Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ราชวงศ์จักรี

ราชวงศ์จักรี

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2021-07-29 10:26:52

Description: ราชวงศ์จักรี

Search

Read the Text Version

1 ราชวงศ์จกั รี เปน็ ราชวงศ์ถัดจากสมเดจ็ พระเจ้าตากสนิ แห่งกรงุ ธนบรุ ี ซึ่งปกครองราชอาณาจกั ร ทส่ี บื ทอดกรงุ ศรีอยธุ ยามาจนเป็นประเทศไทยในปจั จุบัน เกิดขึน้ จากการทส่ี มเดจ็ เจา้ พระยามหากษัตรยิ ศ์ ึก (ทองด้วง) ขนุ นางซึ่งดารงตาแหน่งสมุหนายก (จักรี) ในราชสานักของสมเด็จพระเจา้ ตากสิน ยึดอานาจการ ปกครองและปลงพระชนมส์ มเด็จพระเจ้าตากสิน และสถาปนาตนข้นึ เป็นพระมหากษัตริยแ์ ทน (ภายหลัง ปรากฏพระนามว่า พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช) เม่ือวันที่ ๖ เมษายน พ.ศ. ๒๓๒๕ เมอื่ สืบสายสกุลของหลวงยกกระบตั ร สามารถย้อนไปถึง สมเด็จพระเอกาทศรถ และ เจ้าพระยา โกษาปาน ราชทตู คนดังของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พระราชธดิ าองค์หนงึ่ ของสมเด็จพระเอกาทศรถได้ ทรงสมรสกบั พระยาราม ขนุ นางเชอื้ สายมอญที่อพยพเข้ามาในรชั สมัยสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช มีธิดา ปรากฏชือ่ เป็นที่รจู้ ักกนั ท่ัวไปคอื หม่อมบัว ซ่ึงได้รับโปรดเกล้าฯ เปน็ พระองค์เจ้า กรมพระเทพามาตย์ พระนม ของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และเป็นท่รี ู้จักกนั ดีในนาม “เจา้ แมว่ ดั ดสุ ิต” หมอ่ มบัวสมรสกับหมอ่ มเจา้ เจิดอาไพ มบี ุตรธดิ า ๓ คน คือ เจ้าพระยาโกษาธิบดี (เหล็ก) แม่ทัพ เอกของสมเดจ็ พระนารายณ์ เจา้ พระยาโกษาธบิ ดี (ปาน) ราชทูตของสมเดจ็ พระนารายณ์ และทา้ วศรีจุฬา ลักษณ์ พระสนมของสมเด็จพระนารายณ์ เจ้าพระยาโกษาปาน มีบุตรชือ่ ขุนทอง รบั ราชการในแผน่ ดนิ สมเดจ็ พระสรรเพชญ์ ที่ ๘ หรือพระ เจา้ เสอื ไดเ้ ปน็ พระอษั ฎาเรืองเดช ตาแหน่งสุดท้ายไดเ้ ปน็ เจา้ พระยาวรวงศาธริ าช เสนาบดคี ลงั เจา้ พระยาวรวงศาธิราชมีบตุ รชายช่ือ ทองคา รับราชการกับเจา้ ฟา้ เพชร กรมพระราชวังบวร มี ตาแหนง่ เป็น จมืน่ มหาสนิท และไดย้ า้ ยครอบครวั ไปอยู่ท่ีหมบู่ ้านสะแกกรัง เมอื งอทุ ัยธานี เพอื่ รวบรวมสง่ิ ของ สาหรบั กองทัพ เชน่ ชา้ ง ข้าว และไพร่พล ให้กรมพระราชวังบวรซ่งึ เตรยี มการยึดอานาจ ในระหว่างท่ีอยหู่ มบู่ า้ นสะแกกรังน้ี ภรรยาของจม่นื มหาสนิทได้คลอดบตุ รเป็นชาย ให้ชื่อวา่ ทอง ดี ครัน้ ปี พ.ศ.๒๒๕๑ กรมพระราชวงั บวรได้ขึน้ ครองราชย์เป็น พระเจา้ อยู่หัวท้ายสระ จมน่ื มหาสนิทได้เล่ือนข้ึน เปน็ พระยาราชนกุ ลู ปลดั ทูลฉลองกรมมหาดไทย จงึ ย้ายครอบครวั กลบั มาอยู่กรงุ ศรีอยุธยา และเม่ือทองดมี ี อายุเข้ารบั ราชการได้ จงึ ไดร้ บั โปรดเกล้าฯเปน็ หลวงพิพิธอักษร สังกัดกรมมหาดไทย จนไดเ้ ล่อื นข้ึนเป็น พระ อักษรสนุ ทร เสมียนตรากรมมหาดไทย ในขณะเป็นหลวงพิพธิ อกั ษรน้ัน ทองดีไดส้ มรสกับ ดาวเรือง หลานสาวของเจ้าพระยาอภัยราชา สมุหนายก มีบตุ รสาวคนแรกชอ่ื สา บตุ รคนท่ีสองเป็นชายชื่อ ราม คนทีส่ ามเปน็ หญิงช่ือ แก้ว คนท่ีสเ่ี ป็นชาย ช่อื ทองด้วง และคนท่หี ้าเป็นชาย ชอื่ บุญมา “ทองดว้ ง” ก็คอื พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระปฐมบรมราชวงศ์จักรี และพระผูส้ ถาปนากรงุ เทพมหานคร “บุญมา” ก็คือ กรมพระราชวังบวรมหาสรุ สิงหนาท ในรัชกาลท่ี ๑ “สา” พระพีน่ างองคโ์ ต ไดร้ บั การสถาปนาเป็น กรมพระเทพสุดาวดี “ราม” พระเชษฐาซึง่ ส้นิ พระชนมใ์ นสมยั กรงุ ศรีอยธุ ยาขณะเปน็ ขนุ รามณรงค์ ไดร้ บั การสถาปนา พระอัฐิเป็น สมเด็จพระเจ้ารามณรงค์

2 “แกว้ ” พระพีน่ างองค์น้อย ไดร้ ับการสถาปนาเป็น กรมพระศรสี ุดารักษ์ สว่ น “ทองดี” นัน้ กค็ ือ สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกแห่งราชวงศ์จักรี ซง่ึ ขณะดารงตาแหน่งพระ อกั ษรสุนทร เสมยี นตรากรมมหาดไทยในรชั กาลพระเจา้ เอกทศั นน์ ั้น พม่ายกทัพมาลอ้ มกรงุ ศรอี ยุธยา เกิด ระส่าระสายในพระนคร จงึ อพยพครอบครวั ไปรบั ราชการกบั เจ้าเมืองพิษณุโลก ได้รับแต่งตงั้ เป็น เจา้ พระยา จักรศี รีองครักษ์ และทรงประชวรสน้ิ พระชนม์ทีเ่ มืองพิษณุโลก พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกสถาปนาราชวงศใ์ นนาม “จักรี” นนั้ จะเห็นได้ว่าคาอัน เปน็ มงคลนี้ นอกจากจะมาจากสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนกทรงดารงตาแหนง่ เจา้ พระยาจักรีศรอี งค์รักษ์ ของ เมอื งพษิ ณุโลกแลว้ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลก ปฐมกษตั รยิ ์ของราชวงศ์นี้ ก็เคยทรงดารง ตาแหน่ง เจา้ พระยาจกั รี ในสมัยกรุงธนบรุ ีด้วย “จักรี” เป็นคาผสมของคาวา่ \"จักร\" และ \"ตร\"ี ซ่งึ เป็นเทพอาวธุ ๒ ใน ๔ ของพระนารายณ์ อัน เป็นหน่งึ ในสามของมหาเทพตามคติความเชือ่ ของพราหมณ์ \"จกั ร\" นน้ั จะเปน็ อาวธุ รปู วงกลม มแี ฉกๆโดยรอบ \"ตร\"ี นั้นคอื ตรศี ูล เป็นอาวธุ แบบสามง่ามหรือหอกสามเล่ม พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราชจงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้สร้างพระแสง จักรและพระแสงตรไี ว้ ๑ สารับ อกี ทั้งกาหนดให้ใชเ้ ทพอาวุธน้เี ป็นสญั ลักษณป์ ระจาราชวงศจ์ กั รีสบื มา จนถึงปจั จุบั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั รชั กาลท่ี ๔ ได้มพี ระราชหัตถเลขา สาหรบั พระราชทาน แก่ “เซอรจ์ อห์น เบารงิ ” ราชทูตอังกฤษท่เี ดินทางเขา้ มายังประเทศสยาม เพื่อขอแกส้ นธิสัญญาเบาริงระหว่าง สยามกบั อังกฤษ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๙๘ โดยเซอร์จอห์น เบาริง ได้นาพระราชหตั ถเลขาฉบบั ดังกลา่ ว มาตีพิมพล์ ง ในหนงั สอื เร่อื ง “ราชอาณาจักรและราษฎรสยาม” ชื่อภาษาองั กฤษ วา่ “The Kingdom and People of Siam” ความวา่ “พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวตรสั ถึงเรื่องบรรพบุรุษตน้ ราชวงศ์จกั รี วา่ สบื เชื้อสายมา จากตระกลู ขนุ นางมอญเมอื งหงสาวดี (พะโค) ซึง่ ตามเสดจ็ สมเด็จพระนเรศ เขา้ มารบั ราชการอยู่ยงั กรุงพระ มหานครศรีอยุทธยาในรชั สมัยสมเดจ็ พระมหาธรรมราชาธริ าช ที่ ๑(ขนุ พเิ รนทรเทพ ครองราชย์ พ.ศ. ๒๑๑๒- ๒๑๓๓) เมอ่ื นาเค้าโครงเรอ่ื งขุนนางมอญผูเ้ ปน็ บรรพบรุ ษุ ต้นราชวงศจ์ กั รมี าสอบกับพระราชพงศาวดารกรุงศรีอ ยทุ ธยาแล้ว เข้าใจว่าเปน็ บคุ คลใดบคุ คลหนึ่ง ระหว่าง “พระญาเกยี รติ” และ “พระญาพระราม” พระราช พงศาวดารฯ ฉบับพระจกั รพรรดิพงศ์ (จาด) ซงึ่ เป็นตน้ แบบพมิ พเ์ ขยี วของพระราชพงศาวดารฯ ฉบับความ พสิ ดาร ซงึ่ สอบชาระในสมยั รตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้ กลา่ วถึงเหตุการณ์เมื่อคราวพระญาเกียรตกิ ับพระญา พระรามตดั สินใจอพยพหนรี าชภัย จากพระเจ้าหงสาวดีเซงพยูงาซเี ชง (พระเจ้านันดาบาเยง ครองราชย์ พ.ศ. ๒๑๒๔-๒๑๔๒) โดยเสด็จสมเดจ็ พระนเรศเขา้ มารบั ราชการอยู่ยังพระนครศรีอยุทธยา หลังจากท่ีพระองค์ทรง ประกาศอสิ รภาพ ตัดขาดทางพระราชไมตรีกับกรุงหงสาวดีเม่อื พ.ศ. ๒๑๑๗ แม้พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อย่หู ัว จะมิได้ทรงกลา่ วไวใ้ นพระราชหตั ถเลขา ว่า “ขุนนางมอญ” ทา่ นใด ระหวา่ งพระญาเกยี รติกับพระญา พระรามทเี่ ป็นบรรพบุรุษต้นราชวงศจ์ ักรี แต่ หมอ่ มหลวงมานิจ ชุมสาย ไดใ้ ห้ข้อมูลสาคัญเกย่ี วกับเรื่องน้ีไวใ้ น

3 หนงั สอื เรือ่ ง “ประวตั ิโกษาปานและบนั ทึกการเดินทางไปฝรง่ั เศส” โดยอ้างอิงมาจากสมุดจดบันทกึ ประจาวนั ของบรรพบุรุษท่ีตกทอดมาถงึ ตวั ทา่ น ว่า… “พวกสกลุ ชมุ สาย สืบเชอ้ื สายมาจากพระนั่งเกลา้ เจ้าอย่หู ัว บรรพบุรษุ คนแรก คือพระยาเกยี รติ แม่ทัพมอญ ได้ ติดตามสมเด็จพระนเรศวร มารับราชการอยูท่ ี่กรุงศรีอยธุ ยา ลูกหลานคนหน่ึงของพระยาเกยี รติได้แตง่ งานกบั เจ้าแมด่ สุ ติ สตรผี ้สู งู ศกั ดิ์แห่งราชสานัก เจ้าแม่ดสุ ิตเคยเป็นแมเ่ ล้ยี งและแม่นมของสมเด็จพระนารายณ์มากอ่ น ท้ังน้ี เพราะพระราชมารดาของพระองค์เองสนิ้ พระชนม์ตงั้ แตพ่ ระนารายณ์มีพระชนั ษาได้เพียง ๗ เดือน เจ้าแม่ ดสุ ิตจงึ ถวายการเล้ยี งดูพระองค์มาพร้อมกบั บุตรของนางเอง สมเด็จพระนารายณท์ รงเรียกนางว่า เจา้ แมด่ ุสติ ชอื่ จริงของนาง คือ บวั เดิมอาศัยอยู่ใกล้วัดดุสิต ตรงคลองขา้ วสาร จึงไดเ้ รียกกันมาวา่ เจา้ แมด่ ุสิต” พระนิพนธใ์ นสมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชติ ชิโนรส วดั พระเชตุพนฯ ไดใ้ ห้ขอ้ มลู สาคัญเก่ยี วกับ พระประวตั ิของเจา้ แม่วัดดสุ ติ ว่า… “…เร่มิ ความในแผ่นดนิ พระบาทสมเด็จพระศรีสรรเพชญ บรมราชาธริ าชปราสาททอง ซ่ึงเป็นพระ เจ้าแผ่นดินพระองค์ที่ ๒๕ ในกรุงเทพมหานคร บวรทวาราวดีศรีอยุทธยา ปรากฏเปน็ ข้อตน้ พระเจา้ ปราสาท ทองมีพระราชโอรสกับพระราชเทพีพระองค์หน่งึ เป็นพระราชกมุ ารทรงพระนาม ว่า สมเดจ็ พระเจ้าลูกเธอ เจ้า ฟ้านารายณร์ าชกมุ าร ฝ่ายสมเด็จพระเจ้าแผน่ ดินผูเ้ ปน็ พระราชบิดา จง่ึ พระราชทานพระนมนางองคห์ นึ่ง ซงึ่ เป็นหมอ่ มเจา้ หญิงในราชนกิ ลู พระเจา้ แผน่ ดิน พระราชทานใหเ้ ปน็ พระนมของสมเดจ็ พระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟา้ นารายณร์ าชกุมาร เป็นพระนมเอกน้ัน ไวท้ รงอภิบาลทะนบุ ารงุ เจา้ ฟ้านารายณม์ าแตท่ รงพระเยาวจ์ นทรงพระ เจริญ เปน็ ทัง้ พระพ่เี ลีย้ งแลพระนมด้วย พระราชชนนขี องพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้านารายณร์ าชกมุ ารน้ัน ทวิ งคต แตเ่ มือ่ ประสูติไดเ้ ก้าวัน เพราะเหตนุ ั้นสมเดจ็ พระนารายณ์จง่ึ ไดท้ รงรักใคร่นบั ถือเหมอื นพระราชมารดา ครั้นเมื่อสมเด็จเจา้ ฟ้านารายณ์ ได้เสดจ็ ข้ึนเถลงิ สิรริ าชสมบัติเปน็ พระเจ้าแผ่นดนิ …ทรงพระนาม ว่า พระบาทสมเดจ็ พระบรมราชา รามาธบิ ดีศรีสรรเพชญ พระนารายณ์เป็นเจา้ ๆ จึง่ ทรงต้ังหม่อมเจ้าพระ นมนางข้ึนเปน็ พระองค์เจา้ แลว้ ทรงสรา้ งวัง มีตาหนักตกึ ท่ีริมวัดดุสิดาราม นอกกาแพงพระนคร ถวายพระองค์ เจ้าพระนมนางให้เสดจ็ ประทับเป็นท่สี าราญพระทัย คร้ังน้ันคนเรียกวา่ เจา้ แมว่ ัดดสุ ิต ตามทีส่ มเดจ็ พระ นารายณ์ทรงเรยี กวา่ เจ้าแม่วัดดสุ ิต มีบตุ รมาแต่เดิมนน้ั ๒ คน เป็นชาย คนใหญช่ ่ือคุณเหลก็ คนที่ ๒ ชอ่ื คุณ ปาล ครงั้ นน้ั สมเดจ็ พระนารายณท์ รงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ตัง้ คณุ เหล็กให้เป็นเจ้าพระยาโกษาธิบดที ่ีพระคลงั เสนาบดีผู้วา่ ราชการในกรมท่า แล้วได้ว่าทส่ี มุหพระกระลาโหมด้วย เมือ่ เจา้ พระยาโกษาเหล็กถงึ แก่อสญั กรรม แล้ว พระเจา้ แผ่นดนิ จ่ึงโปรดฯ ต้ังคณุ ปาลผ้นู ้อง เป็นเจ้าพระยาโกษาธบิ ดีที่พระคลงั ทา่ นเจา้ พระยาโกษาท้ัง ๒ น้ัน เป็นเช้ือสายสบื เนือ่ งมาจากราชนิกลู เจ้าพระยาโกษาปาลถงึ แก่อสญั กรรมในแผ่นดนิ พระนารายณจ์ วนจะ สวรรคตอยู่แล้ว สมดุ จดบันทกึ ประจาวันของบรรพบรุ ุษของหม่อมหลวงมานิจ ชมุ สาย จดพระนามเดิมของเจา้ แม่ วัดดุสติ ไว้วา่ หมอ่ มเจา้ บวั แต่หนังสือเร่อื ง อศิ รางกูร พิมพ์ในงานฌาปนกจิ หม่อมหลวงปุย อิศรางกูร เม่อื พ.ศ. ๒๕๑๗ ไดใ้ ห้ขอ้ มลู ที่น่าสนใจวา่ … “…เจ้าแมว่ ดั ดุสิตจะมนี ามวา่ กระไรแน่น้ัน หลักฐานกลา่ วไวไ้ มต่ รงกนั บางแห่งกลา่ ววา่ ชอ่ื หมอ่ ม เจา้ หญงิ บัว มีเชอ้ื สายพระรว่ งสุโขทัย บางหลกั ฐานก็กล่าวว่าช่ือหม่อมเจา้ หญิงอาไพ ราชธิดาของสมเดจ็ พระ เอกาทศรถ หนงั สือเรอื่ งอิศรางกูร ไดใ้ ห้ขอ้ มูลทนี่ ่าสนใจ ว่าเจ้าแม่วัดดุสติ ทรงเปน็ พระธดิ าในสมเดจ็ เอกาทศ รทุ รอศิ วร พระองค์ที่ 1(พระราเมศวร ครองราชย์ พ.ศ.๒๑๔๘-๒๑๕๓) สอดคลอ้ งกบั หนังสอื เรือ่ ง ปฐมวงศ์

4 ฉบบั ของ ก.ศ.ร.กหุ ลาบ ทว่ี ่าเจ้าแมว่ ดั ดุสติ ทรงเป็น หม่อมเจ้าหญิงในราชนกิ ูลพระเจา้ แผ่นดนิ อนั เป็นรัชสมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง เจา้ แมว่ ดั ดุสิตไดว้ ิวาหมงคลกบั ลูกหลานคนหน่งึ ของพระยาเกียรติ ขุนนางมอญ โดยบันทึกต้องสงสยั อย่างพงศาวดารไทย จดหมายเหตเุ จ้าแม่วัดดุสิต ในสมยั กรงุ ศรีอยุทธยา ระบุ วา่ พระเจา้ แม่วัดดุสิตหรือหม่อมเจา้ บวั ทรงอภิเษกสมรสกับ หม่อมเจ้าอาไพ ซึ่งไม่ทราบว่าพระองคท์ รงเป็น พระราชวงศ์สายใด ต่อมาเจา้ แม่วดั ดสุ ติ ได้ถวายตวั เปน็ พระนมในสมเด็จพระนารายณ์ สอดคล้องกับข้อเทจ็ จรงิ จากหนงั สอื เร่ือง “โครงกระดูกในตู้” ของ ม.ร.ว.คึกฤทธ์ิ ปราโมช ซึ่งคดั มาจากหนังสอื เรื่อง “ราชนิ กิ ุลบางชา้ ง” พมิ พแ์ จกในงานฉลองพระราชสมภพครบ ๒๐๐ ปี ของพระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลัย ความว่า… “… แรกเรม่ิ เดิมที ท่าน(พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ) เกิดมาในตระกูลขนุ นางในกรงุ ศรอี ยุธยา ตระกูลของ ท่านเป็นตระกูลขนุ นางสืบต่อกนั มาหลายช่ัวอายคุ น นับแต่เจา้ พระยาโกศาปาน นกั รบและนักการทตู ผ้มู ี ชอื่ เสยี งในสมัยสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช เจ้าพระยาโกศาปานเป็นบุตรเจา้ แมว่ ัดดสุ ติ ซ่งึ เป็นพระนมของ สมเดจ็ พระนารายณ์ เจ้าแมว่ ดั ดุสติ มีศักดิเ์ ปน็ หม่อมเจา้ ในราชวงศพ์ ระมหาธรรมราชา ซ่ึงสืบเชอ้ื สายมาแต่ ราชวงศพ์ ระรว่ งสุโขทัย…” พระราชพงศาวดารฯ ฉบบั พระจกั รพรรดพิ งศ์ (จาด) กล่าวถึงเรือ่ งทพี่ ระนารายณ์ตรัสเรียกเจา้ แม่ วัดดสุ ิตว่า “พระมารดา” ไว้ในเหตกุ ารณเ์ มื่อคราวออกหลวงสรศกั ด์(ิ เดื่อ) ซ่ึงเปน็ “โอรสลับ” ของสมเดจ็ พระ นารายณ์ อนั ประสูติแตเ่ จา้ หญิงเชียงใหม่ ลแุ ก่โทษะชกปากออกญาวไิ ชเยนทร์ (คอนสแตนติน ฟอลคอน) อคั รมหาเสนาบดสี มุนายก จนฟันหัก ขณะกาลงั นัง่ ว่าราชการในพระราชวังเมืองลพบุรี แลว้ หลบหนีลงมายงั พระนครศรีอยุทธยา เพื่อทูลเชิญเจ้าแม่วัดดุสิตเสด็จขึน้ ไปช่วยทูลขอพระราชทานอภัยโทษใหก้ บั ตน พระราช พงศาวดารฯ ฉบับสมเด็จพระพนรตั น์ (แก้ว) บันทกึ ว่า… สมเด็จบรมบพิตรพระพทุ ธเจ้าอยหู่ ัว ตรสั ทราบเหตุดังน้นั แลว้ ก็มพี ระราชโองการให้หาหลวงสร ศกั ดิ์มาเฝ้า แล้วก็ดารสั บริภาษเปน็ อันมาก และเจา้ แม่ผู้เฒ่ากราบทลู ขอพระราชทานโทษ กท็ รงพระกรุณา โปรดพระราชทานให้ แลว้ ตรัสบอกประพฤตเิ หตทุ ัง้ ปวง อันหลวงสรศกั ด์ทิ าแกเ่ จ้าพระยาวชิ าเยนทร์น้ัน ให้แก่ เจา้ แม่ผ้เู ฒ่าฟังทราบทุกประการ แล้วดารัสให้ยับยั้งอยู่ ณ พระราชวงั สองสามวนั และทรงปฏบิ ัตดิ ว้ ยเคารพ เป็นอนั ดี แล้วก็อัญเชิญเสดจ็ กลับลงไปยงั กรงุ เทพมหานคร เม่ือสมเดจ็ พระนารายณ์เสด็จขึน้ เสวยราชสมบัตใิ น พ.ศ.๒๑๙๙ ก็โปรดใหส้ ถาปนาพระอิสริยยศ หมอ่ มเจ้าหญิงบวั (บางแหง่ ว่า หม่อมเจา้ หญิงอาไพ) พระนมเอกข้ึนเป็น “พระองค์เจ้าบวั ” แลว้ มรี บั สง่ั ใหส้ ร้าง พระตาหนักตกึ ที่ริมวัดดุสิตารามทางฝ่ังตะวันออกนอกกาแพงพระนครตรงคลองขา้ วสาร เพื่อถวายใหเ้ ปน็ ท่ี ประทบั สาราญพระทัย คนท่ัวไปจึงนิยมเรียกพระองคว์ ่า “เจา้ แมว่ ัดดสุ ิต” ตามคาตรสั เรียกของสมเดจ็ พระ นารายณ์ แม้การทีส่ มเด็จพระนารายณ์ตรัสเรียกเจ้าแมว่ ดั ดุสติ วา่ “พระมารดา” จะดูเปน็ เรื่องปรกติใน สงั คมไทย ท่ีมักเรยี ก “แม่นม” ของตนวา่ “แม่” ดว้ ยเชน่ กนั ดงั พบหลกั ฐานสนับสนนุ เรือ่ งนีใ้ นจดหมายเหตุ เอนเยลเบริ ต์ แกมปเ์ ฟอร์ (Engelbert Kaempfer) นายแพทยช์ าวเยอรมันประจาคณะทูตของบริษัทอสิ ต์ อินเดยี ของฮอลันดาท่ีเมอื งปัตตาเวีย เดินทางเข้ามาเจรญิ พระราชไมตรียงั ราชสานักสยามใน พ.ศ.๒๒๓๓ กลา่ วว่า “…ชาวสยามเรียกแม่นมของตน วา่ แม่ ดว้ ยเหมือนกนั และผทู้ ี่ได้รว่ มนมกันก็นบั ถอื กันเหมอื นอย่างพี่ น้อง…” พระราชพงศาวดารฯ ฉบบั ความพิสดาร ระบุว่า เจ้าแมว่ ดั ดุสิตทรงมบี ตุ ร ๒ คนด้วยกัน คือ ออกญาโกษาธิบดี (เหล็ก) และ ออกญาโกษาธบิ ดี (ปาน) จดหมายเหตุองั กฤษรายงานเร่ืองการปฏวิ ตั คิ รงั้ ใหญ่ที่

5 ลว่ งมาแล้วในกรุงสยามและการขับไลฝ่ รงั่ เศสออกนอกประเทศ เรยี กออกญาโกษาธบิ ดี (ปาน) วา่ “หมอ่ ม ปาน” เชน่ เดียวกับ “หม่อมแก้ว” พระโอรสในสมเด็จพระนารายณ์ อันประสตู ิแต่ ท้าวศรจี ุฬาลักษณ์ พระ สนมเอก ซึ่งเป็นน้องสาวของออกพระเพทราชา เจ้ากรมคชบาล แสดงวา่ พระอสิ ริยศักด์ิ “หมอ่ ม” ในสมยั ศรอี ยทุ ธยา มฐี านะเทียบเท่า “หมอ่ มเจา้ ” ในปัจจบุ ัน ส่วน “หม่อมราชวงศ์” และ “หม่อมหลวง” เพง่ิ บัญญตั ิ ขน้ึ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอย่หู ัวนเ้ี อง เจา้ แมว่ ดั ดุสิตประทบั อยู่ที่พระตาหนกั ขา้ งวดั ดสุ ิตารามตราบจนกระท่ังถงึ แก่พิราลยั ในราวเดอื นเมษายน พ.ศ. ๒๒๓๒ กอ่ นสิ้นรชั กาลสมเด็จพระนารายณ์ ประมาณ ๓ เดือน จดหมายบาทหลวงโบด(Braud) ท่ีมีไปถงึ คณะ อานวยการ ยังประเทศฝร่ังเศส เม่ือเดือนสงิ หาคม พ.ศ.๒๒๔๓ ได้ใหข้ ้อมูลสาคญั ว่า ออกญาโกษาธบิ ดี (ปาน) มีบตุ รธิดารวม ๔ คน โดยบตุ รคนโตเปน็ ผ้หู ญงิ สว่ นอกี ๓ คนทเ่ี หลือเป็นผชู้ าย “คุณทอง” เป็นบตุ รชายคนโต ของออกญาโกษาธิบดี (ปาน) ได้ถวายตัวเขา้ รับราชการในกรมพระราชวงั บวรสถานมงคล พระญาสุรศักด์ิ ใน แผน่ ดนิ สมเด็จพระรามาธบิ ดีท่ี ๗ (ออกพระเพทราชา) โดยมีบรรดาศักด์ิเปน็ พระยาอษั ฎาเรืองเดช จางวางกรม พระตารวจ ส่วนออกญาโกษาธิบดี (ปาน) ผูบ้ ดิ า ได้ถงึ แก่อสญั กรรมในเดือนมิถนุ ายน พ.ศ.๒๒๔๓ คร้ันพระญาสรุ ศกั ดเ์ิ สดจ็ ข้นึ เสวยราชสมบตั เิ ปน็ สมเดจ็ พระสรุ ศักด์ิ(พระเจ้าเสือ) แล้ว ความที่ พระยาอษั ฎาเรืองเดช (ขุนทอง) มีฐานะเปน็ เจา้ ราชนกิ ลุ และขา้ หลวงเดมิ จงึ โปรดพระราชทานบรรดาศักดิเ์ ป็น เจา้ พระยาวรวงศาธิราช เสนาบดกี ารตา่ งประเทศ เจา้ พระยาวรวงศาธิราช(ขุนทอง) มีบุตรชายคนโตนามว่า “ทองคา” ถวายตัวเข้ารบั ราชการเป็น พระนายจม่ืนมหาสนทิ หัวหมื่นมหาดเล็กในสมเดจ็ พระเจา้ ลูกยาเธอ เจา้ ฟ้าพร กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล ในแผ่นดนิ สมเด็จพระสุรศักด์ิ หรือพระเจ้าเสือ”ต่อมา พระนายจม่นื มหาสนทิ (ทองคา) อพยพครอบครัวยา้ ยไป ทาราชการอยู่ทบ่ี า้ นสะแกกรงั แขวงเมืองอทุ ัยธานี ระหวา่ งทพี่ ระนายจม่ืนมหาสนทิ (ทองคา) รับราชการอยู่ท่ี แขวงเมืองอุทัยธานี ภรยิ าของทา่ นได้ใหก้ าเนิดบุตรชายคนโตนามวา่ “ทองดี” คร้ันสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟา้ พร กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล เสด็จขึน้ เสวยราชสมบัติ เป็น พระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ ดว้ ยเหตุท่ีพระ นายจมื่นมหาสนิท(ทองคา) เป็นเจา้ ราชนิกลุ และขา้ หลวงเดิม จึงโปรดให้แต่งตง้ั เป็นพระยาราชนิกลู ปลัดทลู ฉลองในกรมมหาดไทย พระยาราชนกิ ูล(ทองคา) จงึ อพยพยา้ ยครอบครวั กลบั มาต้งั บ้านเรือนอยู่ที่ตาบลปา่ ตอง ใกลก้ บั วดั บรมพทุ ธาวาศน์ (บรมพทุ ธาวาส-วดั กระเบื้องเคลือบ จ.พระนครศรีอยธุ ยา) อันเป็นนวิ าสสถานเดมิ ของสมเดจ็ พระรามาธิบดีท่ี ๗ (ออกพระเพทราชา) เม่ือท่านทองดีมอี ายสุ มควรแก่การเขา้ รบั ราชการแล้ว พระ ยาราชนิกูล(ทองคา) นาบุตรชายเขา้ ถวายตวั ใหร้ บั ราชการ โดยให้มาช่วยเหลอื งานของตนอยู่ที่กรมมหาดไทย ภายหลงั ท่านทองดีได้รับการแตง่ ตัง้ ใหเ้ ป็นหลวงพินิจอกั ษร เสมียนตราในกรมมหาดไทย เมอ่ื หลวงพินิจอักษร (ทองดี) อายุครบ ๒๐ ปี พระยาราชนิกูล (ทองคา) จึงทาการอุปสมบทหลวงพนิ จิ อกั ษร(ทองด)ี บุตรชายเป็น พระภิกษตุ ามประเพณีนยิ ม เมื่อลาสิกขาแลว้ ไดส้ ่ขู อ “คณุ ดาวเรอื ง” หลานสาวของเจ้าพระยาอภยั ราชา อคั ร มหาเสนาบดสี มุหนายก ใหว้ วิ าหมงคลกับหลวงพนิ ิจอักษร(ทองดี) แลว้ ทา่ นทงั้ สองก็ยา้ ยมาอยยู่ งั นิวาสสถาน ของตระกูลคุณดาวเรือง ภายในกาแพงพระนครเหนือปอ้ มเพชร อยู่มาหลวงพินจิ อักษร (ทองดี) ได้รบั การ แต่งตง้ั ให้เปน็ “พระอักษรสุนทรสาสน์” เจ้ากรมเสมยี นตราในกรมมหาดไทย มหี น้าท่รี ่างพระราชสาสน์ตา่ ง ๆ ของพระเจ้าแผ่นดิน และออกสารตราสัง่ การไปยงั หัวเมืองเหนือ รวมถึงเก็บรักษาพระราชลญั จกรอนั เป็นตรา ประจาแผน่ ดิน ก่อนหนา้ กรุงพระมหานครศรีอยุทธยาจะเสียใหแ้ กก่ องทัพพมา่ ใน พ.ศ.๒๓๑๐ เพียงไมน่ าน พระอกั ษรสุนทรสาสน์ (ทองดี) ไดอ้ พยพหนภี ัยสงคราม ข้นึ ไปรบั ราชการอยู่กับเจ้าพระยาพิษณโุ ลก (เรอื ง) ซึง่

6 ตั้งตนเป็นเจา้ ก๊กพิษณโุ ลก โดยพระอักษรสุนทร (ทองดี) ได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็นเจ้าพระยาจกั รี อัครมหา เสนาบดีสมหุ นายกเมืองพษิ ณุโลก ต่อมา พ.ศ.๒๓๑๑ เจา้ พิษณโุ ลก (เรือง) ทาสงครามมีชัยชนะเหนือ สมเดจ็ พระเจ้ากรงุ ธนบุรี (พระเจา้ ตากสิน) ก็มใี จกาเรบิ จงึ ประกาศตั้งตัวเปน็ พระเจ้าแผ่นดินรับราชโองการอยู่ได้ ๗ วัน กป็ ระชวรเป็นวัณโรคขนึ้ ในคอถึงแก่พริ าลยั ส่วนเจา้ พระยาจักรี (ทองดี) ซงึ่ มิได้มีความมักใหญ่ใฝส่ ูง ได้ แอบอาศยั อยู่ ณ เมืองพิษณุโลก จนกระท่ังเมืองพิษณโุ ลกเสียให้แก่เจา้ พระฝาง (เรือน) เจ้ากก๊ เมืองสวางคบรุ ี ต่อมาไม่นาน เจ้าพระยาจักร(ี ทองดี) ก็ล้มปว่ ยดว้ ยพิษไขจ้ นถงึ แก่อสัญกรรมในเมืองพษิ ณุโลกนนั้ เอง เจา้ พระยาจักรี (ทองดี) ผนู้ ี้ คือ “สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก” หรือ “สมเดจ็ พระชนกาธบิ ดี” ใน พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลก ปฐมกษตั รยิ ์ราชวงศ์จักรี หลังจากเจ้าพระยาจักรี (ทองด้วง) ยก ทพั กลบั จากปราบขบถเมืองจาปาศักด์เิ มอื่ พ.ศ.๒๓๒๐ (หนังสอื เรื่องปฐมวงศ์ ฉบับที่ ๒ ว่า พ.ศ.๒๓๒๒) สมเดจ็ พระเจ้ากรุงธนบุรี มพี ระราชดารวิ ่า “เจา้ พระยาจักรี (ทองดว้ ง) ทาความชอบต่อแผ่นดนิ มามาก แต่ยศศักดิ์ยัง หาสมกบั ความชอบไม่ จงึ โปรดพระราชทานนามบรรดาศักด์ิเปน็ เจา้ พระยามหากษตั ริยศ์ กึ พลิ ึกมหิมา ทุกนัค ราระอาเดช นเรศรราชสรุ ิยวงศ์ องค์อคั รบาทมลุ ิกากร บวรรตั นบรนิ ายก” ภายหลังพระบาทสมเดจ็ พระจอม เกลา้ เจา้ อยูห่ ัว พระราชทานพระนามรัชกาลปฐมกษตั รยิ ร์ าชวงศ์จกั รเี สียใหม่ ในหนงั สือเรื่อง กาหนดพระนาม สมเดจ็ พระเจ้าแผน่ ดินกรงุ เทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร มหินทรายุทธยา ท้ัง ๔ รชั กาล แลพระนามกรม พระราชวงั บวรสถานมงคล แลพระนามกรมพระราชโอรสธิดาของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ๔ รชั กาล จด พระนามว่า “พระบาทสมเดจ็ พระปรโมรุราชามหาจักรบี รมนาถ นเรศวรราชววิ ัฒนวงศ์ ประถมพงศธ์ ิราชรามาธิ บดนิ ทร์ สยามวิชิตนิ ทรวโรดม บรมนาถบพิตร พระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลกย์” การที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลก ไดร้ บั พระราชทานสร้อยนามบรรดาศกั ด์ิ ว่า “นเรศรราชสรุ ิยวงศ์” และได้รบั การถวายสร้อยพระนามว่า “นเรศวรราชววิ ัฒนวงศ์” ย่อมเปน็ การแสดงวา่ พระองค์ทรงเป็นพระราชวงศ์ในสมเดจ็ พระนเรศ ซึ่งเปน็ ทรี่ ับรูก้ นั เป็นอย่างดใี นราชสานักสยามยุคนนั้ ว่า พระองค์ทรงสืบเชอ้ื สายมาจากสมเดจ็ พระนเรศ กษตั รยิ ์สมัยศรอี ยทุ ธยา ราชวงศจ์ ักรีเปน็ ประมุขของราชอาณาจกั รสยามมา ๑๐ รชั กาล เปน็ เวลาถึง ๒๓๘ ปีแลว้ การสืบ ทอดราชบัลลงั ก์เปน็ ไปตามกฎมณเฑยี รบาลและทานองคลองธรรม ไม่มกี ารช่วงชิงอานาจแมแ้ ตค่ รงั้ เดยี ว และ เป็นโชคดขี องคนไทยท่ีทุกรัชกาลทรงปกครองอาณาประชาราษฎร์ดว้ ยทศพิธราชธรรม ทรงมุ่งแต่ความเจรญิ ของประเทศชาตแิ ละความสุขของราษฎร ไมท่ รงลุ่มหลงพระราชอานาจ หรือเสวยสขุ และกดขขี่ ่มเหงราษฎร เหมอื นกษัตรยิ ใ์ นยโุ รปและของกรงุ ศรีอยธุ ยาบางพระองค์ แมใ้ นสมัยประชาธิปไตยท่ีพระมหากษัตริย์อย่ใู ต้ รัฐธรรมนูญ กย็ ังทรงตรากตราพระวรกายอยา่ งไม่รู้จักความเน็จเหนือ่ ย เพื่อความสุขของคนไทย โดย รัฐธรรมนูญมิไดก้ าหนดวา่ ต้องทา แต่ทรงทาดว้ ยพระราชหฤทยั ท่ีหว่ งใยทุกข์สุขของราษฎร จนโลกยกย่องว่า เปน็ “KING OF KING” เปน็ แบบอยา่ งกษัตริย์ของโลก ราชวงศจ์ ักรีใชส้ ัญลกั ษณเ์ ป็นรปู ตรีศลู ในวงจักร สุทรรศน์ ซง่ึ เป็นอาวุธของพระนารายณ์ เทวดาในศาสนาฮินดดู ้วยเหตผุ ลวา่ คาวา่ \"จักร\" และ ตรี\" สอดคล้อง กบั ชอื่ \"จักรี\" ของราชวงศ์ พระบรมวงศานวุ งศ์ พระบรมวงศานวุ งศ์ไทยในปจั จุบนั สืบราชสมบัติภายในราชสกลุ มหิดล ซ่งึ สบื เชือ้ สายมาจาก สมเด็จพระมหิตลาธเิ บศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนกกับสมเดจ็ พระศรีนครนิ ทราบรมราชชนนี (สงั วาลย์ ตะละภฏั ) โดยสมเด็จพระบรมราชชนกนน้ั เปน็ พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั กบั

7 สมเด็จพระศรีสวรินทริ าบรมราชเทวี พระพันวสั สาอัยยิกาเจ้า (สมเดจ็ พระนางเจา้ สว่างวัฒนา พระบรมราช เทวี) ถือเป็นพระอนุชาต่างพระมารดาในพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ ัว และพระเชษฐาตา่ งพระ มารดาในพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว หลงั การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอฐั มรามาธิบดินทร พระอนชุ าคือสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดลุ เดช (ปัจจบุ นั คือพระบาทสมเดจ็ พระมหาภูมิพลอดลุ ย เดชมหาราช บรมนาถบพิตร) จึงได้เสดจ็ ข้นึ ครองราชย์สมบัติสบื ราชสนั ตตวิ งศใ์ นวันเดียวกัน และภายหลงั ได้ ทรงประกอบพระราชพธิ รี าชาภเิ ษกสมรสกบั สมเด็จพระนางเจ้าสิรกิ ิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนพี นั ปีหลวง (หมอ่ มราชวงศส์ ริ กิ ติ ิ์ กิติยากร) พระธิดาในพระวรวงศ์เธอ กรมหมืน่ จันทบุรีสรุ นาถ (หมอ่ มเจา้ นกั ขตั รมงคล กติ ิยากร) กับหม่อมหลวงบัว กติ ิยากร (สนิทวงศ)์ มีพระราชโอรสเพียงพระองคเ์ ดียวคอื พระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกลา้ เจ้าอยู่หวั ซ่งึ ทรงราชยเ์ ปน็ พระมหากษตั ริยร์ ชั กาลปจั จบุ นั รายพระนามพระบรมวงศานวุ งศ์ พระบาทสมเด็จพระวชริ เกลา้ เจา้ อยูห่ วั และสมเดจ็ พระนางเจ้าสทุ ดิ า พชั รสธุ าพิมลลักษณ พระบรมราชนิ ี (พระมหากษัตรยิ ์รชั กาลปัจจุบนั และพระอัครมเหสี) สมเดจ็ เจา้ ฟ้าฯ กรมหลวงราชสาริณีสิริพชั ร มหาวชั รราชธิดา (พระราชธดิ าพระองค์ใหญ)่ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟา้ สิริวัณณวรี นารีรตั นราชกัญญา (พระราชธดิ าพระองค์เล็ก) สมเด็จพระเจ้าลกู ยาเธอ เจา้ ฟ้าทปี งั กรรศั มโี ชติ (พระราชโอรสพระองคเ์ ลก็ ) สมเดจ็ พระนางเจ้าสริ ิกิต์ิ พระบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง (สมเดจ็ พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง) สมเด็จพระกนษิ ฐาธิราชเจา้ กรมสมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (พระโสทรกนิษฐภคนิ ี พระองค์ใหญ)่ สมเดจ็ เจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควฒั น วรขตั ตยิ ราชนารี (พระโสทรกนษิ ฐภคนิ ีพระองคเ์ ล็ก) พระเจ้าวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จ้าสิรภิ าจุฑาภรณ์ (พระภาคไิ นย) พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคณุ (พระภาคิไนย) ทลู กระหม่อมหญงิ อบุ ลรัตนราชกญั ญา สิรวิ ฒั นาพรรณวดี (พระโสทรเชษฐภคินี; กราบถวายบงั คมลาออกจาก ฐานันดรศกั ดิ์แห่งพระราชวงศ์) พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จ้าโสมสวลี กรมหมน่ื สุทธนารีนาถ (อดีตพระวรชายา)

8 รายพระนาม ครองราชย์ ระยะเวลา พระมหากษัตรยิ ไ์ ทย ลาดับ พระบรมฉายาลกั ษณ์และพระปรมาภไิ ธย รัชกาลที่ 1 6 เมษายน พ.ศ. 2325 - 7 27 ปี 154 วนั กนั ยายน พ.ศ. 2352 พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลก มหาราช รัชกาลท่ี 2 7 กันยายน พ.ศ. 2352 - 21 14 ปี 317 วัน กรกฎาคม พ.ศ. 2367 พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั รชั กาลท่ี 3 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 - 2 26 ปี 255 วัน พระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกลา้ เจา้ อยู่หวั เมษายน พ.ศ. 2394 รัชกาลท่ี 4 2 เมษายน พ.ศ. 2394 - 1 17 ปี 182 วัน ตลุ าคม พ.ศ. 2411

9 พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รัชกาลที่ 5 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2411 - 23 42 ปี 22 วัน ตุลาคม พ.ศ. 2453 พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หัว รัชกาลท่ี 6 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 - 26 15 ปี 34 วนั พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยหู่ ัว พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 26 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2468 - 2 รชั กาลท่ี 7 มนี าคม พ.ศ. 2478 9 ปี 96 วัน พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจา้ อยู่หัว (สละราชสมบตั ิ) รัชกาลท่ี 8 2 มนี าคม พ.ศ. 2478 - 9 11 ปี 99 วัน มถิ นุ ายน พ.ศ. 2489 พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานันท มหดิ ล พระอัฐมรามาธบิ ดนิ ทร

10 รัชกาลที่ 9 9 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2489 - 13 70 ปี 126 วัน ตลุ าคม พ.ศ. 2559 พระบาทสมเด็จพระมหาภูมพิ ลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพติ ร รัชกาลท่ี 13 ตลุ าคม พ.ศ. 2559 - ปัจจุบนั 4 ปี 285 วนั 10 พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ ัว พระบรมราชินี รายพระนามสมเดจ็ พระมเหสีในพระมหากษัตรยิ ไ์ ทย ลาดับ พระฉายาลักษณ์และพระนามาภิไธย ราชาภิเษกสมรส ดารงตาแหน่ง รชั กาลท่ี 1 6 เมษายน พ.ศ. 2325 - 7 สมเด็จพระอมรนิ ทราบรมราชินี ราว พ.ศ. 2303 กันยายน พ.ศ. 2352 รัชกาลท่ี 2 (พระราชสวามีสวรรคต) 7 กันยายน พ.ศ. 2352 - 21 ราว พ.ศ. 2344 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 (พระราชสวามสี วรรคต)

11 สมเดจ็ พระศรีสุรเิ ยนทราบรมราชินี รชั กาลที่ 4 1 เมษายน พ.ศ. ราว พ.ศ. 2396 - 9 กันยายน 2394 พ.ศ. 2404 (สวรรคต) สมเดจ็ พระเทพศิรินทราบรมราชนิ ี รัชกาลท่ี 5 สมเดจ็ พระศรีพชั รินทราบรมราชินีนาถ พ.ศ. 2421 พ.ศ. 2440 - 23 ตุลาคม พ.ศ. (พระบรมราชชนนีพนั ปหี ลวง) 2453 (พระราชสวามสี วรรคต) รชั กาลที่ 6 พ.ศ. 2464 พ.ศ. 2465 - 15 กนั ยายน พ.ศ. 2468 สมเดจ็ พระนางเจ้าอินทรศักดิศจี (ลดพระอสิ ริยยศเป็นพระวรราช (พระวรราชชายา) ชายา)[16] รัชกาลท่ี 7 สงิ หาคม พ.ศ. 26 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2468 - 2 2461 มนี าคม พ.ศ. 2478 (พระราชสวามีสละราชสมบตั )ิ สมเด็จพระนางเจ้าราไพพรรณี พระบรม ราชนิ ี รชั กาลท่ี 9 28 เมษายน พ.ศ. 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 - 13 2493 ตุลาคม พ.ศ. 2559 (พระราชสวามสี วรรคต)

12 สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ ิกติ ์ิ พระบรมราชินีนาถ (พระบรมราชชนนพี ันปหี ลวง) รัชกาลท่ี 10 1 พฤษภาคม พ.ศ. 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2562 - 2562 ปจั จุบนั สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมล ลักษณ พระบรมราชนิ ี กรมพระราชวังบวรสถานมงคล รัชสมัย พระฉายาลกั ษณ์และพระ ดารงตาแหน่ง นามาภไิ ธย รัชกาลที่ 1 พ.ศ. 2325 - 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2346 (สวรรคตก่อนได้สบื ราชสมบัติ) สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสงิ หนาท พ.ศ. 2349 - 7 กนั ยายน พ.ศ. 2352 (สบื ราชสมบตั เิ ป็น พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า นภาลัย รัชกาลท่ี 2) กรมพระราชวงั บวรสถานมงคล

13 รชั กาลที่ 2 พ.ศ. 2352 - 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2360 (สวรรคตก่อนไดส้ ืบราชสมบัติ) รัชกาลที่ 3 สมเดจ็ พระบวรราชเจ้ามหาเสนานุ รกั ษ์ สมเดจ็ พระบวรราชเจ้ามหาศักดิ พ.ศ. 2367 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2375 พลเสพ (สวรรคตก่อนไดส้ บื ราชสมบัติ) รชั กาลที่ 4 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2394 - 7 มกราคม พ.ศ. 2408 (สวรรคตก่อนได้สืบราชสมบตั ิ) พระบาทสมเดจ็ พระปิ่นเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว รชั กาลที่ 5 พ.ศ. 2411 - 28 สิงหาคม พ.ศ. 2428 (ทวิ งคตกอ่ นไดส้ ืบราชสมบัต)ิ กรมพระราชวังบวรวไิ ชยชาญ

14 กรมพระราชวังบวรสถานพิมขุ รชั สมยั พระฉายาลักษณแ์ ละพระนามาภไิ ธย ดารงตาแหน่ง รัชกาลที่ 1 พ.ศ. 2328 - 20 ธนั วาคม พ.ศ. 2349 (ทิวงคตกอ่ นไดส้ ืบราชสมบัติ) สมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้ากรมพระอนุรักษ์เทเวศร์ สยามมกฎุ ราชกมุ าร ดารงตาแหน่ง รัชสมัย พระฉายาลกั ษณแ์ ละพระนามาภิไธย รัชกาลท่ี 5 14 มกราคม พ.ศ. 2429 - 4 มกราคม พ.ศ. 2437 (สวรรคตก่อนไดส้ ืบราชสมบัติ) สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจา้ ฟ้ามหาวชริ ณุ หิศ สยามมกุฎราชกมุ าร 20 มกราคม พ.ศ. 2437 - 23 ตลุ าคม พ.ศ. 2453 (สบื ราชสมบัติเปน็ พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ เกล้าเจ้าอยหู่ ัว รัชกาลที่ 6) สยามมกุฎราชกุมาร

15 รัชกาลที่ 9 28 ธันวาคม พ.ศ. 2515 - 1 ธันวาคม พ.ศ. 2559 (สบื ราชสมบัติเปน็ พระบาทสมเด็จพระวชริ เกล้า สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจ้าฟ้ามหาวชิราลง เจา้ อยหู่ วั กรณ สยามมกุฎราชกุมาร https://www.matichonacademy.com/content/article_41683 https://mgronline.com/onlinesection/detail/9630000035256 แผนผัง พระอัครพระอคั รชายา (หยก)) สมเดจ็ พระเจ้าพี่นางเธอ เจา้ ฟา้ กรมพระศรสี ดุ ารกั ษ์ สมเดจ็ พระปฐมบรมมหาชนก สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก สมเด็จพระอมรนิ ทราบรมราชินี ๑ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก มหาราช (๒๒๗๙-๒๓๒๕-๒๓๕๒) ๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หล้านภาลัย (๒๓๑๐-๒๓๕๒-๒๓๖๗)

สมเด็จพระศรีสุลาลยั ๑๖ สมเด็จพระศรีสรุ เิ ยนทรา บรมราชนิ ี ๒ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลัย สมเด็จพระป่ินเกลา้ เจา้ อยู่หวั (๒๓๕๑-๒๓๙๔-๒๔๐๘ (๒๓๑๐-๒๓๕๒-๒๓๖๗) ๓ ๔ พระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกล้าเจ้าอยหู่ ัว พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า (๒๓๓๐-๒๓๖๗-๒๓๙๔) เจ้าอยหู่ ัว (๒๓๔๗-๒๓๙๔-๒๔๑๑) สมเดจ็ พระบรมราชมาตามหัยกาเธอ กรมหม่นื มาตยาพิทกั ษ์ สมเด็จพระเทพศริ ินทราบรมราชนิ ี สมเดจ็ พระปิยมาวดี ศรีพชั รนิ ทรมาตา ๕ สมเด็จพระศรสี วรนิ ทริ าบรมราชเทวี พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว พระพนั วสั สาอยั ยิกาเจ้า (๒๓๙๖-๒๔๑๑-๒๔๕๓) สมเด็จพระศรพี ัชรินทราบรมราชินี นาถพระบรมราชชนนพี ันปีหลวง สมเด็จพระมหิตลาธเิ บศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ๖ พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว (๒๔๒๔-๒๔๕๓-๒๔๖๘) ๗ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอย่หู วั (๒๔๓๖-๒๔๖๘-๒๔๗๘-๒๔๘๔)

สมเด็จพระมหติ ลาธเิ บศร อดุลยเดชวกิ รม ๑๗ พระบรมราชชนก สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ๘ พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานันท มหดิ ล พระอัฐมรามาธิบดนิ ทร (๒๔๖๘-๒๔๗๘-๒๔๘๙) ๙ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ิติ์ พระบาทสมเด็จพระมหาภมู ิพลอดุลยเดช พระบรมราชนิ นี าถพระบรมราช ชนนพี ันปีหลวง มหาราช บรมนาถบพิตร (๒๔๗๐-๒๔๘๙-๒๕๕๙) ๑๐ พระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกล้าเจ้าอยูห่ ัว (๒๔๙๕-๒๕๕๙–)

๑๘ เครือญาติและผูเ้ ก่ยี วกับพระบรมวงศานวุ งศ์  จฑุ าวชั ร วิวชั รวงศ์ และริยา กอฟห์ (พระราชโอรสองค์ใหญ่และภรรยา)  วัชรเรศร วิวชั รวงศ์ (พระราชโอรสองค์ทส่ี อง)  จักรวี ชั ร ววิ ชั รวงศ์ (พระราชโอรสองคท์ ส่ี าม)  วชั รวีร์ ววิ ชั รวงศ์ (พระราชโอรสองคท์ สี่ ี)่  ท่านผู้หญิงพลอยไพลนิ เจนเซน และเดวดิ วลี เลอร์ (พระธิดาคนใหญ่ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราช กัญญา สิรวิ ฒั นาพรรณวดี และสาม)ี o แม็กซิมัส จุลรตั น์ วลี เลอร์ (พระนัดดาในทลู กระหมอ่ มหญงิ อุบลรัตนราชกัญญา สริ วิ ัฒนาพรรณ วดี) o ลีโอนารโ์ ด ภทั ทพงศ์ วลี เลอร์ (พระนัดดาในทลู กระหม่อมหญงิ อุบลรัตนราชกญั ญา สิริวัฒนา พรรณวดี) o อเลก็ ซานดร้า ภทั ทสุดา วีลเลอร์ (พระนัดดาในทลู กระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สริ ิวัฒนา พรรณวด)ี  ท่านผู้หญิงสิริกิตยิ า เจนเซน (พระธดิ าคนเล็กในทลู กระหม่อมหญิงอุบลรตั นราชกญั ญา สิริวัฒนาพรรณ วด)ี  ท่านผู้หญงิ ทัศนาวลัย ศรสงคราม และสินธู ศรสงคราม (พระธิดาในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจา้ ฟ้า กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครนิ ทร์ และสามี) o จทิ ัศ ศรสงคราม และเจสสิกา ศรสงคราม (พระนดั ดาในสมเด็จพระเจา้ พ่นี างเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิ วัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และภรรยา)  สุจารณิ ี ววิ ชั รวงศ์ (อดตี หมอ่ ม)  ปีเตอร์ เจนเซน (อดตี พระสวามีในทูลกระหม่อมหญงิ อุบลรัตนราชกญั ญา สิริวัฒนาพรรณวดี)  วีระยุทธ ดษิ ยะศรนิ (อดีตพระสวามใี นสมเด็จเจา้ ฟา้ ฯ กรมพระศรีสวางควฒั น วรขัตตยิ ราชนารี)  ท่านผู้หญิงศรีรัศม์ิ สวุ ะดี (อดีตพระวรชายา)