41 หนว่ ยท่ี 4 การจัดการและกําจดั วัสดุทใี่ ชแ้ ล้ว เรอื่ งที่ 1 การจดั การวัสดทุ ี่ใชแ้ ล้วดว้ ยหลัก 3R 3R เปน็ หลกั การจดั การวสั ดุทใี่ ชแ้ ล้วเพอ่ื ลดปริมาณวัสดุทใ่ี ช้แลว้ โดยใช้หลกั การ ใชน้ ้อยหรอื ลดการใช้ (Reduce) การใชซ้ ้าํ (Reuse) และการผลิตใชใ้ หม่ (Recycle) เพื่อเป็น แนวทางปฏบิ ตั ิในการลดปรมิ าณการใชว้ สั ดุในครวั เรือน โรงเรยี น และชมุ ชน ดังน้ี 1. การใช้นอ้ ยหรอื ลดการใช้ (Reduce) มวี ิธกี ารปฏบิ ตั ดิ ังน้ี 1.1 ปฏเิ สธหรอื หลกี เลยี่ งสงิ่ ของหรือ บรรจภุ ัณฑ์ทจี่ ะสรา้ งปญั หาขยะ 1.1.1 ปฏิเสธการใช้บรรจภุ ัณฑฟ์ ่มุ เฟอื ย รวมทง้ั วัสดทุ เี่ ป็นมลพิษต่อสง่ิ แวดลอ้ ม อาทเิ ชน่ กลอ่ งโฟม ถงุ พลาสติก หรอื วสั ดุมพี ิษอืน่ ๆ ภาพท่ี 4.1 สญั ลกั ษณ์ Reduce 1.1.2 หลกี เลย่ี งการเลอื กซอื้ สนิ คา้ ทม่ี า : http://demo10.rpu.ac.th หรือผลติ ภณั ฑ์ท่ใี ช้บรรจภุ ณั ฑ์ห่อหมุ้ หลายชนั้ 1.1.3 หลีกเลย่ี งการเลือกซอ้ื สินค้าชนดิ ใชค้ รงั้ เดยี ว หรอื ผลิตภณั ฑ์ที่มอี ายุ การใช้งานต่ํา 1.1.4 ไม่สนบั สนุนรา้ นคา้ ทก่ี ักเกบ็ และจาํ หน่ายสินค้าทใี่ ชบ้ รรจภุ ัณฑ์ ฟุ่มเฟอื ย และไม่มีระบบเรียกคืนบรรจภุ ณั ฑ์ใชแ้ ลว้ 1.1.5 กรณกี ารเลือกซื้อผลติ ภัณฑป์ ระจําบ้านทีใ่ ชเ้ ป็นประจํา เชน่ สบู่ ผงซกั ฟอก นํ้ายาลา้ งจาน ให้เลอื กซื้อผลติ ภณั ฑท์ ีม่ ีปริมาณบรรจมุ ากกว่า เนอื่ งจากใช้ บรรจภุ ณั ฑน์ อ้ ยกว่าเมอื่ เปรยี บเทยี บกบั หนว่ ยนํา้ หนกั ของผลติ ภัณฑ์ 1.2 เลือกใชส้ นิ ค้าที่สามารถส่งคนื บรรจภุ ณั ฑส์ ู่ผู้ผลิตได้ 1.2.1 เลอื กซอ้ื สินคา้ หรอื ใช้ผลติ ภณั ฑ์ที่มกี ารนาํ บรรจุภัณฑห์ มนุ เวยี น กลบั ไปบรรจุใหม่ เช่น เครื่องด่ืมชนดิ ขวดแกว้ 1.2.2 เลือกซอื้ สนิ คา้ หรือผลติ ภณั ฑ์ทีส่ ามารถนาํ กลบั ไปรีไซเคิลได้ หรอื มีส่วนประกอบของวสั ดุรีไซเคลิ เช่น เคร่อื งใช้ท่ีทาํ จากพลาสตกิ
42 1.2.3 เลือกซอ้ื สนิ ค้าหรือผลิตภณั ฑท์ ผ่ี ู้ผลิตเรียกคนื ซากบรรจุภณั ฑ์ หลังจากการบริโภคของประชาชน ภาพที่ 4.2 การรณรงคล์ ดใชถ้ ุงพลาสตกิ ของหน่วยงานตา่ ง ๆ ที่มา : http://www.bloggang.com 2. ใช้ซาํ้ (Reuse) ใช้ซ้ํา เป็นหน่ึงในแนวทางการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างรู้คุณค่า การใช้ซํ้าเป็นการท่ีเรานําสิ่งต่าง ๆ ที่ใช้งานไปแล้ว และยังสามารถใช้งานได้ กลับมาใช้อีก เป็น การลดการใช้ทรัพยากรใหม่ รวมทั้งเปน็ การลดปรมิ าณวสั ดทุ ่ใี ชแ้ ลว้ ที่จะเกิดขึ้นอีกด้วย ตัวอย่าง ของการใช้ซํา้ ไดแ้ ก่ 2.1 เลอื กซอื้ หรือใช้ผลติ ภัณฑ์ทีอ่ อกแบบมาให้ ใช้ไดม้ ากกวา่ 1 ครง้ั เชน่ แบตเตอร่ีประจไุ ฟฟา้ ใหม่ได้ 2.2 ซอ่ มแซมเคร่อื งใช้ และอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ใหส้ ามารถใชป้ ระโยชนต์ อ่ ไปไดอ้ กี 2.3 บํารงุ รักษาเครื่องใช้ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ภาพท่ี 4.3 สัญลักษณ์ Reuse ให้สามารถใชง้ านไดค้ งทนและยาวนานขนึ้ ทมี่ า : http://demo10.rpu.ac.th
43 2.4 นาํ บรรจุภัณฑแ์ ละวัสดุเหลือใชอ้ ื่น ๆ กลบั มาใชป้ ระโยชน์ใหม่ เชน่ การใช้ ซา้ํ ถุงพลาสติก ถุงผา้ ถงุ กระดาษ และกลอ่ งกระดาษ การใช้ซ้ําขวดน้ําดมื่ เหยอื กนม และกลอ่ ง ใส่ขนม ภาพที่ 4.4 การลดปริมาณขยะดว้ ยการใชซ้ ํ้า โดยใชแ้ ก้วนา้ํ เซรามิค หรือ แก้วใส แทนแกว้ พลาสตกิ หรอื แกว้ กระดาษเคลือบ 2.5 ยืม เชา่ หรอื ใชส้ ิ่งของหรือผลิตภณั ฑท์ ่ใี ชบ้ ่อยครั้งรว่ มกัน เชน่ หนังสอื พิมพ์ วารสาร 2.6 บริจาคหรือขายสง่ิ ของเครือ่ งใชต้ า่ ง ๆ เชน่ หนังสอื เสอ้ื ผ้า เฟอร์นเิ จอร์ และเครอื่ งมือใช้สอยอื่น ๆ 2.7 นาํ สิง่ ของมาดดั แปลงให้ใช้ประโยชน์ไดอ้ กี เช่น การนํายางรถยนตม์ าทาํ เก้าอี้ การนาํ ขวดพลาสติกมาดดั แปลงเป็นทใี่ สข่ อง แจกนั การนาํ เศษผ้ามาทาํ เปลนอน เป็นตน้ 2.8 ใชซ้ ํ้าวสั ดุสํานกั งาน เช่น การใชก้ ระดาษทั้งสองหนา้ เป็นต้น ภาพที่ 4.5 เกา้ อจ้ี ากขวดนํ้า ภาพท่ี 4.6 พรมเช็ดเท้าจากเศษผา้ ทม่ี า : http://www.oknation.net ท่ีมา : https://www.l3nr.org
44 ภาพที่ 4.7 กระถางต้นไมจ้ ากรองเท้าเกา่ ภาพท่ี 4.8 ต๊กุ ตาตกแต่งสวนจากยางรถยนตเ์ กา่ ทีม่ า : http://www.thaitambon.com ทมี่ า : http://www.jeab.com 3. การแปรรูปนาํ กลบั มาใชใ้ หม่ (Recycle) การรไี ซเคิลหรือแปรรูป กลับมาใชใ้ หม่ หมายถงึ การนําเอาวสั ดุทย่ี งั สามารถ นาํ กลบั มาใชใ้ หม่มาหมนุ เวยี นเข้าสูก่ ระบวนการผลติ ตามกระบวนการของแต่ละประเภท เพอื่ นํากลับมา ใช้ประโยชนใ์ หม่ ซ่ึงนอกจากจะเป็นการลดปรมิ าณ ภาพที่ 4.9 สญั ลักษณ์ Recycle วสั ดุท่ใี ช้แล้ว ยังเป็นการลดการใชพ้ ลังงานและ ที่มา : http://demo10.rpu.ac.th ลดมลพิษท่ีเกิดกับส่ิงแวดล้อม วัสดุรีไซเคิล โดยทั่วไป แยกได้เป็น 4 ประเภท คือ แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะและอโลหะ ส่วนบรรจุภัณฑ์บางประเภทอาจจะใช้ซํ้าไม่ได้ เช่น กระป๋องอลูมิเนียม หนังสือเก่า ขวดพลาสติก ซ่ึงแทนท่ีจะนําไปทิ้ง ก็รวบรวมนํามาขายให้กับ รา้ นรบั ซ้ือของเก่า เพ่อื ส่งไปยังโรงงานแปรรูป เพือ่ นาํ ไปผลติ เปน็ ผลติ ภัณฑต์ า่ ง ๆ ดังน้ี 1) นําขวดพลาสติก มาหลอมเป็นเมด็ พลาสตกิ 2) นาํ กระดาษใชแ้ ล้วแปรรปู เปน็ เยอ่ื กระดาษ เพือ่ นําไปเป็นสว่ นผสมในการผลติ เปน็ กระดาษใหม่ 3) นําเศษแกว้ เกา่ มาหลอม เพือ่ ขึน้ รปู เปน็ ขวดแกว้ ใบใหม่ 4) นาํ เศษอลมู ิเนยี มมาหลอมขนึ้ รปู เป็นแผน่ นํามาผลติ เปน็ ผลิตภัณฑอ์ ลมู เิ นียม รวมทงั้ กระปอ๋ งอลมู ิเนยี ม
45 ภาพที่ 4.10 การแปรรปู ผลิตภณั ฑน์ าํ กลับมาใช้ใหม่ ทมี่ า : http://www.bantub.go.th กล่าวโดยสรุป 3R เป็นหลักการจัดการวัสดุท่ีใช้แล้ว เพ่ือลดปริมาณวัสดุท่ีใช้แล้ว ในครวั เรือน โรงเรียน และชมุ ชน หากทกุ คนมสี ว่ นร่วมในการช่วยลดปรมิ าณวัสดทุ ใ่ี ชแ้ ล้ว โดย เร่ิมท่ีคนในครอบครัว และชักชวนไปสู่ชุมชน หมู่บ้าน และสถานท่ีทํางาน ปัญหาที่เกิดจาการใช้ วัสดุจนล้นเมอื งก็จะลดนอ้ ยลง ชุมชนและสงั คม มีสงิ่ แวดลอ้ มทดี่ ี และนา่ อยู่ยงิ่ ขน้ึ
46 เรอื่ งท่ี 2 การกาํ จัดและการทําลาย ปัญหาที่เกิดข้ึนจากวัสดุท่ีใช้แล้วในปัจจุบัน เป็นสาเหตุสําคัญที่ทุกฝ่ายควรให้ ความสําคัญและร่วมมือกันแก้ไข เพราะเป็นปัญหาท่ีเกิดข้ึนในชุมชนทุกระดับ และนับวันจะทวี ความรุนแรงมากยิ่งข้ึน ทั้งนี้เน่ืองจากความเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ การเพิ่มขึ้นของ จํานวนประชากร ตลอดจนพฤตกิ รรมการอุปโภคบริโภคของคนเราเริ่มเปลี่ยนไป จากเดิมที่เคย ใช้ตะกร้าเวลาไปจ่ายตลาด ใช้ใบตองซึ่งเป็นวัสดุท่ีย่อยสลายได้ง่ายห่ออาหาร แต่ปัจจุบันมีการ ใชส้ นิ ค้าที่มบี รรจภุ ณั ฑจ์ าํ พวกพลาสติก โฟม แก้ว กระดาษ โลหะ อลูมิเนยี ม เพิ่มขึ้นเรอ่ื ย ๆ ทําให้ปรมิ าณวสั ดุท่ีถูกใช้เพมิ่ ขึ้นตามไปดว้ ย 2.1 ระยะเวลาการย่อยสลายของวสั ดุ วสั ดแุ ต่ละชนดิ ท่ยี ่อยสลายไดจ้ ะมอี ตั ราเรว็ ในการย่อยสลายต่างกัน วสั ดุ บางชนิดมีอัตราเรว็ ของการยอ่ ยสลายตํ่ามาก สามารถยอ่ ยสลายได้เองตามธรรมชาติ แตว่ สั ดุ บางชนิด เชน่ แกว้ ก็ไม่สามารถย่อยสลายได้ อัตราเร็วของการย่อยสลายของขยะแต่ละชนิดมีความ แตกตา่ งกัน ดงั น้ี วสั ดุ ประเภท ระยะเวลา ผลิตภัณฑ์ การยอ่ ยสลาย วัสดธุ รรมชาติ 5 วนั – 1 เดอื น เศษพชื ผัก วสั ดุธรรมชาติ 3 เดือน ใบไหม้
47 วสั ดุ ประเภท ระยะเวลา ผลติ ภัณฑ์ การยอ่ ยสลาย วสั ดุธรรมชาติ 1 - 5 เดอื น ผ้าฝ้าย วสั ดุสังเคราะห์ 2 - 5 เดอื น เศษกระดาษ วัสดธุ รรมชาติ 6 เดือน เปลอื กส้ม วัสดุสังเคราะห์ 1 ปี ผ้าขนสัตว์ 5 ปี วสั ดสุ ังเคราะห์ กลอ่ งนมเคลอื บพลาสตกิ
48 วสั ดุ ประเภท ระยะเวลา ผลติ ภัณฑ์ การยอ่ ยสลาย วสั ดสุ ังเคราะห์ 3 - 14 เดือน เชอื ก วัสดุธรรมชาติ 13 ปี ไม้ วัสดุสงั เคราะห์ 12 - 15 ปี ก้นกรองบหุ รี่ วัสดสุ ังเคราะห์ 25 - 40 ปี รองเท้าหนงั วัสดสุ งั เคราะห์ 80 - 100 ปี กระปอ๋ งอลูมิเนียม
49 วสั ดุ ประเภท ระยะเวลา ผลติ ภัณฑ์ การยอ่ ยสลาย วัสดุสังเคราะห์ 100 ปี กระปอ๋ งโลหะ ถุงพลาสตกิ วสั ดุสงั เคราะห์ 450 ปี วสั ดสุ งั เคราะห์ 450 ปี ขวดพลาสตกิ วัสดุสังเคราะห์ 500 ปี ไมย่ อ่ ยสลาย ผา้ ออ้ มเด็กชนดิ สาํ เรจ็ รปู วัสดุสังเคราะห์ โฟม
50 วัสดุ ประเภท ระยะเวลา ผลติ ภัณฑ์ การยอ่ ยสลาย วสั ดสุ ังเคราะห์ ไม่มีการเปลย่ี นแปลง ขวดแก้ว ภาพที่ 4.11 แสดงระยะเวลาในการย่อยสลายขยะแต่ละประเภท 2.2 การกําจัดวสั ดุทีใ่ ชแ้ ลว้ วิธีการกําจัดวัสดุที่ใช้แล้วท่ีใช้ต่อเนื่องกันมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีหลาย วิธี เช่น นําไปกองทิ้งบนพ้ืนดิน นําไปท้ิงลงทะเล เผากลางแจ้ง เผาในเตาเผาและฝังกลบ อย่างถูกหลักสุขาภิบาล เป็นต้น การกําจัดวัสดุดังที่กล่าวมาน้ันบางวิธีเป็นการกําจัดท่ีไม่ถูกต้อง ทําให้เกิดภาวะเป็นพิษต่อสภาพแวดล้อม และมีผลกระทบต่อสุขภาพ ดังนั้นก่อนจะเลือกใช้วิธี ใดต้องศกึ ษารปู แบบทเ่ี หมาะสม วธิ ีการกําจดั วสั ดุที่ใชแ้ ล้วท่ถี กู หลกั วชิ าการ ควรมลี กั ษณะดังต่อไปน้ี (1) ไม่ทําใหบ้ รเิ วณทกี่ าํ จดั วสั ดทุ ใี่ ช้แล้วเป็นแหล่งอาหาร แหลง่ เพาะพันธุ์ สัตวแ์ ละแมลงนาํ โรค เชน่ แมลงวนั ยงุ และแมลงสาบ เป็นต้น (2) ไมท่ ําใหเ้ กดิ การปนเปอื้ นแกแ่ หล่งน้ําและพืน้ ดิน (3) ไมท่ ําใหเ้ กดิ มลพษิ ต่อสงิ่ แวดล้อม (4) ไม่เปน็ สาเหตแุ หง่ ความราํ คาญ อนั เนือ่ งมาจาก กลน่ิ ควัน ทัศนวิสยั และ ฝ่นุ ละออง
51 วธิ กี ารกองทิง้ บนดิน การนาํ ไปท้งิ ทะเล รวมท้ังการเผากลางแจ้ง ถือว่าเป็น วิธีการกําจัดขยะวัสดุที่ใช้แล้วท่ีไม่ถูกต้อง เพราะทําให้เกิดปัญหาภาวะมลพิษต่อสภาพแวดล้อม วิธีการกําจดั วสั ดทุ ่ถี กู ตอ้ งตามหลกั สขุ าภิบาล คอื การเผาในเตาเผา และการฝงั กลบ ภาพที่ 4.12 การเกบ็ ขนวสั ดทุ ีใ่ ชแ้ ลว้ ทมี่ า : คู่มือการกําจดั ขยะมูลฝอย แบบฝังกลบอยา่ งถกู สุขาภบิ าล กรมควบคุมมลพษิ หน้า 3,9 2.2.1 การเผา การเผาสามารถทําลายวัสดุได้เกือบทุกชนิด เตาเผามีหลายชนิดขึ้นอยู่กับ ลักษณะของวัสดุ ถ้าเป็นวัสดุประเภทท่ีติดไฟง่าย สามารถใช้เตาเผาชนิดที่ไม่ต้องใช้เช้ือเพลิง ช่วย แต่ถ้าวัสดุมีความชื้นมากกว่าร้อยละ 50 เตาเผาต้องเป็นชนิดที่ใช้เช้ือเพลิงจําพวกนํ้ามัน เตา ช่วยในการเผาไหม้ การเผาในเตาเผาใช้เน้ือท่ีน้อย ส่วนท่ีเหลือจากการเผาไหม้ เช่น ขี้เถ้า สามารถนาํ ไปใช้ถมที่ดนิ หรือใชป้ ระโยชนอ์ ย่างอืน่ ได้ การกําจัดวสั ดทุ ่ใี ชแ้ ลว้ ดว้ ยการเผา สามารถแบง่ ออกเปน็ 2 กล่มุ ใหญ่ คอื 1. วัสดุที่ใช้แล้วท่ีเผาไหม้ได้ ได้แก่ กระดาษ ผ้าหรือสิ่งทอ ผัก ผลไม้ เศษอาหาร พลาสติก หญา้ และไม้ 2. วัสดุที่ใช้แล้วท่ีเผาไหม้ไม่ได้ ได้แก่ เหล็กหรือโลหะอื่น ๆ แก้ว หิน กระเบ้อื ง เปลือกหอย ฯลฯ
52 การกําจัดวสั ดทุ ใี่ ช้แล้วโดยใช้เตาเผา เป็นการทําลายวัสดุท่ีใช้แล้วด้วยวิธีการเผาทําลายในเตาเผาที่ได้รับการ ออกแบบก่อสร้างที่ถูกต้องและเหมาะสม โดยต้องให้มีอุณหภูมิในการเผาท่ี 850 - 1,200 องศา เซลเซียส เพื่อให้การทําลายท่ีสมบูรณ์ท่ีสุด เน่ืองจากความแตกต่างและลักษณะของ องค์ประกอบของวัสดุแต่ละชนดิ ดังน้ัน รปู แบบของเตาเผาจึงแตกตา่ งกนั ไปด้วย เป็นต้นวา่ ถ้าชุมชนท่ีมีวัสดุท่ีใช้แล้วซึ่งส่วนใหญ่เป็นชนิดที่เผาไหม้ได้ง่าย เตาเผาอาจใช้ชนิดท่ีไม่ต้องใช้ เชื้อเพลิงอย่างอ่ืนช่วยในการเผาไหม้ แต่ถ้าองค์ประกอบของวัสดุมีส่วนท่ีเผาไหม้ได้ง่ายต่ํากว่า ร้อยละ 30 (โดยน้ําหนัก) หรอื มีความช้นื มากกวา่ รอ้ ยละ 50 เตาเผาที่ใชต้ อ้ งเปน็ ชนดิ ท่ตี ้อง มเี ชอื้ เพลงิ ชว่ ยในการเผาไหม้ นอกจากน้ีเตาเผาทุกแบบ จะต้องมีกระบวนการควบคุมอุณหภูมิ ควัน ไอเสีย ฝุ่นผงและขี้เถ้า ที่อาจปนออกไปกับควันและปลิวออกมาทางปล่องควัน เตาเผาท่ีมี ประสิทธิภาพจะต้องลดปริมาณของวัสดุที่ใช้แล้วลงไปจากเดิมให้มีเหลือน้อยที่สุด และส่วนท่ี เหลือจากการเผาไหม้นั้นก็จะต้องมีลักษณะคงรูป ไม่มีการย่อยสลายได้อีกต่อไป และสามารถ นําไปใช้ประโยชน์ได้อย่างปลอดภยั ข้อดขี องการกาํ จดั วสั ดุทใ่ี ชแ้ ลว้ โดยใช้เตาเผา 1. ใชพ้ ื้นท่ดี นิ นอ้ ย เมอ่ื เทียบกบั วธิ ฝี ังกลบ 2. สามารถทําลายขยะมูลฝอยไดเ้ กือบทุกชนดิ 3. สามารถสร้างเตาเผาในพ้ืนทท่ี ไ่ี ม่หา่ งไกลจากแหล่งกําเนดิ ขยะ ทําให้ประหยดั คา่ ขนสง่ 4. ไมม่ ีผลกระทบจากการเปลย่ี นแปลงสภาพอากาศ 5. สว่ นท่ีเหลอื จากการเผาไหม้ (ขเี้ ถ้า) สามารถนําไปถมท่ีดนิ ได้ หรอื ทาํ วสั ดุกอ่ สร้างได้
ค่อนขา้ งสูง 53 ข้อเสียของการกาํ จัดวสั ดทุ ใ่ี ชแ้ ล้วโดยใช้เตาเผา 1. คา่ ลงทนุ ในการก่อสรา้ งและค่าใชจ้ า่ ยในการซอ่ มแซม บาํ รงุ รักษา 2. อาจเกดิ ปัญหาภาวะมลพษิ ทางอากาศได้ ภาพที่ 4.13 ระบบการเผาในเตาเผา ทีม่ า : http://www.pcd.go.th 2.2.2 การฝังกลบ การกําจัดวัสดุที่ใช้แล้วโดยการฝังกลบ เป็นการนําวัสดุที่ใช้แล้วมาเทลง ในพื้นที่ ท่ีเตรียมเอาไว้ ซึ่งจะมีการวางระบบต่าง ๆ เพื่อป้องกันมิให้มีการปลดปล่อยมลสาร ต่าง ๆ ออกสู่ภายนอก แล้วใช้เคร่ืองจักรกลเกล่ียและบดอัดให้ยุบตัวลง หลังจากนั้นใช้ดินกลบ ทับและบดอัดให้แน่นอีกครั้งหน่ึงจนเต็มพื้นที่ เพ่ือป้องกันปัญหาด้านกลิ่น แมลง สัตว์ พาหะ น้าํ ฝนชะล้างและเหตรุ ําคาญอื่น ๆ วธิ ีการฝังกลบวสั ดุที่ใชแ้ ลว้ มี 3 วิธี คอื 1. วธิ ฝี ังกลบแบบพน้ื ราบ เปน็ วิธีการฝงั กลบทเี่ รม่ิ จากระดับดินเดมิ โดยไม่มีการขุดดนิ ทาํ การบด อดั วัสดตุ ามแนวราบกอ่ น แลว้ ค่อยบดอดั ทับในชัน้ ถดั ไปสูงข้ึนเรือ่ ย ๆ จนได้ระดบั ตามที่กําหนด การฝงั กลบวัสดทุ ่ีใชแ้ ลว้ โดยวธิ นี ีจ้ ําเปน็ ตอ้ งทําคันดนิ ตามแนวขอบพนื้ ที่ เพือ่ ทาํ หนา้ ทเ่ี ปน็ ผนัง หรอื ขอบยนั การบดอดั และทําหนา้ ท่ปี อ้ งกนั นาํ้ เสยี ท่ีเกดิ จากการยอ่ ยสลายของวสั ดุเพื่อไม่ใหซ้ มึ ออกมาด้านนอก ลักษณะของพ้นื ที่ ที่จําเป็นตอ้ งใช้วธิ ีนี้ คอื ทร่ี าบลุม่ หรอื ที่ ทม่ี ีระดับนา้ํ ใตด้ นิ อยู่ตาํ่ กวา่ ผวิ เล็กน้อย (ไม่เกนิ 1 เมตร) ซงึ่ ไม่สามารถขุดดินเพอื่ กําจัดดว้ ยวธิ ีฝงั กลบแบบขุดร่อง
54 ได้เพราะอาจทําให้เกดิ การปนเป้อื น ของนา้ํ เสยี จากวัสดุทใี่ ชแ้ ล้วลงส่นู า้ํ ใตด้ นิ ไดง้ า่ ย การกาํ จัดดว้ ยวธิ นี จ้ี ําเป็นต้อง จดั หาดนิ จากที่อนื่ เพ่ือมาทําคันดนิ ทําให้ เสียค่าใชจ้ ่ายในการดําเนนิ การสูงขนึ้ ภาพท่ี 4.14 วิธฝี งั กลบแบบพ้นื ราบ ทมี่ า : คมู่ ือการกําจดั ขยะมลู ฝอย แบบฝงั กลบ อยา่ งถกู หลักสขุ าภิบาล กรมควบคุมมลพษิ หน้า 6 2. วิธีฝงั กลบแบบขดุ เปน็ รอ่ ง เป็นวธิ ฝี ังกลบทเี่ รม่ิ จากระดับที่ต่ํากว่าระดับดินเดิมโดยทําการขุดดิน ลกึ ลงไปให้ไดร้ ะดบั ตามท่กี ําหนด แล้วจงึ เรมิ่ บดอดั ให้เป็นชน้ั บาง ๆ ทบั กนั หนาข้นึ เรื่อย ๆ จนได้ระดับตามที่กําหนด โดยทั่วไปความลึก ของการขดุ ร่อง จะถูกกาํ หนดด้วยระดบั นํา้ ใตด้ นิ ไม่น้อยกวา่ 1 เมตร โดยยึดระดบั นาํ้ ในฤดฝู นเปน็ เกณฑ์ เพื่อปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ กดิ การปนเป้อื นต่อน้ําใต้ดิน การฝงั กลบแบบขุด เป็นร่องไม่จําเป็นต้องทําคันดิน เพราะสามารถ ใชผ้ นงั ของร่องขุดเป็นกําแพงยันวัสดทุ จ่ี ะ บดอัดได้ ทาํ ให้ไมต่ ้องขนดินมาจากด้านนอก ภาพท่ี 4.15 วธิ ฝี ังกลบแบบขุดร่อง และยังสามารถใช้ดนิ ที่ขดุ ออกแลว้ น้นั กลบั มา ใช้กลบทบั ไดอ้ กี ท่ีมา : คมู่ อื การกาํ จดั ขยะมลู ฝอย แบบฝงั กลบ อยา่ งถกู หลักสขุ าภบิ าล กรมควบคมุ มลพิษ หนา้ 7
55 3. วิธีฝงั กลบแบบหุบเขา เป็นวิธีการฝังกลบบนพ้ืนท่ีที่มีลักษณะเป็นแอ่งขนาดใหญ่ ซ่ึงอาจ เกิดข้ึนตามธรรมชาติหรืออาจเกิดจากการขุด เช่น หุบเขา ห้วย บ่อ เหมืองฯลฯ วิธีการในการฝังกลบ และอัดวัสดุในบ่อแต่ละแห่งอาจแตกต่างกันไป ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับสภาพภูมิประเทศของพื้นที่น้ัน ๆ เช่น ถ้าพื้นท่ีของบ่อมีขนาดค่อนข้างราบ อาจใช้ วิธีการฝังกลบแบบขุดร่องหรือแบบท่ีราบแล้วแต่ กรณี ภาพท่ี 4.16 วิธีฝงั กลบแบบหบุ เขา ท่ีมา : คมู่ ือการกาํ จัดขยะมูลฝอย แบบฝังกลบ อยา่ งถูกหลกั สขุ าภบิ าล กรมควบคุมมลพษิ ขอ้ ดขี องวธิ กี ารฝังกลบ หนา้ 7 1. เป็นระบบทไี่ ม่ย่งุ ยากซบั ซอ้ น 2. ระบบมีความยดื หย่นุ ดี กรณที เ่ี กดิ ปัญหาสามารถแกป้ ัญหาไดท้ ันทว่ งที ไม่เกิดปญั หาวัสดุท่ีใชแ้ ล้วตกค้าง 3. ไม่มีเศษเหลือตกคา้ งท่ีจะตอ้ งนําไปกาํ จัดต่อไป 4. สามารถกําจัดวัสดุได้ทุกประเภท ทุกขนาด ยกเว้นของเสียอันตรายและ ของเสยี ตดิ เชอ้ื 5. เม่ือทําการฝังกลบเต็มพ้ืนท่ีแล้ว สามารถปรับปรุงพ้ืนที่เดิมเพ่ือทําเป็น สวนสาธารณะ สนามกฬี า 6. ก๊าซท่ีเกดิ จากการฝังกลบสามารถพัฒนาไปใชเ้ ปน็ เชื้อเพลิงในการผลติ กระแสไฟฟา้ และอ่ืน ๆ ได้
56 ข้อเสยี ของวิธกี ารฝงั กลบ 1. ตอ้ งการพ้นื ทฝ่ี งั กลบขนาดใหญ่ ทําใหป้ ระสบปญั หาในการจัดหาพื้นที่ 2. อยหู่ ่างไกลชมุ ชน ทาํ ให้ตอ้ งเสยี คา่ ใช้จา่ ยในการขนส่งสูง 3. จําเป็นตอ้ งใชด้ ินกลบทับจํานวนมาก 4. ในช่วงฤดูฝนอาจมปี ญั หาอปุ สรรคในการดาํ เนนิ งานและไม่สามารถทําการ ฝงั กลบได้อยา่ งต่อเน่ือง 5. อาจก่อใหเ้ กิดปญั หาแมลงวนั และกลิ่นเหม็น หากดําเนินการฝังกลบ ไม่ถูกตอ้ งตามหลกั สขุ าภบิ าล ภาพท่ี 4.17 วิธฝี งั กลบจาํ เป็นต้องการพื้นท่ฝี งั กลบขนาดใหญ่ ทีม่ า : คมู่ ือการกําจดั ขยะมูลฝอย แบบฝังกลบอย่างถูกหลักสขุ าภิบาล กรมควบคมุ มลพิษ หนา้ 14 กล่าวโดยสรปุ ปัญหาท่ีเกดิ ขึน้ จากการใชว้ ัสดใุ นปัจจบุ นั เป็นสาเหตุสําคัญท่ีทําให้มี ปรมิ าณวสั ดุทีใ่ ชแ้ ล้วเพม่ิ มากข้นึ ทั้งนีเ้ น่อื งจากความเจริญเตบิ โตทางด้านเศรษฐกจิ การเพ่ิมข้ึน ของจํานวนประชากร ตลอดจนกระบวนการผลิตและความต้องการในการบริโภคในสังคม ปจั จุบนั เปลย่ี นแปลงไป การกําจดั วัสดทุ ใี่ ช้แล้ว มีหลายวิธี แต่วธิ ีการกาํ จดั ขยะวสั ดุท่ใี ชแ้ ล้วท่ถี ูก หลักสขุ าภบิ าล และเป็นทย่ี อมรบั ว่าเป็นวธิ ีกําจดั ทีถ่ กู ต้อง คอื การเผาในเตาเผาและการฝังกลบ
57 กิจกรรมท้ายหนว่ ยท่ี 4 หลงั จากทผ่ี ู้เรยี นศกึ ษาเอกสารชดุ การเรยี นหน่วยท่ี 4 จบแลว้ ให้ศกึ ษาคน้ ควา้ เพ่ิมเตมิ จากแหลง่ เรียนรตู้ า่ ง ๆ แลว้ ทาํ กิจกรรมการเรยี นหนว่ ยท่ี 4 ในสมดุ บนั ทกึ กจิ กรรม การเรยี นรู้ แล้วจดั ส่งตามท่ีครผู ้สู อนกําหนด
58 บรรณานกุ รม กรมควบคมุ มลพษิ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม. (2552). คูม่ ือ การกาํ จัดขยะมลู ฝอย แบบฝงั กลบอย่างถกู หลกั สุขาภิบาล. (ม.ป.พ.). กรมควบคมุ มลพษิ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม. (2547). การจดั การ ขยะมลู ฝอยชุมชนอย่างครบวงจร คมู่ ือสําหรับผู้บรหิ ารองค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถิ่น (พิมพ์ครงั้ ท่ี 4). กรุงเทพฯ : คุรสุ ภาลาดพรา้ ว. กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม. (2547). คู่มอื การกําจดั ขยะมูลฝอย แบบฝงั กลบอยา่ งถกู หลกั สขุ าภิบาล. (ม.ป.พ.). กรมสง่ เสรมิ คุณภาพสิง่ แวดล้อม คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตรม์ หาวิทยาลัยมหิดล. (2558). คู่มือการประเมนิ สาํ นกั งานสเี ขียว กรมสง่ เสริมคณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ ม. (ม.ป.พ.). สมพงศ์ จนั ทรโ์ พธศ์ิ ร.ี (2558). คู่มอื เตรียมสอบวทิ ยาศาสตร์ ป. 4-4-6. กรงุ เทพฯ : เจา้ พระยาระบบการพมิ พจ์ าํ กัด. นฤมล พ่วงประสงค.์ (2553). ค่มู อื ขยันก่อนสอบ วิทยาศาสตร์ ป. 3. กรงุ เทพฯ : แม็ค จาํ กัด. วรรณทิพา รอดแรงค้า และคณะ. (2559). หนงั สือเรยี น รายวิชาพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 5. กรุงเทพฯ : บรษิ ัทพฒั นาคุณภาพวิชาการ (พว.) จํากัด. สถาบนั ส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2554). หนังสอื เรียนรายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 5. กรงุ เทพฯ : สกสค.ลาดพรา้ ว. สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (2559). หนงั สือเรียนรายวชิ าพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 (พิมพ์คร้งั ท่ี 2). กรงุ เทพฯ : สกสค.ลาดพร้าว. สํานกั งานทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มจังหวดั อุบลราชธานี. (2559). คมู่ ือ ศนู ย์สาธติ การจัดการขยะเหลอื ศนู ย์ (Zero Waste) จังหวัดอุบลราชธานี. อบุ ลราชธานี : หจก.วแี คน เซอร์วิส เอ็กซเ์ พรส.
59 สํานกั ส่ิงแวดลอ้ ม กรุงเทพมหานคร. (2556). คมู่ อื การคัดแยกขยะอนั ตรายสําหรับ เยาวชน. กรงุ เทพฯ. สินธธ์ุ ู ลยารมภ.์ (2558). หนงั สือ เจาะลึกเนอื้ หา วทิ ยาศาสตร์ ป.3. กรุงเทพฯ : เจา้ พระยาระบบการพมิ พ์จาํ กัด.
60 แหลง่ อา้ งอิงออนไลน์ กรมควบคมุ มลพิษ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม. การจดั การขยะมูลฝอย ชมุ ชน. เขา้ ถึงได้จาก : http://www.pcd.go.th/info_serv/waste_ garbage.html. (วนั ท่ีคน้ ขอ้ มลู : 15 กุมภาพนั ธ์ 2560). กรมควบคมุ มลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม. ความรดู้ า้ น 3R. เข้าถงึ ได้จาก : http://www.pcd.go.th/info_serv/waste_3R.htm. (วนั ทค่ี ้นขอ้ มูล : 15 กุมภาพันธ์ 2560). กรมควบคมุ มลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม. ปัญหาสง่ิ แวดล้อมจากขยะ มลู ฝอย. เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://www.pcd.go.th/info_serv/waste_rubbish.htm . (วันที่คน้ ขอ้ มลู : 15 กุมภาพันธ์ 2560). เกรียงไกร ภสู อดสี. วัสดแุ ละสมบตั ิวสั ด.ุ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://www.krootonwich.com/ data-3801.html. (วันทคี่ น้ ข้อมูล : 8 กมุ ภาพันธ์ 2560). โครงการสารานกุ รมไทยสาํ หรับเยาวชน. การเกบ็ และกาํ จัดขยะมูลฝอย เล่มท่ี 15. เข้าถงึ ได้จาก : http://www.kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?Book =15&chap=8&page=t15-8-infodetail05.html. (วนั ทค่ี น้ ข้อมลู : 15 กุมภาพนั ธ์ 2560). จารุณี ธรรมขนั . ชดุ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ ชุดที่ 1 เร่ือง สมบัตดิ ้านความยดื หยนุ่ ของวสั ด.ุ เข้าถึงได้จาก : http://www.vcharkarn.com/uploads/journal/5/ vcharkarn-journal-5850_1.pdf. (วนั ท่คี น้ ข้อมูล : 8 กุมภาพนั ธ์ 2560). นันท์นภัท เชาวลกั ษณ.์ ชดุ การสอนวทิ ยาศาสตร์ เรื่อง วัสดุและสมบตั ขิ องวสั ดุ เลม่ ที่ 1 วัสดุในชวี ติ ประจาํ วัน. เขา้ ถงึ ได้จาก : http://www.kroobannok.com/ news_file/p35979871915.pdf. (วนั ทีค่ น้ ขอ้ มลู : 9 กมุ ภาพนั ธ์ 2560). บริษัท เอน็ พีซี เซฟต้ี แอนด์ เอ็นไวรอนเมนทอล เซอรว์ สิ จํากดั . ผลกระทบจากขยะมลู ฝอย ต่อส่งิ แวดลอ้ ม. เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://www.npc-se.co.th/knowledge_ center/npc_knowledge_detail.asp?id_head=3&id_sub=25&id=667. (วันท่ี ค้นขอ้ มูล : 10 กมุ ภาพนั ธ์ 2560).
61 แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 30 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร.์ (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก http://202.143.157.5/e_activity/newsfile/3741/1370397891.pdf. (วันที่ ค้นข้อมลู : 8 กุมภาพันธ์ 2560). โรสมาเรยี ม ราฮมิ มูลา. ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เรอื่ ง วัสดแุ ละสมบัตขิ องวัสดุ เล่มท่ี 1 วัสดใุ นชวี ติ ประจําวัน. เขา้ ถึงได้จาก : http://www.kroobannok.com/74227 วิทยาศาสตร์ ป.5 เร่ือง วสั ดใุ นชวี ติ ประจําวนั . (ม.ป.ป.). เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://118.174. 133.140/resource_center5/Admin/acrobat/v_2_sc_sc_279.pdf. (วนั ที่คน้ ข้อมูล : 7 กมุ ภาพันธ์ 2560). สถาบันส่งเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. หนงั สอื เรยี น อิเล็กทรอนกิ ส์ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร.์ เข้าถึงไดจ้ าก : http://www.scimath.org/ebooks. (วนั ทค่ี น้ ข้อมูล : 10 กมุ ภาพันธ์ 2560). สลิลนา ศรีสขุ ศริ พิ นั ธ.์ ศาสตร์คอื อะไร. เข้าถงึ ไดจ้ าก : https://www.gotoknow. org/posts/461639 (วันที่คน้ ขอ้ มลู : 7 กุมภาพันธ์ 2560). อรุณี ชัยพชิ ติ . หน่วยท่ี 4 เรือ่ งท่ี 2 การเลอื กใชส้ ง่ิ ของเครือ่ งใช้อยา่ งสรา้ งสรรค.์ เข้าถึง ไดจ้ าก : https://www.kruneedesign.wordpress.com/2014/04/17/. (วนั ท่ี ค้นขอ้ มลู : 10 กุมภาพันธ์ 2560). เอเวอร์เรสต.์ ระยะเวลาในการยอ่ ยสลายของวสั ดุแต่ละประเภท. เข้าถึงไดจ้ าก : http://group.wunjun.com/thisiskhaosuankwang/topic/141682-3441. (วนั ทีค่ ้นขอ้ มลู : 10 กุมภาพันธ์ 2560). chinchar. ความหมายของวัสดุ. เขา้ ถงึ ได้จาก : http://www.chinchar-2.blogspot. com/2009/06/blog-post_10.html. (วันทคี่ ้นข้อมูล : 7 กุมภาพันธ์ 2560). Janjarus Srisomboon. วสั ดุศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. เขา้ ถึงไดจ้ าก: https://www.preat55janjarus.wordpress.com/2013/01/23/. (วนั ทคี่ น้ ข้อมลู : 7 กมุ ภาพนั ธ์ 2560). Tawee khemakapasiddhi. การนําไฟฟ้าของวสั ดุ วทิ ยาศาสตร์ ป.5. เข้าถึงได้จาก : https://www.youtube.com/watch?v=xUI5Dxwk1xM. (วนั ที่ค้นข้อมูล : 8 กมุ ภาพันธ์ 2560).
62 ท่ีมาภาพประกอบชุดวิชา หนว่ ยที่ 1 วสั ดุในชวี ติ ประจาํ วัน ภาพที่ ชื่อภาพ ที่มา ภาพท่ี 1.3 ตวั อยา่ งวสั ดสุ งั เคราะห์ http://118.174.133.140/resource_c ภาพที่ 1.5 บา้ นเรือนไทย enter5/Admin/acrobat/v_2_ sc_sc_279.pdf ภาพที่ 1.7 น้ํายางท่ีไดจ้ ากตน้ ยางพารานํามา http://www.bloggang.com/data/my ทําเปน็ ยางแผ่นกอ่ นนําไปใช้งาน tent/picture/1193548723.jpg และตัวอย่างผลิตภัณฑท์ ี่ทาํ จาก http://118.174.133.140/resource_ce ยาง nter5/Admin/acrobat/v_2_sc _sc_279.pdf ภาพที่ 1.8 ดอกของตน้ ฝา้ ย ภาพท่ี 1.9 ผลิตภณั ฑ์จากผา้ ใยสงั เคราะห์ http://puechkaset.com/ http://www.ideasquareshop.com/ar โพลีเอสเตอร์ ภาพที่ 1.12 ประโยชน์จากโลหะ ticle/1/ http://118.174.133.140/resource_ce nter5/Admin/acrobat/v_2_sc _sc_279.pdf
63 หน่วยท่ี 2 สมบตั ขิ องวสั ดุ ภาพที่ ชื่อภาพ ทม่ี า ภาพท่ี 2.3 ส่ิงของเคร่อื งใช้และ http://raanmon.com/index.php?rout เครือ่ งประดบั ทท่ี ํามาจาก e=information/information&inf เงิน และทองคาํ ormation_id=47 ภาพที่ 2.4 เครื่องครัวทท่ี ําจากอลมู เิ นียม http://118.174.133.140/resource_cen และสแตนเลส ter5/Admin/acrobat/v_2_sc_sc ภาพที่ 2.5 วสั ดุทใี่ ชป้ ระโยชน์จากสมบตั ิ _279.pdf ความเหนยี ว ภาพที่ 2.6 แสดงการเปรยี บเทยี บ หนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ หนว่ ยการเรยี นรู้ การออกแรงกระทาํ ตอ่ วัสดุ ท่ี 2 เรอ่ื งสมบตั ิของวัสดุ หน้าที่ 55 ภาพที่ 2.8 กลไกการถ่ายเทความรอ้ น http://www.lesa.biz/earth/atmosphe re/heat-transfer ภาพท่ี 2.10 การนําความรู้เรื่องสมบัติ http://www.atom.rmutphysics.com/ การนําไฟฟา้ ของวสั ดุมาใช้ charud/oldnews/0/286/3/ ในการผลติ อุปกรณต์ า่ ง ๆ เพอื่ science/physics/index2.htm ใช้ในชีวติ ประจาํ วนั http://www.sci-mfgr.com/ ourbusiness_product.php?id= 3 ภาพท่ี 2.12 วธิ กี ารหาปรมิ าตรของวตั ถุ หนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ หน่วยการเรยี นรู้ ทไี่ มเ่ ปน็ ทรงเรขาคณิต ท่ี 2 เรือ่ งสมบตั ิของวสั ดุ หน้าที่ 61
64 หน่วยท่ี 3 การเลือกใชว้ สั ดใุ นชวี ติ ประจําวัน ภาพท่ี ชอ่ื ภาพ ทมี่ า ภาพท่ี 3.1 สัญลักษณฉ์ ลากสีเขียว ค่มู อื การประเมินสํานกั งานสีเขยี ว ภาพที่ 3.2 สญั ลกั ษณ์ฉลากประหยดั ไฟเบอร์ 5 กรมส่งเสรมิ คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ ม ภาพท่ี 3.3 ฉลากประสิทธิภาพสูง หน้า 115 ภาพท่ี 3.4 ผลกระทบจากการท้งิ ขยะอันตราย ค่มู อื การประเมินสาํ นกั งานสเี ขียว กรมสง่ เสรมิ คณุ ภาพสิ่งแวดล้อม ปะปนกบั ขยะมลู ฝอยใน หน้า 116 ชวี ติ ประจําวนั http://www.wangitok.com/news- ภาพท่ี 3.5 แสดงผลกระทบของสารพิษอันตราย facebook ทมี่ ตี อ่ ร่างกายมนุษย์ ภาพที่ 3.6 ปัญหามลพิษทางดิน คมู่ ือการคัดแยกขยะอนั ตราย สาํ หรบั เยาวชน หน้า 47 ภาพท่ี 3.7 ผลกระทบต่อนเิ วศทางนา้ํ https://www.sites.google.com/site/s ภาพท่ี 3.8 มลพษิ ทางอากาศ 554231031/mlphis-thang-din- soil-pollution-or-land- ภาพที่ 3.9 ผลกระทบของขยะมลู ฝอยตอ่ ระบบ pollution นิเวศ http://www.suriyothai.ac.th/files/u1 060/9mar53-1.jpg http://www.thaihealth.or.th/ Content/583-อากาศเปน็ พิษฆ่า คน%20กบั ผทู้ ่มี หี ัวใจ อ่อนแอ.html https://www.pantip.com/topic/315 28751
65 หนว่ ยท่ี 4 การจัดการและกาํ จดั วสั ดทุ ใี่ ชแ้ ลว้ ภาพท่ี ช่ือภาพ ท่ีมา ภาพท่ี 4.1 สญั ลกั ษณ์ Reduce http://demo10.rpu.ac.th/bangmoung/ ภาพท่ี 4.2 การรณรงค์ลดใช้ถงุ พลาสติก ของหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ?page_id=8 ภาพที่ 4.3 สัญลกั ษณ์ Reuse http://www.bloggang.com/ ภาพท่ี 4.5 เก้าอข้ี วดน้าํ m/viewdiary.php?id=shabu&grou ภาพที่ 4.6 พรมเชด็ เทา้ จากเศษผ้า p=1&month=11-2012&date=14 http://demo10.rpu.ac.th/bangmoung/ ?page_id=8 http://www.oknation.net/blog/home/ blog_data/912/23912/images/r c1.jpg https://www.l3nr.org/posts/559460 ภาพท่ี 4.7 กระถางต้นไมจ้ ากรองเทา้ เก่า http://www.thaitambon.com/product ภาพท่ี 4.8 /1412814174 ตุก๊ ตาตกแตง่ สวนจากยาง ภาพท่ี 4.9 รถยนตเ์ กา่ http://www.jeab.com/home- ภาพท่ี 4.10 living/how-to/25-reuse-old- สัญลกั ษณ์ Recycle tires-ideas/attachment/reuse- old-tires-2 การรีไซเคิลหรือการแปรรปู ขยะนํากลับมาใชใ้ หม่ http://demo10.rpu.ac.th/bangmoung/ ?page_id=8 http://www.bantub.go.th/news- promote-page.php?id=83 ภาพที่ 4.11 แสดงระยะเวลาในการยอ่ ย http://www.sarahlong.org สลายขยะแตล่ ะประเภท - ก้นกรองบุหรี่
66 ภาพที่ ช่ือภาพ ทีม่ า - กระป๋องโลหะ http://www.packingsiam.com/index.p - ผา้ ขนสัตว์ hp?lay=show&ac=article&Id=53 ภาพท่ี 4.12 การเกบ็ ขนวสั ดุทใ่ี ชแ้ ลว้ 9312392&Ntype=7 https://www.l3nr.org/posts/549099 คู่มือการกาํ จดั ขยะมูลฝอย แบบฝงั กลบ อยา่ งถกู สขุ าภบิ าล กรมควบคุม มลพิษ หนา้ 3,9 ภาพท่ี 4.13 ระบบการเผาในเตาเผา http://www.pcd.go.th/info_serv/envi_ ภาพท่ี 4.14 incinerate.html วิธีฝงั กลบแบบพน้ื ราบ ภาพที่ 4.15 คู่มือการกําจดั ขยะมูลฝอย แบบฝงั กลบ ภาพที่ 4.16 วธิ ีฝงั กลบแบบขุดร่อง อยา่ งถกู หลกั สุขาภิบาล กรมควบคุม ภาพที่ 4.17 วิธฝี งั กลบแบบหบุ เขา มลพษิ หน้า 6 วิธีฝงั กลบจําเป็นต้องการพนื้ ที่ คมู่ อื การกาํ จดั ขยะมูลฝอย แบบฝงั กลบ ฝงั กลบขนาดใหญ่ อยา่ งถูกหลกั สุขาภิบาล กรมควบคมุ มลพษิ หน้า 7 คู่มอื การกาํ จดั ขยะมลู ฝอย แบบฝงั กลบ อย่างถกู หลกั สขุ าภบิ าล กรมควบคุม มลพษิ หนา้ 14
67 ทป่ี รึกษำ คณะผู้จัดทำ นายวเิ ชียรโชติ โสอุบล นายทรงเดช โคตรสิน ผ้อู านวยการสถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ รองผูอ้ านวยการสถาบัน กศน. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผเู้ ชย่ี วชำญเน้อื หำ อาจารย์ประจาวิชาฟสิ ิกส์ คณะวทิ ยาศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐิตพิ งษ์ อุ่นใจ มหาวิทยาลยั ราชภัฎอบุ ลราชธานี ผู้เชีย่ วชำญดำ้ นเทคโนโลยี ครู วิทยฐานะครูชานาญการพเิ ศษ นายสทิ ธพิ ร ประสารแซ่ สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ครู วทิ ยฐานะครชู านาญการพิเศษ นายไพจิตร ผดุ เพชรแก้ว สถาบนั กศน. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครู วิทยฐานะครชู านาญการพิเศษ นายสุชาติ สุวรรณประทีป สถาบัน กศน. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครู วิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ นายสมชาย คาเพราะ สถาบัน กศน. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผู้เช่ยี วชำญดำ้ นวัดและประเมนิ ผล ครู วทิ ยฐานะครชู านาญการพเิ ศษ นางสาวนาลวี รรณ บญุ ประสงค์ สถาบนั กศน. ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ครู วิทยาฐานะครชู านาญการพิเศษ นางสาวฉนั ทลักษณ์ ศรีผา สถาบัน กศน. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ครู วทิ ยฐานะครูชานาญการพเิ ศษ นางแสงจันทร์ เขจรศาสตร์ สถาบัน กศน. ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
68 คณะบรรณำธิกำร ตรวจสอบควำมถูกตอ้ งและพิสจู นอ์ กั ษร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐติ ิพงษ์ อุน่ ใจ อาจารยป์ ระจาวิชาฟิสกิ ส์ คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฎั อุบลราชธานี นางลัดดา คัมภรี ะ ครู วทิ ยฐานะครูชานาญการพเิ ศษ สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ นางแก้วใจ ประสารแซ่ ครู วทิ ยฐานะครูชานาญการพิเศษ สถาบัน กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ นางพชั รวี รรณ ทามาเกตุ ครู สถาบนั กศน.ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ นางสาวธัญรัศม์ ม่ิงไชยอนนั ต์ ครู วทิ ยฐานะครชู านาญการพเิ ศษ สถาบัน กศน. ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื นางศรัญญา โนนคูเ่ ขตโขง ครู สถาบัน กศน. ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื นางอรญั ญา บัวงาม ขา้ ราชการบานาญ สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ผู้เขียน/รวบรวม/เรยี บเรียง ครู นางศรญั ญา โนนคู่เขตโขง สถาบนั กศน. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผอู้ อกแบบปก กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและ นายศภุ โชค ศรรี ตั นศิลป์ การศึกษาตามอัธยาศัย
Search