Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 02092019_033513-0000001845

02092019_033513-0000001845

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-11-14 23:21:52

Description: 02092019_033513-0000001845

Search

Read the Text Version

พิมพ์ : สิงหาคม 2555 จ�ำนวน : 10,000 เล่ม ผู้จัดท�ำ : คณะท�ำงานพัฒนาองค์ความรู้ด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ ผลิตโดย : กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โทรศัพท์ 0 2590 1668 พิมพ์ที่ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด

ชุดความรู้ 6 ด้านการคุ้มครองผู้บริ โภคด้านผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ พสรขุ อ้ภมารพบั ปภลยั นอำ�้ดทภว่ ยัม กลุ่มภารกิจด้านสนับสนนุ งานบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข  กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ  กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์  ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา



คำ� นำ� สถานการณ์การเกิดน้�ำท่วมในหลายพื้นที่ ท้ังน้�ำไหลหลากและ น้�ำท่วมขังเป็นเวลานาน ส่งผลให้ผู้ประสบภัยได้รับความเดือดร้อน รวมไปถึง ความเส่ียงอันตรายต่อสุขภาพ ทั้งความเครียด และโรคภัยไข้เจ็บท่ีเกิดขึ้น ในช่วงน�้ำท่วม ซึ่งมีโรคต่างๆ หลายโรคท่ีต้องระมัดระวัง การจัดการความเครียด และเพิ่มการดูแลสุขภาพ ของตนเองและครอบครัวมากยิ่งขึ้น เพ่ือไม่ให้เกิด การเจ็บป่วยที่จะซ�้ำเติมให้เราเกิดความสูญเสียมากย่ิงข้ึน หนังสือ สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม เป็นแนวทางในการ เตรียมพร้อมรับสถานการณ์ และดูแลสุขภาพตนเองและบุคคลในครอบครัว ให้ปลอดภัยจากอันตรายต่อสุขภาพและลดการเกิดโรคติดต่อต่างๆ เม่ือ เกิดภัยข้ึน ท้ังนี้ขอเป็นก�ำลังใจให้ทุกท่านผ่านวิกฤตน้�ำท่วมไปได้โดยเกิด ความเสียหายน้อยที่สุด ผู้จัดท�ำ สิงหาคม 2555 สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม 3

สารบญั ก................า............ร........2431....เ.........ต.... ....... ........ร........กศเย....ีตย........าึ้กา....ร....มร....ยษ....ีย....เ....เคต....ามอ........ขร....วอก........ีย้อ....าุสป........มม....มา....ก....กูล....รพ....ร....าทแ....ณ....ร....รล่ี....เ....กอ์/้....ะอ........ี่ยพท....ขม........วอ....ยร....ก....ขัพง....พ....้อ่อ....ก....ย ....งิ....นน....์ส ........-....นิน........ข.... ้�ำ........อ....ท........ง........ใ่ว....ช............ม้ท............ ....ี่จ........�ำ............เ....ป................็น............ ................ หน้า . . . . . ................111....1....5409........1........ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . การปฏิบัติตัวขณะน้�ำท่วม 17...................................................................................................................... 1. อาหารและน้�ำ 18...................................................................................................................... .........2...... ....อ...น...า...ม...ัย...ส...่ว..น....บ...ุค...ค....ล.../...ก...า..ร...ข..ับ....ถ...่า..ย.... ............................2...0...... .........3...... ....ก...า..ร...ก...�ำ..จ...ัด...ข...ย...ะ.. ................................................................2...2...... .........4...... ....ป...้อ...ง..ก...ัน....อ...ัน...ต....ร..า...ย...จ..า...ก...ไ.ฟ....ฟ...้.า.. .......................................2...3...... .........5...... ....ป...้อ...ง..ก...ัน....ก...า..ร...จ..ม...น....้�ำ.. ........................................................2....5...... ...... ......76............ ...... ..ดป......ูแ้อ....ล..ง....จก......ิตัน......ใ..อ..จ....ัน......สต......ู้ภ..ร....าัย......ยน......จ..้�ำ..า..ท....ก....่ว..ส..ม....ัต.. ....ว......์/......อ......ุบ......ัต......ิ..เ..ห......ต......ุ.. . ... ......22......9..8...... 8. โรคที่พบบ่อย ... . ....... . . . . . 30 . . . . . . .... ....... . . . . . . . 4 สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน�้ำท่วม

ก................า............ร........ขขขข....ป........ั้้้ัั้ันนนน........ฏ....ทททท............ิบ....่ี่ีีี่่ ........1342....ัต................ิห....เ....ลตกป........ล....ง่อร....ล....มัง....ียน....่อ....ือน....ม....ลย....ท....ต้�ำ....งใ....ห....�ำมทัว........ค....ืใอ้แ....่วห....หว....ท....ม....้พา....้ง�ำ....ม.... ร.... ........ส้อ........ะ....ม........อ.... ........า............ด............ .................... หน้า . . . . . ........ . . . . . ....... . . . . . ........44....333............7069....8............ . . . . . . . ........ . . . . . ....... . . . . . . . . . . . . ........ . . . . . ....... . . . . . . . . . . . . ........ . . . . . ....... . . . . . . . สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม 5

6 สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม

พรสอ้ขุ มภราพบั ปภลยั อนดำ�้ ภทยั ว่ ม เม่ือเกิดน�้ำท่วมขึ้น สภาพแวดล้อมต่างๆ มีการ เปล่ียนแปลงผิดปกติไปจากเดิม ส่งผลท�ำให้มีความเส่ียง ต่อสุขภาพและการเกิดโรคภัยไข้เจ็บเกิดขึ้นมากมาย การมีความรู้ ความตระหนักถึงภัยต่างๆ การดูแลใส่ใจ และมีพฤติกรรมสุขภาพท่ีถูกต้องเหมาะสม จึงเป็นแนว ทางในการลดความเส่ียงต่ออันตราย ลดการเจ็บป่วย และลดการเกิดโรคติดต่อต่างๆ เมื่อเกิดภัยขึ้น สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน�้ำท่วม 7



กอ่ นนำ้� ทว่ มการเตรยี มความพรอ้ ม สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน�้ำท่วม 9

การเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นนำ�้ ทว่ ม 1. ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง  ติดตามสถานการณ์เกี่ยวกับการเกิดอุทกภัย เช่นระดับน�้ำ พยากรณ์อากาศ จากสื่อต่างๆ อย่างมีสติ ไม่ตระหนกเกินไป  ศึกษาสถานท่ีที่เป็นที่สูง สถานท่ีตั้งของท่ีพักพิงฉุกเฉินหรือศูนย์อพยพ  ติดต่อกับญาติ/ผู้ที่รู้จักที่อยู่ต่างพื้นท่ี เพ่ือช่วยเหลือกันเมื่อเกิดน้�ำท่วม  บันทึกหมายเลขโทรศัพท์ฉุกเฉินไว้ในโทรศัพท์หรือจดบันทึกไว้ 10 สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน�้ำท่วม

2. เตรียมอุปกรณ์/ของกิน-ของใช้ที่จ�ำเป็น เม่ือเกิดภาวะน�้ำท่วม อาจจะท�ำให้ไม่สะดวกต่อการออกจากที่พัก จึงควรเตรียมสิ่งของที่จ�ำเป็นไว้ใช้ในครอบครัว เช่น  อาหารกระป๋อง-อาหารส�ำเร็จรูป (ตรวจสอบวันหมดอายุและลักษณะ ของกระป๋องให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์ ไม่ผิดปกติ)/เตรียมอุปกรณ์ท่ีใช้ท�ำ อาหาร  ภาชนะสะอาดส�ำหรับบรรจุน�้ำขนาดใหญ่หลายๆ อัน ให้เพียงพอต่อ การใช้น�้ำ (ประมาณห้าแกลลอนหรือ 50 ลิตรต่อคนต่อวัน)  น้�ำดื่ม-น�้ำต้มสุก บรรจุขวดสะอาด ปิดฝาเตรียมไว้หลายๆ ขวด  อาหารส�ำหรับทารกและนม/หรือ เตรียมผ้าอ้อมและของใช้ ส�ำหรับทารก  เคร่ืองใช้ส�ำหรับดูแลสุขอนามัย ส่วนบุคคล เช่นสบู่, ยาสีฟัน, ผ้าอนามัย ฯลฯ สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน�้ำท่วม 11

 ผ้า/กระดาษส�ำหรับท�ำความสะอาดชนิด ใช้คร้ังเดียวแล้วทิ้ง ส�ำหรับทั้งครอบครัว ในกรณีที่ไม่สามารถอาบน�้ำได้  เชือกส�ำหรับผูกโยง/เป็นราวทางเดิน/ ตากเสื้อผ้า  อุปกรณ์ชูชีพ เช่น ห่วงยาง เส้ือชูชีพ  ไฟฉายและถ่านไฟฉาย/เทียนไข/ไม้ขีดไฟ/ นกหวีด/แบตตาร่ีส�ำรอง  ยาสามัญประจ�ำบ้าน/ยาประจ�ำตัวส�ำหรับ ผู้มีโรคประจ�ำตัว/ชุดปฐมพยาบาล  ผงน้�ำตาลเกลือแร่ ติดไว้เผ่ือมีอาการ ท้องร่วง  ถุงขยะสีด�ำใบใหญ่ ไว้รวมขยะทั้งหมด ให้อยู่ในถุง และเชือกส�ำหรับผูกปากถุง  ถุงพลาสติก เอาไว้ใส่ขยะและเอาไว้ถ่าย หนัก-เบา หากถ่ายลงในน้�ำจะท�ำให้ เป็นแหล่งเพาะเชื้อโรคได้ 12 สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม

 ปูนขาว ใช้ใส่ในถุงพลาสติกที่ถ่ายหนัก-เบา เพ่ือฆ่าเช้ือโรค  รองเท้ายาง รองเท้าที่มีความทนทานและ ถุงมือกันน้�ำ  วัสดุส�ำหรับบ�ำบัดให้น้�ำสะอาด เช่น สารส้ม ผงคลอรีนหรือยาเม็ดไอโอดีน  ยากันยุง สมุนไพรหรือสารไล่ยุง เสื้อผ้าแขน ยาวและขายาวส�ำหรับป้องกันยุงกัด  พาหนะ หากมีการเจ็บป่วยท่ีต้องเดินทางไป โรงพยาบาล เช่น เรือ รถยนต์ ข้อพิจารณา เตรียมของก่อน ป้องกันการขาดแคลนของ โดยเฉพาะของท่ีเก็บไว้ได้นาน สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม 13

3. ย้ายเอกสารและทรัพย์สิน  ย้ายเอกสารส�ำคัญ บัตรสุขภาพ ทรัพย์สิน/ของมีค่า ไปไว้ชั้นบน  ย้ายผลิตภัณฑ์สารเคมี สารพิษต่างๆ เช่นยาฆ่าแมลงไปยังสถานท่ีน�้ำท่วม ไม่ถึง 14 สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม

4. การเตรยี มการอพยพ  วางแผนการอพยพคนและสัตว์เลี้ยง โ ด ย ศึ ก ษ า เ ส ้ น ท า ง ก า ร อ พ ย พ แ ล ะ ส ถ า น ท่ี ต้ั ง ข อ ง ที่ พั ก พิ ง ฉุ ก เ ฉิ น ห รื อ ศูนย์อพยพ  แจ้งหน่วยงานในท้องถ่ิน/ชุมชน เก่ียวกับความต้องการการช่วยเหลือ กรณีพิเศษ เช่น มีเด็ก ผู้สูงอายุผู้ป่วย หรือผู้ความพิการ  เมื่อมีการแจ้งให้อพยพ ควรอพยพไป ในท่ีที่จัดไว้ เพื่อสะดวกต่อการช่วยเหลือ สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม 15



การปฏบขิ ตั ณติ วั ะนำ�้ ทว่ ม สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน�้ำท่วม 17

การปฏบิ ตั ติ วั ขณะนำ้� ทว่ ม ในช่วงขณะเกิดน้�ำท่วม หรือน�้ำท่วมขังเป็นเวลานาน ควรดูแลตนเอง และครอบครัว เพื่อไม่ให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บหรืออันตรายต่อสุขภาพ โดยการ ปฏิบัติในเร่ืองต่างๆ ดังนี้ 1. อาหารและน้�ำ  ในการกินอาหารและน้�ำทุกคร้ัง ต้องม่ันใจว่าอาหารและน�้ำน้ัน สะอาด อาหารท่ีปรุงข้ามม้ือ ควรอุ่นอาหารทุกครั้งก่อนกิน เพราะในภาวะน�้ำท่วม มีโอกาส ท่ีจะได้รับเชื้อโรคสูงมาก 18 สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน�้ำท่วม

 อาหารปรุงส�ำเร็จพร้อมบริโภค ให้ รับอาหารมาพอกินในแต่ละม้ือ เมื่อรับอาหารมาแล้วให้ดูสภาพ อาหารว่าไม่มีลักษณะผิดปกติ เช่น ไม่มีฟอง ไม่มีกล่ินบูดเน่า และ ควรอุ่นอาหารทุกคร้ัง ถ้ากินไม่หมดให้ทิ้ง เพราะการ เก็บไว้นาน เสี่ยงต่อการบูด เน่าเสีย อาจท�ำให้ท้องเสียได้  ถ้าหากเป็นอาหารกระป๋อง หรืออาหารส�ำเร็จรูป ต้องตรวจ สอบวันหมดอายุ และกระป๋องท่ีบรรจุอาหาร กระป๋องต้องอยู่ในสภาพ สมบูรณ์ ไม่บุบ ไม่บวม และไม่เป็นสนิม ถ้ามีอาหารให้เลือกหลายชนิด ให้สลับหมุนเวียนการกิน เพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารท่ีหลากหลาย  ควรด่ืมน้�ำดื่มท่ีผ่านการต้มหรือน�้ำบรรจุขวดที่ผ่านการรับรอง หรือใช้น้�ำ จากแหล่งเก็บน�้ำท่ีได้รับการรับรองว่าสะอาดสามารถใช้ได้  ก่อนใช้น�้ำจากแหล่งน�้ำต้องฆ่าเช้ือ เช่น การแกว่งด้วยสารส้ม การใช้คลอรีน ตามค�ำแนะน�ำเพื่อฆ่าเช้ือโรคท่ีมีอยู่ในน�้ำ สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม 19

2. อนามยั สว่ นบคุ คล/การขบั ถา่ ย  ล้างมือให้บ่อยเท่าที่จะท�ำได้  หลีกเล่ียงการแช่น้�ำนานๆ โดยเฉพาะผู้มีแผล  ท่านท่ีต้องเดินลุยน้�ำ ต้องใส่รองเท้าบูท หากลุยน�้ำโดยไม่ใส่รองเท้า เมื่อลุยน้�ำแล้วต้องล้างเท้าให้สะอาด แล้วเช็ดให้แห้ง หากมีอาการ เท้าเปื่อยควรทาด้วยยาประเภทขี้ผึ้งเคลือบแผล 20 สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน�้ำท่วม

 ซัก ท�ำความสะอาดเส้ือผ้า ด้วยน้�ำสะอาดและผงซักฟอก ตากแดดให้แห้ง และไม่ควร ใส่ช้�ำๆ  ถ่ายอุจจาระและปัสสาวะลงส้วม ห้าม ถ่ายลงน้�ำโดยตรง กรณีท่ีไม่มีห้องน�้ำ ต้องถ่ายลงในถุงพลาสติก และต้อง ใส่ปูนขาวลงไปพอประมาณ เพ่ือ ฆ่าเชื้อ หลังจากนั้นผูกถุงให้สนิท แล้วท้ิงในถุงด�ำอีกที เพื่อป้องกัน เชื้อโรคแพร่กระจาย สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน�้ำท่วม 21

3. การกำ� จดั ขยะ  ทิ้งขยะ เศษอาหารลงในถุงพลาสติก มัดปากถุงให้แน่น หรือทิ้งใน ภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิด วางรวมไว้ในจุดที่สะดวกและน�ำไปทิ้งในถังขยะ หรือรถ/เรือก�ำจัดขยะ ไม่ทิ้งขยะลงน้�ำ 22 สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม

4. ปอ้ งกนั อนั ตรายจากไฟฟา้  ควรส�ำรวจสายไฟ ปลั๊กไฟ และเครื่องใช้ไฟฟ้าท่ีติดตั้งในระดับต�่ำ ให้ย้ายให้สูงพ้นระดับน้�ำ  เม่ือพบสายไฟขาดหรือห้อยอยู่ ห้ามแตะต้อง ให้แจ้งเจ้าหน้าที่ตรวจสอบ และแก้ไขทันที  กรณีบ้านสองช้ัน ควรแยกตัดไฟชั้นล่าง  อย่าเปิด – ปิดอุปกรณ์ไฟฟ้า ด้วยตนเองขณะท่ียืนอยู่ในน้�ำ หรือร่างกายเปียกน้�ำอยู่  ใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ด้วย ความระมัดระวัง โดยเฉพาะ เครื่องใช้ไฟฟ้าท่ีตั้งอยู่ บริเวณที่ชื้นแฉะ สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม 23

ถ้ามีคนถูกไฟฟ้าช็อต 1. ส่ิงแรก อย่าไปแตะ ตัวคนที่ถูกไฟช็อต เพราะกระแสไฟฟ้า อาจจะผ่านมาท่ี ตัวคุณได้ 2. ถ้าเป็นไปได้ให้ตัดไฟหรือปิดไฟจากแหล่งจ่ายไฟนั้น 3. บุคคลที่ช่วยให้สวมรองเท้าแล้วน�ำวัสดุท่ีเป็นฉนวนไฟฟ้า เช่น เชือกแห้ง เสื้อผ้าแห้ง กระดาษแข็ง พลาสติก ดึง กระชากหรือผลักตัวผู้ถูกไฟช็อต ออกอย่างรวดเร็ว 4. เม่ือหลุดจากแหล่งจ่ายไฟแล้ว ให้ตรวจลมหายใจและชีพจร ถ้าไม่หายใจ และชีพจรหยุดเต้น หรือ เบา ช้า จนอันตราย ให้รีบท�ำการกู้ชีพทันที 5. ถ้าคนน้ันเป็นลม ซีด หรือแสดงอาการว่าจะหมดสติ ให้วางคนนั้นนอนลง โดยให้ศีรษะอยู่ต่�ำกว่าล�ำตัวเล็กน้อยและยกขาข้ึน 24 สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน�้ำท่วม

5. ปอ้ งกนั การจมนำ้� การป้องกันการจมน�้ำ ท�ำได้ดังน้ี  ไม่ลงเล่นน�้ำบริเวณที่มีน้�ำขัง น้�ำเช่ียว  พ่อแม่ควรดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด ไม่ปล่อยให้เด็กอยู่ใกล้น้�ำตามล�ำพัง  ระวังพ้ืนที่ท่ีมีความเสี่ยงต่อการ จมน้�ำ โดยการติดป้ายหรือท�ำสัญลักษณ์ ให้เห็นชัดเจน  ส�ำรวจบริเวณบ้าน รอบบ้าน ป้องกันพื้นที่เสี่ยงต่อการตกน�้ำ เช่น พ้ืนไม้ผุ มีตะไคร้ข้ึน ทางเดินบนสะพานแคบและไม่แข็งแรง  ผู้ที่ออกหาปลา งมหอย เก็บผัก ควรเตรียมอุปกรณ์ชูชีพให้พร้อม โดยประยุกต์ใช้อุปกรณ์ที่หาได้ง่าย เช่น ห่วงยาง แกลลอนเปล่า ลูกมะพร้าว และไม่ควร ออกไปตามล�ำพัง  งดกิจกรรมทางน�้ำ ขณะท่ีน�้ำไหลเช่ียว  ผู้ที่มีโรคประจ�ำตัว ไม่สามารถดูแลตนเองได้ ขณะเกิดเหตุไม่ควรอยู่ตามล�ำพัง สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม 25

เมื่อพบผู้ก�ำลังจมน�้ำ 1. หาอุปกรณ์ที่อยู่ใกล้ตัว เช่นไม้ เชือกหรือส่ิงยึดเหน่ียวได้ในการช่วยเหลือ และใช้อุปกรณ์อย่างระมัดระวัง 2. หากจ�ำเป็นต้องลงน�้ำไปช่วย แม้จะว่ายน�้ำเป็นก็ควรเตรียมอุปกรณ์ส�ำหรับ การช่วยไปด้วย 26 สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม

การปฐมพยาบาลคนจมน�้ำ 1. ห้ามจับคนจมน�้ำอุ้มพาดบ่าแล้วกระโดดหรือว่ิงไปมาเพื่อให้น้�ำออก เพราะ น�้ำที่ออกมาจะเป็นน้�ำในกระเพาะไม่ใช่จากปอด จะท�ำให้ขาดอากาศหายใจ นานย่ิงข้ึน และเสียชีวิตได้ 2. หากคนจมน�้ำหยุดหายใจ ให้ท�ำการเป่าปากช่วยหายใจทันที 3. แจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขที่อยู่ใกล้บ้านโดยเร็วที่สุด 4. ควรส่งคนจมน้�ำทุกคน ไม่ว่าจะหนักหรือเบาไปที่โรงพยาบาล 5. ในรายที่หมดสติหรือหยุดหายใจ ควรท�ำการผายปอดด้วยวิธีการเป่าปาก ไปตลอดทาง จนกว่าจะส่งถึงโรงพยาบาล สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน�้ำท่วม 27

6. ปอ้ งกนั อนั ตรายจากสตั ว/์ อบุ ตั เิ หตุ  ระมัดระวังสัตว์เล้ือยคลาน ควรจัดท่ีพักให้โล่งแจ้ง เพื่อให้ง่ายในการระมัดระวัง  จัดของให้เป็นระเบียบ เพ่ือไม่ให้สัตว์มีพิษหลบซ่อนอยู่  เมื่อจะหาหรือใช้ของ ให้เปิดไฟให้สว่าง ใช้ไม้เคาะ และตรวจดูว่าไม่มีสัตว์มีพิษหลบซ่อนอยู่  เก็บกวาดขยะ วัตถุแหลมคม ในบริเวณ อาคาร บริเวณรอบบ้าน และตามทาง เดิน  ช่วงน้�ำท่วมขัง อาจมีของมีคมอยู่ใต้น้�ำ ให้ใส่รองเท้าเดินและเดินอย่างระมัดระวัง  หม่ันตรวจสอบตัวบ้านให้อยู่ในสภาพ ที่ดี หากพบให้ซ่อมแซมเพ่ือป้องกัน การเกิดอุบัติเหตุ  ระมัดระวังต้นไม้ใหญ่ที่อยู่รอบๆ บ้าน 28 สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม

7. ดแู ลจติ ใจ สภู้ ยั นำ้� ทว่ ม ดูแลตนเอง ด้วยการ  พยายามสงบจิตใจ ให้พร้อมรับมือกับปัญหา  หากิจกรรมท�ำท่ีไม่ให้เกิดความเครียด เช่น พูดคุย ฟังเพลง  ท�ำใจให้สบาย ไม่วิตกกังวล ตระหนกกับข่าวสารมากเกินไป ดูแลจิตใจคนในครอบครัว ด้วยการ  พูดคุย ไถ่ถามทุกข์สุข สร้างอารมณ์ขันให้แก่กัน  หม่ันสังเกตุความเปล่ียนแปลงของคนในครอบครัวที่แสดงว่ามีความ เครียด เช่น นอนไม่หลับ วิตกกังวล หงุดหงิดง่าย โกรธง่ายกว่าปกติ และหาทางแก้ไข สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน�้ำท่วม 29

8. โรคทพ่ี บบอ่ ย โรคตดิ เชอื้ ระบบทางเดนิ อาหาร ไดแ้ ก่ อจุ จาระรว่ ง อหวิ าตกโรค อาหารเปน็ พษิ บดิ การปฏิบัติ ให้ดื่มสารละลายน้�ำตาลเกลือแร่ (โอ อาร์ เอส) ผสมน�้ำตาม สัดส่วนที่ระบุข้างซอง หรือเตรียมเอง โดย ผสมน้�ำตาลทราย 2 ช้อนโต๊ะ กับเกลือป่น คร่ึงช้อนชา ละลายในน้�ำต้มสุกที่เย็นแล้ว 1 ขวดกลม หรือ 750 ซีซี ให้ผู้ป่วยด่ืมบ่อยๆ ทดแทนน้�ำและเกลือแร่ท่ีสูญเสียไป หากมอี าการมากขน้ึ เชน่ อาเจยี นมาก ไข้สูง ชัก หรือซึมมาก ควรไปพบแพทย์ โดยเร็ว 30 สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม

เด็กที่ด่ืมนมแม่ ให้ดื่มต่อได้ ตามปกติ พร้อมใช้ช้อนป้อนสารละลาย น�้ำตาลเกลือแร่บ่อยๆ ไม่ควรใส่ขวดนม ให้ดูด เพราะเด็กจะดูดสารละลายเกลือแร่ เร็วจนท�ำให้อาเจียนได้ ไม่ควรให้งดอาหาร ควรให้ รับประทานอาหารอ่อนย่อยง่าย เดก็ ทด่ี มื่ นมผงชง ใหผ้ สมตามเดมิ และให้ดื่มสารละลายน�้ำตาลเกลือแร่สลับกันไป ไม่ควรกินยาเพ่ือให้หยุดถ่าย เพราะจะท�ำให้เชื้อโรคค้างอยู่ในร่างกาย ซึ่งจะเป็นอันตรายมากขึ้น สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม 31

โรคตดิ เชอื้ ระบบทางเดนิ หายใจ ไดแ้ ก่ ไขห้ วดั ไขห้ วดั ใหญป่ อดบวม การปฏิบัติ หากมีไข้ ให้กินยาลดไข้ และใช้ผ้าชุบน�้ำอุ่นเช็ดตัว เพ่ือลดไข้ (ยาลดไข้ พาราเซตามอล ไม่ควรกิน ติดต่อกันเกิน 7 วัน เนื่องจากยามีผลต่อตับ) ผู้ป่วยควรใช้ผ้าปิดปากและจมูกเวลาไอ จาม หรือควรสวมหน้ากากอนามัย ใช้ผ้าเช็ดหน้า หรือกระดาษนุ่มสะอาด เช็ดน�้ำมูก และไม่ควรส่ังน�้ำมูกแรงๆ เพราะอาจ ท�ำให้เกิดหูอักเสบได้ กินอาหารที่อ่อนย่อยง่าย กินผักและผลไม้ ควรนอนพักผ่อนให้มากๆ ดื่มน้�ำอุ่นมากๆ อาบน�้ำหรือเช็ดตัวด้วยน้�ำอุ่น แล้วเช็ดตัวให้แห้งทันที ถ้าตัวร้อน ควรเช็ดตัวหรือกินยาลดไข้ ถ้ามีไข้สูงลอย หรือเป็นไข้นานเกิน 3 วัน อาการไม่ทุเลา หรือมี อาการผิดปกติอื่นๆ ควรไปพบแพทย์ 32 สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน�้ำท่วม

โรคผวิ หนงั ไดแ้ ก่ นำ�้ กดั เทา้ แผลพพุ องเปน็ หนอง การปฏิบัติ เม่ือลุยน�้ำแล้วต้องล้างเท้าให้สะอาด แล้วเช็ดให้แห้ง หากมีอาการเท้าเปื่อยควรทาด้วยยาประเภทข้ีผ้ึงเคลือบแผล หากมีบาดแผล ควรท�ำความสะอาดแผล แล้วทาด้วยยาฆ่าเช้ือ เช่น ทิงเจอร์ หรือเบตาดีน สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม 33

ตาแดง การปฏิบัติ    เมื่อมีฝุ่นละอองหรือน�้ำสกปรกเข้าตา ควรรีบล้างตาด้วยน้�ำสะอาดทันที    เม่ือมีอาการตาแดง ควรพบแพทย์ เพ่ือรับยาหยอดตาหรือยาป้ายตาป้องกัน ภาวะแทรกซ้อน โดยใช้ติดต่อกันประมาณ 7 วัน หากมีไข้ให้รับประทานยาลดไข้แก้ปวด ตามอาการ    หม่ันล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่บ่อยๆ ไม่ควรขยี้ตา อย่าให้แมลงตอมตา และไม่ควรใช้สายตามากนัก ผู้ป่วยควรนอนแยกจากคนอื่นๆ และไม่ใช้ส่ิงของต่างๆ ร่วมกัน และ ไม่ควรไปในท่ีมีคนมากเพ่ือไม่ให้โรคแพร่ระบาด ถ้ามีอาการปวดตารุนแรง ตาพร่ามัว หรืออาการไม่ทุเลาภายใน 1 สัปดาห์ ต้องรีบพบแพทย์อีกครั้ง 34 สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน�้ำท่วม

ไขฉ้ ห่ี นู โรคไข้ฉี่หนู หรือโรคเลปโตสไปโรสิส เป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน มีหนูเป็นตัวแพร่โรคท่ีส�ำคัญ เชื้อออกมากับปัสสาวะสัตว์แล้วปนเปื้อนอยู่ใน น้�ำท่วมขัง พ้ืน ดินที่ช้ืนแฉะได้นาน เช้ือเข้าสู่ร่างกายทางบาดแผล รอยขีดข่วน รอยถลอก หรือไชเข้า เย่ือบุตา จมูก ปาก หรือผิวหนังที่แช่น้�ำนาน หรืออาจติดเชื้อจากการรับประทาน อาหารที่หนูฉ่ีรด มักเร่ิมมีอาการหลังได้รับเช้ือประมาณ 4 - 10 วัน โดยจะมีไข้สูง ทันทีทันใด ปวดศีรษะ และปวดกล้ามเน้ือมาก โดยเฉพาะน่องและโคนขา หรือปวดหลัง บางคนมีอาการตาแดง อาจมีอาการเจ็บคอ เบื่ออาหาร หรือ ท้องเดิน หากมีอาการดังกล่าวหลังจากที่สัมผัสสัตว์ หรือลุยน้�ำ ย่�ำโคลน ต้องรีบไปพบแพทย์ทันที ถ้าไม่รีบรักษา บางรายอาจมีจุดเลือดออก ตามผิวหนัง ไอมีเลือดปน หรือ ตัวเหลือง ตาเหลือง ปัสสาวะ น้อย ซึม สับสน เน่ืองจาก เย่ือหุ้มสมองอักเสบ อาจมี กล้ามเน้ือหัวใจอักเสบและ เสียชีวิตได้ สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน�้ำท่วม 35



การปฏหบิ ตั ลิ งั นำ้� ทว่ ม สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน�้ำท่วม 37

การปฏบิ ตั หิ ลงั นำ�้ ทว่ ม 4 ข้ันตอน ท�ำความสะอาดบริเวณบ้านและส่ิงของเคร่ืองใช้หลังน�้ำท่วม ขน้ั ท่ี 1 เตรยี มตวั ใหพ้ รอ้ ม  สวมเส้ือแขนยาว กางเกงขายาว สวมรองเท้ายาง ถุงมือกันน้�ำ ผ้าหรือ หน้ากากปิดปากและจมูก  อุปกรณ์ท�ำความสะอาด เช่น แปรงขัดพ้ืน ไม้ถูพื้น ไม้กวาด ถุงใส่ขยะ ที่รัดปากถุง  ผลิตภัณฑ์ท�ำความสะอาด เช่น แอลกอฮอล์ฆ่าเช้ือโรค น้�ำยาท�ำความสะอาด  อุปกรณ์เสริม (ถ้ามีก็ดี) เช่น เครื่องฉีดน้�ำแรงดันสูง เคร่ืองดูดฝุ่นท่ีสามารถ ดูดน้�ำได้ 38 สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม

ขน้ั ท่ี 2 กอ่ นลงมอื ทำ�  ตรวจสอบให้แน่ใจว่าไม่มีไฟฟ้าร่ัว  เปิดหน้าต่าง ประตู เพ่ือให้อากาศและลมถ่ายเท เอาความช้ืนออกไป พยายามเปิดรับแสงแดดให้มาก  ส�ำรวจสภาพนอกบ้าน ตรวจสอบความแข็งแรง เก็บขยะแยกประเภท ใส่ถุงด�ำ โดยระมัดระวังเศษกระจก เศษเหล็ก  ส�ำรวจสภาพในบ้าน หากพบเชื้อรา อย่าสูดดม อย่าให้เข้าตาและปาก l ส�ำรวจความแข็งแรง ของประตู หน้าต่าง เพดาน ผนัง ตู้ต่างๆ l ส�ำรวจสิ่งของเคร่ืองใช้ เฟอร์นิเจอร์เพื่อน�ำมาท�ำความสะอาด สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม 39

ขนั้ ท่ี 3 ลงมอื ทำ� ความสะอาด  ทำ� ความสะอาดภายนอกและภายในบา้ น l เช็ดท�ำความสะอาด ขัดตะไคร่ หรือสิ่งสกปรกออก โดย ใช้น้�ำยาท�ำความสะอาดต่างๆ หรือน�้ำยาล้างจาน l เช็ดด้วยน�้ำสะอาด แล้วทิ้งให้แห้ง l หากพบเช้ือรา ให้ใช้แอลกอฮอล์ หรือน้�ำยาซักผ้าขาวท่ีผสมน้�ำ 1 ถ้วย (300 มิลลิลิตร) ต่อน้�ำ ประมาณ 3.8 ลิตร เช็ดคราบเชื้อรา ท้ิงไว้ 15-30 นาที แล้วเช็ดออกด้วยน้�ำ 40 สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม

 ทำ� ความสะอาดพนื้ และผนงั l พื้นบ้านและบริเวณผนังที่จมน�้ำ ควรล้าง เช็ดท�ำความสะอาด และ ขัดคราบท้ังหมดโดยใช้น�้ำยาฆ่าเชื้อโรค น้�ำยาท�ำความสะอาด หรือ น้�ำยาล้างจาน ขัดทุกบริเวณ ล้างน้�ำสะอาดแล้วเช็ดให้แห้ง ส่ิงส�ำคัญ ควรท�ำทันทีหลังน�้ำลดหรือค่อยๆ ท�ำความสะอาดขณะน�้ำลด ไม่ควร ทิ้งไว้หลายวันเพราะจะขัดคราบออกยาก l หากพบเชื้อรา ให้ใช้แอลกอฮอล์ เช็ดคราบเชื้อรา ทิ้งไว้ 15-30 นาที แล้วเช็ดออกด้วยน�้ำ l หากเป็นพรม ไม่สามารถท�ำให้แห้งได้ พบเช้ือรา ควรท้ิง สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม 41

 ทำ� ความสะอาดเครอ่ื งใชต้ า่ งๆ l  อุปกรณ์ห้องครัวทุก เช่น จาน ชาม ช้อน แก้ว หม้อ น�ำออกมาล้าง ท�ำความ สะอาดด้วยน�้ำยาล้างจานแล้วตากแดด ให้แห้งก่อนเก็บ ในส่วนของอุปกรณ์ หุงต้ม เช่น เตาไฟ แก็ส ควร ตรวจสอบว่ายังใช้ได้หรือไม่หากช�ำรุด ก็ควรเปล่ียนใหม่ l  สิ่งของท่ีจมน�้ำ เช่น ตู้ เตียง ท่ีนอน โทรทัศน์ ตู้เย็น เครื่องใช้ไฟฟ้า ให้ขนย้ายออกมากตรวจดูสภาพการใช้งาน ข้างนอกบ้านก่อน ล้างท�ำความสะอาดแล้วตากแดดให้แห้ง เครื่องใช้ไฟฟ้าต้องเช็คสภาพ หากช�ำรุดก็ควรทิ้ง ไม่ควรเก็บไว้จะ เป็นอันตรายภายหลัง l พิถีพิถันในการท�ำความสะอาดพื้นผิวที่สัมผัสกับอาหารและพื้นท่ี เด็กเล่น 42 สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม

 ทำ� ความสะอาดเฟอรน์ เิ จอร์ l เฟอร์นิเจอร์ประเภทไม้ พลาสติก หนัง ให้ท�ำความสะอาด โดยใช้ น�้ำยาท�ำความสะอาดหรือน้�ำยาล้างจาน ล้างออกด้วยน้�ำสะอาด เช็ดให้แห้ง ห้ามตากแดด เพราะไม้หรือพลาสติกอาจเปลี่ยนรูปได้ หากพบเช้ือรา ให้ใช้แอลกอฮอล์เช็ดคราบเชื้อราออก l เฟอร์นิเจอร์ประเภทที่มีผ้าเป็น ส่วนประกอบ ให้ท�ำความสะอาด ใช้เคร่ืองดูดฝุ่นที่สามารถดูดน�้ำได้ แล้วน�ำไปตากให้แห้ง หากพบ เช้ือราควรทิ้ง สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน�้ำท่วม 43

 ทำ� ความสะอาดเสอื้ ผา้ l ตรวจดูเสื้อผ้าว่ามีเช้ือราหรือไม่ หากมีควรท้ิง l หากไม่มีเช้ือรา แต่มีกล่ินอับช้ืน ควรซักซ้�ำ 2-3 ครั้ง และลวกน�้ำร้อน  การจดั การหอ้ งสว้ ม l ล้างท�ำความสะอาดเก็บกวาดขยะ กิ่งไม้ ใบไม้ที่ตกค้างในบริเวณห้องส้วม ด้วยน้�ำผสมผงซักฟอก l ในกรณีท่ีส้วมเต็มหรืออุดตัน ให้ใช้น้�ำหมักชีวภาพ เทราดในคอห่าน หรือโถส้วม จุลินทรีย์จะช่วย ย่อยสลายสารอินทรีย์และส่ิงปฏิกูล ในบ่อเกรอะ และช่วยปรับสมดุลของจุลินทรีย์ในบ่อเกรอะ ท�ำให้กล่ินและแก๊สท่ีเกิดจากการหมักในบ่อเกรอะลดลง หรือใช้จุลินทรีย์แบบส�ำเร็จรูป เช่นจีพีโอ เมกะพลัส ชนิดผงและชนิดน�้ำ ขององค์การเภสัชกรรม หรือ สารเร่ง พด.6 ของกรมพัฒนาที่ดิน ซ่ึงรายละเอียด การใช้ตามฉลากที่ระบุ   l  ซ่อมแซมระบบเก็บกักส่ิงปฏิกูลของส้วม ท่ีช�ำรุดให้อยู่ในสภาพดีใช้งานได้ 44 สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม

 การจดั การแหลง่ นำ�้ ทว่ มขงั l น�้ำท่วมขังมักก่อให้เกิดปัญหาเน่าเหม็นและเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของ สัตว์และแมลงพาหะน�ำโรค การแก้ไขปัญหาท่ีส�ำคัญคือ การไม่ทิ้งขยะ ที่ย่อยสลายได้ ในแหล่งน้�ำและการเก็บขยะออกจากแหล่งน�้ำ และ ท่อระบายน�้ำที่อุดตัน ส�ำหรับการบ�ำบัดน�้ำเสียที่ท่วมขังหรือแหล่งน้�ำ สาธารณะเน่าเสียอาจใช้ EM หรือจุลินทรีย์ท่ีมีคุณสมบัติพิเศษของ องค์การเภสัชกรรม (GPO Mekaklean Plus) ใส่ในแหล่งน�้ำเสีย ในอัตราส่วน 1 กรัม ต่อ น�้ำเสีย 1 ลูกบาศก์เมตรโดยอาจใช้คร้ังเดียว หรือใช้ซ�้ำได้ทุก 7 วันขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการใช้งาน เช่น หาก ต้องการก�ำจัดกล่ินเหม็นอย่างเดียว อาจใช้เพียงคร้ังเดียว สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม 45

ขนั้ ที่ 4 ปลอ่ ยใหแ้ หง้  พยายามเปิดประตู หน้าต่าง ระบายอากาศและให้แสงแดดส่องผ่าน ให้มากที่สุด อาจใช้อุปกรณ์ช่วยเพิ่มการระบายอากาศ เช่น พัดลม เคร่ืองเป่าลมร้อน  สังเกต และหม่ันตรวจสอบว่ามีความชื้นหรือเช้ือราเกิดข้ึนหรือไม่ ต้องก�ำจัดแหล่งที่ท�ำให้เกิดความชื้น หากยังมีความชื้นอยู่เช้ือราก็จะ เกิดข้ึนใหม่ได้ 46 สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม

เบอรโ์ ทรศพั ท์ หนว่ ยงานชว่ ยเหลอื ยามฉกุ เฉนิ ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ 192 สายด่วนกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 1784 ศูนย์บริการพยากรณ์อากาศ กรมอุตุนิยมวิทยา 1182 แจ้งเหตุด่วน เหตุร้าย 191 ศูนย์ดับเพลิง 199 หน่วยกู้ชีพฉุกเฉิน ศูนย์นเรนทร 1669 หน่วยแพทย์กู้ชีพ กทม. 1555 ศูนย์เอราวัณ (ศูนย์รับแจ้งเหตุ) กทม. 1646 วิทยุร่วมด้วยช่วยกัน 1667 ต�ำรวจท่องเที่ยว 1699 ต�ำรวจทางหลวง 1193 เหตุด่วนทางน�้ำ ศูนย์ปลอดภัยทางน้�ำ 1199 อุบัติเหตุทางน้�ำ 1196 ศูนย์จราจรอุบัติเหตุ จส.100 1137 มูลนิธิร่วมกตัญญู 0 2751 0951-3 มูลนิธิปอเต็กตึ้ง 0 2226 4444-8 สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม 47

บันทึก ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................ 48 สุขภาพปลอดภัย พร้อมรับภัยน้�ำท่วม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook