปู กรณสาธนะ. สยนฺติ เอตถฺ า - ติ สยน. [เขา ท.] ยอ มนอนในที่น่ัน, เหตุนน้ั [ทีน่ ่นั ] ชือ่ วาเปนทีน่ อน [แหง เขา ท.] สี ธาตุ ในความ นอน, พฤทธิ์ อี เปน เอ แลว เอาเปน อย,ฺ เปน กัตตรุ ปู อธิกรณสาธนะ. ยุ ปจจยั นี้ ถา ธาตุมี รฺ หรือ หฺ อยหู นา เปน อณ, แตธาตุ ทมี่ ี หฺ เปนทีส่ ุด ไมนิยมเหมอื นธาตุทมี่ ี รฺ เปน ทส่ี ดุ . กิริยากิตก (๑๓๘) กติ กท เ่ี ปน กริ ยิ า เรยี กวา กิริยากิตก. กิริยากิตกน ี้ ประกอบดว ยวภิ ตั ติ วจนะ กาล ธาตุ วาจก ปจ จยั , เหมอื น อาขยาต ตางแตไ มมบี ทและบุรษุ เทา นัน้ .

ประโยค๑ - บาลีไวยากรณ วจวี ภิ าค ภาคที่ ๒ อาขยาต และ กติ ก - หนา ที่ 203 วภิ ัตติ และ วาจก [วิภตั ต]ิ (๑๓๙) วภิ ัตตแิ หงกิรยิ ากิตกนน้ั ไมม แี ผนกหน่งึ เหมือนวภิ ตั ติ อาขยาต, ใชว ภิ ัตตินาม. ถา นามศัพทเปน วภิ ตั ติและวจนะอันใด กิรยิ ากติ กก ็เปน วภิ ตั ติและวจนะอนั นั้นตาม อยา งน้ี :- ภกิ ขฺ ุ คาม ปณ ฺฑาย ปวฏิ โ ภกิ ษุ เขา ไปแลว สูบา น ๑๒ ๓ ๔ ๑ ๔ ๒ เพือ่ กอ นขาว. ๓ เยเกจิ พุทธฺ  สรณ คตา เส [ชน ท.] เหลา ใดเหลาหน่งึ ๑ ๒ ๓ ๔๕ ถึงแลว ซ่งึ พระพุทธเจา วาเปน ทร่ี ะลึก ซ.ิ ๔๒ ๓๕ เอก ปุรสิ  ฉตฺต คเหตวฺ า คจฉฺ นตฺ  ปสฺสามิ [ขา ] เห็น ๑๒๓ ๔ ๕ ๖ ๖ ซ่งึ บรุ ุษ คนหนง่ึ ถือ ซง่ึ รม ไปอย.ู ๒ ๑ ๔๓ ๕ [กาล] (๑๔๐) ในกิตกนแ้ี บง กาลที่เปน ประธานได ๒ คือ ปจ จุบนั - กาล ๑ อดตี กาล ๑. กาลทั้ง ๒ นน้ั แบงใหล ะเอียดออกอีก, ปจ จบุ นั กาลจดั เปน ๒ คือ ปจ จุบันแท ๑ ปจจุบันใกล อนาคต ๑, อดีตกาล จดั เปน ๒ เหมอื นกนั คือ ลว งแลว ๑ ลว ง แลวเสร็จ ๑. กาลที่กลาวโดยยอ หรือพสิ ดารน้ี ในเวลาพูดหรือแตง

ประโยค๑ - บาลไี วยากรณ วจวี ภิ าค ภาคที่ ๒ อาขยาต และ กิตก - หนา ท่ี 204 หนังสือ อานหนังสือ ตองหมายรดู ว ยปจ จัยทกี่ ลาวขา งหนา. [ปจ จบุ ันกาล] ๑) ปจจุบนั แท แปลวา 'อยู' อุ. อห ธมมฺ  สุณนฺโต ปต ึ ลภามิ ขา ฟงอยู ซ่งึ ธรรม ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑๓ ๒ ยอ มได ซ่ึงปต .ิ ๕๔ ๒) ปจจุบนั ใกลอ นาคต แปลวา 'เมื่อ' อุ. อนสุ นฺธึ ฆเฏตวฺ า ธมมฺ  เทเสนโฺ ต อิม คาถ - มาห. ๑ ๒ ๓ ๔ ๕๖ ๗ [พระศาสดา] เมือ่ สบื ตอ ซ่งึ อนุสนธิ สําแดง ซง่ึ ธรรม ตรสั แลว ๒ ๑ ๔๓ ๗ ซึ่งคาถา อันน.้ี ๖๕ [อดีตกาล] ๑) ลว งแลว แปลวา 'แลว ' อุ. ตโย มาสา \"อตกิ ฺกนตฺ า\" เดอื น ท. ๓ กา วลวงแลว ๑๒ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒) ลวงแลว เสรจ็ แปลวา 'ครั้น - แลว ' อ.ุ เยน ภควา, เตนุ-ปสงฺกม,ิ อุปสงฺกมิตวฺ า ภควนตฺ  ๑๒ ๓๔ ๕๖ อภิวาเทตวฺ า, เอกมนตฺ  นสิ ที ิ. ภิกษรุ ูปหนึ่ง พระผูมีพระภาคเจา ๗ ๘๙ ๒ โดยทใ่ี ด, เขาไปใกลแ ลว โดยที่น้ัน. ครัน้ เขา ไปใกลแ ลว ไหวแ ลว ๑๔ ๓ ๕ ๗

ประโยค๑ - บาลไี วยากรณ วจวี ภิ าค ภาคที่ ๒ อาขยาต และ กิตก - หนา ที่ 205 ซงึ่ พระผูม พี ระภาคเจา จึงน่งั แลว ณ สวนขา งหน่ึง. ๖ ๙๘ ขาพเจาไดกลา วไวแ ลว ขา งตน (๑๓๐) วาธาตกุ ิตกน้นั ไมแ ปลก กับธาตอุ าขยาต, เพราะเหตนุ นั้ แมในทีน่ ีก้ ็ไมต องกลา วถงึ ธาตุอีก. วาจก (๑๔๑) แมถ ึงวาจกนี้ กจ็ ดั เปน ๕ อยางเดียวกนั กบั วาจกใน อาขยาต (๑๑๕) ตา งกนั สกั วารปู แหง กิริยาศพั ท, เพราะฉะนั้น ในท่ีนี้ จักสาํ แดงแตอุทาหรณเ ทา นนั้ . ๑) กตั ตวุ าจก. ภิกขฺ ุ คาม ปณ ฑฺ าย ปวิฏโ. ภิกษุ ๑๒ ๓ ๔ ๑ เขา ไปแลว สบู า น เพอ่ื กอนขา ว. ๔๒ ๓ ๒) กัมมวาจก. อธคิ โต โข มยา - ย ธมโฺ ม. ธรรม อันน้ี ๑ ๒๓๔ ๕ ๕ ๔ อันเรา ถงึ ทบั แลว แล. ๓ ๑๒ ๓) ภาววาจก. การเณเนตฺถ ภวิตพฺพ. อันเหตุ ในส่ิงน้ี ๑๒ ๓ ๑ ๒ พึงม.ี ๓ ๔) เหตกุ ัตตุวาจก. สเทวก ตารยนฺโต [ทา น] ยงั โลกน้ี ๑๒ กบั ทง้ั เทวโลก ใหข า มอย.ู ๑๒

ประโยค๑ - บาลีไวยากรณ วจวี ภิ าค ภาคท่ี ๒ อาขยาต และ กติ ก - หนา ที่ 206 ๕) เหตกุ มั มวาจก. อย ถูโป ปตฏิ าปโต. พระสตูป น้ี ๑๒ ๓ ๒๑ [อนั เขา] ใหต ัง้ จําเพาะแลว. ๓ ปจ จัยแหงกริ ิยากติ ก (๑๔๒) ปจจยั ทส่ี าํ หรบั ประกอบกบั กริ ิยากติ กน นั้ จดั เปน ๓ พวก เหมอื นปจ จยั แหงนามกติ ก. กติ ปจจยั อยา งนี้ :- อนฺต, ตวนฺตุ, ตาวี. กจิ จปจจยั อยางน้ี :- อนยี , ตพฺพ. กิตกิจจปจจัย อยางน้ี :- มาน, ต, ตูน, ตวฺ า, ตฺวาน. ในปจจยั ท้งั ๓ พวกนัน้ อนตฺ , มาน. ๒ นบ้ี อกปจจุบันนกาล ตวนฺตุ, ตาวี, ต, ตูน, ตวู า, ตฺวาน. ๖ นีบ้ อกอดีตกาล. อนีย, ตพพฺ . ๒ นบี้ อกความจําเปน. (๑๔๓) กิตปจจยั . อนฺต. สณุ นฺโต ฟง อยู. สุ ธาตุ ในความฟง , ณา ปจ จยั สนธิ (๑๙) กโรนโฺ ต ทําอยู. กรฺ ธาตุ ในความ ทาํ , โอ ปจ จยั สนธิ (๑๙) กเถนโฺ ต กลา วอย.ู กถฺ ธาตุ ในความ กลาว, เอ ปจจัย สนธิ (๑๙) ถาเปนอิตถีลงิ ค ลง อี เปน สณุ นฺตี กโรนตฺ ี กเถนตฺ .ี

ประโยค๑ - บาลีไวยากรณ วจวี ภิ าค ภาคท่ี ๒ อาขยาต และ กติ ก - หนา ท่ี 207 ตวนฺต.ุ สุตวา ฟง แลว. สุ ธาตุ ในความฟง , นาม (๖๔). ภุตฺตวา กินแลว . ภุชฺ ธาตุ ในความ กิจ, เอาทส่ี ุดธาตุ เปน ต,ฺ นาม (๖๔). วสุ ติ วา อยแู ลว . วสฺ ธาตุ ในความ อยู, เอา ว เปน วุ แลว ลง อ,ิ นาม (๖๔). ถาเปนอติ ถลี งิ ค เปน สตุ วตี, ภุตฺตวตี, วสุ ิตวต.ี นาม (๖๔). ตาวี. ป.ุ อติ .ฺ นป.ุ สตุ าวี สตุ าวนิ ี สุตาวิ ฟงแลว. ภตุ ตฺ าวี ภุตฺตาวินี ภตุ ฺตาวิ กนิ แลว. วุสติ าวี วุสิตาวินี วสุ ิตาวิ อยแู ลว . กริ ิยาศัพทท่ีประกอบดว ยกิตปจจัยอยางนี้อยูหนากิรยิ าอาขยาต โดยมาก, พึงเห็นวาเปน เหมือนบทวเิ สสนะ. (๑๔๔) กิจจปจจัย. อนยี . กรณีย อนั เขาพงึ ทํา. กรฺ ธาตุ ในความ ทาํ , เอา น เปน ณ. วจนีย อันเขาพงึ กลา ว. วจฺ ธาตุ ในความ กลา ว, โภชนยี  อนั เขา พงึ กิน. ภชุ ฺ ธาตุ ในความ กิน, พฤทธิ์ อุ เปน โอ. ศัพทท ปี่ ระกอบดว ยปจจยั นี้ บางศพั ทก็ใชเปน นามกติ กบา ง.

ประโยค๑ - บาลีไวยากรณ วจีวภิ าค ภาคที่ ๒ อาขยาต และ กติ ก - หนา ที่ 208 อุ. ปณีเตน ขาทนีเยน โภชนีเยน ปรวิ สิ .ิ เขาเลย้ี งแลว ดว ยของควรเคีย้ ว ดวยของควรบรโิ ภค อันประณตี . ตพพฺ . กตตฺ พฺพ อันเขาพงึ ทาํ , ลบ รฺ ซอน ตฺ. วตตฺ พฺพ อัน เขาพึงกลาว, วทฺ ธาตุ เอา ทฺ เปน ต.ฺ ภุฺชติ พพฺ  อนั เขา พงึ กนิ , ลง อิ อาคม. (๑๔๕) กติ กิจจปจจัย. มาน. มาน ปจ จัยนี้ มีคตเิ หมอื น อนฺต กแ็ ตวา ถา ไมม ี ย ปจ จัย ซ่ึงลงในกรรม เปนกัตตวุ าจก, ถา มี ย ปจ จัยน้นั เปน กมั มวาจก อยางน้ี :- กตั ตวุ าจก. กมั มวาจก. กรุ มุ าโน ทําอย.ู กริยมาโน อนั เขาทําอยู. ภุ ชฺ มาโน กินอย.ู ภุ ชฺ ิยมาโน อันเขากนิ อยู. วทมาโน กลา วอย.ู วุจจฺ มาโน อนั เขากลา วอยู. ต. ธาตุมี มฺ และ นฺ เปน ท่ีสุด ลบทส่ี ดุ ธาตุ. คโต ไปแลว. คมฺ ธาตุ ในความ ไป, ความถึง. รโต ยินดีแลว รมฺ ธาตุ ในความ ยินด.ี

ประโยค๑ - บาลไี วยากรณ วจีวภิ าค ภาคที่ ๒ อาขยาต และ กติ ก - หนา ที่ 209 ขโต อนั เขาขดุ แลว . ขนฺ ธาตุ ในความ ขดุ . หโต อันเขาฆา แลว . หนฺ ธาตุ ในความ ฆา . ธาตุ จ,ฺ ชฺ, และ ปฺ เปน ท่สี ุด เอาที่สุดธาตุ เปน ตฺ. สิตโฺ ต อนั เขารดแลว , สจิ ฺ ธาตุ ในความ รด. วิวิตฺโต สงดั แลว . ว+ิ วจิ ฺ ธาตุ ในความ สงัด. ภุตฺโต อนั เขากินแลว. ภชุ ฺ ธาตุ ในความ กิน. จตฺโต อันเขาสละแลว จชฺ ธาตุ ในความ สละ. คตุ โฺ ต อนั เขาคมุ ครองแลว. คุปฺ ธาตุ ในความ คุม ครอง. ตตโฺ ต รอนแลว. ตปฺ ธาตุ ในความ รอ น. ธาตมุ ี อา เปนท่ีสุดก็ดี ต เปนกมั มวาจกกด็ ี ลง อ.ิ ิโต ยนื แลว. า ธาตุ ในความ ตัง้ อยู. ปโต อนั เขาดมื่ แลว. ปา ธาตุ ในความ ดมื่ . อภิชฺฌโิ ต อันเขาเพง จําเพาะแลว . อภ+ิ ฌา ธาต๑ุ ในความ เพง. ภาสโิ ต อันเขากลาวแลว . ภาสฺ ธาตุ ในความ กลา ว. ธาตุมี ทฺ เปน ทีส่ ดุ อยูห นา แปลง ต เปน นฺน แลว ลบ ทส่ี ดุ ธาต.ุ ฉนฺโน อันเขามงุ แลว . ฉทฺ ธาตุ ในความ ปด. สนฺโน จมแลว . สทฺ หรอื สิทฺ ธาตุ ในความ จม. รนุ โฺ น รอ งใหแ ลว . รุทฺ ธาตุ ในความ รอ งไห. ๑. ธาตุ มี 'อา' เปนท่สี ดุ เอาท่สี ุดธาตุเปน 'อ'ี บา ง 'อิ' บาง.

ประโยค๑ - บาลไี วยากรณ วจวี ภิ าค ภาคท่ี ๒ อาขยาต และ กติ ก - หนา ท่ี 210 ฉนิ โฺ น อันเขาตัดแลว . ฉทิ ฺ ธาตุ ในความ ตัด. ภินโฺ น แตกแลว . ภทิ ฺ ธาตุ ในความ แตก. ทินฺโน อันเขาใหแ ลว ทา ธาตุ ในความ ให. (เอา อา ท่ี ทา เปน อ)ิ . ธาตมุ ี รฺ เปนทส่ี ดุ อยูหนา แปลง ต เปน ณณฺ แลวลบ ทส่ี ุดธาต.ุ ชณิ โฺ ณ แกแลว. ชริ ฺ ธาตุ ในความ คร่ําครา . ตณิ ฺโณ ขามแลว . ตรฺ ธาตุ ในความ ขา ม. ปณุ ฺโณ เต็มแลว . ปรู ฺ ธาตุ ในความ เตม็ . ธาตุมี สฺ เปน ทส่ี ุดอยหู นา แปลง ต เปน ฏ แลว ลบ ท่ีสุดธาต.ุ ตุฏโ ยนิ ดแี ลว . ตุสฺ ธาตุ ในความ ยินดี. หฏโ ราเรงิ แลว . หสฺ ธาตุ ในความ หวั เราะ. ปวิฏ เขา ไปแลว . ป+วสิ ฺ ธาตุ ในความ เขา ไป. ธาตมุ ี ธฺ และ ภฺ เปน ทส่ี ุดอยหู นา แปลง ต เปน ทธฺ แลว ลบที่สดุ ธาตุ. พุทโธ รแู ลว. พุธฺ ธาตุ ในความ ร.ู กทุ ฺโธ โกรธแลว. กุธฺ ธาตุ ในความ โกรธ. รุทโฺ ธ ปดแลว . รุธฺ ธาตุ ในความ กนั้ . ลทโฺ ธ อนั เขาไดแ ลว. ลภฺ ธาตุ ในความ ได. อารทโฺ ธ อันเขาปรารภแลว . อา+รภฺ ธาตุ ในความ เร่ิม.

ประโยค๑ - บาลไี วยากรณ วจีวภิ าค ภาคท่ี ๒ อาขยาต และ กติ ก - หนา ท่ี 211 ธาตุมี มฺ เปน ท่ีสดุ อยหู นา แปลง ต เปน นตฺ แลว ลบ ทส่ี ดุ ธาต.ุ ปกฺกนฺโต หลีกไปแลว . ป+กมฺ ธาตุ ในความ กา วไป. ทนฺโต ทรมานแลว . ทมฺ ธาตุ ในความ ทรมาน. สนฺโต ระงบั แลว. สมฺ ธาตุ ในความ สงบ, ระงับ. ธาตมุ ี หฺ เปนทสี่ ุดอยูหนา แปลง ต เปน ฬหฺ แลวลบ ที่สุดธาต.ุ รฬุ ฺโห งอกแลว. รหุ ฺ ในความ งอก. มฬุ ฺโห หลงแลว . มหุ ฺ ธาตุ ในความ หลง. วุฬฺโห อันนา้ํ พัดไปแลว. วหุ ฺ ธาตุ ในความ ลอย. ศัพททปี่ ระกอบดว ยปจจัยน้ี บางศัพทก ใ็ ชเ ปนนามกติ กบาง เหมือนบทวา พุทโฺ ธ เปน ตน. ตนู . ตฺวา. ตฺวาน. กาตูน. กตฺวา. กตฺวาน. ทาํ แลว . คนฺตนู . คนฺตฺวา. คนตฺ วฺ าน. ไปแลว. หนฺตูน. หนตฺ วฺ า. หนตฺ ฺวาน. ฆาแลว. อปุ สคั อยหู นา แปลงปจ จยั ทั้ง ๓ เปน ย. อาทาย ถอื เอาแลว . อา+ทา ธาตุ ในความ ถือเอา. ปหาย ละแลว . ป+หา ธาตุ ในความ ละ. นิสสฺ าย อาศัยแลว . นิ+สี ธาตุ ในความ อาศยั .

ประโยค๑ - บาลีไวยากรณ วจีวภิ าค ภาคที่ ๒ อาขยาต และ กติ ก - หนา ที่ 212 ธาตุมี มฺ เปนท่ีสดุ อยหู นา แปลง ย กบั ทสี่ ุดธาตุ เปน มฺม. อาคมฺม มาแลว . อา+คมฺ ธาตุ ในความ ไป. นิกขฺ มมฺ ๑ ออกแลว. น+ิ ขมฺ ธาตุ ในความ ออก. อภิรมมฺ ยนิ ดียง่ิ แลว. อภิ+รมฺ ธาตุ ในความ ยนิ ด.ี ธาตมุ ี ทฺ เปน ทสี่ ุดอยูหนา แปลง ย กับทส่ี ดุ ธาตเุ ปน ชชฺ . อุปปฺ ชชฺ เกิดขน้ึ แลว . อ+ุ ปทฺ ธาตุ ในความ เกดิ . ปมชชฺ ประมาทแลว . ป+มทฺ ธาตุ ในความ ประมาท. อจฉฺ ชิ ชฺ ชิงเอาแลว . อา+ฉทิ ฺ ธาตุ ในความ ชิงเอา. ธาตุมี ธฺ และ ภฺ เปน ทส่ี ดุ อยูหนา แปลง ย กับท่ีสุดธาตุ เปน ทธฺ า, พภฺ . วทิ ฺธา แทงแลว. วิธฺ ธาตุ ในความ แทง. ลทธฺ า ไดแ ลว . ลภฺ ธาตุ ในความ ได. อารพภฺ ปรารภแลว . อา+รภฺ ธาตุ ในความเรมิ่ . ธาตมุ ี หฺ เปน ท่ีสดุ อยหู นา แปลง ย กับทสี่ ดุ ธาตเุ ปน ยฺห. ปคฺคยฺห ประคองแลว. ป+คหฺ ธาตุ ในความ ประคอง. สนนฺ ยฺห ผกู แลว . ส+ นหฺ ธาตุ ในความ ผกู . อารุยฺห ขน้ึ แลว. อา+รหู ฺ ธาตุ ในความ ข้ึน. แปลง ตวฺ า เปน สวฺ า, ตฺวาน เปน สฺวาน จาํ เพาะแต ทสิ ฺ ธาตุ อยา งเดียว. ปจจยั ท้ัง ๓ ตวั นี้ บอกอดตี กาลโดยมากกวา กาลอนื่ จึงไดจดั ๑. อีกอยางหนงึ่ นกิ ฺขมฺม นิ+กมฺ ธาตุ ในความ ออก, กา วออก.

ประโยค๑ - บาลีไวยากรณ วจวี ภิ าค ภาคที่ ๒ อาขยาต และ กติ ก - หนา ท่ี 213 ไวในพวกอดตี กาล, ท่บี อกกาลอื่น จกั มีแจง ในวากยสัมพันธขา งหนา และศัพททีป่ ระกอบดว ยปจจยั ทั้ง ๓ ตัวนี้ นาํ หนากริ ิยาอาขยาตเปนนิตย. [๑๔๖] คําถามชอื่ สาธนะ ธาตุ ปจจยั และวาจก ใหผ ู ศกึ ษาตอบ. ถามสาธนะ และ ปจ จัย ทา ธาตุ ในความ ให. ทายโก ชอ่ื คน \" \" ทาน ชอ่ื กริ ิยา \" \" ทาน ชอื่ เจตนา \" \" ทาน ชอ่ื ของ \" \" ทาน ช่ือท่ี ปจฺ ธาตุ ในความ หุง ปาจโก ชอื่ คน \" \" ปกฺก ช่ือขา ว \" \" ปาโก ชอื่ หมอ ขา ว \" \" ปจน ชือ่ กิรยิ า \" \" ปจน ชื่อฟน พนฺธ ธาตุ ในความ ผูก. พนธฺ โก ชอื่ คนผกู \" \" พนฺธน ชอื่ กริ ยิ า \" \" พนธฺ น ชื่อเรือนจํา \" \" พนฺธน ช่อื โซ \" \" พนฺโธ ชือ่ คนท่เี ขาผกู .

ประโยค๑ - บาลไี วยากรณ วจวี ภิ าค ภาคที่ ๒ อาขยาต และ กิตก - หนา ที่ 214 ถามธาตุปจจยั และวาจก ภวิตพพฺ  อนั เขาพึงม.ี ทสิ วฺ าน เห็นแลว สมฺมุยฺห หลงพรอมแลว . กถโิ ต อันเขากลา วแลว . ฉนิ ทฺ ิย ตดั แลว. เทสโิ ต อนั เขาแสดงแลว. นสิ นิ โฺ น น่ังแลว. ปสสฺ นโฺ ต เหน็ อย.ู วนโฺ ต คายแลว. ทฏิ โ อันเขาเหน็ แลว. วทนฺโต กลาวอยู. สิทฺโธ สาํ เรจ็ แลว . สุตวฺ า ฟงแลว. พทฺโธ เน่ืองแลว . ลทฺธาน ไดแลว . ภนโฺ ต หมุนแลว . ทสิ วฺ า เห็นแลว . อากิณฺโณ เกลอ่ื นกลน แลว . โอกฺกมมฺ กา วลงแลว. วนฺทนโี ย อนั เขาพึงไหว. โอคาฬฺโห หยั่งลงแลว. วนทฺ นโี ย อนั เขาพึงไหว. จบกิตกแ ตเทา นี้.