Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2020-04-26 02:27:10

Description: จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

Search

Read the Text Version

จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ Ethics in Information Technology

ความหมายของ จรยิ ธรรม (ethics) • หลักศีลธรรมจรรยาท่ีกาหนดขึน้ เพอ่ื ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติหรอื ควบคุมการใชร้ ะบบ คอมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศ • หลักของความถูกตอ้ งและความผิดท่บี ุคคลใชเ้ ป็นแนวทางในการปฏิบัติ • สรปุ เป็นหลกั เกณฑ์ท่ีประชาชนตกลงร่วมกันเพ่อื ใชเ้ ปน็ แนวทางในการปฏิบตั ิรว่ มกันในสงั คม

จรยิ ธรรมในการใชง้ านคอมพิวเตอร์ จรยิ ธรรมเก่ยี วกับการใชเ้ ทคโนโลยี คอมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศ จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น ในลักษณะตวั ยอ่ วา่ PAPA • 1.ความเปน็ สว่ นตวั (Privacy) • 2.ความถกู ต้อง (Accuracy) • 3.ความเปน็ เจา้ ของ (Property) • 4.การเขา้ ถึงข้อมลู (Data accessibility)

ประเด็นของจรยิ ธรรม (PAPA) จรยิ ธรรม (Ethics)

ความเปน็ สว่ นตวั (Information Privacy) • สิทธใิ นการควบคุมขอ้ มูลของตนเองในการเปดิ เผยใหก้ บั ผู้อน่ื • การละเมิดความเป็นส่วนตัว • เข้าไปอา่ น e-mail , ใช้คอมพวิ เตอร์ตรวจจับการทางานของพนกั งาน, รวบรวมข้อมูลส่วนบคุ คลสรา้ งเปน็ ฐานข้อมูลแล้วเอาไปขาย • ทาธรุ กิจผ่านเวบ็ ไซต์เพอ่ื รวบรวมขอ้ มลู ไปขาย เชน่ บรษิ ัท doubleclick , enage • ใชโ้ ปรแกรม sniffer วิเคราะห์การใช้ internet ตดิ ตามผู้ใช้เพ่ือทาการสง่ e-mail ขายสนิ คา้ ทาใหเ้ กิด อเี มลข์ ยะ (junk mail) ที่ผรู้ บั ไม่ตอ้ งการ เรียกว่า สแปม

ความถูกตอ้ ง information accuracy •ความถกู ต้องขึ้นอยกู่ บั ความถกู ต้องในการบันทกึ ขอ้ มลู •ตอ้ งมีผู้รับผิดชอบในเร่ืองความถกู ตอ้ ง •ต้องมกี ารตรวจสอบความถกู ตอ้ งกอ่ นการบันทกึ •เช่น ถ้าใหล้ กู ค้าปอ้ นขอ้ มลู เอง ตอ้ งให้สิทธิในการเขา้ ไป ตรวจสอบความถูกตอ้ งด้วยตนเอง •ข้อมลู ต้องมคี วามทนั สมัยอยู่เสมอ

ความเป็นเจา้ ของ Intellectual Property (IP) • กรรมสิทธิในการถือครองทรัพยส์ ิน โดยทรัพยส์ ินแบง่ เป็น ▫ จบั ตอ้ งได้ คอมพวิ เตอร์ รถยนต์ ▫ จบั ต้องไม่ไดแ้ ต่บนั ทึกลงในสอื่ ตา่ งๆ ได้ (ทรพั ย์สนิ ทางปัญญา) บท เพลง โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ • ได้รับความคุม้ ครองสิทธิภายใต้กฎหมาย ▫ ความลับทางการค้า เกย่ี วกบั สูตร กรรมวธิ กี ารผลิต รูปแบบสนิ ค้า ▫ ลิขสทิ ธิ์ สทิ ธใิ นการกระทาใดๆ เกย่ี วกับ งานเขียน ดนตรี ศิลปะ คุ้มครองในเรอ่ื งการคัดลอกผลงานหรอื ทาซา้ โดยคุ้มครอง 50 ปี หลังจากไดแ้ สดงผลงานครัง้ แรก ▫ สิทธิบตั ร หนังสอื ที่คุ้มครองเกยี่ วกบั สง่ิ ประดษิ ฐ์ หรือ ออกแบบ ผลติ ภัณฑ์ มอี ายุ 20 ปี นับตงั้ แต่วนั ที่ขอรบั สิทธิ

ความเป็นเจา้ ของ Intellectual Property (IP) ต่อ • สทิ ธคิ วามเป็นเจา้ ของ หมายถึง กรรมสทิ ธใิ์ นการถือครอง ทรพั ย์สนิ ที่จับต้องได้ หรอื อาจเป็นทรัพย์สินทางปญั ญา • ความเปน็ เจ้าของดา้ นเทคโนโลยีสารสนเทศ มักจะหมายถงึ ลขิ สทิ ธซิ์ อฟต์แวร์ ประเภท Software สทิ ธิในการใช้งาน -ผู้ใช้ตอ้ งซอื้ สทิ ธิ์มา จงึ จะมีสิทธใิ์ ช้ได้ software license -ผูใ้ ชส้ ามารถทดลองใชก้ อ่ นที่จะซ้ือ shareware freeware -ใชง้ านได้ฟรี และเผยแพรใ่ ห้ผอู้ ื่นได้

การเขา้ ถงึ ขอ้ มูล Data Accessibility •กาหนดสทิ ธิตามระดบั ผู้ใช้งาน •ปอ้ งกันการเขา้ ไปดาเนนิ การต่างๆ กบั ขอ้ มูลของผทู้ ี่ไมเ่ กีย่ วขอ้ ง •ต้องมีการออกแบบระบบรักษาความ ปลอดภัยในการเขา้ ถงึ ข้อมูลของผู้ใช้

การเข้าถึงข้อมลู Data accessibility

บัญญัติ 10 ประการ ของการใชอ้ นิ เตอร์เนต็ 1. ตอ้ งไม่ใชค้ อมพิวเตอร์ทาร้าย 6. ตอ้ งไม่คัดลอกโปรแกรมของผู้อน่ื ทม่ี ีลขิ สิทธิ์ หรือ ละเมิดผูอ้ น่ื 7. ตอ้ งไมล่ ะเมิดการใชท้ รพั ยากรคอมพิวเตอร์ 2. ตอ้ งไมร่ บกวนการทางานของผ้อู ่นื โดยท่ตี นเองไมม่ สี ิทธิ์ 3. ตอ้ งไมส่ อดแนม แกไ้ ข หรอื เปดิ ดู 8. ต้องไม่นาเอาผลงานของผู้อนื่ มาเปน็ ของตน 9. ตอ้ งคานึงถงึ ส่งิ ทจ่ี ะเกดิ ข้ึนกับสังคม แฟ้มขอ้ มูลของผู้อืน่ 4. ตอ้ งไมใ่ ชค้ อมพวิ เตอร์เพื่อการโจรกรรม ทเี่ กดิ จากการกระทาของท่าน 10. ต้องใชค้ อมพวิ เตอร์โดยเคารพกฎระเบยี บ ขอ้ มลู ขา่ วสาร 5. ต้องไมใ่ ช้คอมพวิ เตอร์สรา้ งหลักฐาน กตกิ า และมีมารยาท ทเ่ี ปน็ เท็จ อาจารยย์ นื ภวู่ รวรรณ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์

1. \"รูปของเรา คลปิ ของเรา ลขิ สิทธ์ขิ องใคร?” 2. “ขากอ๊ ป ของฝากนกั กอ๊ ป ขอช๊อกแพร๊พพ\" 3. \"เวบ็ ทา่ เวบ็ ปรสติ …..คณุ จะต้องไมเ่ ชื่อแน่ๆ…..ว่าตอ่ ไปนีต้ ิดคกุ เท่านนั้ \" 4. \"ข่าวไมม่ ีลิขสิทธ์ิ จริงหรอื เปลา่ ?\" 5. “กช็ อบเขานน่ี า ติดตามแฟนคลบั เซฟรปู ดารา ในไอจี ผิดไหม? 6. “ฉนั คอเกาหลี ซีรสี่ ์ตา่ งประเทศ ดูทบ่ี า้ นอยา่ งเดยี ว ผิดหรอื เปลา่ ?” 7. “ภาพข่าว รายงานขา่ วต่างประเทศ ทาอยา่ งไรใหถ้ ูก? 8. “ถ่ายคลิปในโรงหนงั เอาไวด้ เู อง เอาไปฝากเพอื่ น ผดิ ไหม?” 9. “อยากชว่ ยคนพิการเขา้ ถงึ ส่ือ เอาคลปิ มาใส่ซบั ภาษามอื ผิดกฎหมายไหม?” 10. ขายซดี หี นัง เปน็ ของมอื สอง สาเนาเก็บสารองเอาไวด้ กู ลัวแผน่ เปน็ รอยทาได้ไหม?” 11. “อาจารย์ นักศึกษา สาเนาขอ้ มลู ใช้ในการศึกษา เพ่อื การคน้ คว้า วิจยั ผิดไหม?” 12. “ใส่รหัสปอ้ งกันละเมิดสทิ ธไิ์ ด้ไหม?”



จาไว้ 3 ข้อ “พ.ร.บ.ลขิ สทิ ธิ์” • หลัก 3 ประการของการไม่ละเมดิ กฎหมายลิขสทิ ธ์ิ คอื หนึ่ง... “ขออนญุ าต” สอง...“ให้เครดิต” และ สาม...“หา้ มดัดแปลง” • สาหรบั ผู้ใชท้ ัว่ ไปเนน้ ทส่ี องขอ้ หลงั

http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9580000088118

10 คาถามลขิ สทิ ธ์สิ ุดฮอต พ.ร.บ. ลขิ สทิ ธ์ฉิ บบั ใหม่ ท่ีมา: กล่มุ ประชาสัมพนั ธแ์ ละวเิ ทศสมั พนั ธ์ กรมทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา http://hitech.sanook.com/1398105/

10 คาถามลขิ สทิ ธสิ์ ดุ ฮอต พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ฉบับใหม่ ที่มา: กล่มุ ประชาสมั พันธแ์ ละวิเทศสมั พันธ์ กรมทรพั ยส์ ินทางปญั ญา http://hitech.sanook.com/1398105/

ลขิ สทิ ธ์แิ ละบรกิ ารดา้ นสารสนเทศ Industrial Property Copyright (ทรพั ยส์ นิ ทางอุตสาหกรรม) (ลขิ สิทธิ์) • Inventions (Patents), • Literary and artistic works such as Trademarks, Industrial Designs, novels, poems and plays, films, and Geographic indications musical works, artistic works such as drawings, paintings, photographs and sculptures, and architectural designs. ที่มา : ผศ.ดร.อัครวิทย์ กาญจนโอภาษ ศูนย์ทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา มอ.

ประเภทของทรพั ยส์ ินทางปัญญา สทิ ธิบัตร/ ลิขสทิ ธ์ิ เครื่องหมายการคา้ ความลับทางการค้า สิ่งบง่ ช้ีทาง ภูมิปัญญา อนุสิทธิบัตร ภมู ิศาสตร์ ทอ้ งถนิ่ ไทย ต้องยื่นขอรับการ ไมจ่ าเป็นตอ้ งยืน่ ขอรับการ ต้องยน่ื ขอรบั การ ไม่จาเปน็ ต้องยื่นขอรับ ตอ้ งย่ืนขอรับการ จดแจง้ คุม้ ครอง คมุ้ ครอง(จดแจ้ง) ค้มุ ครอง การคมุ้ ครอง คมุ้ ครอง อายกุ ารคุ้มครอง อายุการคมุ้ ครอง ตลอดอายุ ต่ออายไุ ด้ทกุ ๆ ตราบเทา่ ท่ยี งั คงเป็น ตลอดไป (หากไม่ ตลอดไป 20/10 ปี ของผู้สร้างสรรค์ + 50 ปีนับ 10 ปี ความลับอยู่ ถูกระงับการใช้ จากทีผ่ สู้ รา้ งสรรคเ์ สยี ชวี ติ ค้มุ ครองการ คุม้ ครอง สัญลกั ษณ์ คุ้มครองขอ้ มลู งาน) ประดิษฐ์ (ผลติ ภณั ฑ์ คุม้ ครองผลงาน วรรณกรรม เครือ่ งหมาย สี กลุม่ ความลับทางการคา้ กรรมวธิ ี และการใช้ จิตรกรรม ประตมิ ากรรม เช่น สูตรการผลิต คมุ้ ครองผลผลติ ทม่ี ี องค์ความร้ขู อง ภาพถ่าย ศิลปประยุกต์ ของสี ตวั อักษร ฐานข้อมูลลกู คา้ งาน) ความเก่ียวโยงกับ กลุ่มบุคคลท้องถ่นิ นาฏกรรม โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ลกั ษณะทาง และ ภมู ิศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม พืน้ บ้าน

สิทธิในทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา (Intellectual Property Right, IPR) •เปน็ สิทธแิ ตเ่ พยี งผเู้ ดยี ว (Exclusive Right) ผู้ทรงสทิ ธหิ รอื เจา้ ของมีสทิ ธแิ ต่เพียงผเู้ ดยี วในทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา น้นั ผ้ใู ดตอ้ งการนา IP ดงั กล่าวไปใช้ประโยชน์ ต้องไดร้ ับอนญุ าตจากผู้ ทรงสิทธิก่อน •มอี ายุการคุ้มครองจากดั ตามกฎหมาย •บังคบั สิทธิไดใ้ นประเทศทจ่ี ดทะเบียน (ยกเว้นลขิ สทิ ธ)ิ์

ลขิ สทิ ธ์คิ อื อะไร • สทิ ธิแตผ่ ู้เดยี ว(Exclusive rights) • คุ้มครองเฉพาะรูปแบบของการแสดงออกของความคิด (expression of ideas) ไม่ คุ้มครองถึงตวั ความคดิ ซึง่ ยงั ไม่ได้ถ่ายทอดปรากฏออกมา • งานลิขสิทธิ์ไมจ่ าเปน็ ต้องมคี วามใหม่ (novelty) ขอเพยี งแต่ให้เกดิ จากความคิดรเิ ร่ิม ของตนเอง (original) ไมล่ อกเลยี นแบบใคร • กฎหมายคมุ้ ครองเจา้ ของลิขสทิ ธมิ์ ใิ หผ้ ู้อืน่ ลอกเลยี นแบบหรอื ทาซ้า ตลอดจนห้ามมใิ หม้ ี การใชป้ ระโยชน์จากรปู แบบของการแสดงออกของความคิดของผู้สร้างสรรค์โดยไมไ่ ด้ รบั อนุญาต • อายุการคุ้มครองของลิขสิทธจ์ิ งึ มรี ะยะเวลายาวนานกวา่ การคมุ้ ครองการประดิษฐ์ ภายใต้กฎหมายสทิ ธบิ ัตร

ลิขสทิ ธ์ิ (Copyright) • กฎหมายลิขสทิ ธมิ์ ีวตั ถุประสงค์ให้ความค้มุ ครองปอ้ งกนั ผลประโยชน์ท้งั ทางเศรษฐกิจและ ทางศีลธรรม ซง่ึ บุคคลพงึ ได้รับจากผลงานสร้างสรรค์อันเกดิ จากความนกึ คดิ และสติปัญญา ของตน แต่ทงั้ น้ีมิได้หมายความวา่ กฎหมายลขิ สิทธจ์ิ ะปดิ กั้นสาธารณชนทจ่ี ะใช้ ประโยชน์จากผลงานสรา้ งสรรค์ ในทางตรงกนั ข้ามกฎหมายลขิ สิทธม์ิ งุ่ ที่จะสรา้ งดุลยภาพ ในการคมุ้ ครองเจา้ ของลขิ สทิ ธิแ์ ละการแสวงหาผลประโยชน์จากงานสร้างสรรค์โดย สาธารณะชนหรือบคุ คลอน่ื ในสังคม • ตวั อยา่ งการแสดงความเป็นเจา้ ของลิขสิทธิ์ © 2015 Akkharawit Kanjana-Opas

งานใดบ้างที่กฎหมายลขิ สิทธใิ์ ห้ความคุม้ ครอง • งานสร้างสรรคป์ ระเภทวรรณกรรมและศิลปกรรม 9 ประเภท (1) วรรณกรรม เช่น หนงั สือหรอื ส่ิงพมิ พต์ า่ งๆ สุนทรพจน์ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ (software) ฯลฯ (2) นาฏกรรม เช่น ท่ารา ทา่ เต้น การแสดงโดยวิธใี บ้ ฯลฯ (3) ศลิ ปกรรม เชน่ ภาพเขียน ภาพวาด ภาพถ่าย รูปปน้ั สิ่งปลกู สร้าง เปน็ ต้น (4) ดนตรกี รรม ได้แก่ งานเพลงต่างๆ คาร้อง ทานอง และการเรยี บเรียงเสียงประสาน (5) โสตทัศนวัสดุ เช่น วดิ ีโอเทป (6) ภาพยนตร์และเสยี งประกอบของภาพยนตร์ (7) สงิ่ บันทกึ เสียง เชน่ แผน่ เสยี ง เทป แผน่ ซีดี เป็นต้น (8) งานแพร่เสียงแพรภ่ าพ หมายถงึ การกระจายเสยี งทางวิทยกุ ระจายเสียง และการกระจายภาพและ เสียงทางวทิ ยโุ ทรทศั น์ (9) งานอ่นื ใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์หรือแผนกศลิ ปะ

สิ่งใดบ้างทไ่ี มถ่ ือเป็นงานอันมลี ขิ สทิ ธ์ิ • การคมุ้ ครองลิขสทิ ธิ์ไม่ครอบคลุมถึงความคิด ข้นั ตอน กรรมวธิ ี ระบบ วิธีใช้หรือวธิ ีทางาน แนวความคดิ หลกั การ การคน้ พบ หรอื ทฤษฎที างวทิ ยาศาสตรห์ รอื คณติ ศาสตร์ • ข่าวประจาวนั และข้อเทจ็ จรงิ ต่างๆ ทมี่ ลี กั ษณะเปน็ เพียงขา่ วสาร ไมใ่ ช่ลักษณะของงานรเิ ริ่มสร้างสรรคใ์ น แผนกวรรณคดี แผนกวทิ ยาศาสตร์ หรือแผนกศลิ ปะ • รฐั ธรรมนญู และกฎหมาย • ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คาสั่ง คาชแี้ จง และหนังสอื โตต้ อบของกระทรวง ทบวง กรม หรือหนว่ ยงาน ของรฐั หรอื ของทอ้ งถ่นิ • คาพพิ ากษา คาส่ัง คาวนิ จิ ฉัยและรายงานของทางราชการ • คาแปลและการรวบรวมสงิ่ ต่างๆ ขา้ งตน้ ทกี่ ระทรวง ทบวง กรมหรอื หนว่ ยงานอน่ื ใดของรฐั หรอื ของ ทอ้ งถ่นิ จดั ทาข้นึ • ตัวอยา่ งของสิ่งท่ไี ม่ถือเป็นงานลิขสทิ ธ์ิ เชน่ รายชือ่ ของผู้ใช้โทรศัพท์(จาก ก-ฮ)ในสมดุ โทรศพั ท์ ช่อื ทั่วไป ชอ่ื เรื่อง วลีสน้ั ๆ คาขวญั เปน็ ตน้

สิทธขิ องเจ้าของลิขสิทธิ์ • กลุ่มของสทิ ธิ (bundle of rights) ซ่ึงประกอบดว้ ยสิทธิใหญ่ สองประการคือ • สิทธิทางเศรษฐกิจ (economic rights) และ • สิทธิทางศีลธรรม (moral rights)

สิทธิทางเศรษฐกิจ (Economic Rights) เจ้าของลขิ สทิ ธยิ์ อ่ มมีสิทธแิ ตเ่ พยี งผเู้ ดยี วทจ่ี ะกระทาการแก่งานของตนดงั ตอ่ ไปน้ี 1.ทาซ้า คอื การคดั ลอก เลยี นแบบ ทาสาเนา ทาแม่พมิ พ์ บนั ทึกเสียง บนั ทึกภาพ ไม่ว่าโดยวิธีใด ในส่วน อันเปน็ สาระสาคัญ ไมว่ า่ ทั้งหมด หรอื บางส่วน และดัดแปลงคอื การทาซา้ โดยเปลย่ี นรปู ใหม่ ปรบั ปรงุ แก้ไข เพม่ิ เตมิ หรอื จาลองงานตน้ ฉบับในส่วนอันเปน็ สาระสาคญั ไม่วา่ ทง้ั หมดหรอื บางสว่ น 2.เผยแพร่ต่อสาธารณชน คอื การนางานสร้างสรรคอ์ อกเผยแพร่ทาใหป้ รากฏตอ่ สาธารณชนโดยวิธีตา่ งๆ เชน่ การแสดง การบรรยาย การทาใหป้ รากฏด้วยเสยี ง ด้วยภาพ การกอ่ สร้าง การจาหน่าย เปน็ ตน้ 3.ใหเ้ ช่าต้นฉบับหรือสาเนางานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โสตทศั นวัสดุ ภาพยนตรแ์ ละสงิ่ บันทกึ เสยี ง 4.ใหป้ ระโยชน์อันเกดิ จากลิขสทิ ธแิ์ ก่ผู้อื่น 5.อนญุ าตใหผ้ ูอ้ ืน่ ใช้สทิ ธิ โดยจะกาหนดเป็นเง่อื นไขหรือไมก่ ็ได้ แต่เงอ่ื นไขทก่ี าหนดจะเป็นการจากดั การ แข่งขันโดยไมเ่ ป็นธรรมไมไ่ ด้

สิทธขิ องเจา้ ของลขิ สิทธ์ิ สิทธิในทางศลี ธรรม (moral rights)หรอื ธรรมสทิ ธ์ิ ผสู้ ร้างสรรค์มีสิทธทิ จ่ี ะแสดงตนว่าเปน็ ผู้สรา้ งสรรคแ์ ละหา้ มมิใหม้ กี าร บิดเบอื น ตัดทอน ดัดแปลง หรอื กระทาการใหเ้ กิดความเสยี หาย ตอ่ ชอื่ เสียงของผู้สร้างสรรค์

อายุการคมุ้ ครองลิขสทิ ธิ์ • กฎหมายให้การคุ้มครองลขิ สิทธ์ิในงานท่ัวไปตลอดอายขุ องผสู้ รา้ งสรรค์ และตอ่ ไปอกี 50 ปี หลังจากผสู้ ร้างสรรค์เสียชวี ิต • งานภาพถ่าย โสตทศั นวสั ดุ ภาพยนตร์ สง่ิ บนั ทึกเสยี ง หรืองานแพรเ่ สียงแพรภ่ าพ จะมี อายุการคมุ้ ครอง 50 ปี นับต้งั แตว่ นั ท่สี รา้ งสรรค์ • หากมกี ารนางานออกโฆษณา โดยความยนิ ยอมของเจา้ ของลขิ สิทธ์ิ ลขิ สิทธิ์จะมอี ายุ 50 ปี นบั ตัง้ แต่การโฆษณาครัง้ แรก ซ่งึ นับในกรณที ีผ่ สู้ รา้ งสรรค์เป็นนติ ิบคุ คล ผสู้ รา้ งสรรคใ์ ช้ นามแฝง หรือกรณขี องงานภาพถ่ายโสตทศั นวสั ดุ ภาพยนตร์ ส่ิงบนั ทกึ เสยี ง งานแพร่เสียง แพร่ภาพ งานศลิ ปะประยกุ ต์ หรืองานสร้างสรรคโ์ ดยการจา้ งหรอื ตามคาสง่ั ของกระทรวง ทบวง กรม หรือหนว่ ยงานอืน่ ใดของรัฐ หรือทอ้ งถิน่ หรอื กรณที ผี่ สู้ รา้ งสรรค์ถงึ แกค่ วาม ตายกอ่ นที่จะไดม้ กี ารโฆษณานั้น

การละเมดิ ลิขสิทธิ์ ความหมาย: การท่บี คุ คลใดกระทาการใดแก่งานลิขสทิ ธซ์ิ งึ่ กฎหมายกาหนดว่าเปน็ สิทธแิ ตเ่ พยี งผู้เดียว ของเจ้าของลขิ สิทธ์ิท่จี ะกระทาได้ โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าตจากเจา้ ของลขิ สิทธ์กิ ่อน แบง่ ออกไดเ้ ปน็ (1) การละเมิดลขิ สทิ ธโิ์ ดยทางตรง (1) การทาซา้ ดัดแปลง (2) การเผยแพรต่ ่อสาธารณชนซ่งึ ในกรณีของโสตทศั นวัสดุ ภาพยนตร์ สิง่ บนั ทึกเสียง และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ รวมถงึ (3) การใหเ้ ช่าต้นฉบบั หรอื สาเนางานดังกลา่ วโดยไมไ่ ด้รับอนุญาตด้วย (2) การละเมดิ ลขิ สิทธิโ์ ดยออ้ ม ไดแ้ ก่การทรี่ ้หู รอื มีเหตุอนั ควรรูอ้ ยูแ่ ล้วว่างานใดได้ทาข้ึนโดยละเมิด ลิขสิทธิ์ของผอู้ ่นื แต่ยงั กระทาการเพ่ือหากาไรจากงานน้ัน การกระทาดงั กลา่ ว ไดแ้ ก่ (1) การขาย มไี วเ้ พอื่ ขาย เสนอขาย ใหเ้ ช่า เสนอให้เช่า ใหเ้ ช่าซอื้ หรอื เสนอให้เช่าซอ้ื (2) การเผยแพรต่ ่อสาธารณชน (3) แจกจ่ายในลักษณะท่ีอาจก่อใหเ้ กิดความเสยี หายแก่เจ้าของลขิ สิทธิ์ (4) การนาเขา้ มาในราชอาณาจกั รเพ่ือการใดๆ นอกจากเพอ่ื ใชเ้ ป็นการสว่ นตัว

การอนุญาตใหผ้ ู้อ่ืนใชส้ ทิ ธ์ิและการโอนลขิ สิทธ์ิ • การอนุญาตให้ผูอ้ นื่ ใช้ลขิ สทิ ธิ์ ไม่วา่ จะเปน็ การทาซา้ ดัดแปลง เผยแพรต่ อ่ สาธารณชนหรือ ให้เช่าตน้ ฉบบั หรอื สาเนางาน โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ โสตทศั นวสั ดุ ภาพยนตร์ และสง่ิ บันทกึ เสยี ง เป็นสิทธิแต่เพียงผ้เู ดียวของผู้สรา้ งสรรค์ • อาจอนุญาตบคุ คลมากกวา่ หนงึ่ คนให้ใชส้ ทิ ธไิ ดใ้ นเวลาเดยี วกัน เวน้ แต่จะมีการกาหนดเป็น หนงั สือระบเุ ป็นขอ้ ห้ามไว้ • การโอนสทิ ธิ เจ้าของลิขสิทธิ์อาจโอนลิขสทิ ธิ์ทงั้ หมดหรือบางส่วน โดยอาจมกี าหนด ระยะเวลาหรอื ไม่ก็ได้ ทงั้ น้ี หากการโอนมิใชเ่ ป็นทางมรดก เจา้ ของลขิ สทิ ธต์ิ อ้ งทาเป็น หนังสือลงลายมอื ชื่อผโู้ อนและผู้รบั โอน และหากในสญั ญาโอนไม่ไดก้ าหนดระยะเวลาโอนไว้ กจ็ ะถอื ว่าการโอนนน้ั มกี าหนดระยะเวลา 10 ปี

ขอ้ ยกเว้นการละเมดิ ลิขสิทธิ์ หลักการ •ตอ้ งไมข่ ดั ต่อการแสวงหาประโยชนจ์ ากงานอนั มีลขิ สทิ ธิ์ •ตอ้ งไมก่ ระทบกระเทอื นถงึ สทิ ธิอนั ชอบดว้ ยกฎหมายของเจ้าของ ลขิ สิทธ์เิ กนิ สมควร

มาตรา 32 การกระทาอยา่ งใดอยา่ งหนึง่ แก่งานอันมลี ขิ สิทธ์ิตามวรรคหนึ่งมใิ หถ้ อื วา่ เป็นการละเมิดลขิ สิทธ์ิ ถ้าไดก้ ระทา ดังตอ่ ไปนี้ (1) วิจยั หรอื ศกึ ษางานน้นั อนั มใิ ชก่ ารกระทาเพอ่ื หากาไร (2) ใชเ้ พอ่ื ประโยชนข์ องตนเอง หรือเพอื่ ประโยชนข์ องตนเองและบคุ คลอ่ืนในครอบครัวหรอื ญาติสนทิ (3) ตชิ ม วจิ ารณ์ หรือแนะนาผลงานโดยมกี ารรับรถู้ งึ ความเปน็ เจ้าของลิขสทิ ธิ์ในงานนน้ั (4) เสนอรายงานขา่ วทางส่ือมวลชน โดยมีการรบั รู้ถึงความเป็นเจา้ ของลขิ สทิ ธใิ์ นงานน้นั (5) ทาซา้ ดดั แปลง นาออกแสดง หรอื ทาใหป้ รากฏ เพอ่ื ประโยชน์ในการพจิ ารณาของศาลหรอื เจ้าพนกั งาน ซึ่งมอี านาจตามกฎหมาย หรอื ในการรายงานผลการพิจารณาดงั กลา่ ว (6) ทาซา้ ดดั แปลง นาออกแสดง หรือทาใหป้ รากฏโดยผ้สู อน เพอื่ ประโยชนก์ ารสอนของตน อันมิใช่การ กระทาเพ่อื หากาไร (7) ทาซ้า ดดั แปลงบางส่วนของงาน หรือตัดทอนหรือทาบทสรปุ โดยผู้สอนหรอื สถาบนั การศึกษา เพื่อ แจกจา่ ยหรอื จาหนา่ ยแกผ่ ้เู รยี นในชั้นเรียนหรอื ในสถาบันการศกึ ษา ทงั้ นี้ตอ้ งไม่เป็นการกระทาเพื่อหากาไร (8) นางานนน้ั มาใชเ้ ป็นสว่ นหนึ่งในการถามและตอบในการสอบ

ข้อยกเวน้ การละเมิดลขิ สิทธิ์ • มาตรา ๓๓ การกล่าว คดั ลอก เลียน หรอื อา้ งองิ งานบางตอนตามสมควรจากงานอันมีลิขสทิ ธิ์ตาม พระราชบัญญัตินี้ โดยมกี ารรบั รู้ถึงความเป็นเจ้าของลขิ สิทธ์ใิ นงานนน้ั มิใหถ้ ือว่าเปน็ การละเมิดลขิ สทิ ธ์ิ ถ้าได้ปฏบิ ตั ติ ามมาตรา ๓๒ วรรคหน่งึ • มาตรา ๓๔ การทาซา้ โดยบรรณารักษข์ องห้องสมดุ ซึ่งงานอันมีลขิ สิทธติ์ ามพระราชบญั ญตั นิ ้ี มิให้ถอื วา่ เป็นการละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ิหากการทาซา้ น้นั มไิ ดม้ วี ัตถปุ ระสงค์เพ่ือหากาไร และไดป้ ฏบิ ตั ติ ามมาตรา ๓๒ วรรคหนึง่ ในกรณดี ังตอ่ ไปนี้ (๑) การทาซ้าเพือ่ ใช้ในหอ้ งสมุดหรอื ใหแ้ กห่ อ้ งสมุดอน่ื (๒) การทางานบางตอนตามสมควรใหแ้ กบ่ คุ คลอื่นเพ่ือประโยชน์ในการวจิ ัยหรือการศึกษา

ขอ้ ยกเว้นการละเมดิ ลขิ สทิ ธ์ิ มาตรา ๓๕ การกระทาแกโ่ ปรแกรมคอมพิวเตอร์อนั มีลิขสทิ ธติ์ ามพระราชบญั ญตั นิ ้ี มิใหถ้ อื วา่ เป็นการ ละเมิดลิขสิทธ์ิ หากไมม่ วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พือ่ หากาไร และไดป้ ฏบิ ตั ติ ามมาตรา ๓๒ วรรคหนง่ึ ในกรณี ดังตอ่ ไปน้ี (๑) วิจัยหรือศึกษาโปรแกรมคอมพวิ เตอรน์ ั้น (๒) ใช้เพ่อื ประโยชนข์ องเจ้าของสาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอรน์ นั้ (๓) ตชิ ม วจิ ารณ์ หรือแนะนาผลงานโดยมีการรับรู้ถึงความเปน็ เจ้าของลขิ สทิ ธิใ์ นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ น้ัน (๔) เสนอรายงานข่าวทางสอื่ สารมวลชนโดยมกี ารรบั รู้ถงึ ความเปน็ เจา้ ของลิขสทิ ธ์ิในโปรแกรม คอมพิวเตอร์นน้ั

ขอ้ ยกเวน้ การละเมิดลขิ สิทธ์ิ มาตรา ๓๕ การกระทาแกโ่ ปรแกรมคอมพวิ เตอรอ์ ันมลี ขิ สทิ ธิ์ตามพระราชบัญญัตนิ ี้ มใิ ห้ถือวา่ เป็นการ ละเมิดลขิ สิทธ์ิ หากไม่มีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือหากาไร และได้ปฏบิ ัตติ ามมาตรา ๓๒ วรรคหนง่ึ ในกรณี ดงั ตอ่ ไปน้ี (๕) ทาสาเนาโปรแกรมคอมพิวเตอรใ์ นจานวนท่สี มควรโดยบคุ คลผู้ซง่ึ ไดซ้ ้ือหรือได้รับโปรแกรมนน้ั มา จากบคุ คลอน่ื โดยถกู ต้อง เพอ่ื เก็บไว้ใชป้ ระโยชนใ์ นการบารงุ รักษาหรือป้องกนั การสญู หาย (๖) ทาซ้า ดัดแปลง นาออกแสดง หรือทาให้ปรากฏเพอ่ื ประโยชนใ์ นการพิจารณาของศาลหรือเจา้ พนกั งานซึง่ มีอานาจตามกฎหมาย หรือในการรายงานผลการพิจารณาดงั กลา่ ว (๗) นาโปรแกรมคอมพิวเตอรน์ น้ั มาใชเ้ ป็นส่วนหนงึ่ ในการถามและตอบในการสอบ (๘) ดดั แปลงโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ในกรณที ีจ่ าเปน็ แก่การใช้ (๙) จดั ทาสาเนาโปรแกรมคอมพวิ เตอรเ์ พือ่ เก็บรกั ษาไว้สาหรบั การอา้ งอิง หรอื คน้ ควา้ เพื่อประโยชน์ ของสาธารณชน

ข้อยกเวน้ การละเมดิ ลิขสทิ ธ์ิ นอกจากนี้ กฎหมายยังมใิ หถ้ ือว่าการกระทาตอ่ งานอันมลี ิขสิทธข์ิ องบคุ คลต่างๆ ดังต่อไปนี้เปน็ การละเมดิ ลิขสทิ ธ์ิ (1) การทาซา้ โดยบรรณารักษ์หอ้ งสมุด (2) การนาเอางานนาฏกรรม หรือดนตรีกรรมออกเผยแพร่ต่อสาธารณชน โดยมิไดห้ ากาไร ไม่เก็บคา่ ชม ไม่วา่ ทางตรงหรือทางอ้อม ไม่ไดใ้ ห้คา่ ตอบแทนแกน่ ักแสดง และมวี ัตถปุ ระสงค์เพื่อการสาธารณกศุ ล การ ศาสนา หรอื การสงั คมสงเคราะห์ (3) การวาดเขียน การเขยี นระบายสี การกอ่ สร้าง การแกะสลัก การพิมพ์ภาพ การถา่ ยภาพ การถ่ายภาพ ยนตร์ การแพร่ภาพศลิ ปกรรมท่ตี ้งั เปิดเผยประจาอย่ใู นที่สาธารณะนอกจากงานสถาปัตยกรรม (4) การวาดเขยี น การเขยี นระบายสี การแกะลายเสน้ การปั้น การแกะสลกั การพิมพ์ภาพ การถา่ ยภาพ การถ่ายภาพยนตร์ หรือการแพรภ่ าพงานสถาปตั ยกรรม (5) การถา่ ยภาพ การถา่ ยภาพยนตร์ หรอื การแพร่ภาพงานใดๆ ซ่ึงศลิ ปกรรมใดรวมเป็นสว่ นประกอบอยู่ ดว้ ย

ขอ้ ยกเวน้ การละเมดิ ลิขสทิ ธ์ิ นอกจากนี้ กฎหมายยังมใิ ห้ถือวา่ การกระทาตอ่ งานอันมลี ิขสิทธิข์ องบคุ คลตา่ งๆ ดังต่อไปนเ้ี ปน็ การละเมดิ ลขิ สิทธ์ิ (6) การทาซ้าบางส่วนของงานศลิ ปกรรมโดยผูส้ ร้างสรรค์ร่วม(ในกรณีมีผู้สร้างสรรคห์ ลายคน) หรอื การใช้ แบบพิมพ์ภาพรา่ ง แผนผัง แบบจาลอง หรอื ขอ้ มลู ทีไ่ ดจ้ ากการศึกษาทีใ่ ชใ้ นการทาศลิ ปกรรมเดิมโดยมิได้ ทาซา้ หรือลอกแบบในสว่ นอนั เปน็ สาระสาคัญ (7) การบูรณะสถาปัตยกรรมในรปู แบบเดมิ (8) การนาภาพยนตรท์ ีอ่ ายุการคุ้มครองสนิ้ สุดลงแลว้ ออกเผยแพรต่ อ่ สาธารณชน มิใหถ้ อื ว่าเปน็ การ ละเมดิ ลิขสทิ ธิ์ในวรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทศั นวัสดุ สงิ่ บันทกึ เสียง หรอื งานทีใ่ ช้ จดั ทาภาพยนตร์นนั้ (9) การทาซ้างานลิขสทิ ธ์ทิ อี่ ยู่ในความครอบครองของทางราชการเพอ่ื ประโยชน์ในการปฏิบตั ริ าชการโดย เจ้าพนักงานซ่งึ มอี านาจตามกฎหมายหรือตามคาสัง่ ของเจา้ พนักงาน ท้งั นกี้ ารกระทาท้ัง 9 ประการตอ้ ง ตง้ั อยบู่ นหลักการสาคญั 2 ประการของขอ้ ยกเว้นการละเมิดลขิ สิทธ์ิดงั ได้กลา่ วมาแล้ว

หลักการการพิจารณาในการใชง้ านลขิ สทิ ธิ์ •ตอ้ งไม่ขดั ตอ่ การแสวงหาประโยชนจ์ ากงานอันมีลขิ สิทธิ์ •ต้องไม่กระทบกระเทอื นถึงสทิ ธิอนั ชอบดว้ ยกฎหมายของ เจา้ ของลขิ สิทธ์เิ กนิ สมควร

รู้จกั ข้อตกลงการใช้ซอฟต์แวร์ End User License Agreement (EULA) หลายคนทเ่ี คยทาการติดตั้ง (install) โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ด้วยตวั เอง บอ่ ยคร้ังที่มกั จะละเลยในการสังเกตรายละเอยี ด บางประการในขณะทาการตดิ ต้ัง – ซึ่งแรกๆ ก็ยอมรบั ว่าไมเ่ คยสนใจเชน่ กัน (อิอ)ิ -- หน่ึงในข้นั ตอนแรกๆ กอ่ นที่เรา มกั จะเคยชนิ กับการกด Next / OK. / Yes ....อะไรทานองน้ีไปเร่ือยๆ เพื่อใหม้ นั เสรจ็ ๆ ไป คณุ จะพบว่ามีขนั้ ตอนหน่ึงท่ใี ห้คณุ ได้อา่ นอะไรกไ็ ม่รเู้ พ่อื ให้คณุ ทาการยอมรบั โดยกด Accept ตรงน้ีคณุ ลองกลับไปดูใหมก่ ไ็ ด้ มันเรียกว่า End User License Agreement หรือบางทีก็ยอ่ ว่า EULA มนั คืออะไร??? สาคัญยังไง?

•Digital Footprint ทุกรอ่ งรอยมีความหมาย แลว้ คาว่า “Digital Footprint” มนั มคี วามหมาย รวมถึงพฤติกรรมอยา่ งไรบา้ ง? ร่องรองหลักฐานเกย่ี วกับตัวเราทั้งหมดทอี่ ยูบ่ นเครอื ข่ายอนิ เทอรเ์ น็ตซง่ึ รอ่ งรอยเหล่านน้ั เกิดจากการใช้งาน อินเทอร์เนต็ ของเราเองไม่วา่ จะเปน็ โซเชยี ลเนต็ เวริ ค์ อยา่ ง facebook, twitter, instagram หรอื การกรอก ข้อมลู สว่ นตัวบนเวปไซค์ต่างๆ เช่น check-in ตามสถานทตี่ ่างๆ การโพสรปู หรอื ต้ังสเตตัส เหลา่ นี้ลว้ นแต่เป็น ข้อมูลท่ที าให้คนอน่ื ร้วู ่าเราทาอะไรอยู่ท่ีไหนและสามารถค้นดูยอ้ นหลงั ไดเ้ หมอื นกรณีนางงามท่กี ล่าวไปขา้ งตน้ http://www.thaisecurityawareness.com/infographic/howweleaveourdigitalfootprints/



•การใช้งานเบราว์เซอรแ์ บบไมร่ ะบุตวั ตน (Private / Incognito) ทอ่ งเวบ็ ในโหมดส่วนต๊ัวสว่ นตัว!!

สรุป เบราเซอรแ์ ละความเป็นสว่ นตวั ถา้ คุณเลอื กท่ีจะปกปอ้ งความเปน็ สว่ นตวั ของคณุ ในเบราวเ์ ซอร์ เบราว์เซอร์จะคล้ายกบั การรักษาความ ปลอดภัยในชีวิตประจาวัน เชน่ : การลอ็ คประตูและติดตั้งสัญญาณเตือนจะช่วยป้องกันคณุ จากขโมย ในการรักษาความปลอดภัยเบราว์เซอร์จะช่วยปกป้องคุณจากมัลแวร์ (ซอฟแวร์ที่เป็นอันตรายต่อ คอมพิวเตอร์), ฟิชชิ่ง(การปลอมแปลงอิเมลหรือเว็บไซด์รูปแบบหนึ่ง)และการโจมตีทางออนไลน์อื่น ๆ จะช่วยให้ การเรียกดขู อ้ มลู ของคณุ เป็นส่วนตัวมากขน้ึ นอกจากน้ัน เบราว์เซอร์สามารถสร้างไดอารี่ ความเป็นส่วนตัว\" หรือโหมด \"ไม่ระบุตัวตน\" ที่จะถูก จัดเก็บไวบ้ นคอมพวิ เตอร์ของคุณ: ประวัติในเว็บไซต์ท่ีคุณคุกกี้ที่ส่งไปยังเบราว์เซอร์ของคุณและไฟล์ใด ๆ ท่ีคุณ สั่ง เบราว์เซอร์จะจารหสั ผ่านหรือข้อมูลในแบบฟอร์มของคุณและเก็บไว้บนคอมพิวเตอร์ ท่ีจะไม่ปรากฎข้อมูลใด ใดเมื่อคุณเข้าใชง้ าน

• ความรูล้ ขิ สิทธ์ิ:ลิขสิทธคิ์ อื อะไร กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ พ.ศ. 2547 • คมู่ ือการใชง้ านลิขสิทธิท์ ่ีเปน็ ธรรม กรมทรัพย์สนิ ทางปัญญา กระทรวงพาณชิ ย์ • ลขิ สิทธิ์และบรกิ ารดา้ นสารสนเทศ, ผศ.ดร.อัครวทิ ย์ กาญจนโอภาษ ศูนยท์ รพั ย์สินทางปญั ญา มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ • บัญญัติ 10 ประการ ของการใช้อินเตอร์เนต็ , อาจารยย์ ืน ภวู่ รวรรณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ • 12 ขอ้ ทช่ี าวเน็ตควรรู้เกีย่ วกบั พรบ.ลขิ สิทธ์ิ, http://www.posttoday.com/social/think/380364, เฟซบกุ๊ Time Chuastapanasiri • กลุ่มประชาสมั พันธ์และวเิ ทศสัมพันธ์ กรมทรพั ย์สนิ ทางปญั ญา, http://hitech.sanook.com/1398105/ • กฎหมายลขิ สทิ ธ์ใิ หม,่ เอกสารอ้างองิ http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1438661619 • พระราชบญั ญตั ิลิขสิทธ์ิ ฉบบั ที่ 2 และ 3 ปี 2558, http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9580000088118

การเป็นพลเมอื งดิจทิ ัลท่ีดี ท่มี า: common sense