Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือเครื่องหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบำรุงรักษาทางหลวงแผ่นดิน

คู่มือเครื่องหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบำรุงรักษาทางหลวงแผ่นดิน

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-04-14 12:25:39

Description: คู่มือเครื่องหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบำรุงรักษาทางหลวงแผ่นดิน

Search

Read the Text Version

บทท่ี 2 ป้ายจราจร 2.5.6.6 ป้ายเตอื นเบี่ยงการจราจร (ตก.7-ตก.24) ป้ายเตือนเบ่ียงการจราจร ใช้ติดต้ังก่อนถึงบริเวณที่มีงานก่อสร้าง จาเป็นต้องเปลี่ยนแนวทางการจราจรไปใช้ทางเบี่ยงหรือทางชั่วคราว ตามลักษณะสัญลักษณ์ในป้าย เพ่ือให้ผู้ขับข่ียวดยานทราบถึงสภาพทาง และขับรถใหช้ า้ ลง และเพิ่มความระมัดระวงั โดยตดิ ตง้ั ลว่ งหน้าไม่น้อยกว่า 100 ม. การติดตั้งป้ายนี้อาจติดตั้งป้าย “จากัดความเร็ว” หรือป้าย “ห้ามแซง” รว่ มดว้ ยก็ไดต้ ามสภาพของทาง ตก.7 ตก.8 ตก.9 ตก.10 ตก.11 ตก.12 ตก.13 ตก.14 ตก.15 ตก.16 ตก.17 ตก.18 ตก.19 ตก.20 ตก.21 ตก.22 ตก.23 ตก.24 รปู ที่ 2-5 ป้ายเตือนเบีย่ งเบนการจราจร (ตก.7-ตก.24) 2.5.6.7 ป้ายเตือนแนวทางไปทางซ้าย (ตก.25) และป้ายเตือนแนวทางไป ทางขวา (ตก.26) ป้ายเตือนแนวทางไปทางซ้าย และป้ายเตือนแนวทางไปทางขวา ใช้ติดต้ัง ตก.25 บริเวณท่ีมกี ารเปลย่ี นแนวทางการจราจรไปตามทศิ ทางทช่ี ี้ไป เพ่ือใหผ้ ู้ขับข่ี ขนาด 60 X 120 ซม. อย่างน้อย ยวดยานขบั รถให้ชา้ ลง และเพ่ิมความระมัดระวัง โดยติดตั้งบริเวณที่มีการเปลี่ยนแนวทางในแนวราบอย่างทันทีทันใด เช่น ตก.26 หัวเลี้ยวของทางเบ่ียงและตรงตาแหน่งท่ีช่องจราจรสิ้นสุดในลักษณะของ ขนาด 60 X 120 ซม. อย่างน้อย แนวจราจร 2-14 เลม่ ท่ี 3 เครื่องหมายควบคมุ การจราจรในงานก่อสร้าง งานบรู ณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงแผ่นดิน

บทที่ 2 ปา้ ยจราจร 2.5.7 ป้ายเตอื นในงานกอ่ สร้างทนี่ ารปู แบบมาตรฐานป้ายเตอื นทวั่ ไปมาใช้ ป้ายเตือนในงานก่อสร้าง งานบรู ณะ และงานบารุงรักษาทางหลวง อาจนา ป้ายเตือนที่ใช้ตามปกติมาใช้ได้ตามลักษณะของทาง โดยเปลี่ยนสีพื้นป้าย เป็นสีส้ม ใช้ขนาด 90 ซม. ติดต้ังก่อนถึงจุดท่ีทางมีลักษณะตามป้าย 100 ถงึ 200 ม. ตัวอยา่ ง ดงั นี้ ปา้ ยเตอื นทางโค้งต่าง ๆ ป้ายเตอื นทางแคบลง ป้ายเตือนทางแคบดา้ นซ้าย ปา้ ยเตือนทางแคบด้านขวา ปา้ ยเตือนสะพานแคบ ป้ายเตอื นชอ่ งจราจรปดิ ป้ายเตอื นชอ่ งจราจรปิด ป้ายเตือนทางขนึ้ ลาดชนั ปา้ ยเตือนทางลงลาดชนั ด้านซ้าย ด้านขวา ป้ายเตือนรถกระโดด ป้ายเตอื นผิวทางขรุขระ ปา้ ยเตือนเปลี่ยนชอ่ งเดนิ รถไป ป้ายเตอื นเปลย่ี นช่องเดนิ รถไป ทางซา้ ย ทางขวา ป้ายเตือนเครอ่ื งหมายลูกศรคู่ ป้ายเตือนสญั ญาณจราจร รปู ที่ 2-6 ป้ายเตือนในงานก่อสร้างท่นี ารูปแบบปา้ ยเตือน (สเี หลือง) มาปรับใช้ เลม่ ที่ 3 เครือ่ งหมายควบคมุ การจราจรในงานก่อสร้าง งานบรู ณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงแผ่นดนิ 2-15

บทท่ี 2 ปา้ ยจราจร 2.6 ป้ายแนะนา ป้ายแนะนา ได้แก่ป้ายจราจร ที่มีความหมายเป็นการแนะนาให้ผู้ใช้ทาง ทราบข้อมูลอันเกี่ยวกับการเดินทาง และการจราจร เช่น เส้นทางที่จะใช้ ทิศทาง ระยะทาง สถานที่ รวมท้ังข้อมูลอ่ืน เป็นต้น เพื่อประโยชน์ในการ เดนิ ทางและการจราจร ทาให้สะดวกและปลอดภัย ป้ายแนะนาในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และบารุงรักษาทางหลวง มีจุดมุ่งหมายสองประการ คอื 1) ใช้แสดงเส้นทางชั่วคราว เม่ือยวดยานจะต้องเปลี่ยนเส้นทางไปจาก เสน้ ทางประจา 2) ใช้แสดงข้อมูลต่าง ๆ ในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรักษา ทางหลวง 2.6.1 ปา้ ยแสดงระยะถึงทางปดิ (ตค.20) หรอื ปา้ ยแสดงระยะถึงทางขาด (ตค.21) ป้ายแสดงระยะถึงทางปิดหรือทางขาด บรรจุข้อความ “อีก ( ) กม. ทางปิด” ตค.20 หรือ “อีก ( ) กม. ทางขาด” ใช้ติดตั้งบริเวณทางแยกเพ่ือแนะนาให้ผู้ขับข่ี ยวดยานที่ต้องการเดินทางไปไกลเกินระยะทางท่ีระบุบนป้ายเปลี่ยน เส้นทางไปใชเ้ ส้นทางอ่ืนที่ทางแยกซึ่งตดิ ตัง้ ป้ายนเ้ี นื่องจากทางข้างหน้าปิด การจราจร ส่วนผู้ขับขี่ยวดยานท่ีต้องการเดินทางไปตามเส้นทางที่ติดตั้ง ปา้ ยน้ี แตไ่ มถ่ งึ จุดทปี่ ิดการจราจร สามารถเดนิ ทางเข้าไปได้ การติดต้ังให้ติดต้ังที่ทางแยกตรงปากทางเข้าทางท่ีมีการปิดการจราจร ข้างหน้า แสดงระยะทางโดยประมาณเป็น “กิโลเมตร” ท่ีจะไปถึงจุดที่ ทางปิด หรือทางขาด โดยท่ัวไปให้ติดตั้งบนแผงก้ันท่ีก่ึงกลางทาง ตค.21 หรือทางซ้ายของปากทางเข้า แต่ถ้าทางเข้ามีหลายช่องจราจรให้ติดตั้ง ขนาด 90 X 135 ซม. อย่างนอ้ ย ทั้งทางซา้ ยและทางขวา ตัวอักษรแถวบน ขนาด 15 ซม. การติดต้ังป้ายแสดงระยะถึงทางปิดหรือทางขาด ควรติดต้ังป้ายแนะนา ตวั อักษรแถวล่างขนาด 20 ซม. เสน้ ทางช่วั คราวควบค่กู นั ด้วย 2-16 เลม่ ที่ 3 เคร่อื งหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสร้าง งานบรู ณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงแผน่ ดนิ

บทท่ี 2 ป้ายจราจร 2.6.2 ปา้ ยเส้นทางชัว่ คราว (ตค.22) ป้ายเส้นทางช่ัวคราว ใช้แสดงเส้นทางที่เปล่ียนไปจากเดิมท่ีจะไปสู่เมือง หรอื สถานท่ที ีม่ ีการปดิ การจราจรบนเส้นทางประจา ในป้ายเส้นทางชั่วคราว ให้ระบุสถานท่ีโดยใช้ชื่อจังหวัด อาเภอ หรือ ตค.22 สถานทสี่ าคัญทีเ่ ส้นทางชว่ั คราวไปบรรจบกับเสน้ ทางเดมิ ขนาด 90 X 135 ซม. อย่างนอ้ ย ตวั อักษรขนาด 10 ซม. การติดต้ังให้ติดตั้งใต้ป้ายแสดงระยะถึงทางปิดหรือทางขาด โดยจะต้องจัด ลูกศรขนาด 7 ซม. เครอื่ งหมายลกู ศรให้ชไ้ี ปในทศิ ทางที่ถูกตอ้ ง 2.6.3 ป้ายใชท้ างเบย่ี ง (ตค.23 และ ตค.24) ป้ายใช้ทางเบยี่ งใช้แสดงทิศทางท่ีจะไปใช้ทางเบีย่ ง เน่ืองจากทางตรงไปปิด ตค.23 การจราจรเพื่อก่อสร้าง โดยทั่วไปให้ติดต้ังป้ายใช้ทางเบ่ียงใต้ป้ายทางปิด หรือป้ายแสดงระยะถึงทางปิด แต่ถ้าจาเป็นก็อาจติดต้ังป้ายใช้ทางเบี่ยง เดี่ยว หรือเพิ่มข้ึนก็ได้ การติดต้ังต้องระวังให้เครื่องหมายลูกศรถูกต้อง ตามทิศทางท่ไี ปใชท้ างเบยี่ ง 2.6.4 ปา้ ยแสดงระยะทางก่อสรา้ ง (ตค.25) ป้ายแสดงระยะทางก่อสร้าง ใช้ติดต้ังใกล้จุดเร่ิมงานก่อสร้าง งานบูรณะ ตค.24 และงานบารุงรักษาทางหลวง ซึ่งเปิดการจราจรตามปกติท่ีมีความยาว ขนาด 80 X 120 ซม. อย่างน้อย ตัวอกั ษรขนาด 15 ซม. ตั้งแต่ 3 กม. ขน้ึ ไป ลกู ศรขนาด 10 ซม. การติดตั้งควรติดต้ังร่วมกับแผงกั้นข้างทาง (Wing Barricade) โดยแสดง ระยะทางก่อสร้างโดยประมาณเป็น “กโิ ลเมตร” 2.6.5 ป้ายส้ินสุดเขตกอ่ สรา้ ง (ตค.26) ตค.25 ป้ายส้ินสุดเขตก่อสร้าง ใช้ติดต้ังบริเวณเลยเขตก่อสร้างใกล้จุดสุดเขต ขนาด 90 X 180 ซม. อย่างน้อย กอ่ สรา้ ง หรอื ประมาณ 100 ม. ตวั อกั ษร ขนาด 20 ซม. ป้ายสิ้นสุดเขตก่อสร้างอาจติดตั้งหลังป้ายเตือนงานก่อสร้างทาง หรือ ดา้ นหลังของแผงกั้นข้างทาง (Wing Barricade) กไ็ ด้ ตค.26 ขนาด 90 X 180 ซม. อย่างนอ้ ย ตวั อกั ษร ขนาด 20 ซม. เลม่ ท่ี 3 เคร่อื งหมายควบคุมการจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบูรณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงแผน่ ดนิ 2-17

บทที่ 2 ป้ายจราจร 2.6.6 ปา้ ยทางปิด (ตค.27) ป้ายทางปิดใช้แสดงว่าทางข้างหน้าปิดก้ันการจราจรเพ่ือก่อสร้างทาง ตค.27 ห้ามรถทุกชนิดเข้า ยกเว้นเครื่องจักรและรถของเจ้าหน้าที่ท่ีเกี่ยวข้องกับ งานก่อสร้างทางให้ใช้ป้ายทางปิดในกรณีท่ีมีทางเบ่ียงตรงจุดท่ีปิดทางนั้น ขนาด 60 x 120 ซม. และให้ใชต้ ิดตัง้ ร่วมกับป้ายใช้ทางเบย่ี ง อย่างน้อยตัวอักษร 20 ซม. การติดตัง้ ให้ติดตง้ั บรเิ วณก่ึงกลางทางจราจร ถ้ามีแผงกั้นแบบท่ี 2 ให้ติดตั้ง บนแผงกนั้ นัน้ ห้ามใช้ป้ายทางปิด เมื่ออนุญาตให้รถระยะสั้นผ่าน หรือยังไม่ถึงตาแหน่งที่ ปดิ การจราจร ในกรณนี ใ้ี หใ้ ช้ปา้ ยแสดงระยะทางถงึ ทางปิด 2.6.7 ปา้ ยทางปิดห้ามรถผ่าน (ตค.28) ป้ายทางปิดห้ามรถผ่าน เป็นป้ายส่ีเหล่ียมผืนผ้า พ้ืนป้ายสีขาว เส้นขอบ ป้ายสีดา บรรจุข้อความบรรทัดบน “ทางปิด” สีดา บรรทัดล่าง “ห้ามรถ ตค.28 ผ่าน” เป็นสีแดง ใช้ติดต้ังเช่นเดียวกับป้ายทางปิด แตกต่างกันท่ีป้ายทาง ปิดห้ามรถผ่าน ใช้แสดงการปิดการจราจรในกรณีท่ีไม่มีทางเบ่ียง ตรง ขนาด 60 x 120 ซม. อย่างนอ้ ย ตวั อกั ษร 20 ซม. บรเิ วณจดุ ทีป่ ดิ ก้ันการจราจร และติดตง้ั เด่ียวไมม่ ปี า้ ยอนื่ ประกอบ 2.6.8 ป้ายทางขาด (ตค.29) ป้ายทางขาด เป็นป้ายสี่เหล่ียมผืนผ้า พื้นป้ายสีขาว เส้นขอบป้ายสีดา บรรจุข้อความบรรทัดบน “ทางขาด” สีดา บรรทัดล่าง “รถผ่านไม่ได้” ตค.29 เป็นสีแดง ใช้ติดต้ังตรงตาแหน่งท่ีปิดก้ันการจราจรเพราะทางขาด ขนาด 90 X 135 ซม. อย่างนอ้ ย เนอ่ื งจากภยั ธรรมชาติ ใหต้ ิดตงั้ ปา้ ยทางขาดบนแผงก้ันแบบท่ี 2 ตวั อกั ษรแถวบนขนาด 20 ซม. 2.6.9 หลักแสดงระดับน้า ตัวอกั ษรแถวลา่ งขนาด 15 ซม. หลักแสดงระดับน้า ใช้ติดต้ังที่ขอบนอกของไหล่ทาง บริเวณที่ทางมี น้าทว่ ม โดยอาจติดตง้ั ช่ัวคราว หรอื ตดิ ตง้ั ประจาก็ได้ถา้ ทางบริเวณน้ันมีน้า ทว่ มเปน็ ประจาทุกปี การตดิ ตง้ั จะตอ้ งให้ระดบั 0 พอดีกับระดับของผวิ จราจร การติดตั้งหลักแสดงระดับน้าเป็นระยะ ๆ นอกจากจะแสดงความลึกของ น้าแล้ว ยังทาหน้าท่ีเป็นเครื่องหมายนาทาง (Delineator) ในขณะน้าท่วม ส่วนบนพ้ืนท่ีสามเหล่ียม ของหลักแสดงระดับน้าให้ติดแผ่นสะท้อนแสง สีขาว ท่ีมีค่าสะท้อนแสงไม่ต่ากว่าแบบที่ 3 หรือแบบที่ 4 ตาม มอก. 606 แผ่นสะท้อนแสงสาหรับควบคุมการจราจรทั้งสองด้าน และหลักแสดง ระดับน้าจะต้องมตี วั เลขทั้งด้านหน้าและด้านหลัง 2-18 เลม่ ท่ี 3 เครื่องหมายควบคุมการจราจรในงานกอ่ สร้าง งานบูรณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงแผน่ ดนิ

บทท่ี 2 ปา้ ยจราจร 2.6.10 ป้ายโครงการกอ่ สร้าง ป้ายโครงการก่อสร้างใช้แสดงข้อมูลท่ีสาคัญของงานก่อสร้าง เพ่ือให้ ประชาชนที่ผ่านไปมาทราบข้อมูล เช่น ชื่อโครงการ ชื่อสายทาง กม. ทีก่ อ่ สร้าง ผู้ทาการก่อสร้างและผ้คู วบคมุ งาน เปน็ ตน้ การติดตั้งให้ติดตั้งแผ่นป้ายรายละเอียดงานก่อสร้างไว้ ณ จุดเร่ิมต้นและ จุดสิ้นสุดงานก่อสร้างอย่างน้อย 2 จุด ในบริเวณท่ีมีผู้คนผ่านไปมา หรือ อาจติดตั้งหน้าสานักงานก่อสร้างช่ัวคราวก็ได้ ขนาดป้ายข้ึนอยู่กับขนาด ของงานกอ่ สรา้ งตามแนวทางปฏิบัติของกรมบัญชีกลาง ดังนี้ 1) งานก่อสร้างขนาดเล็ก (เช่น ถนนขนาด 2 ช่องจราจร) และงาน ก่ อ ส ร้ า ง ใ น พื้ น ท่ี ช น บ ท แ ผ่ น ป้ า ย ค ว ร มี ข น า ด ไ ม่ เ ล็ ก ก ว่ า 1.20×2.40 เมตร 2) งานก่อสร้างขนาดใหญ่ (เช่น ถนนขนาด 4 ช่องจราจร ถนนตาม ผังเมืองรวม และถนนสายสาคัญ ๆ) งานก่อสร้างในเขตชุมชนเมือง หรืองานก่อสร้างในกรุงเทพมหานคร แผ่นป้ายควรมีขนาดไม่เล็กกว่า 2.40×4.80 เมตร ส่วนขนาดตัวหนังสอื ใหใ้ ชข้ นาดตามรปู ที่ 2-7 และรปู ที่ 2-8 รูปท่ี 2-7 ป้ายโครงการก่อสร้างขนาดเลก็ 2-19 เล่มที่ 3 เคร่ืองหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบูรณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงแผ่นดิน

บทท่ี 2 ป้ายจราจร รปู ที่ 2-8 ปา้ ยโครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ สรุปป้ายจราจรท่ีใช้ในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรักษา ทางหลวงแผน่ ดนิ ในแตล่ ะพ้ืนทีก่ ่อสร้างแสดงในตารางท่ี 2-1 2-20 เล่มท่ี 3 เครือ่ งหมายควบคุมการจราจรในงานกอ่ สร้าง งานบรู ณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงแผ่นดนิ

บทท่ี 2 ปา้ ยจราจร ตารางท่ี 2-1 แสดงปา้ ยจราจรในแตล่ ะพนื้ ที่กอ่ สรา้ ง หมายเหตุ *ตดิ ต้งั เพิม่ เตมิ กรณมี กี ารเบย่ี งการจราจรมากกว่า 1 คร้ัง หรอื กรณที ตี่ ้องการให้ขอ้ มูลแนะนาเพิม่ เตมิ เลม่ ท่ี 3 เครื่องหมายควบคุมการจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงแผ่นดิน 2-21

บทท่ี 3 อุปกรณ์จราจร

บทท่ี 3 3-1 อุปกรณจ์ ราจร 3.1 บทท่วั ไป อุปกรณ์จราจรท่ีใช้ในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรักษา ทางหลวง ได้แก่ ส่ิงใด ๆ ที่แสดง ติดตั้ง หรือทาให้ปรากฏไว้ในเขตทาง หรือทางหลวง เป็นประโยชน์ต่อการจัดการจราจร หรือควบคุมการจราจร เป็นการเฉพาะหน้าชั่วคราว หรือทาหน้าท่ีเป็นเคร่ืองเตือนหรืออุปกรณ์ จัดช่องจราจร (Channelizing Devices) รวมไปถึงอปุ กรณอ์ ื่น ๆ ทชี่ ว่ ยลด ความรนุ แรงที่อาจเกดิ ข้นึ เมื่อเกดิ อุบัตเิ หตุในบรเิ วณพื้นทีป่ ฏบิ ตั ิงาน อุปกรณ์จราจรที่ใช้ในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรักษา ทางหลวง มีจุดประสงค์หลกั 2 ประการ คอื 1) เพอื่ เป็นเครอื่ งมือในการแนะนาแนวทางผู้ขบั ข่ยี วดยาน ให้ผ่านบรเิ วณ การกอ่ สรา้ งไปได้อย่างสะดวก และปลอดภัย 2) เพื่อกระตุ้นเตือนผู้ขับข่ียวดยานให้ระมัดระวังบริเวณท่ีอาจจะมี อันตรายเน่ืองจากการก่อสร้าง งานบูรณะ หรืองานบารุงรักษา ทางหลวง งานซอ่ มแซม งานก่อสรา้ งสาธารณูปโภคทางหลวง ดังน้ัน ลักษณะของอุปกรณ์จราจร จะต้องมองเห็นได้ง่ายตลอดเวลา จะต้องไม่ทาให้รถเสียหายร้ายแรงเม่ือถูกชนหรือเฉี่ยว และจะต้องติดตั้ง หรอื จดั วางให้เป็นแนวที่รถสามารถแล่นผ่านไปไดส้ ะดวกปลอดภัย อุปกรณ์ ดังกลา่ ว มดี ังตอ่ ไปนี้ 1) กรวย (Cones) 2) เสาจราจรลม้ ลุก (Tubular Marker) 3) แผงตงั้ (Vertical Panel) 4) ถงั กลม (Drums) 5) แผงก้นั (Barricades) 6) กาแพง (Barrier) 7) อปุ กรณด์ ูดซับแรงกระแทก (Crash Cushion) 8) หลกั นาทาง (Guide Post) 9) ปา้ ยสญั ญาณไฟลูกศร (Arrow Panel) เลม่ ท่ี 3 เคร่อื งหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงแผน่ ดนิ

บทที่ 3 อุปกรณ์จราจร 10) ป้ายสัญญาณแบบปรับเปลี่ยนข้อความ (Portable Changeable Message Sign) 11) ไฟกระพริบ (Flasher) 12) เครอื่ งให้สญั ญาณ (Signalizing Devices) 13) อุปกรณส์ ่องสวา่ ง (Lighting Devices) 14) ปา้ ยมอื ถอื (Knockdown) 15) เครือ่ งหมายจราจรบนพน้ื ทาง (Pavement Marking) 16) การตดิ ตง้ั อุปกรณค์ วามปลอดภัยในการขุดถนน 3.2 กรวย (Cones) กรวยจราจรใช้สาหรับงานชั่วคราวบนคันทางระหว่างงานก่อสร้างทาง เพราะมีน้าหนักเบา เคล่ือนย้ายได้สะดวก ไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย แก่รถยนต์ เมื่อมีรถมาชนหรือเฉ่ียวถูกเข้ากับกรวยโดยปกติจะวางรอบ ส่ิงกีดขวางหรือตามแนวที่ขนานกับเส้นแบ่งทิศทางการจราจรสามารถ ใช้เปน็ เครอ่ื งกากบั แนวช่องจราจรได้เป็นอย่างดี กรวยจราจร ทาด้วยยางหรือพลาสติกอ่อนสีส้มเรืองแสง ขนาดสูง ไม่น้อยกว่า 70 ซม. ติดแผ่นสะท้อนแสงสีขาว 2 แถบ มีค่าสะท้อนแสง ไม่ต่ากว่าแบบที่ 3 หรือแบบท่ี 4 ตาม มอก.606 แผ่นสะท้อนแสงสาหรับ ควบคุมการจราจร แถบแรกกว้าง 15 ซม. ติดท่ีระยะ 10 ซม. วัดจาก ด้านบนลงมา แถบท่ีสองกว้าง 10 ซม. ติดท่ีระยะห่างจากแถบแรกลงมา 15 ซม. มฐี านแผก่ ว้างมนี ้าหนกั เพียงพอเพื่อให้ต้ังอยู่ไดเ้ มื่อโดนแรงลมขณะ ยานพาหนะว่งิ ผ่าน การติดตั้งให้ติดตั้งกรวยเป็นแนวตลอด ติดต้ังทุก ๆ ระยะห่างไม่เกิน 10 ม. สิ่งที่จะต้องระวังในการใช้กรวย คือ กรวยเคล่ือนที่ หรือล้มได้ง่าย เน่ืองจากมีรถแล่นผ่านใกล้ ๆ หรือเฉี่ยวชน ฐานของกรวยจราจรต้อง แข็งแรง อาจเพิ่มน้าหนักที่ฐานเพื่อให้มั่นคงมากขึ้นแต่น้าหนักที่ใช้เพิ่มข้ึน ต้องไม่ใช่หิน อิฐ หรือวัสดุใด ๆ ที่อาจทาความเสียหายหรือก่อให้เกิด การบาดเจ็บไดเ้ ม่ือถกู รถชน การซอ้ นกรวยหรือใชถ้ งุ ทรายหรอื หว่ งยางอาจ นามาใชไ้ ดท้ ้งั นต้ี ้องคอยจัดต้งั กรวยให้อยู่ในตาแหน่งทต่ี ้องการตลอดเวลา กรวยยังใชไ้ ด้เหมาะสมในงานตีเสน้ จราจรเพื่อป้องกันไม่ใหร้ ถทับสที ย่ี ังไม่แห้ง 3-2 เล่มที่ 3 เครอ่ื งหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สร้าง งานบูรณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผ่นดิน

บทที่ 3 อปุ กรณจ์ ราจร รูปท่ี 3-1 อุปกรณจ์ ราจรประเภทกรวย 3.3 เสาจราจรล้มลุก (Tubular Marker) ลักษณะการใช้งานเสาจราจรล้มลุกคล้ายคลึงกับการใช้งานกรวยยาง คือ การใช้เป็นอุปกรณ์จัดช่องจราจร มีน้าหนักเบา เหมาะกับการใช้งานบน พน้ื ผิวจราจรทเ่ี รียบ เสาจราจรล้มลุกมีลักษณะเป็นเสาทรงกระบอก ทาด้วยยางหรือพลาสติก ออ่ นสีส้มเรอื งแสง ขนาดสงู ไมน่ ้อยกว่า 70 ซม. เส้นผา่ ศูนย์กลางอยา่ งน้อย 7.5 ซม. แต่ไม่เกิน 10 ซม. ติดแผ่นสะท้อนแสงสีขาว 2 แถบ มีค่าสะท้อน แสงไม่ต่ากว่าแบบที่ 3 หรือแบบท่ี 4 ตาม มอก.606 แผ่นสะท้อนแสง สาหรับควบคุมการจราจร แถบแรกกว้าง 7.5 ซม. ติดท่ีระยะ 5 ซม. วัดจากด้านบนลงมา แถบท่สี องกว้าง 7.5 ซม. ติดทรี่ ะยะห่างจากแถบแรก ลงมาอย่างน้อย 5 ซม. แต่ไม่เกิน 15 ซม. ในกรณีที่ขนาดเสาสูงเกินกว่า 105 ซม. จะต้องติดแผ่นสะท้อนแสงสีขาว 4 แถบ โดยติดในลักษณะ เดียวกนั ตวั เสาติดตง้ั อยู่บนฐานแผ่กวา้ งท่ีมนี ้าหนักเพียงพอเพ่ือให้ตง้ั อยู่ได้ เม่ือโดนแรงลมขณะยานพาหนะว่ิงผ่าน หรือสามารถใช้น้าหนักถ่วง ทรงกลมคล้องทับที่ฐานเพื่อให้เสาต้ังอยู่ได้อย่างม่ันคงในขณะใช้งาน หรือยึดติดกับพ้ืนผิวจราจรโดยใช้พุกยึดกับฐานเสา ในกรณีท่ียึดติดกับ พื้นผิวจราจร ตัวเสาจะต้องสามารถพับงอและคืนตัวได้เองเม่ือถูกรถเฉ่ียว ชนและไมเ่ กิดความเสียหายตอ่ รถยนต์ เลม่ ท่ี 3 เครือ่ งหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบูรณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผน่ ดนิ 3-3

บทท่ี 3 อุปกรณจ์ ราจร เสาจราจรล้มลุกจะใช้ในกรณีต้องการแบ่งช่องจราจรที่เดินรถในทิศทาง เดียวกัน หรือในกรณีท่ีต้องการช้ีขอบทางให้ชัดเจน ภายใต้พื้นท่ีที่จากัด ไม่สามารถติดตั้งอุปกรณ์ชนิดอนื่ ได้ ตดิ ตงั้ ทกุ ระยะ 10 ม. ในแนวตรง และ 4 ม. ในแนวโค้ง กรณีติดต้ังก้ันระหวา่ งขอบทางต่างระดับกัน ให้ติดต้ังเป็น แนวตลอดทุกระยะ 10 ม. สาหรับระดับความสูงของผิวทางต่างกันไม่เกิน 25 ซม. และตดิ ตง้ั ทกุ ระยะ 4 ม. สาหรับระดบั ความสงู ของผวิ ทางที่ต่างกัน ไมเ่ กิน 50 ซม. แตห่ ากเกนิ 50 ซม. แนะนาให้ตดิ ตั้งกาแพงคอนกรีตแทน รปู ท่ี 3-2 อุปกรณ์จราจรประเภทเสาจราจรล้มลุก 3-4 เล่มที่ 3 เครือ่ งหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงแผน่ ดิน

บทท่ี 3 อุปกรณจ์ ราจร 3.4 แผงต้ัง (Vertical Panel) แผงต้งั เปน็ แผน่ ปา้ ยรูปสเี่ หลย่ี มผนื ผา้ ดา้ นยาวเป็นสว่ นตง้ั ขนาด 15 x 60 ซม. กรณตี ิดตง้ั ทางด้านซา้ ย หรือ 20 x 60 ซม. ทาสีขาวสลับสีสม้ ทามุม 45 องศากับขอบป้าย แบ่งเปน็ ของทศิ ทางการเดินรถ 7 ส่วน ให้แถบสีส้มกว้าง 10 ซม. แต่ละแถบห่างกัน 8 ซม. โดยสีขาว ดา้ นมมุ บนสดุ กวา้ ง 10 ซม. กรณีตดิ ตงั้ ทางดา้ นขวา ของทศิ ทางการเดินรถ ทิศทางการเฉียงของแถบสีขาวสลับสีส้ม จะขึ้นอยู่กับตาแหน่งท่ีติดต้ังว่า ติดตั้งที่ด้านซ้าย หรือขวาของทิศทางการเดินรถ กรณีติดตั้งด้านซ้ายของ ทางเดินรถ แถบสีขาวสลับส้มจะเฉียงข้ึนไปทางซ้าย และหากติดต้ัง ด้านขวาของการเดนิ รถ แถบจะเฉยี งขน้ึ ไปทางขวา ใหใ้ ชแ้ ผ่นสะท้อนแสงท่ี มีค่าสะท้อนแสงไม่ต่ากว่าแบบที่ 3 หรือแบบที่ 4 ตาม มอก.606 แผ่น สะท้อนแสงสาหรับควบคุมการจราจร ติดต้ังบนเสาปักลงดิน หรือเสาที่มี ฐานถ่วงน้าหนักเพ่ือไม่ให้ล้มง่าย เมื่อติดต้ังแล้วจะต้องสูงไม่น้อยกว่า 90 ซม. จากผิวจราจร การติดต้ังในแนวตรง ใหต้ ดิ ตง้ั แผงตั้งเป็นแนวตลอด ติดตง้ั ทกุ ระยะ 10 ม. ในแนวโคง้ ใหต้ ิดตั้งแผงตง้ั หา่ งกันทกุ ระยะ 4 ม. แผงตั้งสามารถจัดทาได้ง่ายและราคาถูก อาจใช้แทนกรวยยางได้ในงาน บารุงรักษาทาง หรือใช้แทนแผงกั้นบนไหล่ทางในกรณีที่มีพ้ืนที่จากัด ไม่สามารถติดตั้งแผงกั้นได้ แผงตง้ั ชนิดฝัง แผงตัง้ ชนิดวางบนพื้น รปู ที่ 3-3 อุปกรณ์จราจรประเภทแผงตง้ั เล่มท่ี 3 เครอ่ื งหมายควบคมุ การจราจรในงานก่อสรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงแผน่ ดิน 3-5

บทท่ี 3 อุปกรณจ์ ราจร 3.5 ถังกลม (Drums) ถังกลมขนาด 200 ลิตร หรือ 120 ลิตร ที่ไม่ได้ใช้งานอย่างอื่นแล้ว สามารถ นามาใช้เป็นอุปกรณ์ควบคุมการจราจรในงานก่อสร้างได้อย่างดี โดยการ ทาสสี ม้ สลับขาว แบ่งเปน็ 7 สว่ นเท่า ๆ กัน โดยทถ่ี ังกลมมีขนาดใหญ่ มองเห็น ได้ชัดเจน และสามารถเลื่อนไปมาได้ จึงเหมาะที่จะใช้เป็นเครื่องแสดง แนวขอบทางจราจรท่ีติดกับพื้นท่ีก่อสร้าง เช่น งานขยายทาง โดยการตั้ง ถังกลมเป็นแถว แสดงขอบทางจราจรในเวลาท่ีหยุดปฏิบัติงาน ส่วนในเวลา ปฏิบัติงานงานก็สามารถเล่ือนถังกลมเข้าไปในผิวจราจรเพื่อให้มีพื้นที่ ปฏบิ ัตงิ านไดเ้ พยี งพอ ในส่วนท่ีเป็นสีขาวส่วนบนสุดให้ติดแผ่นสะท้อนแสงท่ีมีค่าสะท้อนแสง ไม่ต่ากว่าแบบที่ 3 หรือแบบท่ี 4 ตาม มอก.606 แผ่นสะท้อนแสงสาหรับ ควบคมุ การจราจรเพราะจะต้องใช้ในเวลากลางคนื ดว้ ย หรือมฉิ ะนน้ั อาจใช้ สีสะท้อนแสงร่วมกับการติดต้ังอุปกรณ์การส่องสว่างให้ผู้ขับข่ียวดยาน มองเห็นได้ชัดเจน การใช้ถังกลมจะต้องติดตั้งป้ายเตือนล่วงหน้าเสมอ และถ้าจะใหไ้ ดผ้ ลดยี ่งิ ข้นึ ควรตดิ ตง้ั ไฟกะพริบดว้ ย ถังกลมไม่ควรใส่ทรายหรือวัสดุใด ๆ เพ่ือให้มีน้าหนักเพิ่มขึ้นเพราะจะ ก่อให้เกิดอันตรายอย่างร้ายแรงถ้ารถยนต์ชนเข้า การติดต้ังให้ระยะ ตามยาวไมเ่ กนิ 10 ม. รูปที่ 3-4 อุปกรณ์จราจรประเภทถงั กลม 3-6 เลม่ ท่ี 3 เคร่ืองหมายควบคมุ การจราจรในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงแผ่นดนิ

บทท่ี 3 อุปกรณ์จราจร 3.6 แผงกน้ั (Barricades) แผงกั้นใช้แสดงการปดิ กั้นการจราจรบางส่วนของทาง หรือขวางตลอดทาง นอกจากน้ีแผงกั้นยังทาหน้าที่เป็นเครื่องหมายเตือน หรืออุปกรณ์จัด ชอ่ งจราจร (Channelizing Device) ไดอ้ ีกดว้ ย แผงกั้นแบง่ เป็น 2 แบบ คือ แบบท่ี 1 ประกอบด้วยแผ่นแถบสี (Barricade Rail) เด่ียวหรือคู่ ติดต้ัง บนขาตั้ง สามารถเก็บหรือถอดและประกอบได้ง่าย เพื่อให้การเคล่ือนย้าย สะดวก ขนาดความสูงประมาณ 1 ม. ขาต้ังจะทาด้วยไม้ หรือวัสดุอ่ืน แต่ต้องเบาพอที่จะให้เคลื่อนย้ายได้สะดวก และหนักพอท่ีจะต้านลม กระโชก เนื่องจากยวดยานที่แล่นผ่านระยะใกล้ และที่สาคัญก็คือสามารถ พบั เกบ็ หรือถอดประกอบไดง้ ่ายเพ่ือความรวดเรว็ ในการเคล่ือนย้ายแผงก้ัน ชนิดนี้ ใช้สาหรับงานชั่วคราวที่ใช้ระยะเวลาทางานสั้น หรือใช้บริเวณท่ี ไม่อันตรายมากนัก เชน่ ทางในเมอื ง ซ่ึงการจราจรใช้ความเร็วตา่ แบบท่ี 2 ประกอบด้วยแผ่นแถบสี 3 แผ่น ติดตั้งค่อนข้างถาวร ใช้ในงาน ก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทางหลวง ที่ต้องปฏิบัติงานเป็น เวลานานวัน แผงกั้นแบบนี้อาจออกแบบให้เปิดปิดได้บางส่วนเพื่อการ ปฏิบัติงาน ขนาดความสูงจะต้องสูงไม่น้อยกว่า 1.50 ม. ถ้าติดตั้งบนขาต้ัง โดยไม่ใช้เสาตอกลงในพ้ืนดิน ก็ควรใช้กระสอบทรายหรือวัตถุหนัก ๆ ทับขาต้งั ไว้เพ่อื ใหม้ งั่ คงไม่ล้ม หรือเคล่ือนยา้ ยไดง้ ่ายเมื่อปฏบิ ตั งิ านเสร็จ แผงก้ันทั้ง 2 แบบ มีขนาดของแถบสีแต่ละแผ่นกว้าง 20-25 ซม. ยาวไม่น้อยกว่า 90 ซม. สีส้ม สลับขาว แต่ละแถบกว้าง 15 ซม. ทามุม 45 องศา การติดตั้งให้แถบช้ีลงไปทางด้านท่ีให้การจราจรผ่านไปได้ และ ต้องติดแผ่นสะท้อนแสงมีค่าสะท้อนแสงไม่ต่ากว่ามาตรฐานค่าสะท้อนแสง แบบที่ 3 หรือแบบท่ี 4 ตาม มอก.606 แผ่นสะท้อนแสงสาหรับควบคุม การจราจร เล่มท่ี 3 เคร่อื งหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบูรณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงแผน่ ดิน 3-7

บทที่ 3 อปุ กรณจ์ ราจร แผงก้ัน แผงกน้ั แบบท่ี 1 แผงกนั้ แบบที่ 2 หมายเหตุ - วสั ดุทใ่ี ชท้ ำแผงกน้ั ให้ใชไ้ มข้ นำด 1 นวิ้ x (8-10 น้วิ ) และเสำใช้ไมข้ นำด 4 นิ้ว x 4 นิว้ หรือวสั ดุอนื่ ท่เี บำและไมเ่ ปน็ อนั ตรำยเม่อื รถชน - ใช้แผ่นสะท้อนแสงทั้งสีส้มและสีขำว มีค่ำสะท้อนไม่ต่ำกว่ำแบบท่ี 3 หรือแบบที่ 4 ตำมมำตรฐำน มอก. 606 แผ่น สะทอ้ นแสงสำหรบั ควบคมุ กำรจรำจร รปู ที่ 3-5 อุปกรณจ์ ราจรประเภทแผงกั้น 3-8 เล่มที่ 3 เครือ่ งหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงแผ่นดนิ

บทที่ 3 อปุ กรณจ์ ราจร แผงก้ันแบบท่ี 1 และแบบที่ 2 สามารถนาไปใช้หรือดัดแปลงเพ่ือใช้ในงาน ตา่ ง ๆ ดังนี้ 1) ใช้ปิดก้ันการจราจร ในกรณีท่ีต้องการปิดก้ันการจราจร ไม่ให้รถผ่าน เข้าไปในเขตก่อสร้าง อาจใช้แผงก้ันแบบท่ี 2 ติดตั้งขวางทางไว้ ซึ่งแผงก้ันนี้อาจยาวตลอดถึงไหล่ทางทั้งสองข้าง หรืออาจจะยาวถึง ขอบทาง ถ้าจาเป็นที่จะต้องให้เจ้าหน้าท่ีปฏิบัติงานผ่านเข้าออก ในบางครั้ง ก็ให้จัดทาแบบท่ีสามารถเปิดปิดบางส่วนได้ แต่จะต้อง ปดิ กั้นทนั ทหี ลังจากทผ่ี ่านไปแล้ว สาหรับทางท่ีปิดเป็นทางการ แต่จะต้องให้ประชาชนท่ีอยู่ภายในเข้า ออก ให้ใช้แผงกั้นแบบท่ี 2 ติดตั้งไว้กลางเพ่ือท่ีจะให้รถที่จะเข้าออก ผา่ นไปข้าง ๆ พรอ้ มทัง้ ติดตั้งปา้ ยจราจรบอกไวด้ ว้ ย สาหรับงานซ่อมบารุงช่ัวคราว ควรใช้แผงกันแบบท่ี 1 ตั้งขวาง ช่องจราจรที่มีการซ่อมบารุงท้ังสองด้านให้ห่างพอสมควร เพราะแผง กัน้ แบบที่ 1 สามารถเคลื่อนย้ายไดง้ า่ ยกว่า 2) ใช้เป็นเคร่ืองหมายเตือน ที่จุดเร่ิมต้นงานก่อสร้างที่เปิดการจราจร ตามปกติ การใชแ้ ผงกัน้ แบบที่ 2 ติดตัง้ ขา้ งทางท้งั สองข้าง จะเป็นการ เตือนผู้ขับขี่ยวดยานได้อย่างดี การติดตั้งแบบนี้เรียกว่า แผงกั้น ข้างทาง (“Wing Barricade”) แผงก้ันข้างทางอาจติดต้ังเป็นชุด โดยเร่ิมจากนอกไหล่ทางเข้ามาจนถึงใกล้ขอบทาง จะทาให้ยวดยาน ลดความเร็วลงอย่างได้ผล สาหรับงานที่จะต้องใช้แผงกั้นข้างทางเป็น บางเวลา ก็อาจจะออกแบบใหพ้ ับไปดา้ นข้างในเวลาไม่ใชไ้ ด้ 3) ใช้สาหรบั ลดชอ่ งจราจร บนทางหลายช่องจราจร เมื่อต้องการลดช่อง จราจรลงอาจใช้แผงกั้นแบบท่ี 1 ตั้งขวางกับทิศทางการจราจร โดยให้เริ่มต้ังที่ขอบทางเข้ามาทีละ 50-60 ซม. ระยะห่างกันไม่เกิน 10 ม. เป็นลักษณะการเบี่ยงเบนแนวการจราจร การใช้แผงก้ันอาจไม่ สะดวก คล่องแคล่วเท่ากรวย แต่มีความม่ันคงสามารถตั้งอยู่นานกว่า จงึ เหมาะทีจ่ ะใช้กบั งานท่ีใชเ้ วลานานวัน เล่มที่ 3 เคร่อื งหมายควบคมุ การจราจรในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงแผน่ ดนิ 3-9

บทท่ี 3 อปุ กรณจ์ ราจร ยวดยานผา่ นไปทางซ้ายทางเดียว ยวดยานผ่านไปทางขวาทางเดียว ยวดยานผา่ นไปได้ท้งั สองทาง ยวดยานผ่านไปไมไ่ ด้ รูปท่ี 3-6 การใชแ้ ผงก้นั ตามลกั ษณะแถบ 3-10 เลม่ ที่ 3 เครอ่ื งหมายควบคุมการจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบูรณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงแผ่นดนิ

บทที่ 3 อุปกรณจ์ ราจร ูรป ่ที 3-7 การใช้แผงกั้น ้ขางทาง เลม่ ท่ี 3 เคร่อื งหมายควบคุมการจราจรในงานกอ่ สร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงแผน่ ดิน 3-11

บทท่ี 3 อปุ กรณ์จราจร 3.7 กาแพง (Traffic Barrier) กาแพงมี 2 แบบ ได้แก่ กาแพงคอนกรีตและกาแพงพลาสติกเติมน้า หรือเติมทราย การใช้กาแพงในงานก่อสร้างจะใช้ในงานท่ีมีการทางาน ระยะยาว เนื่องจากไม่ต้องมีการบารุงรักษามาก และในบริเวณพ้ืนท่ี ก่อสร้างที่มีความจาเป็นต้องป้องกันการชนท่ีอาจทาให้เกิดความเสียหาย ร้ายแรง หรือบริเวณท่มี ีการขดุ ทาใหม้ รี ะดบั ต่างกัน การต้ังกาแพง แนวของกาแพงจะต้องเว้นระยะห่างจากขอบทางจราจร หรือเส้นขอบช่องจราจรไม่น้อยกว่า 60 ซม. และกรณีการใช้กาแพง เพ่อื เบีย่ งการจราจร ระยะเบย่ี งในการวางกาแพงใหใ้ ช้ระยะ 15:1 และให้ วางเรยี งชิดกันตลอดแนว กรณีกาแพงคอนกรีตให้ทาสีกาแพงเป็นแถบขนาด 1 ม. สีขาวสลับสีส้ม ตลอดแนวกาแพง ส่วนกรณีใช้กาแพงพลาสติกเติมน้าให้วางกาแพงสีส้ม และสีขาวสลับกนั รูปที่ 3-8 กาแพงคอนกรีตและกาแพงพลาสตกิ เติมน้าหรือเติมทราย 3.8 อปุ กรณด์ ดู ซบั แรงกระแทก (Crash Cushion) ในบางกรณีในพื้นท่ีงานก่อสร้างมีการก่อสร้างเสาตอม่อ หรือวัตถุถาวร รวมถึงแนวขอบกาแพง ที่ไม่มีการป้องกันการชนไว้ หากมีรถเสียหลัก เ ข้ า ม า ใ น พ้ื น ที่ ก่ อ ส ร้ า ง อ า จ ท า ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม รุ น แ ร ง ข อ ง อุ บั ติ เ ห ตุ ไ ด้ การเตรียมการป้องกันการชนในลักษณะน้ีให้พิจารณาติดต้ังอุปกรณ์ดูด ซบั แรงกระแทก (Crash Cushion) รูปท่ี 3-9 อุปกรณ์ดูดซับกนั กระแทก (Crash Cushion) 3-12 เล่มที่ 3 เคร่ืองหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบูรณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผน่ ดิน

บทที่ 3 อุปกรณจ์ ราจร 3.9 หลักนาทาง (Guide Post) หลักนาทาง สาหรับใช้ในทางหลวงท่ีมีงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงาน บารุงรักษาทางหลวง เป็นแผ่นป้ายรูปสี่เหลี่ยมผนื ผ้า ด้านยาวเป็นส่วนต้งั ขนาด 7.5 x 125 ซม. แบ่งเป็น 7 ส่วน เท่า ๆ กัน ทาสีส้มสลับขาว โดยให้ส่วนที่สองนับจากด้ านบนสุด ติดแผ่นสะท้อนแสงสีขาว ที่มีค่าสะท้อนแสงไม่ต่ากว่าแบบท่ี 3 หรือแบบท่ี 4 ตาม มอก.606 แผน่ สะทอ้ นแสงสาหรบั ควบคุมการจราจร การติดตั้งหลักนาทาง ให้ติดต้ังห่างจากขอบไหล่ทาง 30 ซม. ปักลงดิน ประมาณ 50 ซม. ในบริเวณท่ีไม่สามารถปักลงดินได้ ให้ทาฐานถ่วง นา้ หนกั เพ่อื ไม่ใหล้ ้มง่าย โดยติดตั้งสงู จากผวิ จราจร 125 ซม. 0.18 ม. 7.5 ซม. (เปน็ อยา่ งนอ้ ย) แบ่งเป็น 7 ช่องเ ่ทา ๆ กัน ทาสสี ้ม 1.25 ม. ตดิ แผน่ สะทอ้ นแสงสขี าว ท่ีมีคา่ สะท้อนแสงไมต่ ่ากวา่ แบบท่ี 3 หรอื แบบท่ี 4 ตาม มอก.606 ทาสขี าว รปู ท่ี 3-10 หลักนาทาง (Guide Post) 3-13 หลักนาทางใช้ติดต้ังในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทาง หลวง เพ่ือช่วยให้ผู้ขับขี่สามารถมองเห็นแนวทางหลวงได้ดีในเวลาค่าคืน หรือในขณะที่สภาพอากาศมืดมัว ให้ใช้ติดตั้งในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงในบรเิ วณดังต่อไปน้ี 1) บริเวณทางโคง้ ราบ และทางโคง้ ตง้ั 2) บริเวณที่มกี ารเปลีย่ นแปลงความกวา้ งของผวิ จราจร 3) บริเวณที่ต้องการนาทางเพ่ือมิให้ยานพาหนะพลัดหลุดไปจากคันทาง หรอื บรเิ วณทางแยกที่สับสน 4) บรเิ วณอนื่ ๆ เพ่อื ป้องกันอุบัตเิ หตชุ นอปุ กรณ์งานทาง และชว่ ยนาทาง เลม่ ท่ี 3 เครอื่ งหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผ่นดิน

บทที่ 3 อปุ กรณจ์ ราจร ระยะการติดต้ังหลักนาทางในบริเวณโค้งตั้ง ให้ติดตั้งท้ังด้านซ้ายและ ด้านขวาทาง โดยติดตั้งให้เห็นอย่างน้อย 1 ต้น สาหรับระยะการติดตั้ง หลกั นาทางในทางโคง้ ราบ เปน็ ดงั ต่อไปน้ี รปู ที่ 3-11 การติดต้ังหลักนาทางบรเิ วณทางโค้ง ตารางท่ี 3-1 ระยะหา่ งของหลกั นาทางบนทางโค้งราบ ค่ารศั มที ่ีใช้คานวณ (ม.) ระยะห่างของหลักนาทางในช่วงตา่ ง ๆ (ม.) ในโคง้ นอกโค้งตัวท่ี 1 นอกโค้งตวั ท่ี 2 นอกโค้งตวั ที่ 3 (S) (S1) (S2) (S3) 15 6 12 18 36 75 13 26 39 78 100 16 32 48 90 150 20 40 60 90 200 23 46 69 90 300 29 58 87 90 400 33 66 90 90 500 37 74 90 90 3-14 เลม่ ท่ี 3 เครอื่ งหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงแผน่ ดิน

บทที่ 3 อปุ กรณ์จราจร 3.10 แผ่นปา้ ยสญั ญาณไฟลกู ศร (Arrow Panel) แผ่นป้ายสัญญาณไฟลูกศรเป็นอุปกรณ์เสริม ไม่ใช่การใช้แทนป้ายเตือน หรืออุปกรณ์นาทางอื่นใดจะใช้เม่ือมีการปิดหรือเบี่ยงช่องจราจรบน ทางหลวงหลายช่องจราจร ท่ีมีความเร็วรถสูงประมาณ 70 กม./ชม. ขึ้นไป หรือทางหลวงที่มีปริมาณจราจรสูง หรือมีข้อจากัดของทัศนวิสัย และระยะมองเห็นข้างหน้า ท้ังนี้สัญญาณไฟจากลูกศรจะต้องลดระดับ ความสว่างลง (Dimmed Mode) อย่างน้อยร้อยละ 50 ของความสว่าง สูงสุด ได้ในเวลากลางคืนเพ่ือป้องกันแสงแยงตา (Glare) ต่อผู้ขับข่ี อัตราการกระพริบของป้ายต้องไม่น้อยกว่า 25 ครั้งต่อนาทีและไม่เกิน 40 ครงั้ ต่อนาที ขนาดของปา้ ยสญั ญาณไฟลกู ศร แสดงตาม ตารางท่ี 3-2 ตารางท่ี 3-2 ขนาดของปา้ ยสญั ญาณไฟลกู ศร รูปแบบการตดิ ตง้ั กวา้ งxสงู (ม.) ระยะมองเหน็ ต่าสุด (ม.) จานวนดวงโคม กรณีตดิ ต้งั บนรถ 13 กรณตี ิดตง้ั อยกู่ บั ท่ี 1.80 x 0.90 1,200 15 2.40 x 1.20 1,600 การติดต้ังป้ายสัญญาณไฟลูกศรให้ติดตั้งฐานของป้ายสูงจากระดับ ผิวจราจรไม่น้อยกว่า 2.10 ม. การเลือกใช้รูปแบบของสัญญาณแสดง ตามรูปท่ี 3-12 ใหป้ ฏบิ ตั ิดังน้ี • รูปแบบลกู ศร ให้ใช้กรณีปดิ ชอ่ งจราจร หรือติดต้งั บนรถขณะเคล่ือนที่ • รูปแบบกระพริบเตือน ให้ใช้กรณีงานก่อสรา้ งหรือซ่อมบารุงบนไหล่ทาง เลม่ ท่ี 3 เครือ่ งหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสรา้ ง งานบูรณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงแผน่ ดิน 3-15

บทที่ 3 อปุ กรณจ์ ราจร สถานะการเตอื น รปู แบบ ลูกศรกระพรบิ (เบีย่ งขวา) ลกู ศรเคล่อื นไหว (เบย่ี งขวา) (เบ่ียงขวา) หัวลกู ศร (Chevron) เคล่อื นไหว ลูกศรกระพรบิ (เบ่ยี งซา้ ยหรอื เบยี่ งขวา) เตือนกระพริบ หรือ (เตอื นใหร้ ะวงั ) กรณเี บี่ยงซา้ ย ลักษณะการเรียงทาลักษณะเดียวกนั รปู ที่ 3-12 อุปกรณ์จราจรประเภทปา้ ยสัญญาณไฟลูกศร (Arrow Panel) แผ่นป้ายสัญญาณไฟลูกศรจะต้องมองเห็นได้ไม่ต่ากว่า 1,200-1,500 ม. และคุณสมบัติการส่องสว่างเป็นไปตามมาตรฐาน EN12352:2006 Traffic Control Equipment-Warning and Safety Light Devices for Class L8H Warning Light ซงึ่ มรี ายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 3-3 ตารางท่ี 3-3 คณุ สมบัติการสอ่ งสวา่ งของแผ่นป้ายสญั ญาณไฟลูกศร คณุ สมบัติ Class L8H Warning Light Area of light emitting surface (cm2) >= 250 Diameter of light emitting surface (mm) >= 180 Angle range-horizontal +7.5º to-7.5º +5.0º to-5.0º Angle range–vertical Luminous intensity (cd) for nominal voltage 1,500 cd For nominal voltage IRmin [ minimum effective luminous intensity 5,000 cd For nominal voltage measuredon the reference axis] IAmax [ maximum effective luminous intensity measuredat any point within angle range] 3-16 เลม่ ที่ 3 เครอ่ื งหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบูรณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผ่นดิน

บทท่ี 3 อปุ กรณจ์ ราจร 3.11 ป้ายสญั ญาณแบบปรบั เปลยี่ นข้อความ (Portable Changeable Message Sign) ในบริเวณที่มีปริมาณจราจรสูง และมีความจาเป็นต้องให้ข้อมูลในการ เตือนกับผู้ขับข่ีเป็นพิเศษ เช่นการปิดถนนหรือช่องจราจร การปิดช่อง ทางออก (Exit Ramp) อุบัติเหตุ หรือเพ่ือการบริหารจัดการจราจร จึงมคี วามจาเป็นในการใช้ป้ายจราจรแบบปรับเปล่ียนข้อความได้ ป้ายจราจรแบบปรับเปลี่ยนข้อความได้จะมีขนาดไม่แนน่ อนขึน้ กับจานวน ข้อความและขนาดตัวอักษรแต่โดยทั่วไปจะใช้แบบตัวอักษร 3 ช้ัน ความสูงของตัวอักษรไม่ควรน้อยกว่า 40 ซม. ในกรณีติดตั้งบนรถบรรทุก ขนาดใหญ่ และไม่นอ้ ยกวา่ 25 ซม. ในกรณีตดิ ตงั้ บนรถบริการ การติดต้ังป้ายสัญญาณไฟลูกศรให้ติดตั้งฐานของป้ายสูงจากระดับ ผิวจราจรไม่นอ้ ยกวา่ 2.10 ม. ข้อความท่ีใช้บนป้ายจะต้องส้ันและกระชับ เพ่ือให้ผู้ขบั ขี่ไม่ต้องใชเ้ วลาในการอ่านและตัดสนิ ใจมากเกินไป รูปท่ี 3-13 อปุ กรณจ์ ราจรประเภทปา้ ยสญั ญาณแบบปรับเปลยี่ นข้อความ (Portable Changeable Message Sign) เลม่ ที่ 3 เครือ่ งหมายควบคุมการจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผ่นดนิ 3-17

บทที่ 3 อุปกรณ์จราจร 3.12 ไฟกะพรบิ (Flasher หรือ Flashing Light) ไฟกะพริบสีเหลืองแบบกะทัดรัด ใช้แบตเตอร่ีแห้ง หรือแบตเตอรี่รถยนต์ มีอัตราการกะพริบ 50-60 ครั้งต่อนาที การจุดสว่างประมาณ 1/3-1/2 ของเวลาที่ใช้ ความสว่างของหลอดไฟสามารถมองเห็นได้ในระยะ อย่างน้อย 500 ม. ในทัศนวิสยั ปกติ ไฟกะพริบใช้สาหรับติดตั้ง ณ จุดที่กาลังดาเนินการก่อสร้างหรือ บารุงรักษาทาง โดยเฉพาะอย่างย่ิงทางหลวงที่มีปริมาณจราจรมากและ ยวดยานใช้ความเร็วสูง บริเวณตาแหน่งท่ีผู้ขับขี่ไม่คาดหมายว่าจะมี อุปสรรค เช่น การก่อสร้างทางแยกต่างระดับ และการบารุงรักษาทางคู่ ซ่ึงจะต้องปิดทางจราจรข้างหน่ึง เป็นต้น เมื่อใช้ไฟกะพริบควรใช้ ตลอดเวลาทั้งกลางวันและกลางคนื การติดตั้งอาจติดตั้งบนแผงก้ันด้านท่ีติดกับการจราจร หรือตั้งบนสามขา (Tripod) หรืออาจติดต้ังอยู่บนรถงานก็ได้ เมื่อติดต้ังแล้วจะต้องสูงจาก ผิวจราจรไม่น้อยกว่า 1.20 ม. ไม่ควรติดตั้งไฟกะพริบเป็นแถวยาว ๆ เพราะจะทาให้ผู้ขับขี่ยวดยานเกิดความคลุมเครือ หรือสับสนทาให้เกิด อุบตั ิเหตไุ ดง้ ่าย รปู ท่ี 3-14 ไฟกะพรบิ (Flasher หรือ Flashing Light) 3-18 เล่มที่ 3 เคร่ืองหมายควบคุมการจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบูรณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงแผ่นดนิ

บทที่ 3 อปุ กรณ์จราจร 3.13 เคร่ืองให้สญั ญาณ (Signalizing Devices) ในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทางหลวง บางครั้งมีความ จาเป็นต้องจัดการจราจรการใช้ช่องทางเดินรถ โดยให้รถทีละด้านผ่านไป ถ้าผู้ขับขี่สามารถมองเห็นรถที่สวนทางและแบ่งใชร้ ่วมกันได้ ก็สามารถใช้ ป้ายให้รถสวนทางมาก่อน (บ.3) ได้ แต่ถ้าปริมาณจราจรมากหรือรถ ในทางตรงกันข้ามมองไม่เห็นกัน การจัดการจราจรจาเปน็ ต้องใช้เครื่องให้ สัญญาณเพอ่ื จดั หลกี รถให้ไปได้ทลี ะขา้ ง ได้แก่ 3.13.1 สญั ญาณธง (Flagging) การให้สัญญาณธง จะใช้ในกรณีที่ต้องการควบคุมการจราจร 2 ทิศทาง บนถนน 1 ช่องทาง โดยท่ีผู้ให้สัญญาณท้ังสองจะต้องมองเห็นกันและกัน อยู่คนละด้าน เพื่อที่จะบอกหรือให้สัญญาณอีกคนหน่ึง ให้สัญญาณห้าม รถโดยการยกธงแดง หรอื ให้รถผ่านไปไดโ้ ดยการยกธงเขยี ว ธงท่ีใช้ในการให้สัญญาณธงควรมีขนาดประมาณ 50 x 50 ซม. สีแดง หน่ึงอัน สีเขียวหนึ่งอัน แต่ละอันมีด้ามถือยาวประมาณ 1 ม. ด้านปลาย ธงควรถ่วงนา้ หนกั เลก็ นอ้ ย เพื่อให้ธงเหยียดตรงในขณะถอื อยู่แนวราบ ผูท้ ่ีจะใหส้ ัญญาณธงจะต้องได้รับการฝึกอบรม เพือ่ ให้สามารถทาหน้าที่ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะต้องรับผิดชอบต่อความปลอดภัยของ การจราจร ตาแหน่งที่คนให้สัญญาณธงยืนอยู่ ควรห่างจากจุดที่ทางานประมาณ 50 ถึง 100 ม. แต่ถ้าความเร็วยวดยานต่าอาจจะลดระยะลงได้อีก ผู้ให้สัญญาณอาจจะยืนอยู่หลังแผงกั้น บนไหล่ทาง หรือฝ่ังตรงข้ามก็ได้ แต่จะต้องอยู่ในตาแหน่งที่ผู้ขับรถมองเห็นได้ชัดเจน และไม่อยู่ขวางแนว จราจร ผู้ให้สัญญาณจะต้องยืนเดี่ยว เพ่ือให้เป็นจุดสนใจของผู้ขับข่ี ยวดยาน โดยไม่มีกล่มุ คนงานอ่นื ๆ อยใู่ กลเ้ คียง บ.3 3-19 เลม่ ที่ 3 เคร่ืองหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สร้าง งานบรู ณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงแผ่นดิน

บทที่ 3 อปุ กรณจ์ ราจร 3.13.2 สัญญาณทางสะดวก ในกรณีที่ไม่สามารถใช้การใหส้ ัญญาณธงได้ ซึ่งอาจเป็นเพราะทางที่จัดให้ รถเดินทางเดียวสลับกันมีระยะทางยาวจนผู้ให้สัญญาณมองไม่เห็นกัน ก็อาจใช้ธงแดง (หรือของอื่น) มอบให้ผู้ขับรถคันสุดท้าย โดยแนะนาว่า เมื่อผ่านไปถึงอีกด้านให้มองธงแก่เจ้าหน้าท่ี เม่ือเจ้าหน้าท่ีได้รับธงแดง ก็ทราบว่าทางสะดวกแล้ว จึงให้สัญญาณให้รถในทางตรงข้ามผ่านได้ และมองธงนัน้ ใหแ้ กผ่ ขู้ ับรถคันสุดทา้ ยกลบั มา วิธีการนี้อาจเปล่ียนแปลงได้ เช่น ให้รถเจ้าหน้าท่ีแล่นปิดท้าย เมื่อผ่าน ทางตอนนั้นไปแล้วก็ให้แล่นปิดท้ายกลับมา วิธีนี้เป็นวิธีที่สิ้นเปลืองกว่า แตจ่ ะทาใหส้ ญั ญาณธงหมดไป วิธีการทางสะดวกอาจเปล่ียนแปลงไปได้ เช่นให้รถเจ้าหน้าท่ีแล่นปิดทา้ ย เมื่อผ่านทางตอนน้ันไปแล้ว ก็ให้แล่นปิดท้ายกลับมา วิธีน้ีเป็นวิธี ทส่ี น้ิ เปลอื งกวา่ แต่ทาให้ปญั หาธงหายหมดไป 3.13.3 ไฟสญั ญาณจราจร (Traffic Signal) ในกรณีที่มีปริมาณจราจรสูง และใช้เวลาก่อสร้างทางนาน การจัดให้ รถเดินทางเดียวสลับกัน อาจใช้ไฟสัญญาณจราจรควบคุมรถ โดยการจัด ช่วงเวลาไฟแดงทุกด้าน (All Red Interval) ให้นานพอท่ีรถคันสุดท้าย จะแลน่ ผ่านไปได้ นอกจากจะใช้ควบคุมรถเดินทางเดียวสลับกันแล้ว อาจใช้ไฟสัญญาณ ควบคุมการจราจรในงานก่อสร้างทางท่ีเกิดทางแยกชั่วคราวข้ึนเน่ืองจาก รถงาน และเคร่ืองจักรแล่นตัดผ่านทางหลวงที่มีปริมาณจราจรสูง และ อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้โดยง่าย จึงสมควรควบคุมการจราจรโดยใช้ สัญญาณไฟจราจร ซ่ึงสามารถจัดการระบบการจราจรในแต่ละด้านของ ทิศทางให้เหมาะสม เป็นผลให้ความล่าช้าเฉลี่ยของการจราจรน้อยลง และไม่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุ ทางแยกชั่วคราวที่สมควรติดตั้งสัญญาณไฟ จราจรเพ่ือควบคุมการจราจรนั้นให้คานึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ดังน้ี ปริมาณ การจราจร ปรมิ าณคนเดนิ ขา้ มทางหลวง ท่ีตง้ั และสภาพทางแยกช่ัวคราว บริเวณทางแยกทมี่ ีแนวโน้มว่าอาจก่อใหเ้ กิดอุบัตเิ หตุได้ง่าย เป็นต้น 3-20 เล่มท่ี 3 เคร่ืองหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงแผ่นดิน

บทที่ 3 อุปกรณ์จราจร 3.14 อุปกรณ์ส่องสวา่ ง (Lighting Devices) งานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทางหลวง มักจะทาบน ผิวจราจร หรือใกล้กับขอบทางจราจร ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายในเวลา กลางคืน เพราะความมืดได้ลดทอนความสามารถในการมองเห็นของผู้ขบั ขี่ยวดยานลงอย่างมาก ดังน้ันจึงจาเป็นท่ีจะต้องใช้แสงสว่างช่วยเตือน หรือช่วยให้มองเห็นป้ายจราจร แผงก้ันเคร่ืองจัดช่องจราจร และส่ิงอื่น ๆ ท่ีอาจจะก่อให้เกิดอันตรายต่อการใช้ทาง อุปกรณ์การส่องสว่างที่ใช้ โดยทว่ั ไปมดี งั ต่อไปน้ี 3.14.1 ไฟสอ่ งป้ายจราจร (Sign Light) ปา้ ยจราจรในงานก่อสร้าง ใช้แผ่นสะท้อนแสงที่มีค่าสะท้อนแสงไม่ต่ากว่า ค่าสะท้อนแสงแบบท่ี 3 หรือแบบที่ 4 ตาม มอก.606 แผ่นสะท้อนแสง สาหรับควบคุมการจราจร แต่ถ้างานก่อสร้างอยู่บนทางโค้ง หรือทางลาด ชัน เช่น ทางเขา แสงไฟรถอาจส่องไม่ถูกป้ายจราจรในระยะไกลพอทาให้ ผู้ขับข่ีมองไม่เห็นป้ายจราจรอาจเกิดอันตรายได้ งานก่อสร้างในเวลา กลางคนื จึงจาเปน็ ต้องใช้ไฟสอ่ งป้ายจราจรดว้ ย 3.14.2 แสงสว่างแรงสูง (Floodlight) งานก่อสร้างที่ต้องทางานในเวลากลางคืน จาเป็นต้องใช้แสงสว่างแรงสูง เพอ่ื ใหค้ นงานปฏิบตั ิงานได้ และยังตอ้ งใช้แสงสวา่ งนส้ี ่องไปยงั จุดกีดขวาง หรือจุดอันตรายด้วย เช่น บริเวณท่ีรถในงานก่อสร้างต้องแล่นตัดกับทาง จราจร ฯลฯ เป็นต้น ค่าความสว่างทเ่ี หมาะสมในการทางานเวลากลางคืน ไมค่ วรน้อยกว่า 50 ลักซ์ การติดตั้งไฟแสงสว่างแรงสูงนี้ ข้อที่ควรระมัดระวังคือ จะต้องไม่ให้ แสงสว่างส่องผู้ขับขี่ยวดยานจนเกิดตาพร่ามัว (Glare) ได้ ผู้ควบคุมงาน ควรตรวจสอบในเรือ่ งนี้เองโดยทดลองขบั รถผา่ นไปมา เลม่ ที่ 3 เคร่อื งหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สร้าง งานบรู ณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงแผน่ ดนิ 3-21

บทที่ 3 อุปกรณ์จราจร 3.14.3 แสงสวา่ งแรงต่า (Low Wattage Electric Lamps) แสงสว่างแรงต่าในท่ีน้ี หมายถึง การใช้หลอดไฟฟ้าแรงต่าสีเหลือง หลาย ๆ ดวง ติดตั้งเป็นแนว โดยท่ัวไปให้ใช้แสงสว่างแรงต่าเม่ือต้องการ ใช้แสงสว่างทาหน้าท่ีเป็นเคร่ืองหมายนาทางผ่านเขตก่อสร้างบริเวณไม่มี แสงสว่างเพียงพอ และอาจเกิดอุบัติเหตุได้ง่าย เช่น ขอบสะพานท่ียังไม่มี ราวกน้ั เป็นตน้ แสงสว่างแรงต่าไม่ได้ใช้ส่องให้เห็นวัตถุอ่ืน แต่ใช้ให้ผู้ขับรถเห็นตัว ดวงไฟเอง จึงไม่จาเป็นตอ้ งสว่างมากนัก 3.15 ป้ายมือถอื (Knockdown) ในบางบริเวณที่ต้องมีการก่อสร้างทาง หรือบารุงทาง ควรจะมีการติดต้ัง ป้ายจราจรเพ่ือเป็นการแจ้งให้ผู้ขับข่ีทราบถึงสภาพการณ์ล่วงหน้าที่ จะต้องเจอ ซ่ึงในบางพื้นที่ก่อสร้างจะใช้เวลาในการก่อสร้างไม่นาน จึงเหมาะสมที่จะใช้ป้ายท่ีมีความสะดวกในการเคล่ือนย้ายและสามารถ ติดต้ังไดง้ ่ายเพอ่ื เปน็ ปา้ ยจราจรชว่ั คราวตดิ ตั้งในพื้นที่ที่ต้องการ การใช้ป้ายมือถือมวี ตั ถุประสงค์ ดังน้ี 1) เพ่ือเพ่ิมความปลอดภัยในพื้นที่ก่อสร้าง หรือระหว่างงานซ่อมบารุง ทาง 2) เพอื่ ความสะดวกในการใช้งาน 3) เพื่อประหยัดงบประมาณในการก่อสร้างป้ายจราจร ในพ้ืนท่ีก่อสร้าง หรอื พ้ืนทซี่ อ่ มบารงุ ทาง 3.15.1 รปู แบบแนะนา 1) แผ่นปา้ ยใช้แผน่ เหลก็ อาบสังกะสีหนา 1.2 มม. 2) แผ่นสะท้อนแสงสีส้มตามมาตรฐาน ASTM D-4956 2004 (Type 7, Type 8 & Type 9) 3) เสน้ ขอบปา้ ย ตวั อกั ษรสดี าทึบแสง 4) ส่วนอื่น ๆ ทีไ่ ม่ไดร้ ะบใุ ห้เป็นไปตามมาตรฐานกรมทางหลวง ดังแสดงรูปแบบป้ายมอื ถอื ในรปู ท่ี 3-15 ถึงรูปที่ 3-17 3-22 เลม่ ที่ 3 เครื่องหมายควบคุมการจราจรในงานกอ่ สร้าง งานบูรณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผน่ ดิน

บทท่ี 3 อปุ กรณ์จราจร 3.15.2 การใชง้ านป้ายมือถอื ปา้ ยมือถอื สามารถนาไปใช้ในงานต่อไปน้ี 1) งานก่อสร้างขนาดเล็ก 2) งานบารุงรักษาทาง 3) งานอุบตั เิ หตุ ฉุกเฉิน 3.15.3 องคป์ ระกอบปา้ ยมือถือ 1) ชดุ ไฟกะพริบ ตดิ ตั้งบนป้ายจราจร 2) อุปกรณ์พื้นฐานในการปฏิบัติงาน เช่น กรวยยาง และเจ้าหน้าที่ ปฏบิ ัตงิ าน 3) ไฟฉุกเฉนิ ในรถยนต์ รูปท่ี 3-15 ป้ายมือถือรปู แบบท่ี 1 เล่มที่ 3 เครอื่ งหมายควบคมุ การจราจรในงานก่อสรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผน่ ดิน 3-23

บทที่ 3 อปุ กรณจ์ ราจร รูปที่ 3-16 ปา้ ยมือถือรูปแบบที่ 2 รปู ท่ี 3-17 ปา้ ยมือถือรูปแบบท่ี 3 3-24 เลม่ ท่ี 3 เคร่ืองหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สร้าง งานบรู ณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผ่นดนิ

บทที่ 3 อุปกรณ์จราจร 3.16 เครอื่ งหมายจราจรบนพืน้ ทาง (Pavement Marking) 3.16.1 ประเภทของเคร่ืองหมายจราจรบนพืน้ ทาง เคร่ืองหมายจราจรบนพนื้ ทาง แบง่ เปน็ 2 ประเภท 1) เคร่ืองหมายจราจรบนพื้นทางประเภทบังคับ ได้แก่ เครื่องหมาย จราจรทีม่ คี วามหมายเป็นการบงั คบั ให้ผใู้ ช้ทางปฏิบตั ิตามความหมาย ข อ ง เ ค ร่ื อ ง ห ม า ย น้ั น โ ด ย ก า ห น ด ใ ห้ ผู้ ใ ช้ ท า ง ต้ อ ง ก ร ะ ท า ง ด เ ว้ น การกระทาหรอื จากดั การกระทาในบางประการหรอื บางลักษณะ 2) เคร่ืองหมายจราจรบนพ้ืนทางประเภทเตือน ได้แก่ เคร่ืองหมายท่ีมี ความหมายเป็นการเตือนผู้ใช้ทาง ให้ทราบล่วงหน้าถึงสภาพทาง หรือข้อมูลอย่างอ่ืนท่ีเกิดขึ้นในทาง หรือทางหลวงข้างหน้า อันอาจก่อให้เกิดอันตราย หรืออุบัติเหตุขึ้นได้ เพื่อให้ผู้ใช้ทางใช้ ความระมัดระวังในการใช้ทาง ซ่ึงจะช่วยป้องกันการเกิดอันตราย หรืออุบัตเิ หตุดังกลา่ วได้ ในงานก่อสร้างบางแห่งท่ีจาเป็นจะต้องใช้พื้นที่บนผิวในการทางานและ ช่องจราจรปกติบนผิวทางได้ถูกปิดก้ันเป็นเวลานาน จาเป็นจะต้องจัดทา เคร่ืองหมายจราจรบนพ้ืนทางเสียใหม่และลบช่องจราจรเดิมออก หรือ การก่อสร้างทางนั้นได้จัดทาทางช่ัวคราว ให้ยานพาหนะได้เบี่ยงเบนไป จากทางปกติ ก็จาเป็นจะต้องจัดทาเครื่องหมายจราจรบนพื้นทางนาทาง ให้ยานพาหนะได้ใช้ช่องจราจรท่ีถูกต้องการ จัดทางเบี่ยงในบริเวณงาน ก่อสร้าง มักจะค้านกับเครื่องหมายจราจรบนพื้นทางท่ีมีอยู่เดิม ในกรณีนี้ มีทางเลือกอยู่ 2 อย่างคือ ลบเครื่องหมายที่มีอยู่เดิมออกหรือจัดทา เคร่ืองหมายชั่วคราว ท้ังสองกรณีจะต้องพิจารณาให้รอบคอบ เพราะเคร่ืองหมายช่ัวคราวจะต้องรื้อออกเมื่อไม่ต้องการใช้อีกต่อไป ซ่งึ จะมีปัญหาในการลบเส้นจราจรชัว่ คราว ยกเวน้ กรณที ี่ทาผิวจราจรใหม่ อีกทางหน่ึงในการจัดทาเคร่ืองหมายชั่วคราว อาจใช้เทปจราจร หรือ ปุ่มเคร่ืองหมายจราจร (Raised Pavement Markers) เป็นพลาสติก ติดด้วยกาวกับผิวถนน ซ่ึงสามารถร้ือออกได้ง่ายด้วยรถปาดผิวหรือ วัสดุอน่ื ทีเ่ หมาะสม เล่มท่ี 3 เคร่ืองหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสร้าง งานบรู ณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงแผน่ ดิน 3-25

บทท่ี 3 อปุ กรณจ์ ราจร ดังน้ันถ้าเห็นว่าการทาสีบนผิวทางใช้งบประมาณสูง อาจพิจารณา ใชห้ มุดสะทอ้ นแสง (Raised Pavement Markers) แทนไดเ้ พราะการติดตั้ง และถอดออกไดง้ า่ ยกว่า รวมทง้ั ยังสามารถนาไปใช้ในคราวต่อ ๆ ไปไดด้ ว้ ย ความยาวนานของเวลาที่มีการจัดการจราจร เป็นข้อพิจารณาท่ีสาคัญ ว่าควรจะจัดทาเคร่ืองหมายจราจรบนพ้ืนทางหรือไม่ เพราะใช้ งบประมาณสูงและอาจใช้ประโยชน์ไม่ค้มุ ค่าก็ได้ การจัดทาเครื่องหมายจราจรบนพ้ืนทางช่ัวคราวจะต้องติดต้ังป้ายเตือน เครอื่ งจัดช่องจราจร และเครื่องหมายนาทางอนื่ ๆ พร้อมกนั ไปดว้ ย 3.16.2 เส้นแบง่ ทศิ ทางจราจรปกติ มีลักษณะเป็นเส้นประสีเหลือง ใช้เป็นเส้นแสดงการแบ่งแยกการจราจร ของรถที่มีทศิ ทางตรงกนั ขา้ มผขู้ ับข่ีต้องขบั รถทางดา้ นซ้ายของเส้น ยกเว้น ในกรณีท่ีต้องการเลี้ยวขวา หรอื แซงขึน้ หน้ารถคนั อ่ืน 3.16.3 เสน้ แบ่งทศิ ทางจราจรห้ามแซง มีลักษณะเป็นเส้นทึบสีเหลืองเด่ียว หรือคู่ ผู้ขับขี่ต้องขับรถไปทาง ดา้ นซ้ายของเส้น หา้ มขับรถผา่ นหรอื คร่อมเส้นโดยเด็ดขาด 3.16.4 ลูกศร มีลักษณะเป็นลูกศรสีขาว แสดงทิศทางของการจราจร ให้รถตรงไป เลี้ยวซ้าย เลยี้ วขวา หรอื ร่วมกนั เม่ือมีลูกศรตามลักษณะดังกล่าว ปรากฏใน ช่องเดนิ รถ หรอื ชอ่ งจราจรใด ผูข้ ับขท่ี ่ีอยู่ในช่องเดนิ รถหรือช่องจราจรน้ัน ตอ้ งปฏิบตั ิตามเครอ่ื งหมายนน้ั 3.16.5 เสน้ ขอบทาง มีลักษณะเป็นเส้นทึบ หรอื เส้นประ หรอื แถบสี สีขาว ยกเวน้ เสน้ ขอบทาง ด้านติดกับเกาะกลาง หรือฉนวนแบ่งทิศทางการจราจรให้เป็นสีเหลือง หมายความว่า เปน็ แนวสดุ ขอบทางเดินรถ 3-26 เล่มที่ 3 เครอื่ งหมายควบคุมการจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงแผน่ ดนิ

บทที่ 3 อปุ กรณจ์ ราจร 3.17 การติดตัง้ อปุ กรณ์ความปลอดภัยในการขุดถนน ในงานก่อสร้างบางคร้งั อาจต้องมีการขุดผวิ ถนน ซ่ึงอาจก่อใหเ้ กดิ อันตราย ร้ายแรงได้ในกรณีที่รถเสียหลักตกถนน ข้อแนะนาในการเลือกใช้อุปกรณ์ ป้องกนั อันตราย เม่อื มกี ารขุดถนนแสดงไดต้ ามตารางที่ 3-4 ตารางท่ี 3-4 การเลือกใช้อปุ กรณป์ ้องกนั อันตราย เมือ่ มกี ารขดุ ถนน ความเรว็ 1) ความหา่ งจากขอบทางเดนิ รถ 2) การปอ้ งกัน 3) ความลึกที่ขดุ 4) (เซนติเมตร) น้อยกวา่ 2.5 เมตร 5-25 26-50 มากกว่า 50 นอ้ ยกวา่ 70 กม./ชม. SD CD SB SD SD CD 2.5-6 เมตร None None None SD CD SB ต้ังแต่หรือมากกวา่ ตั้งแต่หรอื มากกว่า 6 เมตร None None None 70 กม./ชม. นอ้ ยกวา่ 6 เมตร ตั้งแต่หรือมากกวา่ 6 เมตร หมายเหตุ 1) ควำมเรว็ ตำมปำ้ ยจำกดั ควำมเรว็ ทตี่ ดิ ตั้งไว้ 2) สำหรับทำงหลวงหมำยชอ่ งจรำจรใช้ทิศทำงเดยี ว 3) ระยะห่ำงจำกขอบทำงเดนิ รถที่ใกล้สุด 4) SD – Standard Delineation เช่น กรวยหรือหลักนำทำง ตดิ ตงั้ หำ่ ง 5-25 ม. ตำมควำมเหมำะสม CD – Close Delineation เช่น กรวยหรอื หลักนำทำง ตดิ ต้ังห่ำง 4 ม. SB – Safety Barriers กำแพงปอ้ งกันอนั ตรำยตำมมำตรฐำน เล่มท่ี 3 เคร่ืองหมายควบคุมการจราจรในงานกอ่ สร้าง งานบรู ณะ และงานบารุงรกั ษาทางหลวงแผน่ ดิน 3-27

บทท่ี 3 อปุ กรณจ์ ราจร สรุปอุปกรณ์จราจรท่ีใช้ในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรักษา ทางหลวงแผ่นดินในแต่ละพ้ืนที่กอ่ สร้าง แสดงในตารางที่ 3-5 ตารางที่ 3-5 แสดงอุปกรณ์จราจรในแต่ละพน้ื ท่ีก่อสร้าง 3-28 เลม่ ที่ 3 เครอื่ งหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารงุ รกั ษาทางหลวงแผน่ ดนิ

บทที่ 4 การติดตง้ั ปา้ ยและอปุ กรณ์

บทท่ี 4 การติดตงั้ ป้ายและอปุ กรณ์ 4.1 หลักการตดิ ต้งั (Installation Guide) รูปแบบการติดต้ังเครื่องหมายจราจรในบริเวณพ้ืนท่ีก่อสร้างสามารถ จัดรูปแบบและวิธีการได้หลากหลายรูปแบบ ข้ึนอยู่กับปัจจัย 4 ประการ คือ ระยะเวลาปฏิบัติงาน ตาแหน่งและสถานที่ รูปแบบของงาน และประเภทของถนน นอกจากนี้ ในการวางแผนงานติดตั้งควรท่ีจะต้อง ปรึกษาหารือกับหน่วยงานต่าง ๆ ในพ้ืนที่ท่ีอาจเกี่ยวข้องกับผลกระทบ ทางด้านจราจรท่ีจะเกิดขึ้น ซ่ึงอาจจะต้องมีการปรับปรุงรูปแบบวิธีการ ตามมาตรฐานให้สอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพพื้นที่และสถานการณ์ อย่างแทจ้ ริง ปัจจยั ท้งั 4 ประการขา้ งต้นสามารถแบง่ ได้ดงั น้ี 4.1.1 ระยะเวลาการปฏบิ ัติงาน 4.1.1.1 การก่อสรา้ งระยะยาว (Long-Term Stationary) การก่อสร้างระยะยาว เป็นงานก่อสร้างหรือซ่อมบารุงที่ใช้ระยะเวลา ทางานมากกว่า 3 วัน อุปกรณ์อานวยความปลอดภัยต้องมีความคงทน และเน่ืองจากมีการทางานทั้งกลางวันและกลางคืน การสะท้อนแสงและ ให้ความสว่างจึงมีความจาเป็นอย่างย่ิง หากมีระยะเวลาการทางานที่ ยาวมาก และมีการเบ่ียงแนวการจราจร ก็อาจจาเป็นต้องพิจารณา ตีเสน้ จราจรแบบช่ัวคราว 4.1.1.2 การก่อสร้างระยะกลาง (Intermediate-Term Stationary) การก่อสร้างระยะปานกลาง เป็นงานก่อสร้างหรือซ่อมบารุงที่ใช้ระยะเวลา ทางานยาวมากกว่า 1 วัน แต่ไม่เกิน 3 วัน อุปกรณ์อานวยความปลอดภัย ควรเคลื่อนย้ายได้ง่ายและเนื่องจากมีการทางานท้ังกลางวันและกลางคืน การสะทอ้ นแสงและให้ความสวา่ งจึงมคี วามจาเป็นอย่างยิ่ง เลม่ ท่ี 3 เครอ่ื งหมายควบคมุ การจราจรในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผ่นดนิ 4-1

บทที่ 4 การตดิ ต้งั ปา้ ยและอปุ กรณ์ 4.1.1.3 การกอ่ สรา้ งระยะสั้น (Short-Term Stationary) การก่อสร้างระยะสั้น เป็นงานก่อสร้างหรือซ่อมบา รุงท่ีใช้ระยะเวลาทา งานมากกว่า 1 ชว่ั โมง แตไ่ มเ่ กิน 24 ช่ัวโมง อปุ กรณ์อานวยความปลอดภัย ควรเคล่ือนย้ายได้ง่ายแต่เนื่องจากมีการทางานกลางวันเป็นส่วนใหญ่ หรือ ติดต้ังบนรถยนต์หรือรถบรรทุกให้สามารถมองเห็นได้ชัดเจน การสะท้อน แสงและให้ความสว่าง อาจพจิ ารณาตามความเหมาะสม 4.1.1.4 การกอ่ สรา้ งช่วงเวลาสัน้ มาก (Short Duration) การก่อสร้างระยะส้ันมาก เป็นการซ่อมบารุงท่ีใช้ระยะเวลาทางานไม่เกิน 1 ช่ัวโมงอาจเป็นการซ่อมบารุงเฉพาะที่ หรือซ่อมบารุงท่ีมีการเคล่ือนท่ีไป เป็นระยะ ๆ เช่น การตีเส้นจราจร การซ่อมไฟฟ้าแสงสว่าง การช่วยเหลือ กู้ภัยอุบัติเหตุ ฯลฯ เป็นต้น อุปกรณ์อานวยความปลอดภัยจะใช้เท่าที่ จาเป็นที่ติดต้ังและเคลื่อนท่ีได้รวดเร็ว เช่น กรวยยาง รถปฏิบัติงาน รถกันชน ฯลฯ เป็นต้น การใช้เครื่องหมายและอุปกรณ์จราจรอาจเลือกใช้ สัญญาณไฟกระพรบิ หรืออปุ กรณน์ ้าหนักเบาเป็นหลกั ในการใช้งาน 4.1.2 ตาแหน่งและสถานท่ี 4.1.2.1 การกอ่ สรา้ งนอกเขตไหล่ทาง (Outside the Shoulder) การก่อสร้างนอกเขตไหล่ทาง หมายถึง พื้นท่ีทางานอยู่นอกเขตไหล่ทาง แต่ยังอยู่ในพ้ืนท่ีเขตทาง (Right of way) โดยทั่วไป ถ้าระยะห่างจากพ้ืนท่ี จราจรเกินกว่า 5 ม. แล้ว ไม่มีความจาเป็นต้องติดตั้งเครื่องหมายจราจร แต่อย่างใด อย่างไรก็ดี ในการทางานอาจต้องมีการจอดรถสาหรับ ปฏิบัติงานรวมท้ังการวิ่งเข้าออกพ้ืนที่ของรถปฏิบัติงาน จึงยังมี ความจาเป็นในการพิจารณาติดต้ังเคร่ืองหมายและอุปกรณ์จราจร ใหเ้ หมาะสมแมพ้ ืน้ ทท่ี างานจะอย่ไู กลจากพ้ืนทีจ่ ราจร 4.1.2.2 การก่อสร้างในเขตไหลท่ างโดยไมร่ บกวนผวิ จราจร (On the Shoulder with no encroachment) การก่อสร้างในเขตไหล่ทาง หมายถึง การก่อสร้างและปิดช่องทางจราจร บนพ้ืนท่ีไหล่ทางโดยไม่ล้าเข้าในพ้ืนที่ผิวจราจร จะต้องมีเครื่องหมาย หรืออุปกรณ์จราจรเพื่อเตือนหรือควบคุมให้ผู้ใช้ถนนเคลื่อนที่ผ่านพ้ืนท่ี ก่อสรา้ งในชอ่ งทางจราจรโดยไม่ลา้ เขา้ มาในเขตไหลท่ าง 4-2 เลม่ ท่ี 3 เครือ่ งหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสร้าง งานบรู ณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงแผน่ ดิน

บทที่ 4 การตดิ ตั้งป้ายและอุปกรณ์ 4-3 4.1.2.3 การก่อสร้างในเขตไหลท่ างโดยมีการรบกวนผวิ จราจร (On the Shoulder with minor encroachment) การก่อสร้างในเขตไหล่ทางโดยมีการรบกวนผิวจราจร หมายถึง พื้นท่ี ก่อสร้างรวมถึงพื้นท่ีเพื่อการติดต้ังอุปกรณ์และเคร่ืองหมายจราจร อาจล้าเข้าไปในพื้นที่ผิวจราจรบางส่วนโดยท่ีพ้ืนท่ีช่องจราจรท่ีเหลือ มีขนาดความกว้างไม่นอ้ ยไปกวา่ 3 ม. 4.1.2.4 การกอ่ สร้างบริเวณเกาะกลางถนน (Within the Median) การก่อสร้างบริเวณเกาะกลางถนน ในกรณีท่ีความกว้างระหว่างแนวขอบ พื้นท่ีจราจรท้ังสองทิศทางมีระยะน้อยกว่า 4.5 ม. ควรจะต้องติดต้ัง เครือ่ งหมายจราจรเตือนลว่ งหนา้ 4.1.2.5 การก่อสรา้ งบนผิวทางจราจร (Within the Travel way) การก่อสร้างบนผิวทางจราจร หมายถึง พื้นท่ีก่อสร้างรวมถึงพ้ืนท่ีเพื่อการ ติดตั้งอุปกรณ์และเคร่ืองหมายจราจรบนพื้นที่ผิวจราจรและทาให้จะต้อง ปิดการจราจรในช่องทางน้ัน หรือทาให้พื้นท่ีช่องจราจรที่เหลือมีขนาด ความกวา้ งน้อยกว่า 3 ม. 4.1.3 รปู แบบของงาน การก่อสร้างหรืองานบารุงรักษาเคล่ือนท่ี หมายถึง การก่อสร้างและ งานบารุงรักษาที่ใช้ระยะเวลาสั้น ๆ และเคล่ือนท่ีไปเป็นช่วง ๆ เช่น งานทาความสะอาด ปะซ่อมผิวทาง หรืองานซ่อมบารุงทางด้าน สาธารณูปโภค การเลือกใช้เคร่ืองหมายและอุปกรณ์จราจรคล้ายคลึงกับ การทางานในช่วงระยะเวลาส้ันมาก อาจเลอื กการใชส้ ันญาณธงในกรณีท่ีมี การเคลื่อนที่บ่อย ๆ หรือเลือกใช้รถที่ติดตั้งป้ายสันญาณเตือน (Shadow vehicle) ตามหลัง 4.1.4 ประเภทของถนน 4.1.4.1 การก่อสร้างบนถนนหลักระหวา่ งเมือง (Main Arterial) ถนนสายหลักระหว่างเมืองเชน่ ทางหลวง ทางหลวงพเิ ศษ หรอื ทางหลวงที่ มีปริมาณจราจรมากและใช้ความเร็วสูง การจัดการพ้ืนท่ีก่อสร้างในพื้นที่ ที่มีปริมาณจราจรมากและความเร็วสูงนี้นอกจากจะต้องพิจารณา ถึงผลกระทบด้านการจราจรแล้ว ความปลอดภัยของผู้ใช้ถนนและผู้ที่ ปฏบิ ตั งิ านจะตอ้ งไดร้ บั การดแู ลเป็นพิเศษด้วยเช่นเดียวกัน เลม่ ท่ี 3 เคร่ืองหมายควบคมุ การจราจรในงานก่อสรา้ ง งานบรู ณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงแผ่นดนิ

บทท่ี 4 การติดตง้ั ปา้ ยและอุปกรณ์ 4.1.4.2 การกอ่ สรา้ งบนถนนในเขตเมือง (Urban Area Road) การกอ่ สรา้ งบนถนนในเขตเมือง และในพนื้ ทีเ่ ศรษฐกจิ มหี ลกั สาคัญในการ ที่จะต้องควบคุมการจราจรให้ยวดยานสามารถเคลื่อนท่ีผ่านพ้ืนท่ีก่อสร้าง ไปได้ด้วยความสะดวกและสามารถเข้าออกพื้นที่สองข้างทางทั้งท่ีเป็น บริษัทห้างร้านหรือบ้านเรือนท่ีอยู่อาศัยได้ บางคร้ังอาจจาเป็นต้องปิด ช่องทางกลับรถในบางกรณี หรือการบังคับควบคุมทิศทางจราจรบริเวณ ทางแยกใกล้พ้ืนที่กอ่ สร้างใหเ้ หมาะสม รวมถึงการใหใ้ ช้ทางเล่ยี ง เปน็ ต้น 4.1.4.3 การก่อสรา้ งบนถนนทม่ี ีปริมาณจราจรต่า (Low Volume Area) ถนนท่ีมีปริมาณจราจรต่า เช่น ถนนขนาด 2 ช่องจราจร 2 ทิศทาง ไม่มีเกาะกลาง พ้ืนท่ีก่อสร้างบนถนนลักษณะนี้อาจปิดช่องจราจรจนเหลือ เพียงแค่ช่องจราจรเดียว อาจใช้การสลับการจราจรโดยใช้สันญาณ ไฟจราจรหรือสันญาณธง หรือการใช้ทางเบี่ยงในกรณีมีพื้นท่ีเพียงพอ สาหรับถนนที่ปริมาณจราจรน้อยและใช้ความเร็วต่า ความกว้างท่ีต้องการ ของช่องจราจรอาจลดลงจาก 3 ม. เหลือ 2.7 ม. ได้ซ่ึงอาจช่วยให้สามารถ ปรับให้รถวิ่งสวนกันได้โดยใช้อุปกรณ์แบ่งช่องจราจร เช่น กรวยยาง หรือ แผงกั้น เป็นตน้ 4.2 รปู แบบการติดต้ัง (Typical Applications) รูปแบบในการติดตั้งเคร่ืองหมายและอุปกรณ์จราจรสาหรับงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงจะพิจารณาจากปัจจัยทั้ง 4 ประการดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น การวางแผนในการติดต้ังนอกจาก จะต้องพิจารณาจากปัจจัยทางด้านกายภาพด้านต่าง ๆ แล้ว ผลกระทบ ต่อเนื่องที่เกิดข้ึนในแต่ละพ้ืนท่ี เช่น ความเดือดร้อนของผู้ท่ีอยู่ในบริเวณ ใกล้เคียง จะต้องนามาเป็นข้อพิจารณาในการปรับใช้ให้เกิดความเหมาะสม กับสถานการณ์ การใช้งานตามมาตรฐานและวิธีการติดต้ังตามคู่มือนี้ สามารถเพ่ิมเติม ปรับปรุง และเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสมของ แต่ละพื้นท่ี ตัวอย่างรูปแบบการติดต้ังเครื่องหมายและอุปกรณ์จราจร ในงานก่อสรา้ ง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทางหลวง 4-4 เลม่ ที่ 3 เคร่ืองหมายควบคุมการจราจรในงานกอ่ สรา้ ง งานบูรณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผน่ ดนิ

บทท่ี 4 การตดิ ตั้งป้ายและอปุ กรณ์ 4-5 ตัวอย่างการติดต้ังป้ายในงานก่อสร้าง/งานบูรณะ ในกรณีที่พบได้ทั่วไป มีดงั น้ี 1) บริเวณไหลท่ าง • สาหรับทางหลวง 2 ชอ่ งจราจร ดงั แสดงในรปู ท่ี 4-1 • สาหรบั ทางหลวงหลายชอ่ งจราจร ดงั แสดงในรปู ที่ 4-2 2) บริเวณชอ่ งจราจรซ้าย • สาหรับทางหลวง 2 ช่องจราจร ดังแสดงในรูปที่ 4-3 • สาหรบั ทางหลวงหลายชอ่ งจราจร ดังแสดงในรูปท่ี 4-4 • บริเวณ 2 ช่องจราจรซ้าย สาหรับทางหลวงหลายช่องจราจร ดงั แสดงในรูปท่ี 4-5 3) บริเวณช่องจราจรกลาง • ช่องจราจรกลางสาหรับทางหลวงหลายช่องจราจร ดังแสดงใน รูปท่ี 4-6 • บริเวณกลางทางหลวงสาหรับทางหลวง 2 ช่องจราจร ดังแสดงใน รปู ที่ 4-7 • บริเวณกลางทางหลวงสาหรับทางหลวงหลายช่องจราจร ดงั แสดง ในรปู ที่ 4-8 4) บรเิ วณช่องจราจรขวา • สาหรบั ทางหลวง 2 ช่องจราจร ดังแสดงในรูปที่ 4-9 • 2 ช่องจราจรขวา สาหรับทางหลวงหลายช่องจราจร ดังแสดงใน รปู ท่ี 4-10 5) การเบี่ยงช่องจราจร • สาหรับทางหลวง 4 ช่องจราจร ไม่มีเกาะกลางดังแสดงในรูปท่ี 4-11 • ชุดทางเบี่ยงหรือสะพานเบี่ยงสาหรับ 2 ช่องจราจร ดังแสดงใน รปู ท่ี 4-12 • ชุดทางเบี่ยงหรือสะพานเบี่ยงสาหรับ 1 ช่องจราจร ดังแสดงใน รปู ที่ 4-13 เลม่ ที่ 3 เครอ่ื งหมายควบคมุ การจราจรในงานกอ่ สร้าง งานบูรณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผ่นดิน

บทท่ี 4 การติดต้ังปา้ ยและอปุ กรณ์ 6) บรเิ วณทางแยกตา่ งระดบั • บรเิ วณทางเข้า ดังแสดงในรูปท่ี 4-14 • บรเิ วณทางออก ดังแสดงในรูปท่ี 4-15 7) ระยะสนั้ มาก/เคล่ือนท่ี • บรเิ วณไหลท่ าง ดังแสดงในรูปท่ี 4-16 • บริเวณช่องจราจรซ้าย ปริมาณจราจรต่า ดังแสดงในรูปท่ี 4-17 • บรเิ วณชอ่ งจราจรซ้าย ปริมาณจราจรสูง ดังแสดงในรปู ท่ี 4-18 8) บริเวณทางแยก ดังแสดงในรูปที่ 4-19 4-6 เลม่ ที่ 3 เครอ่ื งหมายควบคมุ การจราจรในงานก่อสร้าง งานบรู ณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงแผน่ ดนิ

บทท่ี 4 การตดิ ต้งั ปา้ ยและอุปกรณ์ รปู ท่ี 4-1 การตดิ ตั้งป้ายในงานกอ่ สร้าง/งานบรู ณะ บริเวณไหลท่ าง สาหรบั ทางหลวง 2 ช่องจราจร เล่มท่ี 3 เครอ่ื งหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสร้าง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงแผน่ ดนิ 4-7

บทที่ 4 การตดิ ตั้งป้ายและอปุ กรณ์ รูปท่ี 4-2 การตดิ ต้ังปา้ ยในงานกอ่ สรา้ ง/งานบรู ณะ บรเิ วณไหล่ทาง สาหรับทางหลวงหลายช่องจราจร 4-8 เลม่ ท่ี 3 เคร่อื งหมายควบคมุ การจราจรในงานก่อสรา้ ง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงแผน่ ดนิ

บทท่ี 4 การติดต้งั ปา้ ยและอปุ กรณ์ รปู ท่ี 4-3 การติดตั้งปา้ ยในงานกอ่ สรา้ ง/งานบูรณะ บริเวณช่องจราจรซ้าย สาหรับทางหลวง 2 ชอ่ งจราจร เลม่ ที่ 3 เครื่องหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสร้าง งานบรู ณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงแผน่ ดิน 4-9

บทที่ 4 การติดตั้งป้ายและอุปกรณ์ รปู ท่ี 4-4 การติดต้งั ป้ายในงานก่อสร้าง/งานบูรณะ บริเวณช่องจราจรซา้ ย สาหรบั ทางหลวงหลายช่องจราจร 4-10 เล่มท่ี 3 เครือ่ งหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสรา้ ง งานบูรณะ และงานบารุงรักษาทางหลวงแผน่ ดนิ

บทที่ 4 การตดิ ตงั้ ปา้ ยและอปุ กรณ์ รปู ท่ี 4-5 การตดิ ต้งั ป้ายในงานก่อสร้าง/งานบูรณะ บริเวณ 2 ชอ่ งจราจรซ้าย สาหรบั ทางหลวงหลายช่องจราจร เล่มที่ 3 เคร่ืองหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสรา้ ง งานบูรณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผน่ ดิน 4-11

บทท่ี 4 การติดตั้งปา้ ยและอุปกรณ์ รปู ท่ี 4-6 การติดต้งั ป้ายในงานกอ่ สร้าง/งานบรู ณะ บริเวณช่องจราจรกลาง สาหรบั ทางหลวงหลายช่องจราจร 4-12 เลม่ ท่ี 3 เครือ่ งหมายควบคุมการจราจรในงานก่อสรา้ ง งานบูรณะ และงานบารงุ รักษาทางหลวงแผน่ ดนิ