ค่มู อื ตามพระราชบญั ญัติโรคตดิ ตอ่ พ.ศ. ๒๕๕๘ ส�ำ หรบั ประชาชน
ค�ำน�ำ โรคติดต่ออันตราย ตามค�ำจ�ำกัดความในมาตรา ๔ แห่งพระราชบัญญัติ โรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ หมายถึง “โรคติดต่อท่ีมีความรุนแรงสูงและสามารถแพร่ ไปสู่ผอู้ ่นื ได้อยา่ งรวดเร็ว” อาศยั อ�ำนาจตามความในมาตรา ๕ มาตรา ๖ (๑) แหง่ พระราชบัญญัติโรคตดิ ต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ รฐั มนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข โดยคำ� แนะนำ� ของคณะกรรมการโรคตดิ ตอ่ แหง่ ชาติ ไดอ้ อกประกาศ ชอ่ื และอาการสำ� คญั ของ โรคติดตอ่ อนั ตราย พ.ศ. ๒๕๕๙ ไว้ ๑๒ โรค และ พ.ศ. ๒๕๖๑ อกี ๑ โรค รวม ๑๓ โรค เน่อื งจาก โรคติดต่ออันตราย ทถี่ ูกประกาศชอ่ื ไวน้ ี้ หลายโรคเปน็ โรคอบุ ตั ิใหม่ ทเ่ี พง่ิ คน้ พบวา่ มกี ารแพรร่ ะบาดในมนษุ ย์ บางโรคเปน็ โรคอบุ ตั ซิ ำ้� ซง่ึ เปน็ โรคทเี่ คยแพร่ ระบาดในอดตี และสงบไปหลายปีแล้ว แต่กลบั มาระบาดใหม่ จึงไม่เปน็ โรคที่ค้นุ เคย สำ� หรบั คนไทย ถงึ แมว้ ่าในปัจจบุ ัน โรคตดิ ตอ่ อันตราย ตามประกาศน้สี ว่ นใหญเ่ กดิ ขน้ึ ในต่างประเทศ แต่สภาวะของโลกในปัจจุบันมีปัจจัยหลายอย่างท่ีส่งเสริมให้โรค เหล่านม้ี โี อกาสแพรร่ ะบาดได้กวา้ งขวางข้ึน คณะผู้จัดท�ำหนังสือน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ เผยแพร่ความรู้เร่ือง โรคติดต่อ อันตราย ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ให้ประชาชนได้รับทราบและมีส่วนร่วม ในการเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั และควบคมุ ซง่ึ เปน็ การเตรยี มความพรอ้ มรองรบั การแพรร่ ะบาด ท่ีอาจเกิดข้ึนได้ในอนาคต อนึ่ง หากมีข้อความผิดพลาดใดๆ ปรากฏในหนังสือน้ี คณะผู้จัดท�ำต้องขออภัยมา ณ โอกาสนี้ดว้ ย คณะผูจ้ ัดท�ำ มิถุนายน ๒๕๖๑
สารบญั คำ� นำ� 3 สารบัญ 4 กาฬโรค (Plague) 5 ไข้ทรพิษ (Smallpox) 8 ไข้เลือดออกไครเมยี นคองโก 10 (Crimean – Congo hemorrhagic fever) ไข้เวสต์ไนล์ (West Nile fever) 12 ไข้เหลอื ง (Yellow fever) 14 โรคไข้ลาสซา (Lassa fever) 17 โรคตดิ เชอื้ ไวรัสนิปาห์ (Nipah virus disease) 19 โรคติดเชอ้ื ไวรสั มาร์บวรก์ (Marburg virus disease) 21 โรคตดิ เชื้อไวรัสอีโบลา (Ebola virus disease - EVD) 23 โรคติดเชือ้ ไวรัสเฮนดรา (Hendra virus disease) 25 โรคทางเดนิ หายใจเฉยี บพลนั รนุ แรง หรือโรคซาร์ส 27 (Severe Acute Respiratory Syndrome – SARS) โรคทางเดนิ หายใจตะวนั ออกกลาง หรอื โรคเมอรส์ 30 (Middle East Respiratory Syndrome – MERS) วัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดรนุ แรงมาก 32 (Extensively drug – resistant tuberculosis (XDR – TB)) เอกสารอา้ งองิ 35 ภาคผนวก 36 ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอื่ ง ชือ่ และอาการสาํ คัญของโรคติดตอ่ อนั ตราย พ.ศ. 2559 37 เรือ่ ง ช่ือและอาการสาํ คญั ของโรคติดต่ออนั ตราย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2561 40 เรอ่ื ง หลกั เกณฑ์และวธิ ีการแจง้ ในกรณีท่มี โี รคติดตอ่ อันตราย 41 โรคติดต่อที่ตอ้ งเฝา้ ระวัง หรือโรคระบาดเกดิ ขน้ึ พ.ศ. 2560 เรอ่ื ง ท้องทีห่ รือเมืองทา่ นอกราชอาณาจกั รที่เปน็ เขตตดิ โรคไข้เหลอื ง 45 พ.ศ. 2560 เร่อื ง การสร้างภูมคิ ุ้มกันโรคไขเ้ หลือง พ.ศ. 2560 47
กาฬโรค (Plague) กาฬโรค เป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คนท่ีมีแหล่งรังโรคคือสัตว์จ�ำพวกฟันแทะ เช่น หนู เป็นต้น โดยมีสาเหตุเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ท่ีมีช่ือว่า เยอร์ซิเนีย เพสทีส (Yersinia pestis) และมหี มดั หนเู ป็นพาหะน�ำโรค เกดิ จากถกู หมดั หนทู มี่ เี ชอ้ื กดั และปลอ่ ยเชอื้ เขา้ สผู่ ถู้ กู กดั โดยทวั่ ไปมกี ารระบาด ของโรคในหนูก่อน เมื่อหนูตายหมัดหนูจะกระโดดลงไปยังสัตว์อ่ืน หรือคน เมื่อกัด จะปลอ่ ยเชื้อให้แกส่ ัตว์ หรอื ผ้ถู กู กัดตอ่ ไป ส่วนใหญจ่ ะพบการเกิดโรคในชว่ งฤดูหนาว และในบริเวณท่ีมีกลุ่มประชาชนอยู่กันอย่างแออัด การดูแลเรื่องความสะอาด และ ควบคมุ การแพรพ่ นั ธุข์ องหนูจะสามารถทำ� ให้มโี รคระบาดน้อยลง กาฬโรค เป็นโรคท่ีพบในประเทศต่าง ๆ ของทวีปแอฟริกา และเอเชีย โดยมี การระบาดใหญ่เป็นคร้ังคราว ประเทศไทยมีรายงานการระบาดคร้ังแรกทางฝั่งธนบุรี เม่ือวันที่ 2๐ ธันวาคม พ.ศ.๒๔๔๗ สนั นษิ ฐานวา่ นา่ จะเกิดจากหนทู ่มี เี ชอ้ื กาฬโรคติด มากบั เรอื สนิ คา้ ทม่ี าจากเมืองบอมเบย์ ประเทศอินเดีย ต่อจากนน้ั กข็ ้ามมาระบาดใน ฝง่ั พระนคร และจงั หวดั ตา่ งๆ ทม่ี กี ารคา้ ขายตดิ ตอ่ กนั ทง้ั ทางบก ทางเรอื และทางรถไฟ มรี ายงานการเกดิ โรคอยา่ งตอ่ เนอ่ื งจนถงึ ปี พ.ศ. ๒๔๙๕ จากน้ันไม่มีรายงานการเกิดกาฬโรคในประเทศไทย จนถงึ ปจั จุบนั การตดิ ต่อ 1. หมัดหนูมากัดคนแล้วปล่อยเชื้อกาฬโรค เข้าทางบาดแผล หรือทางผิวหนังท่ีถลอกจากการเกา บริเวณท่ถี กู หมัดหนูกดั 5กรมควบคุมโรค
2. ติดต่อโดยการสูดหายใจเอาละอองเสมหะท่ีมีเชื้อของผู้ป่วยท่ีไอ จาม หรือ จากสตั ว์ทีม่ เี ชอ้ื โรค เชน่ แมว และหายใจเอาเชอ้ื เขา้ ไปทางจมูกหรือปาก 3. ถ้าติดเชื้อทางระบบหายใจจะท�ำให้เกิดโรคกาฬโรคปอดบวม แต่การเกิด กาฬโรคปอดบวมเรมิ่ จากการถกู หมดั หนกู ดั และเชอื้ เขา้ ไปเจรญิ เตบิ โตภายในปอด การตดิ จากคนสคู่ นโดยการหายใจ ซงึ่ เกดิ จากการคลกุ คลกี บั ผปู้ ว่ ยทเ่ี ปน็ โรคกาฬโรคปอดบวม อาการ อาการจะแสดงออกหลงั ถูกหมัดทม่ี ีเช้ือหนูกัดแลว้ ประมาณ 2 – 8 วัน โดยเช้ือ กาฬโรคจะเคลือ่ นไปเจรญิ เติบโตยงั ต่อมนำ�้ เหลืองท่ใี กลท้ ี่สดุ อาการเริ่มแรกคล้ายกับ ไข้หวัดใหญ่ คือ มีไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดกลา้ มเนอ้ื ออ่ นเพลยี คลน่ื ไส้ อาเจยี น ซง่ึ อาการ สามารถพบได้ 3 ลักษณะ คือ 1. กาฬโรคตอ่ มนำ�้ เหลอื ง (Bubonic Plague) ลักษณะต่อมนำ�้ เหลอื งจะบวม แดง กดเจ็บ ซ่งึ อาจ ปวดมากจนขยบั แขนหรือขาไม่ได้ ตำ� แหน่งทมี่ ักพบ จะเป็นบริเวณขาหนีบ หรือ รักแร้ กาฬโรคต่อม น้�ำเหลือง มรี ะยะฟักตวั ประมาณ 2 – 6 วัน 2. กาฬโรคชนดิ โลหติ เปน็ พษิ (Septicemic Plague) มักจะลุกลามจากชนิดต่อมน�้ำเหลือง มี อาการไข้สูง ความดันเลือดต่�ำ ช็อก หัวใจเต้นเร็ว กระสบั กระส่าย เพอ้ หมดสติ เลือดออกในอวยั วะ ต่าง ๆเสียชีวิตภายใน 3 – 5 วัน หรือภายใน ไม่กีช่ วั่ โมง 3. กาฬโรคปอด (Pneumonic Plague) อาจ เกดิ ตามหลังจาก 2 ชนดิ แรก หรอื ติดเช้ือจากคนไอ จามรดกนั มอี าการปอดบวม ไอเปน็ นำ�้ เสมหะไม่ เหนยี ว ต่อมาจะมีเลอื ดปน ออ่ นเพลีย มไี ข้ หากไม่ ได้รับการรักษา จะตายเรว็ มากภายใน 1 – 3 วนั กาฬโรคของปอดมีระยะฟักตัวประมาณ 2 – 4 วัน 6 โรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำ�หรับประชาชน
การรกั ษา เม่ือสงสัยว่าป่วยเป็นโรคจะต้องแยกผู้ป่วยออกจากคนอ่ืน และแจ้งเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขทราบ ผปู้ ่วยท่ไี ดร้ บั การรักษาในโรงพยาบาลจะตอ้ งแยกห้อง (Isolation) เพอื่ ไมใ่ หเ้ ชอื้ แพรก่ ระจาย สามารถรกั ษาไดโ้ ดยการใชย้ าปฏชิ วี นะแกผ่ ปู้ ว่ ย เชน่ สเตรป โตมัยชิน (Streptomycin) คลอแรมเฟนิคอล (Chloramphenicol) เตตร้าไซคลิน (Tetracycline) ยาซลั ฟาไดอาซนี (Sulfadiazine) ทัง้ นต้ี อ้ งอยู่ในความดูแลของแพทย์ ผู้ท�ำการรักษาบุคลากรท่ีท�ำการรักษาต้องมีความระมัดระวังอย่างเคร่งครัด ด้านการ ปอ้ งกนั การตดิ เชอ้ื โดยสวมถงุ มอื ปดิ ปากและจมกู ควรทำ� ลายเชอื้ จากเลอื ด นำ�้ เหลอื ง และหนองของผู้ป่วย เพือ่ ป้องกนั การติดเชื้อและการแพร่กระจายของเช้อื โรค การปอ้ งกนั 1. โรคน้ไี ม่มวี ัคซนี ปอ้ งกันโรค 2. การปรับสภาพสิ่งแวดล้อม ได้แก่ ปรับปรุงอาคารบ้านเรือนให้สะอาดเป็น ระเบียบเรียบร้อย จดั ให้มีแหล่งท้งิ ขยะมูลฝอยและฝาปิดมดิ ชดิ และระบบกำ� จัดขยะ มูลฝอย เพอื่ ไม่ให้เปน็ แหลง่ อาหารและท่อี ยูอ่ าศัยของหนู 3. หากมสี ัตว์ ควรใช้ยาฆา่ หมดั เปน็ ระยะๆ ระวังเด็กหรอื ผู้ใหญ่เมอ่ื ออกนอก บ้าน โดยเฉพาะในแหล่งท่ีมีการระบาด ไม่ควรใกล้ชิดกับสัตว์ฟันแทะทั้งหลาย และ ควรทายากนั หมดั รวมทง้ั ไมส่ มั ผสั สตั วป์ ว่ ยหรอื ตาย หากจำ� เปน็ ควรใสถ่ งุ มอื ยาง เพอ่ื ปอ้ งกนั เชื้อ 4. ดแู ลสภาพแวดลอ้ มในชมุ ชน บรเิ วณทพ่ี กั อาศยั หรอื ภายในบา้ นเรอื น ควรเฝา้ ระวัง ควบคุมพาหะนำ� โรค (หน)ู โดยการสำ� รวจส่มุ ตรวจ หาคา่ ดชั นีหมัดหนู (Flea Index) 7กรมควบคุมโรค
โรคไขท้ รพิษ (Smallpox) ไข้ทรพิษ หรือโรคฝีดาษ เป็นโรคท่ีเกิดจากเชื้อไวรัสวาริโอลา (Variola virus) พบครงั้ แรกในคริสต์ศตวรรษที่ 16 เปน็ โรคทีเ่ กดิ ขน้ึ ทว่ั โลก ในปี พ.ศ. 2519 มีการ ระบาดท่ีประเทศอินเดีย บังคลาเทศ ปากีสถาน และเอธิโอเปีย ผู้ป่วยรายสุดท้าย พบทปี่ ระเทศโซมาเลยี ในปี พ.ศ. 2520 ต่อมาอีก 2 ปี องคก์ ารอนามัยโลก (WHO) ได้ประกาศว่า ไข้ทรพิษถกู กวาดลา้ งหมดไปจากโลกนแี้ ล้ว ในประเทศไทยมีการเกิดโรคน้ีปรากฏมาต้ังแต่คร้ังพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา หลังจากน้นั ในช่วงปี พ.ศ. 2460 – 2504 ก็พบการระบาดเกิดขน้ึ ในทุกปี การระบาด ครั้งสุดท้ายเกิดข้ึนท่ีอ�ำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ในปี พ.ศ. 2504 – 2505 มีผปู้ ่วย 34 ราย เสยี ชวี ิต 5 ราย ผู้ป่วยรายสดุ ท้ายในประเทศไทย เป็นชาวอินเดยี ท่เี ดินทางมาจากเมืองกัลกตั ตา ปลายเดือนสงิ หาคม พ.ศ. 2505 การติดตอ่ ไขท้ รพิษ เปน็ โรคท่เี กิดขนึ้ เฉพาะในคนเท่าน้ัน ไมพ่ บแหลง่ รังโรคในสัตว์ หรือ สิ่งแวดล้อม การติดต่อมักเกิดข้ึนในระบบทางเดินหายใจ ซึ่งอาจติดจากละอองฝอย หรอื การตดิ เชอ้ื ทางผวิ หนงั บางรายสามารถตดิ ตอ่ ไดท้ างเยอื่ บตุ า หรอื ทางสายรกจาก แมส่ ลู่ กู ระยะฟกั ตวั ของโรคอยรู่ ะหวา่ ง 7 – 19 วนั โดยทว่ั ไป มกั เรม่ิ มอี าการประมาณ 10 – 14 วนั อาการ เปน็ อาการทเ่ี กดิ จากการตดิ เชอื้ ไวรสั แบบแพรก่ ระจายไปทวั่ รา่ งกาย (Systemic viral disease) โดยทั่วไปจะมลี กั ษณะเปน็ ตุ่มที่ผวิ หนงั หรอื รา่ งกาย โดยกอ่ นท่จี ะเป็น ตุ่มข้ึน จะมีอาการน�ำมาก่อน คือ อาการไข้สูงเฉียบพลัน (40°c. หรือ 104°F.) 8 โรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำ�หรับประชาชน
ปวดเมื่อยกล้ามเน้ือ ปวดศีรษะ อ่อนเพลียมาก ปวดหลังอย่างรุนแรง ในบางราย 9 เกิดอาการในช่องท้องและอาเจียน ซึ่งมีลักษณะอาการใกล้เคียงกับโรคไข้หวัดใหญ่ ตอ่ มา 2 – 4 วนั อาการไขจ้ ะลดลง และมตี มุ่ ลกั ษณะฝงั ลกึ (Deep-Seated Rash) เกดิ ขน้ึ โดยแต่ละต่มุ ท่เี กดิ ขึ้นจะมีเชื้อไวรสั ซึง่ จะพฒั นาไปเป็นรอยแดงบนผวิ หนัง (mac- ules) ผน่ื นนู แดง (papules) ตมุ่ น�้ำพองใส (vesicles) และตุ่มหนอง (pustules) แล้ว จงึ ตกสะเก็ด (crusted scabs) และลอกออกไปภายใน 3 – 4 สัปดาห์ ตมุ่ ผน่ื จะเร่ิม ข้ึนท่ีใบหน้าก่อนและแขนขา รวมท้ังฝ่ามือฝ่าเท้า แล้วจึงกระจายมาท่ีล�ำตัว ซึ่งเป็น ลกั ษณะทเ่ี รยี กว่า การกระจายแบบ centrifugal rash คือ ตุ่มผื่นกระจายออกจาก ศูนย์กลางของล�ำตัว โดยตุ่มผ่ืนในบริเวณหน่ึงๆ จะอยู่ในระยะเดียวกัน และมีขอบ ชดั เจน โดยท่วั ไปโรคไขท้ รพษิ ทคี่ ้นพบในศตวรรษที่ 20 มลี ักษณะทีแ่ ตกต่างกัน 2 ชนิด คือ Variola minor (alastrim) ซึ่งมีอัตราป่วยตายน้อยกว่าร้อยละ 1 และ Variola major ซึ่งมีอัตราป่วยตายในกลุ่มท่ีไม่ได้รับวัคซีนประมาณร้อยละ 20 – 50 หรือ มากกว่า (โดยเฉล่ียร้อยละ 30) ผู้ป่วยมักจะเสียชีวิตระหว่างวันที่ห้าและวันที่เจ็ด หลังจากเรม่ิ มีอาการ การรักษา ปจั จบุ นั ยงั ไมม่ ยี าใดทใี่ ชร้ กั ษาโรคน้ี ใหก้ ารรกั ษาแบบประคบั ประคองและรกั ษา ตามอาการ โดยต้องแยกผู้ป่วยนอนโรงพยาบาลท่ีรับเฉพาะโรคติดต่อ ให้ผู้ป่วย นอนพักในท่ีนอนท่ีสะอาดและท�ำความสะอาดท่ีนอนบ่อยๆ เพ่ือป้องกันการติดเชื้อ แบคทเี รยี แกไ้ ขภาวะขาดนำ้� และความผดิ ปกตขิ องเกลอื แร่ ระวงั รอยโรคทปี่ ากและตา โดยท�ำความสะอาดอวัยวะท้ังสองบ่อยๆ ไม่ควรอาบน�้ำหรือใช้น�้ำยาใดๆ ทาเคลือบ ผิวหนงั การปอ้ งกัน หลกั การของการควบคมุ โรคไขท้ รพษิ คอื การตรวจหาเชอ้ื การแยกผปู้ ว่ ย การให้ วัคซีนในกลุ่มผู้สัมผัสโรค รวมท้ังกลุ่มผู้ที่อาศัยอยู่โดยรอบพ้ืนที่เกิดโรค (ring vaccination) การเฝา้ ระวงั ผู้สมั ผัส (รวมถงึ การติดตามวดั ไขเ้ ปน็ ประจ�ำทุกวัน) และ การแยกผูส้ มั ผัสทเ่ี รมิ่ มีอาการไขเ้ พ่อื ตดิ ตามอาการ เนอื่ งจากระยะฟกั ตวั ของโรคมรี ะเวลาคอ่ นขา้ งยาว ดงั นนั้ การใหว้ คั ซนี แกผ่ สู้ มั ผสั ภายในระยะเวลา 4 วนั หลงั จากสมั ผสั เชอื้ จะสามารถปอ้ งกนั หรอื ทำ� ใหล้ ดอาการปว่ ย จากหนักเปน็ เบาได้ กรมควบคุมโรค
โ(รCคrimไขeaเ้ ลn-ือCoดnอgoอhกemไคoรrrเhมagยี icนfคevอerง)โก ไข้เลือดออกไครเมยี นคองโก เกิดจากเชอ้ื บันยาไวรสั (bunyavirus) โรคน้ีพบ ไดใ้ นแถบยโุ รปตะวันออก ตะวนั ออกกลาง แอฟริกา เอเชียกลาง และเอเชียใต้ เปน็ โรคทเ่ี กดิ ขน้ึ ตามฤดกู าล ซงึ่ มคี วามสมั พนั ธก์ บั ชว่ งเวลาการแพรก่ ระจายของเหบ็ ทเ่ี ปน็ พาหะน�ำโรค โรคน้ีเคยมีการแพร่ระบาดขนาดย่อมหลายครั้ง ซึ่งเกิดจากการติดเช้ือ ในโรงพยาบาล การตดิ ตอ่ 1. เชื้อเข้าสู่ร่างกายโดยถูกเห็บท่ีมีเช้ือไวรัสกัด หรือจากการจับต้องเห็บ หรือการบ้ีเห็บ ด้วยมือเปล่า เชอ้ื ไวรสั สามารถมชี วี ิตอยูใ่ นตวั เหบ็ ไดต้ ลอดชวี ิต 2. เกิดจากการสัมผัสกับเลือดหรือสารคัดหล่ัง จากสตั วเ์ ลย้ี ง (เชน่ แพะ แกะ ววั ควาย นกกระจอกเทศ) และสตั วป์ า่ กนิ พชื ทมี่ เี ชอื้ ไวรสั อยใู่ นกระแสเลอื ด แตส่ ตั ว์ เหล่านี้ไมแ่ สดงอาการป่วย 3. การติดต่อจากคนสู่คน เกิดขึ้นในระหว่างท่ีมี ผู้ป่วย เคยมีการติดเชื้อในโรงพยาบาล ในบุคลากร ทางการแพทย์ ภายหลงั สมั ผสั กบั เลอื ดหรอื สารคดั หลงั่ จากผปู้ ่วย ซง่ึ เปน็ สาเหตสุ ำ� คญั ที่ทำ� ใหเ้ กิดการระบาด 4. เคยมีรายงานการติดเชื้อโดยบังเอิญในห้อง ปฏิบัตกิ าร 10 โรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำ�หรับประชาชน
อาการ ระยะฟกั ตวั ของโรคโดยปกตอิ ยรู่ ะหวา่ ง 3 - 7 วนั แต่อาจจะเรว็ หรอื ช้ากวา่ นไ้ี ด้ (ระหว่าง 1 - 12 วนั ) อาการโรคสามารถแบ่งออกเป็น 2 ระยะ ดงั น้ี 1. ระยะก่อนเลือดออก เริ่มด้วยอาการไข้ เฉียบพลัน ปวดกล้ามเน้ือ เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ อาเจียน ปวดท้อง อุจจาระร่วง มีภาวะเลือดคั่ง ตาอักเสบบวมแดง 2. ระยะเลือดออก เป็นอาการท่ีเกิดข้ึน ระยะหลัง ซ่ึงอาจมีจุดเลือดออกใต้ผิวหนัง เกิดขึ้น บริเวณหน้าอกและท้องแล้วกระจายไปท่ัวร่างกาย อาจมีเลือดออกท่ีบริเวณเหงือก จมูก ปอด มดลูก ทางเดินปัสสาวะ และทางเดินอาหาร อาการไข้สูง เกดิ ข้ึนนาน 5 - 12 วนั หรอื อาจเกิดขน้ึ ได้ 2 ช่วง ทำ� ใหผ้ ูป้ ่วยฟืน้ ตัวชา้ การรักษา แยกผู้ป่วยให้อยู่ในห้องเดี่ยว และควรเป็นห้องท่ีมีความดันลบ (ถ้ามี) ควร ระมัดระวังการติดเช้ือจากละอองฝอย เลือด สารคัดหลั่งของผู้ป่วยอย่างเคร่งครัด การดแู ลผปู้ ว่ ยและผเู้ สยี ชวี ติ ตอ้ งอยภู่ ายใตค้ วามระมดั ระวงั ความปลอดภยั ทเี่ หมาะสม การรักษาผู้ปว่ ยโดยให้ ribavirin ทางหลอดเลือดอาจมปี ระโยชนใ์ นรายทมี่ ารบั การรักษาแต่เริ่มแรก การใช้พลาสมาจากผู้ที่หายป่วยจากโรคนี้ และมีภูมิต้านทาน ตอ่ โรคน้สี งู เคยถกู นำ� มาใชร้ ักษาแต่ไมม่ กี ารประเมินผลการรกั ษา การป้องกนั 1. ในพ้ืนที่ที่มีโรคน้ีเป็นโรคประจ�ำถิ่น ควรทาสารเคมีไล่แมลงบนเสื้อผ้า ทส่ี วมใสเ่ พ่ือปอ้ งกนั เหบ็ 2. มกี ารทดลองใชว้ คั ซนี ปอ้ งกนั โรคนใี้ นบลั แกเรยี และรสั เซยี แตไ่ มส่ ามารถยนื ยนั ผลการใช้ 11กรมควบคุมโรค
โรคไขเ้ วสต์ไนล์ (West Nile fever) สาเหตเุ กิดจากไวรัสเวสต์ไนล์ West Nile virus ; WNV เปน็ เชื้อไว้รัสท่ีอยใู่ น กลมุ่ เดยี วกบั โรคไขส้ มองอกั เสบ (Japanese encephalitis) โดยไวรสั กลมุ่ นพี้ บไดท้ ว่ั ไป ในแอฟรกิ า เอเชียตะวนั ออกเฉยี งใต้ ตะวันออกกลาง และยโุ รป มคี วามคลา้ ยคลงึ กัน มากกับไวรสั St. Louis encephalitis (SLE) ทพี่ บในสหรัฐอเมริกา ไวรสั เวสต์ไนล์ ถูกแยกเชอ้ื ได้เปน็ คร้ังแรกในเมืองเวสตไ์ นล์ ประเทศยกู นั ดา ในปี พ.ศ. 2480 ยังไม่มี รายงานโรคนใ้ี นประเทศไทย การตดิ ตอ่ เช้ือไวรัสเวสต์ไนลจ์ ะพบในยงุ ร�ำคาญ (Culex spp.) ในชว่ งฤดูหนาว ในพน้ื ท่ี ที่มีโรคนี้เกิดข้ึนประจ�ำถิ่น การติดเชื้อจะพบได้ในนกหลายชนิด โดยมักจะไม่ท�ำให้ นกปว่ ยหรอื เกิดการระบาดรนุ แรง คนสว่ นใหญไ่ ดร้ ับเชือ้ จากการที่ถูกยงุ รำ� คาญ (Culex spp.) กดั หรืออาจตดิ ตอ่ โดยยุงชนิดอื่นๆ เช่น ยุงลาย (Aedes spp.) นอกจากน้ียังแยกเชื้อไวรัสได้จากยุง ในกลุ่ม Mansonia และเห็บอีกด้วย ระยะฟักตัวของโรค โดยเฉล่ีย 5 - 15 วัน ยังไม่มีรายงานว่ามีการติดต่อของโรคนี้ จากคนสู่คน โดยตรง แตพ่ บการตดิ เชอื้ ไวรสั เวสตไ์ นลเ์ ปน็ กรณพี เิ ศษ ในสหรฐั อเมรกิ าโดยการตดิ เชอ้ื ผา่ นทางรกจากมารดาสู่ ทารก การเปลย่ี นถา่ ยอวยั วะ และการเปลย่ี นถา่ ยเลือด ซง่ึ การตดิ เชอื้ ลกั ษณะดงั กลา่ วพบไดน้ อ้ ยมาก ในยงุ ทมี่ ี เชอื้ สามารถแพรเ่ ชอื้ ไดต้ ลอดชวี ติ 12 โรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำ�หรับประชาชน
อาการ ผทู้ ี่ไดร้ ับเช้ือไวรัสเวสต์ไนล์ จะเกิดกลุ่มอาการได้ 3 แบบคอื (1) ไม่แสดงอาการ พบร้อยละ 80 (2) กลมุ่ อาการไมร่ นุ แรง จะมไี ข้ ปวดศรี ษะ หนาวสนั่ มเี หงอ่ื ออก มผี น่ื ทผี่ วิ หนงั ออ่ นเพลยี ตอ่ มนำ้� เหลอื งอกั เสบ ซมึ ปวดขอ้ และมอี าการคลา้ ยไขห้ วดั หรอื ไขห้ วดั ใหญ่ บางรายมอี าการคลื่นไส้ อาเจียน โดยทว่ั ไปอาการจะดขี น้ึ ภายใน 7 - 10 วนั แต่จะ ยังคงมีอาการอ่อนเพลียประมาณ 1 สัปดาห์ และมีอาการต่อมน�้ำเหลืองอักเสบ อกี ประมาณ 2 เดอื น (3) กลมุ่ อาการรนุ แรง รายทมี่ อี าการรนุ แรงจะมอี าการทางสมองรว่ มดว้ ย ไดแ้ ก่ สมองหรือเย่อื หุ้มสมองอกั เสบ มีอาการไข้สงู คอแขง็ ซมึ ชัก และหมดสติ การรักษา ใหร้ ักษาตามอาการ หรอื ใชก้ ารรักษา แบบประคับประคอง การป้องกนั ๑) ประชาชนไมค่ วรออกไปนอกบา้ นในชว่ งเวลาพลบคำ�่ และกลางคนื เมอื่ มกี าร ระบาดของโรคเกดิ ขึ้น ๒) ถา้ จ�ำเป็น กอ่ นออกจากบ้านควรสวมเสื้อผา้ ปกคลุมร่างกายให้มิดชดิ ๓) ใช้ยาทาผิวหนังป้องกันแมลงหรือยุงกัด (ไม่ควรใช้ในเด็กเล็กที่มีอายุต่�ำกว่า 3 ปี เพราะอาจท�ำให้เกิดการระคายเคืองได)้ ๔) ใชย้ าฆา่ ยงุ ตวั แก่และทำ� ลายลูกน้�ำยงุ บริเวณในและนอกบา้ น 13กรมควบคุมโรค
ไข้เหลือง (Yellow fever) ไขเ้ หลอื ง เปน็ โรคตดิ ตอ่ อนั ตรายทเี่ ฉยี บพลนั มคี วามรนุ แรงและมอี ตั ราตายสงู สาเหตุ เกิดจากเชอ้ื ไวรัสไขเ้ หลือง ซ่ึงอยูใ่ นตระกูล Flavivirus โดยมยี งุ ลายเป็นพาหะ น�ำเชอื้ จากผปู้ ่วยทเี่ ป็นโรคไขเ้ หลืองไปสูค่ นปกติ เช่นเดียวกับโรคไข้เลือดออกเดงก่ี โรคไข้เหลืองเป็นโรคประจ�ำถ่ินของประเทศแถบแอฟริกา และทวีปอเมริกาใต้ ปจั จบุ นั องคก์ ารอนามยั โลกประกาศใหพ้ น้ื ทท่ี ไี่ ดร้ บั ผลกระทบจากโรคนเี้ ปน็ เขตตดิ ตอ่ ซ่งึ มีอยู่ท้งั หมด 42 ประเทศใน 2 ทวีป คอื แถบทวปี แอฟริกา 29 ประเทศ และแถบ ทวปี อเมรกิ าใต้ 13 ประเทศ ส�ำหรบั คำ� ว่า “เหลือง” มาจากอาการไข้ ร่วมกับตวั เหลอื ง หรือดีซ่านท่มี ักพบ ในผู้ป่วย จึงถูกเรียกว่า “ไข้เหลือง” ในประเทศไทยยังไม่เคยมีรายงานการพบผู้ป่วย โรคไขเ้ หลือง การตดิ ต่อ การตดิ เชอื้ เกดิ ขน้ึ ในคนและลงิ โดยมยี งุ ลาย และยุงป่า เป็นพาหะน�ำโรค เม่ือยุงลายกัดกิน เลือดคนท่ีมีเชื้อไวรัส เช้ือไวรัสจะเข้าไปฟักตัว เป็นระยะติดต่อในตวั ยงุ ลายภายใน 9 – 12 วัน และเช้ือยังคงอยู่ในยุงนั้นไปตลอดชีวิต ซึ่งเช้ือ ไวรัสสามารถถ่ายทอดไปยังยุงรนุ่ ลกู หลานได้ทางไข่ (trans – ovarian transmission) การตดิ เชอ้ื เกดิ จากการถกู ยงุ ลายทม่ี เี ชอื้ ไวรสั กดั ระยะฟกั ตวั ของโรคอยรู่ ะหวา่ ง 3 – 6 วนั โรคน้ไี ม่ติดต่อโดยการสัมผสั หรอื จบั ต้องส่งิ ของรว่ มกนั 14 โรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำ�หรับประชาชน
อาการ โรคติดเช้ือไวรัสชนิดเฉียบพลัน ความรุนแรงของโรคมีหลากหลาย ในรายที่มี อาการน้อย อาจแยกไม่ออกจากโรคตดิ เช้ือชนิดอืน่ อาการของโรคทพี่ บ คอื จะมีไข้ ฉับพลนั หนาวส่ัน ปวดศรี ษะ ปวดหลงั ปวดเมื่อยกลา้ มเนอื้ ออ่ นเพลีย คล่นื ไส้ และ อาเจยี น อาจพบอาการชพี จรเตน้ ชา้ และเบา ไมเ่ ปน็ สดั สว่ นกบั อณุ หภมู ริ า่ งกายทส่ี ูงขน้ึ ผตู้ ดิ เชอื้ สว่ นใหญอ่ าการจะดขี นึ้ ในระยะน้ี ผปู้ ว่ ยประมาณรอ้ ยละ 15 อาการจะลกุ ลาม ภายหลังจากท่ีโรคสงบอยู่ในช่วงส้ันๆ (เป็นชั่วโมงหรือเป็นวัน) เข้าสู่ระยะที่มีอาการ รุนแรง โดยจะปรากฏอาการตัวเหลือง ตาเหลือง และมีเลือดออกตามอวัยวะต่างๆ ของรา่ งกาย เชน่ มเี ลอื ดกำ� เดาไหล มเี ลอื ดออกทเ่ี หงอื ก อาเจยี นเปน็ เลอื ด (เปน็ สกี าแฟ หรือสดี �ำ) และถา่ ยอุจจาระเปน็ เลอื ด หรอื ถ่ายด�ำ ผู้ปว่ ยมกั เสียชีวติ เนือ่ งจากตบั วาย และไตวาย อัตราปว่ ยตายโดยรวมประมาณ ร้อยละ 20 – 50 การรักษา ปัจจุบันยังไม่มีการรักษาโรคไข้เหลืองจ�ำเพาะ แต่เป็นการรักษาแบบประคับ ประคองตามอาการ เช่น ใหย้ าลดไข้ และให้สารนำ�้ ทดแทนภาวะขาดน�้ำ เป็นตน้ ดงั นน้ั ผทู้ อี่ ยอู่ าศยั ในประเทศทม่ี รี ายงานการเกดิ โรคของไขเ้ หลอื ง หรอื ไดเ้ ดนิ ทาง ไปประเทศเหลา่ น้ัน โดยทไ่ี มไ่ ด้รับการฉีดวัคซีนปอ้ งกนั โรคมากอ่ น หากพบว่าตนเอง มีอาการไข้ อาเจียน ตัวเหลือง ตาเหลือง มีจุดเลือดออกตามตัว หรือมีเลือดออก ตามท่ีต่าง ๆ รว่ มดว้ ย ควรรบี พบแพทยโ์ ดยทันที 15กรมควบคุมโรค
การป้องกนั 1. ส�ำหรับผู้ที่จะเดินทางไปประเทศที่เป็นเขตติดโรคไข้เหลือง ควรฉีดวัคซีน ปอ้ งกนั โรคลว่ งหนา้ กอ่ นออกเดนิ ทาง 10 วนั รายชอิื่ ประเทศทเ่ี ปน็ เขตตดิ โรคไขเ้ หลอื ง ดูได้จากภาคผนวกหน้า 45 - 46 สอบถามสถานทใี่ หบ้ ริการฉีดวัคซนี ไดท้ ี่ สายดว่ น 1422 2. ขณะอยู่ในประเทศเขตติดโรคจะต้องระมัดระวังอย่าให้ยุงลายกัด โดยปกติ ยุงลายจะออกหากินในเวลากลางวนั ควรน�ำยาทากันยงุ ติดตัวไปดว้ ย 3. ส�ำหรบั ผ้เู ดนิ ทางซงึ่ มาจากเขตตดิ โรคไขเ้ หลอื งเดนิ ทางเขา้ มาในประเทศไทย ตอ้ งมเี อกสารรบั รองการฉดี วคั ซนี ตามประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรอื่ ง การสรา้ งเสริม ภมู คิ ุ้มกนั โรคไข้เหลอื ง พ.ศ. ๒๕๖๐ ดงั รายละเอยี ดในภาคผนวก หนา้ ๔๗ - ๔๘ 16 โรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำ�หรับประชาชน
โรคไขล้ าสซา (Lassa fever) โรคไขล้ าสซา เกิดจากเชอ้ื ลาสซาไวรัส (Lasssa virus) เป็นโรคในแถบแอฟริกา ตะวันตก โรคนี้พบครั้งแรกในปี พ.ศ. 2493 ทีโ่ รงพยาบาลของประเทศไนจีเรยี ตั้งแต่ นนั้ มามีการระบาดอย่างกวา้ งขวางในประเทศไลบีเรีย เซยี ร์ราลีโอน ไนจีเรยี และกนิ ี การระบาดของโรคเกิดขึ้นในช่วงฤดูร้อน ตั้งแต่เดือนมกราคมถึงเมษายน เป็นโรคท่ี เกิดขึ้นได้กับทุกเพศและทุกวัย โดยมีหนูเป็นพาหะน�ำโรค ยังไม่มีรายงานโรคน้ีใน ประเทศไทย การติดต่อ 1. เกิดจากการได้รับเช้ือผ่านละอองฝอยในอากาศ หรือการสัมผัสโดยตรงกับ ของเสยี ทข่ี บั ถา่ ยออกมาจากหนทู ตี่ ดิ เชอ้ื ซง่ึ ตดิ อยตู่ ามพนื้ ผวิ ตา่ งๆ เชน่ พนื้ เตยี งนอน หรอื ในอาหารและน้�ำ 2. ติดเชื้อผา่ นสารคดั หลั่งจากผปู้ ่วย เช่น เสมหะ และปัสสาวะ ซงึ่ แพรอ่ อกมา ในระยะทม่ี ไี ขเ้ ฉยี บพลนั เชอ้ื ไวรสั จะถกู ขบั ออกมากบั ปสั สาวะของผปู้ ว่ ยไดน้ าน 3 - 9 สัปดาห์หลังจากวันที่เริ่มป่วย นอกจากนี้ยังสามารถแพร่เชื้อจากคนสู่คนทางเพศ สมั พันธ์ ผา่ นทางน้�ำอสจุ ิได้นานถึง 3 เดอื น ภายหลังการตดิ เช้อื 3. ติดเชื้อในห้องปฏิบัติการและจากการฉีดยาโดยใช้เข็มท่ีปนเปื้อนเช้ือ ระยะฟกั ตัวของโรคโดยทั่วไปอย่รู ะหว่าง 6 - 21 วนั อาการ เป็นไขเ้ ฉียบพลันจากการตดิ เชือ้ ไวรัสในช่วงระยะ 1 - 4 สัปดาห์ เรมิ่ ตน้ จากมี อาการอ่อนเพลีย มไี ข้ ปวดศรี ษะ เจบ็ คอ ไอ คลน่ื ไส้ อาเจียน ท้องรว่ ง ปวดกลา้ มเน้อื เจบ็ หนา้ อก และปวดทอ้ ง อาการไขจ้ ะคงอยนู่ านหรอื เปน็ ๆ หายๆ อาจพบการอกั เสบ 17กรมควบคุมโรค
และเปน็ หนองในชอ่ งคอและเย่ือบตุ าได้บอ่ ย แต่ประมาณร้อยละ 80 ของการติดเชื้อ ในคน มีอาการรุนแรงหรือไม่แสดงอาการ ส่วนที่เหลือนั้นท�ำให้เกิดอาการรุนแรง ในหลายระบบ โดยอาการของโรคจะรนุ แรงมากในหญงิ ตง้ั ครรภ์ ซงึ่ ท�ำใหท้ ารกเสยี ชวี ติ มากกวา่ ร้อยละ 80 และทำ� ให้มารดาเสียชีวติ ดว้ ย ในรายท่ีมอี าการรนุ แรงจะพบว่ามี ความดันโลหิตต่�ำหรือช็อก มีน�้ำในช่องเย่ือหุ้มปอด มีเลือดออก ชัก มีความผิดปกติ ของสมอง และมักจะพบอาการบวมที่หน้าและคอ อาจมีอาการผมร่วงและเดินเซ ชว่ั คราวในชว่ งฟน้ื ไข้ และรอ้ ยละ 25 ของผปู้ ว่ ย มอี าการหตู งึ ซง่ี มเี พยี งครงึ่ หนงึ่ เทา่ นน้ั ท่ีจะกลับมาเป็นปกติบางส่วนภายหลัง 1 - 3 เดือน ในภาพรวมพบอัตราป่วยตาย ประมาณร้อยละ 1 และอาจสูงถึงร้อยละ 15 ในกลุ่มท่ีต้องเข้ารับการรักษาตัว ในโรงพยาบาล และอาจสูงกว่านี้ในพ้ืนท่ีที่มีการระบาด อัตราการตายจะสูงในหญิง ที่ต้ังครรภ์ในช่วงไตรมาสท่ี 3 และทารกในครรภ์ นอกจากน้ีในพื้นที่ที่มีการระบาด มกั จะมีการตดิ เชอื้ ทไ่ี ม่แสดงอาการ การรกั ษา ยาไรบาวริ นิ (ribavirin) ให้ผลการรักษาดที ส่ี ดุ ภายใน 6 วนั แรกทเี่ ร่ิมป่วย การปอ้ งกัน โรคนป้ี ้องกันไดโ้ ดย 1. หลีกเล่ยี งการสัมผสั ใกลช้ ิดกับผู้ปว่ ย 2. มีเพศสัมพนั ธโ์ ดยการป้องกนั ในช่วง 3 เดือน หลงั การป่วย หรือจนกว่าตรวจ ไม่พบเชอื้ ไวรสั ในอสุจิ 3. ควบคุมหนู สตั ว์ฟันแทะ เป็นกรณพี ิเศษ 18 โรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำ�หรับประชาชน
(Nโรiคpตahิดเvชiือ้ ruไวs รdัสisนeิปaาsหe์) ไวรสั นปิ าห์ (Nipah virus) เปน็ ไวรสั ทกี่ อ่ โรคในสตั ว์ การตดิ เชอ้ื ในมนษุ ยร์ ายแรก เชอ่ื วา่ เกดิ ใน ปี พ.ศ. ๒๕๓๙ แตพ่ บผปู้ ว่ ยจรงิ ๆ ในการระบาดทมี่ าเลเซยี ในชว่ งปลายปี พ.ศ. ๒๕๔๑ ถงึ กลางปี พ.ศ. ๒๕๔๒ มีผู้ปว่ ยรวม ๒๘๓ ราย เสยี ชวี ติ ๑๑๐ ราย (อตั รา ป่วยตายร้อยละ ๓๘.๙) และมีการแพร่ระบาดไปประเทศสิงคโปร์ ในระหว่างวันท่ี ๑๓ – ๑๖ มนี าคม พ.ศ.๒๕๔๒ มผี ปู้ ว่ ย ๑๑ ราย เสียชวี ติ ๑ ราย สาเหตุจากการ น�ำเข้าสุกรจากประเทศมาเลเซีย ต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เป็นต้นมา ก็มีการระบาดใน บงั คลาเทศและอินเดียหลายครงั้ ในประเทศไทยไมพ่ บผปู้ ว่ ยโรคน้ี แตจ่ ากการศกึ ษาของศาสตราจารยน์ ายแพทย์ ธรี ะวัฒน์ เหมะจุฑาและคณะ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ โดยการส�ำรวจคา้ งคาวในบางจงั หวดั ของประเทศไทย พบว่าค้างคาวร้อยละ ๗ มีภูมิคุ้มกันต่อไวรัสนิปาห์และพบสาร พันธกุ รรมของเชื้อไวรสั นิปาห์ในเลือด นำ้� ลาย และปสั สาวะ การตดิ ตอ่ ค้างคาวกินผลไม้เป็นแหล่งรังโรคและเป็นพาหะส�ำคัญของเช้ือไวรัสนิปาห์ แต่ เชื้อไวรัสไม่ก่อโรคในค้างคาว ไวรัสนิปาห์สามารถก่อโรคในสุกร สุนัขและม้า แต่ใน ปัจจบุ นั ยงั ไม่พบวา่ สนุ ขั และมา้ มีความสำ� คญั ทางระบาดวทิ ยาของโรคน้ี การแพร่โรคมาสู่คน เกดิ จากการสมั ผสั โดยตรงกับสกุ ร หรือผลติ ภัณฑจ์ ากสุกร ที่ติดเชื้อ ส�ำหรับทางการกินและการหายใจน้ัน สงสัยว่าอาจท�ำให้เกิดการติดเช้ือใน ผู้ป่วยหลายราย นอกจากนั้นในบังคลาเทศก็พบว่า คนติดเชื้อโดยตรงจากการกินน�้ำ 19กรมควบคุมโรค
จากผลปาล์มสด ที่ปนเปื้อนน�้ำลายของ ค้างคาวแม่ไก่ ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานว่ามี การตดิ ตอ่ ระหวา่ งมนษุ ยด์ ว้ ยกนั ระยะฟกั ตวั ของโรคประมาณ ๔ – ๑๘ วนั บางรายอาจ ใชเ้ วลาหลายเดอื น อาการ ไวรสั นปิ าหเ์ ปน็ ไวรสั ทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ โรคไขส้ มองอกั เสบเปน็ หลกั ส�ำหรบั อาการทเี่ กดิ จากการติดเชื้อมีได้ตั้งแต่ มีอาการเพียงเล็กน้อยไปจนถึงมีอาการมาก โคม่า และ เสียชีวิต อาการที่พบได้แก่ ปวดศีรษะ เจ็บคอ วิงเวียน ซึมและสับสน ในผู้ป่วยท่ีมี อาการโคมา่ จะเสยี ชีวิตภายใน ๓ – ๓๐ วนั อัตราการเสยี ชวี ิตประมาณ ร้อยละ ๕๐ อยา่ งไรกต็ ามการตดิ เชอื้ ไวรสั ในผูป้ ว่ ยบางรายอาจเปน็ แบบไม่มีอาการก็ได้ การรักษา ให้การรกั ษาตามอาการ ยังไม่มีการรักษาเฉพาะโรคในปัจจบุ ัน มรี ายงานพบว่า ไรบาไวรนิ (ribavirin) อาจจะลดอัตราการตายจากไวรสั นปิ าห์ได้ การป้องกนั ปอ้ งกนั สตั วไ์ มใ่ หส้ มั ผสั กบั มลู และปสั สาวะของคา้ งคาวกนิ ผลไม้ (รวมทง้ั คา้ งคาว กนิ แมลงด้วย) 20 โรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำ�หรับประชาชน
(โMรคaตrbิดuเชrgื้อไvวiรruสั sมdาiรsบ์eaวรseก์ ) เปน็ โรคทเ่ี กดิ จากเชอื้ ไวรสั มารบ์ วรก์ (Marburg virus) ซง่ึ เปน็ ไวรสั กลมุ่ เดยี วกนั กับไวรัสอีโบลา (Ebola virus) โรคนี้จัดอยู่ในกลุ่มไข้เลือดออกที่เกิดจากเช้ือไวรัส (Viral hemorrhagic diseases) ซงึ่ เปน็ โรคทตี่ ดิ ตอ่ จากสตั ว์ โดยมคี า้ งคาวกนิ ผลไม้ เปน็ แหลง่ รงั โรค โรคนี้ถูกพบครั้งแรกในปี พ.ศ. 2510 ในประเทศเยอรมันนี และสหพันธ์ สาธารณรัฐยโู กสลาเวยี ครัง้ นัน้ มผี ูป้ ว่ ยเกดิ ขนึ้ 31 ราย เสยี ชวี ิต 7 ราย เกิดจากการ ติดเชื้อในห้องปฏิบัติการ จากการสัมผัสกับลิงเขียวแอฟริกาซ่ึงน�ำเข้ามาจากประเทศ ยกู ันดา ตัง้ แตป่ ี พ.ศ. 2518 เปน็ ต้นมากม็ ีการระบาดอย่างต่อเนือ่ งใน แอฟรกิ าใต้ เคนยา คองโก แองโกลา และยกู นั ดา โรคนม้ี อี ตั ราการเสยี ชวี ติ คอ่ นขา้ งสงู จากการแพร่ ระบาดในคองโก ปี พ.ศ. 2541 – 2543 และแองโกลา ในปี พ.ศ. 2548 มีอัตรา ปว่ ยตายรอ้ ยละ 83.1 และ 90.1 ตามลำ� ดบั โรคนย้ี งั ไมม่ รี ายงานผปู้ ว่ ยในประเทศไทย การติดตอ่ เช่ือว่าค้างคาวกินผลไม้ที่อาศัยอยู่ในถ้�ำเป็นแหล่งรังโรค ถึงแม้ว่าจะเคยมีการ ตรวจพบเชอ้ื นใ้ี นลงิ หลายชนดิ ในชว่ งทมี่ กี ารแพรร่ ะบาดของโรคนี้ แตก่ ารพบเชอ้ื ในลงิ คาดว่าเป็นการติดเชอ้ื โดยบังเอญิ โดยที่ลงิ ไม่ได้เปน็ แหลง่ รังโรค ผู้ปว่ ยรายแรก (Index case) ท่ีเป็นต้นเหตุของการระบาด นา่ จะเกดิ จากการ สมั ผสั ใกลช้ ดิ กบั คา้ งคาว หรอื เขา้ ไปอยใู่ นแหลง่ ทอ่ี ยอู่ าศยั ของคา้ งคาว เชน่ ในถำ้� หรอื ในเหมืองแร่ การติดต่อจากคนสู่คนเกิดจากการสัมผัสโดยตรงกับเลือด ปัสสาวะ 21กรมควบคุมโรค
อาเจยี น อจุ จาระ อวัยวะ หรืออสจุ ิ และเกดิ ในช่วงการเตรยี มศพทจ่ี ะฝงั โดยไม่ปอ้ งกนั อยา่ งถกู วธิ ี การตดิ เชอ้ื จากการมเี พศสมั พนั ธเ์ กดิ ขน้ึ ไดน้ อ้ ย แตเ่ คยเกดิ ขนึ้ แลว้ หลงั ปว่ ย 7 สปั ดาห์ ยงั ไมม่ รี ายงานการตดิ ตอ่ ทางการหายใจ (Airborne) การตดิ เชอ้ื ในโรงพยาบาล เกดิ ขึ้นบอ่ ยครัง้ ระยะฟกั ตวั ของโรค ประมาณ 5 – 15 วนั อาการ ผู้ป่วยจะมีอาการเริ่มด้วยไข้สูงเฉียบพลัน ปวดเม่ือยตามตัว ปวดศีรษะอย่าง รุนแรง มีอาการทางระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ อุจจาระเป็นน้�ำ คล่ืนไส้ อาเจียน ปวดทอ้ ง ซงึ่ มกั ปรากฏประมาณวนั ที่ 3 ของการดำ� เนนิ โรค อาการทอ้ งเสยี อาจเกดิ นาน เปน็ สปั ดาห์ บางรายอาจมีผ่ืน อาการทางสมอง และมอี าการอณั ฑะอกั เสบรว่ มด้วย อาการเลอื ดออกผิดปกติมกั เร่มิ ประมาณวนั ท่ี 3 ถงึ วันท่ี 7 ของการดำ� เนินโรค ผู้ปว่ ย จะเสียชวี ติ ประมาณวันที่ 8 ถงึ วันท่ี 9 ของการดำ� เนนิ โรค จากการมเี ลอื ดออกจาก หลายตำ� แหน่ง และชอ็ ก การรกั ษา ยงั ไม่มียารักษาเฉพาะโรคนี้ การปอ้ งกัน โรคน้ียงั ไม่มีวคั ซนี ป้องกัน มาตรการปอ้ งกนั และควบคุมโรคทำ� ได้โดย 1. การหลีกเลีย่ งการสมั ผัสคา้ งคาว และหลีกเลี่ยงการเขา้ ไปในแหลง่ ท่ีอยูอ่ าศยั ของคา้ งคาว 2. หลกี เล่ยี งการสัมผัสใกลช้ ิดกบั ผปู้ ่วย หรือศพท่เี สยี ชวี ติ ดว้ ยโรคน้ี 3. ป้องกนั การตดิ เช้อื เมอ่ื มเี พศสมั พันธ์ในชว่ ง 3 เดือน หลังจากหายป่วย หรอื จนกวา่ อสจุ ิจะปราศจากเชอ้ื ไวรัส 22 โรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำ�หรับประชาชน
โรค(Eตboิดlaเชv้อื iruไวs รdiสั seอaีโsบe)ลา เปน็ โรคตดิ เชอ้ื ไวรสั ชนดิ เฉยี บพลนั รนุ แรง เกดิ จากเชอื้ ไวรสั อโี บลา (Ebola virus) ประกอบดว้ ย 5 สายพนั ธ์ุ ไดแ้ ก่ สายพนั ธไ์ุ อวอรโี คสต์ สายพนั ธซ์ุ ดู าน สายพนั ธซ์ุ ารอ์ ี สายพันธุเ์ รสตนั (Reston) และสายพนั ธ์ุ Bundibugyo โดยสายพันธุ์ซูดาน สายพันธ์ุ ซารอ์ ี และสายพันธุ์ Bundibugyo ทำ� ใหเ้ กดิ การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสอีโบลาใน แอฟริกา และท�ำให้มีอัตราป่วยตายประมาณร้อยละ 60 - 90 ในขณะท่ีสายพันธุ์ ไอวอรีโคสต์ และสายพันธเ์ุ รสตัน (Reston) มักไมท่ ำ� ใหเ้ กดิ อาการรนุ แรงและยังไมม่ ี รายงานการเสยี ชวี ติ จากสายพนั ธเุ์ รสตนั โรคนมี้ กี ารแพรร่ ะบาดในแถบแอฟรกิ าตะวนั ตก การตดิ ต่อ การตดิ ตอ่ จากคนสคู่ น เกดิ จากการสมั ผสั ตรงกบั เลอื ดทต่ี ดิ เชอ้ื สารคดั หลง่ั เชน่ น้�ำมูก น้�ำลาย ปัสสาวะ อุจจาระ อวัยวะ หรือน้�ำอสุจิ นอกจากนี้ การติดเช้ือใน โรงพยาบาล ก็พบไดบ้ ่อยผ่านทางเข็มและหลอดฉีดยา ทปี่ นเปือ้ นเชอ้ื และยังพบการ แพร่กระจายเชื้ออีโบลาในพิธีศพได้บ่อย เน่ืองจากผู้มาร่วมพิธีศพอาจมีการสัมผัส โดยตรงกบั รา่ งกายของผู้เสยี ชีวติ ส�ำหรับการติดต่อของเช้ือไวรัสอีโบลาสู่คนเกิดจาก การสัมผัสโดยตรงกบั เลอื ด หรอื เครือ่ งในของสตั วป์ า่ ท่ีติดเช้อื หรือเกิดขณะจัดการหรอื ชำ� แหละสัตวเ์ ลย้ี งลกู ดว้ ย นมท่ตี าย โดยยงั ไม่พบรายงานจากการติดเช้ือผา่ นทางละอองฝอยท่ลี อยในอากาศ อาการ โรคอีโบลาเป็นโรคเฉียบพลันรุนแรงจากเช้ือไวรัส โดยมากมักแสดงออกเป็น 23กรมควบคุมโรค
ไขเ้ ฉียบพลนั อ่อนเพลียมาก ปวดกลา้ มเนอื้ ปวดศีรษะและเจ็บคอ ตามด้วยอาการ อาเจียน ท้องเสีย ผ่ืนผิวหนัง ไตและตับท�ำงานบกพร่อง และในบางรายจะพบการ ตกเลอื ดท้ังภายในและภายนอกและเสียชวี ติ ผู้ป่วยจะยังอยู่ในระยะติดต่อ คือ ยังสามารถแพร่เช้ือได้ตราบเท่าที่เลือดและ สง่ิ คัดหลง่ั ของตนยงั มีเชื้อไวรสั ระยะฟักตัวของโรค ซง่ึ หมายถงึ ระยะเวลานับจากการ เริ่มติดเชอื้ ไวรสั จนถงึ เมื่อเรม่ิ แสดงอาการ อยู่ระหวา่ ง 2 ถึง 21 วนั การรกั ษา ยังไม่มีวัคซีนป้องกันโรคอีโบลา และยารักษาจ�ำเพาะ ขณะนี้ก�ำลังอยู่ระหว่าง การศึกษาวิจัยผู้ป่วยที่อาการรุนแรง จ�ำเป็นต้องได้รับการดูแลรักษาแบบประคับ ประคองอย่างเข้มงวด ผปู้ ว่ ยมักจะมีอาการขาดนำ้� บ่อยๆ จงึ จำ� เปน็ ต้องไดส้ ารละลาย เกลือแรเ่ พอื่ แก้ไขอาการขาดนำ�้ โดยอาจใหท้ างปากหรือทางเส้นเลือด การปอ้ งกนั 1. หลกี เล่ยี งหรือชะลอการเดนิ ทางไปในประเทศทม่ี ีการระบาด 2. ติดตามขอ้ มลู ข่าวสารทีเ่ ป็นทางการจากกระทรวงสาธารณสุข 3. หากจ�ำเป็นต้องเดนิ ทางไปประเทศท่มี กี ารระบาดควรปฏิบัติตามค�ำแนะนำ� ดังนี้ • หมนั่ ล้างมอื ด้วยนำ�้ และสบใู่ หส้ ะอาด • หลกี เลยี่ งการใกล้ชดิ ผ้ปู ว่ ย หรอื สัมผัสผปู้ ่วยรวมท้ังเสือ้ ผ้า เครอ่ื งใช้ของ ผปู้ ่วย • หากมอี าการป่วย เช่น ไขส้ งู ออ่ นเพลีย ปวดศีรษะ ปวดกลา้ มเนอ้ื เจ็บคอ อาเจียน ท้องเสีย และมีผนื่ นนู แดงตามตวั รีบพบแพทยท์ นั ที และ แจ้งประวัตกิ ารเดินทาง 24 โรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำ�หรับประชาชน
โรค(Hตeดิndเrชaื้อvไirวuรs ัสdiเsฮeaนsดe)รา ไวรสั เฮนดรา (Hendra virus) เปน็ ไวรสั ทอี่ ยใู่ นสกลุ เดยี วกบั ไวรสั นปิ าห์ (Nipah virus) เชอ้ื ไวรสั เฮนดราพบวา่ เปน็ สาเหตขุ องโรคตดิ เชอื้ ทางเดนิ หายใจอยา่ งรนุ แรงในมา้ ในรฐั ควนี แลนด์ ประเทศออสเตรเลีย โดยในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ พบผูป้ ่วย ๓ ราย ซึง่ เปน็ ผู้ที่สัมผัสกับม้าท่ีล้มป่วย โดยมีผู้ป่วยรายหนึ่งแสดงอาการภายหลังการระบาด 13 เดอื น และเสยี ชวี ติ จากภาวะสมองอกั เสบจากเชอื้ ไวรสั กลบั มากอ่ โรคซำ้� นอกจากน้ี ในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ พบผปู้ ่วย ๑ ราย ที่เป็นสัตวแพทย์ หลงั การชนั สูตรมา้ ทีเ่ สยี ชีวติ ในเมอื งแคนสร์ ัฐควีนแลนดเ์ หนอื ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ พบผปู้ ่วยอีก ๒ ราย ระหว่าง การระบาดในม้าที่คลินิกรักษาสัตว์ในบริสเบน ทั้งหมดมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ระดับปานกลางถึงระดับรุนแรง และต้องรักษาตัวในโรงพยาบาล และพบว่าผู้ป่วย ทงั้ หมดมีการสัมผัสกับม้าที่ตดิ เช้อื การตดิ ตอ่ ค้างคาวกินผลไม้เป็นพาหะส�ำคัญของเช้ือไวรัสเฮนดรา แต่เช้ือไวรัสไม่ก่อโรค ในค้างคาว การก่อโรคในมา้ ของเช้ือไวรสั เฮนดราท�ำให้เกดิ อาการไข้เฉยี บพลัน ซึ่งน�ำ ไปสกู่ ารตดิ เช้ือในระบบทางเดินหายใจและระบบประสาทส่วนกลาง การติดเชื้อในคนเกิดจากการสัมผัสโดยตรงกับม้าหรือผลิตภัณฑ์จากม้า หรือ ตดิ เชอื้ จากการปนเปอ้ื นของสารคดั หลงั่ จากสตั วท์ ตี่ ดิ เชอื้ มายงั บาดแผลหรอื รอยถลอก ระยะฟักตัวของโรคประมาณ ๔ – ๑๔ วัน 25กรมควบคุมโรค
อาการ ลักษณะอาการของโรคท่ีเกิดจากการติดเช้ือ ค่อนข้างหลากหลายมีได้ต้ังแต่ มอี าการเพยี งเล็กนอ้ ยไปจนถึงมอี าการหนกั ขั้นโคมา่ หรอื ระบบหายใจล้มเหลว และ เสยี ชวี ติ รวมท้งั มีไข้สูง ปวดศรี ษะ เจ็บคอ วงิ เวยี น ซึมและสบั สน หรืออาการคลา้ ย ไขห้ วัดใหญแ่ ละปอดอกั เสบ และตรวจพบผู้ปว่ ยชนดิ ท่ไี ม่แสดงอาการดว้ ยเช่นกนั การรกั ษา ให้การรักษาตามอาการ ยงั ไม่มียารกั ษาเฉพาะโรค การป้องกนั ป้องกนั สตั วไ์ ม่ใหส้ ัมผัสกบั มลู และปัสสาวะของค้างคาว 26 โรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำ�หรับประชาชน
โรคทางเดินหายใจเฉยี บพลนั รุนแรงหรอื โรคซาร์ส (Severe Acute Respiratory Syndrome – SARS) โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรงหรือที่รู้จักกันในช่ือโรคซาร์ส ; SARS (Severe Acute Respiratory Syndrome) เป็นโรคที่เกิดจากไวรัสโคโรนา (Coronavirus) โรคนม้ี กี ารระบาดครง้ั แรกในมณฑลกวางตงุ้ ของประเทศจนี ประมาณ ปลายปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ต่อมาเกิดการระบาดของโรคปอดอกั เสบ ในเวยี ดนาม ฮ่องกง สิงคโปร์ แคนาดา จากการสอบสวนทางระบาดวิทยาสามารถเชื่อมโยงได้ว่ามาจาก แพทยท์ า่ นหนงึ่ ทดี่ แู ลรกั ษาผปู้ ว่ ยในมณฑลกวางตงุ้ ไดเ้ ดนิ ทางมาฮอ่ งกง ขณะมอี าการ ไข้ และเข้าพักที่โรงแรม ก่อนจะถูกน�ำส่งโรงพยาบาลและเสียชีวิตต่อมา ปรากฏว่า คนในโรงแรมหลายคนติดเชื้อ และน�ำเช้ือกลับไปยังประเทศของตนหรือเมืองที่ตน เดินทางต่อไป จนกระท่ังวันท่ี ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๔๖ มีการแพร่ระบาดไปยัง ๒๖ ประเทศ รวมมีรายงานป่วย ๘,๐๙๘ ราย และเสียชีวิต ๗๗๔ ราย อตั ราป่วยตาย รอ้ ยละ ๙.๖ และเมื่อวนั ที่ ๕ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๔๖ องค์การอนามยั โลกได้ประกาศ ว่าการแพร่เชื้อจากคนสู่คนยุติลงแล้ว พร้อมกันน้ันได้มีข้อเสนอแนะว่าต้องมีการ เฝ้าระวังอย่างเข้มแข็ง เพ่ือจะได้รู้ชัดว่า โรคนี้ได้กลายเป็นโรคประจ�ำถิ่นหรือไม่ จะเกิดระบาดข้ึนอีกหรือไม่ และถ้าเกิด การระบาดข้ึนอีกจะได้ค้นพบผู้ป่วยได้ ทันที 27กรมควบคุมโรค
ประเทศไทย : พบผู้ป่วยยืนยัน ๑ ราย ในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ ผู้ป่วย เป็นแพทยช์ าวอิตาลที ี่ไปสอบสวนโรคดังกล่าวท่ีกรุงฮานอย ประเทศเวยี ดนาม แล้วมี อาการป่วยในขณะที่กำ� ลังเดนิ ทางมาประเทศไทย ไมพ่ บว่ามกี ารติดเชอื้ ในกลุ่มแพทย์ พยาบาล ทที่ ำ� การดแู ลรกั ษาพยาบาล ไมพ่ บผปู้ ว่ ยโรคซารส์ ทต่ี ดิ เชอื้ ภายในประเทศไทย การติดต่อ คา้ งคาว Rhinolophus ทอี่ าศัยอย่ใู นถ้�ำเป็นแหลง่ รังโรคของไวรสั โคโรนา ซึง่ มี ความสมั พนั ธใ์ กลช้ ดิ กบั เชอื้ ทเ่ี ปน็ สาเหตขุ องการแพรร่ ะบาด ทแ่ี ยกเชอ้ื ไดจ้ ากคน และ อีเห็น โดยอีเห็นเป็นแหล่งแพร่เชื้อส�ำคัญของการติดต่อจากสัตว์สู่คน ในประเทศจีน นอกจากจะพบเชอ้ื ไวรสั โคโรนาในอเี หน็ แลว้ ยงั พบในสตั วป์ า่ บางชนดิ ทขี่ ายอยใู่ นตลาด โรคซารส์ ตดิ ตอ่ ระหวา่ งคนสคู่ นโดยการสมั ผสั โดยตรงกบั นำ้� มกู นำ้� ลาย และสาร คัดหล่ังจากผู้ป่วย หรือแพร่ผ่านสิ่งของเครื่องใช้หรือละอองฝอยจากระบบทางเดิน หายใจ จากการดแู ลหรอื อาศยั อยู่ร่วมกับผู้ตดิ เช้อื คาดกันว่ามกี ารแพร่เชอ้ื โดยพาหะ สง่ิ แวดลอ้ ม เชน่ ละอองฝอยจากทอ่ นำ�้ ทงิ้ หรอื จากการนำ� ของแมลงพาหะทส่ี มั ผสั กบั ของเสียจากท่อน�้ำทงิ้ ระยะฟักตวั ของโรคอยรู่ ะหว่าง ๓ – ๑๐ วัน (เฉลย่ี ๕ วนั ) 28 โรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำ�หรับประชาชน
อาการ อาการและอาการแสดง ไมม่ ลี กั ษณะทจี่ �ำเพาะ โดยจะมอี าการในระบบทางเดนิ หายใจตง้ั แตร่ นุ แรงจนถงึ ไมร่ นุ แรง ควรวนิ จิ ฉยั แยกโรคซารส์ เมอื่ พบผปู้ ว่ ยมอี าการดงั น้ี คอื มีไข้ตง้ั แต่ ๓๘ องศาเซลเซียสข้ึนไป มีอาการของโรคระบบทางเดนิ หายใจส่วนลา่ ง (ไอ หายใจลำ� บาก หรอื หายใจถ)่ี จากภาพถา่ ยรงั สพี บลกั ษณะซงึ่ เขา้ ไดก้ บั โรคปอดอกั เสบ หรอื ภาวะการหายใจลม้ เหลวเฉียบพลนั (Acute Respiratory Distress Syndrome; ARDS) หรอื ชนั สตู รศพพบลกั ษณะเขา้ ไดก้ บั โรคปอดอกั เสบ หรอื ภาวะหายใจลม้ เหลว เฉยี บพลนั โดยไมส่ ามารถระบุสาเหตุอน่ื ได้ การรักษา รกั ษาทั่วไปตามอาการ เม่อื รับผู้ป่วยเขา้ รับการรักษาในโรงพยาบาล แนะนำ� ให้ ใชย้ าปฏชิ วี นะทใี่ ชร้ กั ษาผปู้ ว่ ยโรคปอดอกั เสบ จนกวา่ จะแยกโรคได้ การใชย้ าไรบาวริ นิ (ribavirin) ตวั เดยี ว หรอื ใชร้ ว่ มกบั สเตยี รอยด์ หรอื ใชร้ ว่ มกบั การรกั ษาอน่ื ๆ ในระหวา่ ง ที่มกี ารระบาดของโรค แตป่ ระสทิ ธิผลในการรักษานั้นยงั ไม่ได้รบั การพิสจู น์ชดั เจน การปอ้ งกัน ส�ำหรับประชาชนทัว่ ไป มคี ำ� แนะนำ� ดังตอ่ ไปน้ี ๑. หลกี เล่ยี งหรือชะลอการเดินทางไปยังพืน้ ทีท่ ่ีมีการแพร่ระบาดของโรค ๒. หลีกเลีย่ งการสมั ผสั สตั วท์ ี่เป็นแหล่งน�ำโรค ๓. หลีกเลย่ี งการสมั ผัสใกล้ชดิ กับผูป้ ่วยหรอื ผูส้ งสัยวา่ ป่วยเปน็ โรคนี้ 29กรมควบคุมโรค
โรค(ทMาidงdเดleินEหaาsยt ใRจeตspะวirันatอoอryกSกyลnาdงroหmรือe,โรMคEเมRSอ)ร์ส โรคทางเดนิ หายใจตะวันออกกลาง หรือโรคเมอร์ส เปน็ โรคทีเ่ กดิ จากเชื้อไวรสั ในกล่มุ ไวรสั โคโรน่า (MERS Corona Virus, MERS - CoV) ตงั้ แตช่ ว่ งกลางเดอื นมนี าคม 2557 เปน็ ตน้ มา พบจำ� นวนผปู้ ว่ ยเพมิ่ สงู ขน้ึ อยา่ ง ตอ่ เนอ่ื ง กระจายอยใู่ นหลายประเทศในแถบตะวนั ออกกลาง ยโุ รป แอฟรกิ าเหนอื และ อเมริกาเหนือ โดยผู้ป่วยที่เกิดขึ้นจะมีความเชื่อมโยงในทางตรงหรือทางอ้อมกับ ตะวนั ออกกลาง การติดต่อ แหลง่ แพรเ่ ชอื้ ในธรรมชาติ ซง่ึ ทำ� ใหเ้ กดิ โรคในคนยงั ไมเ่ ปน็ ทที่ ราบ แตก่ ารแพรเ่ ชื้อ ระหวา่ งคนสคู่ นสามารถแพรผ่ า่ นทางละอองฝอยของผปู้ ว่ ยจากการไอ และมกั เกดิ จาก การสมั ผสั ใกล้ชดิ กบั ผูป้ ่วยโดยไมไ่ ด้มีการปอ้ งกนั ตนเอง การแพรเ่ ช้อื ระหว่างคนสคู่ น เกิดขึ้นได้ในบา้ น โรงพยาบาล และสถานท่ีท�ำงาน บางรายมีประวัตเิ คยสัมผัสกบั สตั ว์ และดมื่ น�้ำนมดบิ จากสัตว์ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งจากอูฐ ระยะฟกั ตวั ของโรคอยรู่ ะหว่าง 2 - 14 วนั อาการ ผปู้ ว่ ยทต่ี ดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา (MERS - CoV) บางรายไมม่ อี าการ บางรายมอี าการ ทางระบบทางเดินหายใจเลก็ น้อย เชน่ ไข้ ไอ นอกจากนี้บางรายจะมีอาการในระบบ ทางเดินอาหาร ได้แก่ ท้องร่วงร่วมด้วย และบางรายอาจมีอาการทางระบบหายใจ ล้มเหลว และถงึ แก่ชีวิต 30 โรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำ�หรับประชาชน
การรกั ษา เป็นการรักษาตามอาการแบบประคับประคอง โรคน้ียังไม่มีวัคซีนและยารักษา โดยเฉพาะ การปอ้ งกัน 1. ผู้ทีเ่ ดินทางไปประเทศในแถบตะวันออกกลาง หรอื พนื้ ที่ที่มกี ารแพรร่ ะบาด ของโรคน้ี ควรปฏิบตั ติ ามคำ� แนะน�ำดงั ต่อไปนี้ 1.1. หม่นั ลา้ งมือใหส้ ะอาดดว้ ยนำ้� และสบู่ 1.2. หลีกเล่ียงการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยหรือสัมผัสผู้ป่วย รวมทั้งเส้ือผ้า เครอ่ื งใชข้ องผ้ปู ว่ ย 1.3. หลกี เลีย่ งการสมั ผสั สตั วแ์ ละด่ืมน้�ำนมดบิ 2. ผู้ที่เดินทางมาจากประเทศแถบตะวันออกกลาง หรือพ้ืนที่ที่มีการระบาด ของโรคน้แี ล้วมอี าการไข้ภายใน 14 วันควรปฏิบตั ดิ ังน้ี 2.1. สวมหน้ากากอนามัยปอ้ งกนั โรค 2.2. หลกี เลย่ี งการพบปะผู้คน 2.3. ล้างมือบ่อยๆดว้ ยน้ำ� และสบู่ 2.4. ไม่ควรเดนิ ทางโดยยานพาหนะสาธารณะหรือรถยนตส์ ่วนตัวทม่ี ีบุคคล อนื่ นงั่ รว่ มดว้ ย 2.5. โทรศัพท์เรยี กรถพยาบาลเพอื่ เขา้ รับการรักษาทันที 31กรมควบคุมโรค
วณั โรคด้ือยาหลายขนานชนดิ รนุ แรงมาก (Extensively drug – resistant tuberculosis (XDR - TB)) วณั โรคด้อื ยาหลายขนานชนดิ รุนแรงมาก (Extensively drug-resistant tuber- culosis, XDR - TB) เป็นโรคทเ่ี กดิ จากเช้อื แบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis ชนิดที่มีการด้ือยา 4 ขนานร่วมกัน ได้แก่ ไอโซไนอะซิด (Isoniazid) ไรแฟมพิซิน (Ripampicin) กล่มุ ยาฟลอู อโรควิโนโลน (Fluoroquinolones) และกลุม่ ยาทางเลือก ท่สี องทเ่ี ปน็ ยาชนดิ ฉดี (Second - line injectable drugs) ศนู ยค์ วบคมุ และปอ้ งกนั โรคของสหรฐั อเมรกิ าประมาณวา่ ผปู้ ว่ ยวณั โรค รอ้ ยละ 4 ถงึ ร้อยละ 5 เปน็ ผปู้ ่วยวณั โรคดอ้ื ยาหลายขนาน (Multidrug – resistant tuberculosis, MDR - TB) ในยุโรปตะวันออกและเอเชยี กลางพบผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ร้อยละ 35 และผู้ป่วยวัณโรคที่เคยได้รับการรักษา ร้อยละ 70 เป็นวัณโรคด้ือยาหลายขนาน (MDR - TB) อนิ เดยี จนี รสั เซยี ฟลิ ปิ ปนิ ส์ และปากสี ถาน ทง้ั 5 ประเทศมผี ปู้ ว่ ยวณั โรค ดื้อยาหลายขนาน (MDR - TB) รวมกันถึงร้อยละ 60 ของผปู้ ่วยทัง้ หมด ศนู ย์ควบคุม และปอ้ งกนั โรคประมาณการวา่ ผปู้ ว่ ยวณั โรคดอ้ื ยาหลายขนาน (MDR - TB) รอ้ ยละ 10 เปน็ ผปู้ ว่ ยวณั โรคดอื้ ยาหลายขนานชนดิ รนุ แรงมาก (XDR – TB) ในปี พ.ศ. 2548 – 2549 มีการระบาดของวัณโรคด้ือยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก (XDR – TB) ครั้งส�ำคัญ ทจี่ ังหวดั ควาซูลู - นาตัล ประเทศแอฟรกิ าใต้ ซงึ่ ทำ� ให้ผู้ปว่ ย 52 ราย ใน 53 ราย (รอ้ ยละ 98) เสียชวี ติ ส�ำหรับประเทศไทย องค์การอนามัยโลก ประมาณการว่ามีผู้ป่วยวัณโรค 120,000 รายตอ่ ปี มผี ูป้ ว่ ยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน (MDR - TB) 4,500 ราย และ มผี ู้ป่วยวณั โรคดอื้ ยาหลายขนานชนดิ รนุ แรงมาก (XDR – TB) ประมาณ 450 ราย 32 โรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำ�หรับประชาชน
การติดต่อ วัณโรคติดต่อโดยการสูดหายใจอากาศที่มีเช้ือเข้าไป ซึ่งเชื้อโรคนี้มีคุณสมบัติ พเิ ศษ คอื มคี วามคงทนตอ่ อากาศแหง้ ความเยน็ ความรอ้ น สารเคมี และอยใู่ นอากาศ ไดน้ าน ยกเวน้ ไมท่ นทานตอ่ แสงแดด โรคนเ้ี ปน็ กบั อวยั วะแทบทกุ สว่ นของรา่ งกาย เชน่ ปอด ต่อมน้�ำเหลือง กระดูก และเยื่อหุ้มสมอง แต่ท่ีพบและเป็นปัญหามากท่ีสุด ในปจั จุบันคือ วณั โรคปอด เพราะมคี วามสำ� คัญตอ่ การแพร่โรค อาการ วัณโรคด้ือยาหลายขนานชนดิ รนุ แรงมาก (XDR – TB) มีอาการไอเรื้อรงั หรอื ไอ เปน็ เลือด เบอื่ อาหาร นำ้� หนกั ลด อ่อนเพลีย มีไข้ เจ็บหนา้ อก หอบเหน่ือย ในรายท่ีมี อาการรุนแรงจะมอี าการหายใจลม้ เหลวและอาจถึงขน้ั เสยี ชีวติ ได้ การป้องกัน 1. รักษาสุขภาพร่างกายให้แข็งแรงอยู่เสมอโดยออกก�ำลังกายอย่างสม่�ำเสมอ รบั ประทานอาหารทีม่ ปี ระโยชน์ครบ 5 หมู่ 2. มเี พศสัมพันธ์อย่างปลอดภัยเพ่ือปอ้ งกนั การติดเชอื้ โรคเอดสเ์ พราะจะท�ำให้ ภมู คิ ุ้มกนั ของร่างกายเสอ่ื มลง มีโอกาสป่วยเป็นวณั โรคมากขึ้น 33กรมควบคุมโรค
3. ถ้ามอี าการผดิ ปกติทน่ี ่าสงสยั วา่ เปน็ วัณโรค เช่น ไอเร้ือรงั 2 สปั ดาหข์ ึ้นไป มีไข้ต�่ำๆ โดยเฉพาะตอนบ่าย หรือตอนค่�ำ เจ็บหน้าอก เหน่ือยหอบ เบ่ืออาหาร นำ�้ หนกั ลด ควรรีบไปรบั การตรวจรักษา 4. ผูท้ ่ีมีความเสยี่ งทีจ่ ะป่วยเป็นวณั โรคเหล่านี้ ต้องได้รับการตรวจวัณโรค - ผสู้ ัมผัสร่วมบ้านกับผู้ปว่ ยวัณโรค - ผู้ตอ้ งขงั ในเรอื นจ�ำ - ผตู้ ิดเชอื้ เอชไอวี - ผู้ปว่ ยเบาหวาน - บคุ ลากรสาธารณสขุ - ผู้สงู อายุ 5. ผู้ป่วยวัณโรคต้องกินยาให้ครบตามท่ีแพทย์สั่ง การกินยาท่ีไม่สม�่ำเสมอ หรอื ขาดการรกั ษาอย่างต่อเนอื่ ง ท�ำใหม้ โี อกาสเส่ียงต่อวณั โรคดอื้ ยา (MDR - TB และ XDR – TB) 6. ในเดก็ ควรไดร้ บั การฉดี วคั ซนี บซี จี ี รวมถงึ ผทู้ ท่ี ำ� การทดสอบทเู บอรค์ ลู นิ เทสท์ (Tuberculin test) ให้ผลเป็นลบ เพ่อื สร้างภูมิค้มุ กนั 34 โรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำ�หรับประชาชน
เอกสารอา้ งอิง ๑. กรมควบคมุ โรค, กระทรวงสาธารณสขุ . พระราชบญั ญตั โิ รคตดิ ตอ่ พ.ศ. ๒๕๕๘. พมิ พค์ รงั้ ท่ี ๓. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พส์ ำ� นกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ ; ๒๕๕๙ ๒. กรมควบคุมโรค, กระทรวงสาธารณสุข. ใน : นายแพทย์วิชาญ ปาวัน, บรรณาธิการ. คู่มือรู้ทันโรคและภัยสุขภาพ ส�ำหรับประชาชน. พิมพ์คร้ังท่ี ๒. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำ� กดั ; ๒๕๖๑ ๓. กรมควบคมุ โรค, กระทรวงสาธารณสขุ . ใน : แพทยห์ ญิงวรยา เหลืองออ่ น, บรรณาธิการ. คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ ส�ำหรับบุคลากร ทางการแพทย์ และสาธารณสุข ปี ๒๕๕๔ พิมพค์ รั้งที่ ๑. กรุงเทพมหานคร : โรงพมิ พ์สำ� นกั งานกจิ การโรงพมิ พส์ งเคราะห์ทหารผา่ นศึก; ๒๕๕๔ ๔. Heymann dl, editor. Control of communicable diseases Manual. 20th ed. Washington DC: American Association of Public Health; 2015.
ภาคผนวก
เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๑๒๘ ง หน้า ๓ ๓ มถิ นุ ายน ๒๕๕๙ ราชกจิ จานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เร่อื ง ชอื่ และอาการสําคญั ของโรคติดต่ออนั ตราย พ.ศ. ๒๕๕๙ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ และมาตรา ๖ (๑) แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขโดยคําแนะนําของคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ จึงออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปนี้ ขอ้ ๑ ให้โรคติดตอ่ ดังต่อไปนี้เป็นโรคตดิ ตอ่ อันตราย โดยมีชอ่ื และอาการสําคัญ ดงั นี้ (๑) กาฬโรค (Plague) แบง่ ไดเ้ ป็น ๓ ประเภท ดังนี้ ประเภทที่หนึ่ง กาฬโรคต่อมนํ้าเหลือง (Bubonic plague) มีอาการไข้สูง หนาวสั่น เจบ็ คอ ปวดศีรษะ ตอ่ มน้ําเหลอื งบรเิ วณขาหนบี หรอื รกั แรโ้ ตและมีหนอง หรอื มา้ มโตและมีหนอง ประเภทที่สอง กาฬโรคชนิดโลหิตเป็นพิษ (Septicemic plague) มีอาการของโลหิตเป็นพิษ ไข้สงู ปวดศรี ษะ อาเจยี น คอหอยและทอนซิลอักเสบ อาจมีเย่ือหุม้ สมองอกั เสบ และจํา้ เลอื ดตามผวิ หนัง ประเภทที่สาม กาฬโรคปอด (Pneumonic plague) มีอาการไข้สูง หนาวสั่น ไอ มเี สมหะปนเลือด หอบ เมื่อถ่ายภาพเอกซเรยท์ ีป่ อดจะพบลกั ษณะของปอดอักเสบ (๒) ไข้ทรพิษ (Smallpox) มีอาการไข้สูง ปวดตามตัว ปวดศีรษะ ปวดหลัง อ่อนเพลีย อาจมีอาการปวดท้องร่วมด้วย ระยะก่อนที่จะมีผ่ืนข้ึน จะมีอาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ หลังจากไข้สูงแลว้ จะปรากฏผื่นขึ้น ต่อมาจะกลายเป็นตุ่ม ตุ่มใส ตุ่มหนอง และตกสะเก็ดเป็นระยะเวลา ๓ - ๔ สัปดาห์ โดยผ่นื จะปรากฏที่บริเวณใบหนา้ แขน และขามากกว่าบริเวณลําตัว โดยเฉพาะบริเวณที่ได้รับการเสียดสีบ่อย ๆ แผลท่ีตกสะเก็ดเมื่อหายแลว้ อาจทําใหเ้ กิดแผลเป็นรอยบ๋มุ และอาจทําให้เกดิ ความพกิ ารจนถงึ ขนั้ ตาบอดได้ (๓) ไข้เลือดออกไครเมียนคองโก (Crimean - Congo hemorrhagic fever) อาการจะเริ่ม อย่างเฉียบพลัน โดยมีไข้ ปวดกล้ามเน้ือ มึนงง ปวดคอร่วมกับคอแข็ง ปวดหลัง ปวดศีรษะ เจ็บตา ใบหน้าแดง และกลัวแสง บางรายอาจพบอาการคลื่นไส้ อาเจียน และเจ็บคอในระยะแรก ซ่ึงมักพบ รว่ มกบั ทอ้ งร่วงและปวดท้อง ต่อมาจะมีอารมณ์แปรปรวน สับสน และก้าวร้าว จากนั้นอาจมีอาการง่วง ซึมเศร้า หัวใจเต้นเร็ว ต่อมน้ําเหลืองโต มีเลือดออกใต้ผิวหนังและเยื่อบุต่าง ๆ เช่น ปาก เพดานปาก ลําคอ และพบเลือดออกจากส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น เลือดออกในกระเพาะอาหาร มีเลือดปนในปัสสาวะ มเี ลอื ดกําเดา และเลอื ดออกจากเหงือก ในบางรายอาจพบอาการของตับอกั เสบ (๔) ไข้เวสต์ไนล์ (West Nile Fever) มีอาการไข้ ปวดศีรษะ หนาวสั่น มีเหงื่อออก มีผ่ืนท่ีผิวหนัง อ่อนเพลีย ต่อมน้ําเหลืองอักเสบ ซึม ปวดข้อ และมีอาการคล้ายไข้หวัดหรือไข้หวัดใหญ่ บางรายมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ในรายท่ีมีอาการรุนแรงจะมีอาการทางสมองร่วมด้วย เช่น สมอง หรือเยือ่ หุ้มสมองอักเสบ มไี ข้สูง คอแข็ง ซมึ ชัก และหมดสติ 37กรมควบคุมโรค
เล่ม ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๑๒๘ ง หน้า ๔ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๙ ราชกจิ จานุเบกษา (๕) ไข้เหลือง (Yellow fever) มีอาการไข้สูงเฉียบพลันเป็นระยะเวลา ๕ - ๗ วัน ปวดศีรษะ ปวดหลัง อ่อนเพลีย คล่ืนไส้ อาเจียน อาจมีเลือดกําเดา เลือดออกในปาก และถ่ายเป็นเลือด จะมีอาการ ตวั เหลอื งหรือตาเหลอื งในระยะแรก อาจมีอาการมากขน้ึ ในระยะตอ่ มา และอาจถงึ ขั้นเสยี ชวี ติ ได้ (๖) โรคไข้ลาสซา (Lassa fever) มีไข้ ปวดศีรษะ เจ็บคอ ไอ อาเจียน ท้องร่วง เจ็บหน้าอก และปวดบริเวณช่องท้อง อาการไข้จะยังคงมีอยู่ตลอด หรืออาจไข้สูงเป็นระยะ มีอาการตาอักเสบ คออกั เสบและเปน็ หนอง บางรายทีม่ ีอาการรนุ แรงจะมอี าการเลือดออก ช็อก มอี าการบวมท่ีหน้าและคอ จะมีปรมิ าณเกล็ดเลือดลดลงและการทํางานของเกลด็ เลือดผดิ ปกติ บางรายอาจมีอาการหูหนวกจากพยาธิ สภาพทเ่ี ส้นประสาทสมองคทู่ ่ี ๘ (๗) โรคติดเชื้อไวรัสนิปาห์ (Nipah virus disease) มีอาการคล้ายเป็นหวัด มีไข้สูง ปวดเมื่อยกล้ามเน้ือ สมองอักเสบ บางรายอาจมีอาการของระบบทางเดินหายใจร่วมด้วย หรืออาจมี อาการไข้ร่วมกับอาการทางระบบประสาท เช่น วิงเวียนศีรษะ เดินโซเซ ซึม สับสน หรือชัก มีการเคลื่อนไหว ของลูกตาผิดปกติ แขนและขามีการกระตุก ความดนั โลหติ และชพี จรแปรปรวน และอาจถงึ ขน้ั เสียชีวติ ได้ (๘) โรคติดเช้ือไวรัสมาร์บวร์ก (Marburg virus disease) มีอาการไข้สูงเฉียบพลัน อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเน้ือและปวดศีรษะมาก ตามมาด้วยอาการเจ็บคอ อาเจียน ท้องเสีย และมีผื่นนูนแดงตามตัว มีอาการเลือดออกง่ายซึ่งมักเกิดร่วมกับภาวะตับถูกทําลาย ไตวาย มีอาการทางระบบประสาทส่วนกลาง ชอ็ ก อวัยวะหลายระบบเสอ่ื มหนา้ ท่ี และอาจถงึ ขั้นเสียชีวติ ได้ (๙) โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา (Ebola virus disease - EVD) มีอาการไข้ อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้อ ปวดศีรษะ และเจ็บคอ ตามมาด้วยการอาเจียน ท้องเสีย และมีผื่นข้ึน บางรายจะมีเลือดออกท้ังในอวัยวะ ภายในและภายนอก ในรายที่มีอาการรุนแรงจะพบว่ามีตับวายหรือไตวาย และอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ ส่วนใหญม่ ักมปี ระวัติสัมผสั กับผู้ปว่ ยหรอื สัตวป์ ่วยหรอื ตายดว้ ยโรคตดิ เชือ้ ไวรัสอโี บลา (Ebola virus disease - EVD) (๑๐) โรคติดเช้ือไวรัสเฮนดรา (Handra virus disease) มีอาการไข้สูง ปวดศีรษะ เจ็บคอวิงเวียน ซึม และสับสน หรืออาการคล้ายไข้หวัดใหญ่ ในระยะแรกมักจะพบอาการปอดอักเสบ ในรายท่ีมีอาการรุนแรง จะมอี าการระบบทางเดนิ หายใจล้มเหลว และอาจถงึ ข้นั เสยี ชวี ิตได้ (๑๑) โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง หรือโรคซาร์ส (Severe Acute Respiratory Syndrome - SARS) มีอาการไข้สูง ปวดตามตัว ปวดศีรษะ บางรายอาจมีอาการของระบบทางเดินหายใจ เล็กนอ้ ย อาจมีอาการถา่ ยเหลว อาการปอดอักเสบ และอาจถึงข้นั เสียชีวิตได้ 38 โรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำ�หรับประชาชน
เลม่ ๑๓๓ ตอนพเิ ศษ ๑๒๘ ง หน้า ๕ ๓ มถิ ุนายน ๒๕๕๙ ราชกจิ จานุเบกษา (๑๒) โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง หรือโรคเมอร์ส (Middle East Respiratory Syndrome - MERS) มอี าการไข้ ไอ หอบ บางรายมีอาการในระบบทางเดินอาหาร เช่น ท้องเสีย อาเจียน ในรายที่มีอาการรุนแรงมักมีอาการแสดงของโรคปอดอักเสบ ระบบทางเดินหายใจล้มเหลว อวัยวะล้มเหลว โดยเฉพาะไตวาย และอาจถงึ ขนั้ เสยี ชวี ติ ได้ ขอ้ ๒ ประกาศนใ้ี ห้ใชบ้ งั คบั ต้งั แตว่ นั ถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วันท่ี ๑๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ปิยะสกล สกลสตั ยาทร รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสุข 39กรมควบคุมโรค
เลม่ ๑๓๕ ตอนพิเศษ ๒๙ ง หนา้ ๑๓ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ ราชกจิ จานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เรื่อง ชือ่ และอาการสําคญั ของโรคตดิ ตอ่ อนั ตราย (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2561 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหน่ึง และมาตรา 6 (1) แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขโดยคําแนะนําของคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ จงึ ออกประกาศไว้ ดังตอ่ ไปน้ี ข้อ 1 ให้เพิ่มความต่อไปน้ีเป็น (13) ของข้อ 1 แห่งประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ชอ่ื และอาการสาํ คญั ของโรคตดิ ต่ออันตราย พ.ศ. 2559 “(13) วัณโรคดื้อยาหลายขนานชนิดรุนแรงมาก (Extensively drug - resistant tuberculosis (XDR - TB)) เปน็ วัณโรคทีม่ กี ารดือ้ ยา 4 ขนานร่วมกัน ได้แก่ ไอโซไนอะซิด (Isoniazid) ไรแฟมพิซิน (Rifampicin) กลุ่มยาฟลูออโรควิโนโลน (Fluoroquinolones) และกลุ่มยาทางเลือกที่สองท่ีเป็นยาชนิดฉีด (Second - line injectable drugs) มีอาการไอเร้ือรังหรือไอเป็นเลือด เบ่ืออาหาร นํ้าหนักลด อ่อนเพลีย มีไข้ เจ็บหน้าอก หอบเหนื่อย สามารถแพร่เช้ือสู่ผู้อื่นได้ ในรายที่มีอาการรุนแรงจะมีอาการระบบ การหายใจล้มเหลว และอาจถงึ ขน้ั เสยี ชวี ิตได้” ข้อ 2 ประกาศนใี้ ห้ใชบ้ ังคบั ตัง้ แต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเป็นต้นไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ปยิ ะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสุข 40 โรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำ�หรับประชาชน
เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๓๑๖ ง หน้า ๓ ๒๑ ธนั วาคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง หลักเกณฑ์และวธิ ีการแจ้งในกรณีทมี่ โี รคติดตอ่ อนั ตราย โรคติดตอ่ ท่ีตอ้ งเฝ้าระวงั หรือโรคระบาดเกดิ ขึ้น พ.ศ. 2560 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหน่ึง ประกอบกับมาตรา ๗ (๑) และมาตรา ๓๑ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขโดยความเห็นชอบของ คณะกรรมการโรคติดตอ่ แห่งชาติ จงึ ออกประกาศไว้ ดงั ต่อไปนี้ ขอ้ 1 ในกรณีท่ีมีโรคติดต่ออันตรายเกิดข้ึนหรือมีเหตุสงสัยว่าเกิดข้ึน และพบผู้ท่ีเป็นหรือ มีเหตอุ ันควรสงสยั ว่าเป็นโรคติดตอ่ อันตราย ใหบ้ ุคคลดังต่อไปน้แี จง้ ตอ่ เจา้ พนักงานควบคมุ โรคติดตอ่ ดงั นี้ (๑) เจ้าบ้านหรือผู้ควบคุมดูแลบ้าน หรือแพทย์ผู้ทําการรักษาพยาบาล ในกรณีที่พบผู้ที่เป็น หรอื มีเหตุอันควรสงสยั ว่าเป็นโรคตดิ ต่ออันตรายเกิดข้ึนในบา้ น (๒) ผู้รับผิดชอบในสถานพยาบาล ในกรณีท่ีพบผู้ที่เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่อ อนั ตรายเกิดขนึ้ ในสถานพยาบาล (๓) ผู้ทําการชันสูตรหรือผู้รับผิดชอบในสถานท่ีท่ีได้มีการชันสูตร ในกรณีท่ีได้มีการชันสูตร ทางการแพทยห์ รือทางการสัตวแพทย์ตรวจพบว่ามหี รอื อาจมีเชื้ออนั เป็นเหตขุ องโรคติดต่ออันตราย (๔) เจ้าของหรือผู้ควบคุมสถานประกอบการหรือสถานท่ีอ่ืนใด ในกรณีท่ีพบผู้ท่ีเป็นหรือมีเหตุ อันควรสงสัยว่าเป็นโรคตดิ ตอ่ อนั ตรายเกดิ ข้ึนในสถานท่ีน้ัน การแจ้งตาม (๑) หรือ (๔) ให้แจ้งต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อซ่ึงเป็นข้าราชการสังกัด กรมควบคุมโรคในราชการบริหารส่วนกลางหรือเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อในพ้ืนที่ภายในสามชั่วโมง นบั แตพ่ บผ้ทู ่ีเป็นหรือมเี หตอุ ันควรสงสัยวา่ เปน็ โรคติดต่ออันตราย เว้นแต่กรณีที่มีเหตุสุดวิสัยหรือตกอยู่ใน สถานการณ์ที่ไม่อาจแจ้งภายในสามชั่วโมงได้ ให้แจ้งต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อดังกล่าวทันที ทสี่ ามารถกระทําได้ การแจ้งตาม (๒) หรือ (๓) ให้แจ้งต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อซ่ึงเป็นข้าราชการ สงั กัดกรมควบคุมโรคในราชการบริหารส่วนกลางภายในสามชว่ั โมงนับแต่พบผู้ทเี่ ป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัย ว่าเป็นโรคติดต่ออันตราย หรือท่ีได้มีการชันสูตรทางการแพทย์หรือทางการสัตวแพทย์ตรวจพบว่ามีหรือ อาจมเี ชอ้ื อันเปน็ เหตขุ องโรคตดิ ต่ออนั ตราย แลว้ แตก่ รณี ในกรณีที่เป็นการแจ้งต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อในพ้ืนที่ เม่ือเจ้าพนักงานควบคุม โรคติดต่อในพ้ืนท่ีได้รับแจ้งแล้ว ให้แจ้งโดยวิธีการทางโทรศัพท์ต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อซึ่งเป็น ข้าราชการสังกัดกรมควบคุมโรคในราชการบริหารส่วนกลางภายในหน่ึงช่ัวโมงนับแต่ที่ตนได้รับแจ้ง เว้นแต่กรณีท่ีมีเหตุสุดวิสัยหรือตกอยู่ในสถานการณ์ท่ีไม่อาจแจ้งโดยวิธีการทางโทรศัพท์ได้ ให้ดําเนินการ ตามวิธกี ารหนง่ึ วธิ ีการใดทีก่ ําหนดไว้ในขอ้ 6 ตามสมควรแก่กรณี 41กรมควบคุมโรค
เลม่ ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๓๑๖ ง หน้า ๔ ๒๑ ธนั วาคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา ข้อ 2 ในกรณีที่มีโรคระบาดเกิดข้ึนหรือมีเหตุสงสัยว่าเกิดข้ึน และพบผู้ที่เป็นหรือมีเหตุ อนั ควรสงสยั วา่ เปน็ โรคระบาด ใหบ้ ุคคลดงั ต่อไปน้ีแจง้ ต่อเจา้ พนกั งานควบคุมโรคติดตอ่ ในพ้นื ท่ีนั้น ดังนี้ (๑) เจ้าบ้านหรือผู้ควบคุมดูแลบ้าน หรือแพทย์ผู้ทําการรักษาพยาบาล ในกรณีที่พบผู้ที่เป็น หรอื มีเหตอุ ันควรสงสยั ว่าเปน็ โรคระบาดเกิดข้นึ ในบา้ น (๒) ผ้รู บั ผิดชอบในสถานพยาบาล ในกรณีทีพ่ บผทู้ เี่ ปน็ หรือมเี หตอุ ันควรสงสยั ว่าเป็นโรคระบาด เกิดขนึ้ ในสถานพยาบาล (๓) ผู้ทําการชันสูตรหรือผู้รับผิดชอบในสถานท่ีที่ได้มีการชันสูตร ในกรณีที่ได้มีการชันสูตร ทางการแพทย์หรือทางการสตั วแพทย์ตรวจพบวา่ มหี รืออาจมีเช้ืออนั เป็นเหตขุ องโรคระบาด (๔) เจ้าของหรือผู้ควบคุมสถานประกอบการหรือสถานท่ีอ่ืนใด ในกรณีที่พบผู้ท่ีเป็นหรือมีเหตุ อนั ควรสงสยั วา่ เป็นโรคระบาดเกดิ ขน้ึ ในสถานที่นน้ั การแจ้งตาม (๑) (๒) (๓) หรือ (๔) ให้แจ้งต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อในพ้ืนท่ีภายใน ย่สี ิบสี่ชั่วโมงนับแต่พบผู้ท่ีเป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคระบาด หรือที่ได้มีการชันสูตรทางการแพทย์ หรอื ทางการสตั วแพทย์ตรวจพบว่ามหี รอื อาจมีเช้ืออนั เปน็ เหตุของโรคระบาด แลว้ แตก่ รณี การแจ้งตาม (๑) หรือ (๔) ในกรณที ่ีมเี หตสุ ดุ วสิ ยั หรือตกอยูใ่ นสถานการณ์ที่ไม่อาจแจ้งภายใน ย่ีสิบสี่ช่วั โมงได้ ใหแ้ จง้ ตอ่ เจ้าพนกั งานควบคมุ โรคติดต่อดังกล่าวทันทีทสี่ ามารถกระทําได้ ข้อ 3 ในกรณีท่ีมีโรคติดต่อท่ีต้องเฝ้าระวังเกิดขึ้นหรือมีเหตุสงสัยว่าเกิดข้ึน และพบผู้ท่ีเป็น หรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่อท่ีต้องเฝ้าระวัง ให้บุคคลดังต่อไปน้ีแจ้งต่อเจ้าพนักงานควบคุม โรคติดต่อในสังกัดสํานักงานสาธารณสุขจังหวัด กรณีที่พบผู้ท่ีเป็นหรือมีเหตุสงสัยว่าเป็นโรคติดต่อที่ต้อง เฝ้าระวังในเขตจังหวัด หรือเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อสังกัดสํานักอนามัย กรุงเทพมหานคร กรณีที่ พบผูท้ ่เี ปน็ หรอื มีเหตุสงสยั ว่าเปน็ โรคติดตอ่ ทตี่ ้องเฝ้าระวงั ในเขตกรงุ เทพมหานคร แล้วแตก่ รณี ดงั น้ี (1) ผู้รับผิดชอบในสถานพยาบาล ในกรณีท่ีพบผู้ท่ีเป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่อ ทตี่ อ้ งเฝา้ ระวังเกิดข้ึนในสถานพยาบาล (2) ผู้ทําการชันสูตรหรือผู้รับผิดชอบในสถานที่ที่ได้มีการชันสูตร ในกรณีท่ีได้มีการชันสูตร ทางการแพทย์หรือทางการสตั วแพทยต์ รวจพบวา่ มหี รืออาจมีเชอ้ื อันเป็นเหตขุ องโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวงั การแจ้งตาม (๑) หรือ (2) ให้แจ้งต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อตามวรรคหน่ึงภายใน เจ็ดวันนับแต่พบผู้ท่ีเป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง หรือที่ได้มีการชันสูตร ทางการแพทย์หรือทางการสัตวแพทย์ตรวจพบว่ามีหรืออาจมีเช้ืออันเป็นเหตุของโรคติดต่อท่ีต้องเฝ้าระวัง แลว้ แต่กรณี ทัง้ น้ี ตามแบบที่อธิบดีกรมควบคุมโรคประกาศกําหนด ขอ้ 4 กรณีการแจ้งตามข้อ 1 (๒) หรือ (๓) หากผู้รับผิดชอบในสถานพยาบาล หรือผู้ทํา การชันสูตรหรือผู้รับผิดชอบในสถานที่ที่ได้มีการชันสูตรนั้นเป็นเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ และเป็น ผพู้ บผทู้ เ่ี ปน็ หรือมเี หตอุ นั ควรสงสยั ว่าเป็นโรคตดิ ตอ่ อนั ตราย หรอื เป็นผูต้ รวจพบว่ามีหรืออาจมีเชื้ออันเป็น เหตุของโรคติดต่ออันตราย ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อดังกล่าวแจ้งโดยวิธีการทางโทรศัพท์ 42 โรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำ�หรับประชาชน
เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๓๑๖ ง หน้า ๕ ๒๑ ธนั วาคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา ต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อซึ่งเป็นข้าราชการสังกัดกรมควบคุมโรคในราชการบริหารส่วนกลาง ภายในสามช่ัวโมงนับแต่ท่ีพบผู้ที่เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่ออันตราย หรือท่ีได้มีการชันสูตร ทางการแพทย์หรือทางการสัตวแพทย์ตรวจพบว่ามีหรืออาจมีเช้ืออันเป็นเหตุของโรคติดต่ออันตราย เว้นแต่กรณีที่มีเหตุสุดวิสัยหรือตกอยู่ในสถานการณ์ท่ีไม่อาจแจ้งโดยวิธีการทางโทรศัพท์ได้ ให้ดําเนินการ ตามวิธกี ารหน่งึ วธิ กี ารใดทก่ี ําหนดไวใ้ นขอ้ 6 ตามสมควรแกก่ รณี ขอ้ 5 กรณีการแจ้งตามข้อ 2 (2) หรือ (3) หากผู้รับผิดชอบในสถานพยาบาล หรือผู้ทํา การชันสูตรหรือผู้รับผิดชอบในสถานท่ีท่ีได้มีการชันสูตรนั้นเป็นเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อ และเป็น ผู้พบผู้ท่ีเป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคระบาด หรือเป็นผู้ตรวจพบว่ามีหรืออาจมีเชื้ออันเป็นเหตุ ของโรคระบาด ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อดังกล่าวแจ้งต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อซึ่งเป็น ข้าราชการสังกัดกรมควบคุมโรคในราชการบริหารส่วนกลาง ภายในย่ีสิบสี่ช่ัวโมงนับแต่ทพ่ี บผู้ที่เป็นหรือ มีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคระบาด หรือท่ีได้มีการชันสูตรทางการแพทย์หรือทางการสัตวแพทย์ ตรวจพบว่ามีหรอื อาจมีเช้อื อนั เป็นเหตุของโรคระบาด เวน้ แต่กรณีท่ีมีเหตุสุดวิสัยหรือตกอยู่ในสถานการณ์ ที่ไม่อาจแจ้งโดยวิธีการทางโทรศัพท์ได้ ให้ดําเนินการตามวิธีการหนึ่งวิธีการใดที่กําหนดไว้ในข้อ 6 ตามสมควรแก่กรณี ขอ้ 6 การแจ้งตามข้อ 1 ข้อ 2 และข้อ 3 ให้ดําเนินการตามวิธีการหน่ึงวิธีการใด ดังต่อไปน้ี (๑) แจง้ โดยตรงตอ่ เจ้าพนักงานควบคมุ โรคติดต่อ (๒) แจง้ ทางโทรศพั ท์ (๓) แจง้ ทางโทรสาร (๔) แจ้งเปน็ หนังสือ (๕) แจง้ ทางไปรษณยี อ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์ (๖) วิธีการอนื่ ใดท่อี ธิบดีกรมควบคุมโรคประกาศกําหนดเพ่มิ เตมิ ขอ้ 7 การแจ้งตามข้อ 1 (๑) หรือ (๔) และข้อ 2 (๑) หรือ (๔) เม่ือเจ้าพนักงาน ควบคุมโรคติดต่อได้รับแจ้งจากบุคคลดังกล่าวแล้ว ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อบันทึกข้อมูลไว้ ตามแบบทอี่ ธบิ ดีกรมควบคุมโรคประกาศกาํ หนด การแจ้งตามข้อ 1 (2) หรือ (3) ข้อ 2 (2) หรือ (3) ข้อ 3 ข้อ 4 และข้อ 5 ให้แจ้ง ตอ่ เจ้าพนักงานควบคุมโรคตดิ ต่อตามแบบท่อี ธบิ ดีกรมควบคมุ โรคประกาศกาํ หนด ให้อธิบดีกรมควบคุมโรคจัดทําและเผยแพร่คู่มือเพื่ออํานวยความสะดวกให้แก่ประชาชน ในการดําเนินการตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ข้อ 8 การแจ้งต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อตามวิธีการท่ีกําหนดไว้ในข้อ 6 อย่างน้อย ให้มรี ายละเอยี ด ดังน้ี 43กรมควบคุมโรค
เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๓๑๖ ง หน้า ๖ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา (๑) กรณีผู้แจ้งเป็นเจ้าบ้านหรือผู้ควบคุมดูแลบ้าน หรือแพทย์ผู้ทําการรักษาพยาบาล ให้แจ้งชื่อ และท่ีอยู่ของตน ความสัมพันธ์กับผู้ที่เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อ ที่ต้องเฝ้าระวัง หรือโรคระบาด ชื่อ อายุ เพศ สัญชาติ ท่ีอยู่ปัจจุบันหรือสถานที่ท่ีผู้ท่ีเป็นหรือมีเหตุ อันควรสงสัยวา่ เป็นโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง หรือโรคระบาดพักรักษาตัวอยู่ วันท่ีเร่ิม เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อท่ีต้องเฝ้าระวัง หรือโรคระบาด และ อาการสําคัญของผู้ที่เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง หรือโรคระบาด ท้ังนี้ ในกรณีที่ผู้แจ้งเป็นแพทย์ผู้ทําการรักษาพยาบาล ให้แจ้งการวินิจฉัยโรคข้ันต้น ประเภทของผู้ท่ีเป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อท่ีต้องเฝ้าระวัง หรือ โรคระบาด และผลการรกั ษาเพ่ิมเตมิ ด้วย (๒) กรณีผู้แจ้งเป็นผู้รับผิดชอบในสถานพยาบาล ให้แจ้งชื่อ ท่ีอยู่ และสถานที่ทํางานของตน ชื่อ อายุ เพศ สัญชาติ ท่ีอยู่ปัจจุบันหรือสถานที่ท่ีผู้ท่ีเป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง หรือโรคระบาดพักรักษาตัวอยู่ วันที่เร่ิมเป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่า เป็นโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อท่ีต้องเฝ้าระวัง หรือโรคระบาด วันแรกรับไว้รักษา การวินิจฉัยโรคข้ันต้น ประเภทและอาการสําคัญของผู้ที่เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง หรือโรคระบาด และผลการรกั ษา (๓) กรณีผู้แจ้งเป็นผู้ทําการชันสูตรหรือผู้รับผิดชอบในสถานท่ีท่ีได้มีการชันสูตร ให้แจ้งชื่อ ที่อยู่ และสถานท่ีทํางานของตน ช่ือ อายุ เพศ สัญชาติ ที่อยู่ปัจจุบันของผู้ที่เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่า เป็นโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง หรือโรคระบาด ชื่อ ท่ีอยู่ และสถานที่ทํางานของ ผสู้ ่งวัตถุตวั อยา่ ง การวินิจฉัยโรคขั้นตน้ และผลการชนั สตู ร (๔) กรณีผู้แจ้งเป็นเจ้าของหรือผู้ควบคุมสถานประกอบการหรือสถานท่ีอ่ืนใด ให้แจ้งช่ือ ท่ีอยู่ และสถานที่ทํางานของตน ความสัมพันธ์กับผู้ที่เป็นหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคติดต่ออันตราย โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง หรือโรคระบาด ชื่อ อายุ เพศ สัญชาติ ท่ีอยู่ปัจจุบัน และอาการสําคัญของ ผทู้ ีเ่ ป็นหรือมเี หตุอันควรสงสยั ว่าเปน็ โรคตดิ ต่ออันตราย โรคตดิ ตอ่ ที่ต้องเฝา้ ระวัง หรือโรคระบาด ขอ้ 9 ประกาศน้ใี หใ้ ช้บังคบั ตงั้ แตว่ ันถดั จากวนั ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสุข 44 โรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำ�หรับประชาชน
เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๓๑๖ ง หนา้ ๑ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสขุ เร่ือง ทอ้ งทีห่ รอื เมอื งท่านอกราชอาณาจักรทเ่ี ปน็ เขตตดิ โรคไขเ้ หลือง พ.ศ. 2560 เพ่ือประโยชน์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคไข้เหลืองซ่ึงเป็นโรคติดต่ออันตราย ไมใ่ ห้เขา้ มาภายในราชอาณาจักร อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 5 วรรคหน่ึง และมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขโดยคําแนะนําของคณะกรรมการด้านวิชาการ จึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้ ขอ้ 1 ใหท้ ้องที่หรือเมืองท่านอกราชอาณาจักรดงั ตอ่ ไปน้ี เปน็ เขตตดิ โรคไข้เหลอื ง (1) บูร์กินาฟาโซ (Burkina Faso) (2) เฟรนชเ์ กยี นา (French Guiana) (3) รัฐพหชุ นชาติแห่งโบลเี วยี (Plurinational State of Bolivia) (4) สหพันธ์สาธารณรฐั ไนจเี รีย (Federal Republic of Nigeria) (5) สหพนั ธส์ าธารณรัฐประชาธิปไตยเอธิโอเปยี (Federal.Democratic Republic of Ethiopia) (6) สหพันธส์ าธารณรัฐบราซิล (Federative Republic of Brazil) (7) สาธารณรัฐกานา (Republic of Ghana) (8) สาธารณรฐั กาบอง (Gabonese Republic) (9) สาธารณรัฐกนิ ี (Republic of Guinea) (10) สาธารณรฐั กนิ ี - บสิ เซา (Republic of Guinea - Bissau) (11) สาธารณรัฐโกตดิวัวร์ (Republic of CÔte d’Ivoire) (12) สาธารณรฐั คองโก (The Republic of the Congo) (13) สาธารณรัฐเคนยา (Republic of Kenya) (14) สาธารณรฐั แคเมอรูน (Republic of Cameroon) (15) สาธารณรัฐโคลอมเบีย (The Republic of Colombia) (16) สาธารณรฐั ชาด (Republic of Chad) (17) สาธารณรฐั ซูดาน (Republic of the Sudan) (18) สาธารณรัฐซูรินาเม (Republic of Suriname) (19) สาธารณรฐั เซเนกลั (Republic of Senegal) (20) สาธารณรฐั เซาทซ์ ูดาน (Republic of South Sudan) (21) สาธารณรฐั เซียร์ราลโี อน (Republic of Sierra Leone) (22) สาธารณรฐั ตรินแิ ดดและโตเบโก (Republic of Trinidad and Tobago) 45กรมควบคุมโรค
เล่ม ๑๓๔ ตอนพิเศษ ๓๑๖ ง หนา้ ๒ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๖๐ ราชกจิ จานุเบกษา (23) สาธารณรฐั โตโก (Republic of Togo) (24) สาธารณรฐั ไนเจอร์ (Republic of Niger) (25) สาธารณรฐั บรุ นุ ดี (Republic of Burundi) (26) สาธารณรัฐเบนิน (Republic of Benin) (27) สาธารณรัฐโบลีวาร์แหง่ เวเนซเุ อลา (Bolivarian Republic of Venezuela) (28) สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยคองโก (Democratic Republic of Congo) (29) สาธารณรัฐปานามา (Republic of Panama) (30) สาธารณรฐั ปารากวัย (Republic of Paraguay) (31) สาธารณรฐั เปรู (Republic of Peru) (32) สาธารณรัฐมาลี (Republic of Mali) (33) สาธารณรฐั ยกู นั ดา (Republic of Uganda) (34) สาธารณรัฐไลบีเรีย (Republic of Liberia) (35) สาธารณรฐั สหกรณก์ ายอานา (Co - operative Republic of Guyana) (36) สาธารณรฐั อารเ์ จนตินา (Argentine Republic) (37) สาธารณรัฐอิเควทอเรยี ลกินี (Republic of Equatorial Guinea) (38) สาธารณรัฐอิสลามแกมเบยี (The Islamic Republic of The Gambia) (39) สาธารณรฐั อิสลามมอริเตเนีย (The Islamic Republic of Mauritania) (40) สาธารณรัฐเอกวาดอร์ (Republic of Ecuador) (41) สาธารณรัฐแองโกลา (Republic of Angola) (42) สาธารณรัฐแอฟรกิ ากลาง (Central African Republic) ขอ้ 2 ประกาศนีใ้ ห้ใช้บงั คับตง้ั แต่วันถัดจากวนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๓ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ปิยะสกล สกลสตั ยาทร รฐั มนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสขุ 46 โรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำ�หรับประชาชน
เล่ม ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๓๑๖ ง หน้า ๗ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรอื่ ง การสร้างเสริมภูมิคมุ้ กนั โรคไข้เหลือง พ.ศ. 2560 โดยที่เป็นการสมควรกําหนดให้ผู้เดินทางที่มาจากเขตติดโรคไข้เหลืองต้องได้รับการสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรคไข้เหลืองก่อนเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร เพ่ือประโยชน์ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน และ ควบคมุ โรคไขเ้ หลอื งซ่งึ เป็นโรคติดต่ออนั ตรายไมใ่ ห้เข้ามาภายในราชอาณาจักร อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 5 วรรคหนึ่ง และมาตรา 6 (3) แห่งพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2558 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขโดยคําแนะนําของคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ จงึ ออกประกาศไว้ ดังตอ่ ไปนี้ ข้อ 1 ในประกาศน้ี “เขตติดโรคไข้เหลือง” หมายความว่า ท้องท่ีหรือเมืองท่านอกราชอาณาจักรซึ่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงสาธารณสุขประกาศใหเ้ ป็นเขตติดโรคไข้เหลือง ข้อ 2 เอกสารรับรองการได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้เหลือง ให้มีผลใช้บังคับได้เม่ือพ้นสิบวัน นับแต่วันท่ีได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้เหลือง ในรายท่ีเป็นการฉีดซ้ํา ให้มีผลใช้บังคับได้ทันทีนับแต่ วันที่ได้รับการฉีดวัคซีนนั้น ทั้งนี้ ให้เอกสารรับรองการได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้เหลืองมีอายุการใช้บังคับ ตลอดชีพของผู้เดนิ ทางนนั้ ขอ้ 3 ผู้เดินทางท่ีมาจากเขตติดโรคไข้เหลือง ต้องแสดงเอกสารรับรองการได้รับวัคซีน ป้องกันโรคไข้เหลืองต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจําด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ณ ดา่ นควบคุมโรคติดตอ่ ระหวา่ งประเทศ ขอ้ 4 กรณีผู้เดินทางที่มาจากเขตติดโรคไข้เหลือง ไม่แสดงเอกสารรับรองการได้รับวัคซีน ป้องกันโรคไข้เหลือง หรือแสดงเอกสารรับรองการได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้เหลืองที่ไม่ถูกต้อง ให้เจา้ พนกั งานควบคุมโรคตดิ ต่อประจาํ ด่านควบคมุ โรคตดิ ตอ่ ระหว่างประเทศดําเนินการอย่างหนึ่งอย่างใด ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) มีคําสั่งห้ามเจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะนําผู้เดินทางผู้น้ันเข้ามาในราชอาณาจักร ตามมาตรา 39 (5) แหง่ พระราชบัญญัติโรคติดตอ่ พ.ศ. 2558 (2) ออกคําสั่งเป็นหนังสือให้เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะดําเนินการอย่างหน่ึงอย่างใด ตามมาตรา 40 แหง่ พระราชบญั ญัตโิ รคตดิ ต่อ พ.ศ. 2558 ข้อ 5 กรณีผู้เดินทางท่ีมาจากเขตติดโรคไข้เหลืองได้แสดงเอกสารรับรองการได้รับวัคซีน ป้องกันโรคไข้เหลือง แต่เอกสารดังกล่าวยังไม่มีผลใช้บังคับตามระยะเวลาที่กําหนดไว้ในข้อ 2 ให้เจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจําด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศออกคําสั่งเป็นหนังสือ 47กรมควบคุมโรค
เลม่ ๑๓๔ ตอนพเิ ศษ ๓๑๖ ง หน้า ๘ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๖๐ ราชกิจจานุเบกษา เพ่ือแยกกัก กักกัน หรือคุมไว้สังเกตผู้เดินทางผู้น้ัน ตามสมควรแก่กรณี ไปจนกว่าเอกสารรับรอง การได้รบั วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคไขเ้ หลอื งจะมผี ลใชบ้ ังคับ ระยะเวลาการแยกกัก กักกัน หรือคุมไว้สังเกตตามวรรคหน่ึง ต้องไม่เกินสิบวันนับแต่วันท่ี ผเู้ ดินทางไดร้ ับการฉดี วคั ซนี ป้องกันโรคไข้เหลอื ง ข้อ 6 ประกาศนใี้ หใ้ ช้บังคับตัง้ แต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วันที่ ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๐ ปิยะสกล สกลสัตยาทร รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงสาธารณสุข 48 โรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. ๒๕๕๘ สำ�หรับประชาชน
Search
Read the Text Version
- 1 - 48
Pages: