Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Laos Trade and Investment Handbook

Laos Trade and Investment Handbook

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-03-19 02:38:14

Description: Laos Trade and Investment Handbook

Search

Read the Text Version

‘ การแข่งขันระหว่างพ่อค้า ‘ ความลนื่ ไหลทางการคา้ เปน็ ระยะๆมากข้ึน 10. สปป.ลาว มเี สถยี รภาพทางการเมอื ง ความปลอดภัยในชีวิต ต่างชาติและพ่อค้าไทยสูงขึ้น และทรัพย์สนิ สงู และคา่ แรงงานไม่แพงนกั ผู้ส่งออกสินค้าของไทยไป 11. มชี นเผา่ ตา่ งๆ มากมายทำใหม้ คี วามหลากหลายทางด้านการ สปป.ลาว ส่วนใหญ่เป็นพ่อค้า ท่องเที่ยว ชายแดนขาดความเป็นนักการ ปัญหาและอุปสรรคทางการค้าระหวา่ งไทยกับ สปป.ลาว ตลาดเชิงรุกมืออาชีพจึงเสีย ประเด็นปัญหาด้านการค้าของไทย เปรยี บประเทศคแู่ ขง่ เชน่ เวยี ดนาม สำหรบั นกั ธรุ กจิ ทส่ี นใจจะทำการคา้ กบั สปป.ลาว ควรทจ่ี ะพจิ ารณา สิงคโปร์ มาเลเซีย และไต้หวัน ถึงขอ้ จำกัด หรือสง่ิ ท่ีอาจทำใหเ้ กิดปัญหา อุปสรรคในทางการคา้ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. มีแนวโน้มการแข่งขันระหว่างพ่อค้าต่างชาติและพ่อค้าไทยสูง ขึ้น ผู้ส่งออกสินค้าของไทยไป สปป.ลาว ส่วนใหญ่เป็นพ่อค้าชายแดน ขาดความเป็นนักการตลาดเชิงรุกมืออาชีพ จึงเสียเปรียบประเทศคู่แข่งเช่น เวียดนาม สงิ คโปร์ มาเลเซยี และไต้หวัน ซึ่งได้รกุ เข้าไปเปิดการคา้ และเสนอ ขายสินคา้ โดยตรงมากข้ึน จงึ มแี นวโน้มท่จี ะมีการแขง่ ขนั ในรูปแบบต่างๆ ตาม มาเพือ่ เจาะตลาดสนิ คา้ ในแขวงต่างๆของสปป.ลาวมากกว่าในอดตี 2. ปัญหาคา่ จา้ งแรงงานที่แพงขนึ้ รวมทั้งการขนสง่ ท่มี คี า่ น้ำมนั ท่ี สงู ขน้ึ ทำให้ตน้ ทุนราคาสนิ คา้ ของไทยสงู ข้ึน และการจัดเก็บอตั ราภาษีนำเขา้ วัตถดุ บิ และเคร่ืองจักรของกรมศุลกากรไทยมอี ตั ราสูง ทำใหเ้ พมิ่ ตน้ ทุนในการ ผลิต สินค้าไทยในระดบั ลา่ งจึงไม่สามารถแข่งขนั ด้านราคากบั คูแ่ ขง่ คือ จีน และเวียดนามทมี่ ีราคาสนิ คา้ ตำ่ กว่าประมาณ 1 เท่า 3. มีการลักลอบการค้าตามแนวชายแดนไทย-สปป.ลาวมาก ทำให้ สินค้าไทยท่ลี ักลอบเข้าไปใน สปป.ลาว มรี าคาถูกกวา่ สนิ คา้ ที่นำเข้าโดยถูกวิธ ี ทำให้สนิ คา้ ไทยเข้าไปแข่งขันกนั เองในตลาด สปป.ลาว 4. สินค้าไทยจะถูกปลอมแปลงและเลียนแบบจากประเทศคู่แข่ง เช่น จนี ส่งจักรยานยนต์และช้นิ ส่วนลอกเลยี นแบบทีม่ ีราคาตำ่ กวา่ ของไทยมาก และเวยี ดนามสง่ สินคา้ คณุ ภาพที่ตำ่ กว่าทำให้ผู้บริโภค สปป.ลาว เขา้ ใจผิด คดิ ว่าเป็นสินค้าไทย นอกจากนี้ ผสู้ ่งออกไทยบางรายนำสินคา้ หมดอายุเขา้ ไป จำหน่ายใน สปป.ลาว ทำให้สนิ ค้าไทยเสียช่อื เสยี ง 5. ขนาดตลาดเลก็ เนอ่ื งจาก สปป.ลาว มปี ระชากรเพยี งจำนวน 6.8 ลา้ นคน และประชากรสว่ นใหญม่ อี ำนาจการซื้อตำ่ เน่ืองจากมรี ายได้เฉลี่ย ตอ่ หัวคอ่ นข้างตำ่ เพยี ง 886 เหรยี ญสหรัฐฯ ตอ่ ปี ประเดน็ ปญั หาภายในของ สปป.ลาว ด้านนโยบายการคา้ 1. การนำเข้าสินค้าของสปป.ลาวจะต้องกระทำผ่านหน่วยงานของ รัฐทใ่ี ช้ชอ่ื ว่า ลาวขาเขา้ -ขาออก (Societe Lao Import-Export) โดย กระทรวงอุตสาหกรรมและการค้าของ สปป.ลาว เปน็ ผู้ดแู ลและกำกับ โดย 44 คมู่ อื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

นำเข้าและส่งออกสินค้าที่จำเป็นต่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ และผา่ นบรษิ ทั เอกชน (Private Company) ทีไ่ ด้รบั อนญุ าตจากกระทรวง การค้าใหเ้ ป็นผนู้ ำเขา้ -สง่ ออกสินคา้ ตามประเภท หรือหมวดที่ไดร้ บั อนญุ าต จากรัฐแล้วเท่านั้น สำหรบั ผูน้ ำเขา้ รายย่อยทไี่ ม่มใี บอนญุ าตจะอาศยั การนำเข้า -ส่งออกผ่านบริษัทที่มใี บอนญุ าต ซึ่งตอ้ งเสยี ค่านายหน้า รอ้ ยละ 2-3 ขนึ้ อยู่ ‘ การเข้มงวดในการนำเข้า กบั ประเภทของสินค้า ‘ 2. การลดและจำกดั จำนวนบรษิ ทั ผู้นำเขา้ -ส่งออกของ สปป.ลาว สนิ คา้ โดยกำหนดเงอ่ื นไขใหบ้ รษิ ทั ทำใหม้ ีผู้คา้ ขายลดลง โดยใน สปป.ลาว จะมีบรษิ ัททจี่ ดทะเบียนเป็นผูน้ ำเขา้ ผนู้ ำเขา้ ตอ้ งมสี ดั สว่ นการนำเขา้ และสง่ ออกประมาณ 150 บริษทั ตอ่ การสง่ ออกเทา่ กบั 60 : 40 3. ระบบการคา้ ระหว่างประเทศของ สปป.ลาว ยังไมเ่ ปน็ สากล ทำใหผ้ นู้ ำเขา้ สปป.ลาว บางราย และไมม่ คี วามแนน่ อน มกี ารเปลีย่ นแปลงนโยบาย กฎระเบียบบอ่ ยครั้ง และ นำเขา้ สนิ คา้ จากไทยลดลง เนอ่ื ง ในแตล่ ะแขวงมกี ารจดั เกบ็ อตั ราภาษที แ่ี ตกตา่ งกนั ทำใหผ้ สู้ ง่ ออกมคี วามสบั สน จากไม่สามารถหาสินค้าส่งออก และไมส่ ามารถวางแผนระยะยาวได้ ได้ครบตามสัดส่วนท่ีรัฐบาล 4. การเข้มงวดในการนำเข้าสินค้าโดยกำหนดเง่ือนไขให้บริษัท กำหนด ผนู้ ำเข้า ตอ้ งมีสัดส่วนการนำเข้าตอ่ การส่งออกเท่ากบั 60 : 40 ทำใหผ้ ้นู ำเขา้ สปป.ลาว บางรายนำเข้าสินค้าจากไทยลดลง เน่ืองจากไมส่ ามารถหาสินค้า ส่งออกได้ครบตามสัดส่วนที่รัฐบาลกำหนด นอกจากนั้นยังจำกัดโควตาสินค้า ที่จะนำเข้าบางรายการ เชน่ นำ้ มันเชื้อเพลงิ ปูนซเี มนต์ ขา้ วสาร เหลก็ เสน้ และรถบรรทุก เปน็ ต้น โดยการนำเขา้ ปนู ซีเมนตต์ อ้ งแลกเปล่ยี นเปน็ เงนิ เหรยี ญ สหรฐั ฯ 5. ขั้นตอนการนำเขา้ และการออกเอกสารของ สปป.ลาว มคี วาม ยุ่งยาก ซับซ้อน ล่าช้า รวมทั้งต้องยื่นขอใบอนุญาตนำเข้าหลังจากที่สินค้า มาถึงท่าแล้วเท่านั้น และต้องยื่นขออนุญาตจากหลายหน่วยงาน ได้แก่ กรมไปรษณีย์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงการเงนิ สำนักงานการคา้ กำแพง นครเวยี งจันทน ์ กรมภาษี กรมอากร เป็นต้น และต้องวางเงนิ ค้ำประกนั การ นำเข้า-สง่ ออก 6. การดำเนนิ นโยบายการค้าของ สปป.ลาว เน้นการใชแ้ รงงาน คนมากกว่าเคร่อื งจักร ทำใหเ้ กิดการเสยี เวลาและสนิ ค้าเสยี หายเป็นเหตุใหก้ าร ขนถ่ายสินคา้ ไม่เสร็จทันตามกำหนด ส่งผลใหบ้ ริษัทรบั ขนสง่ สนิ คา้ ขาดทนุ และ ไม่ยอมรับงาน ดา้ นการคมนาคมขนสง่ 1. คา่ ขนสง่ และคา่ บรกิ ารในการนำเขา้ -สง่ ออกคอ่ นขา้ งสงู ประกอบ กับความตกลงขนส่งสินค้าผ่านแดนไทย-สปป.ลาวยังมีปัญหา เนื่องจากสินค้า จาก สปป.ลาว ผา่ นไทยไปประเทศท่ีสามไม่มีการเก็บคา่ ธรรมเนยี ม แต่ใน ทางกลับกันสินค้าจากไทยผ่าน สปป.ลาว ไปยังประเทศที่สามยังถูกเก็บค่า ธรรมเนียม คูม่ อื การคา้ และการลงทุน สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 45 สส

2. การขนสง่ สนิ ค้าทางบกของ สปป.ลาว จะใชท้ างรถยนต์และ เปน็ ลกั ษณะผูกขาด เน่ืองจาก สปป.ลาว ยังไมม่ ีระบบการขนสง่ ทางรถไฟ เสน้ ทางคมนาคมยังทุรกันดารต้องใช้เวลานานและทำให้สินค้าได้รับความเสียหาย ไดง้ ่าย เปน็ อปุ สรรคตอ่ การขนสง่ สินคา้ นอกจากนัน้ การกำหนดนำ้ หนัก บรรทุกของรถบรรทุกสินค้าในแต่ละแขวงไม่เท่ากัน ทำให้ต้องเสียค่าใช้จ่าย เพม่ิ ข้นึ 3. การขนถา่ ยสินคา้ ของ สปป.ลาว เน้นการใชแ้ รงงานคนมากกว่า เครอื่ งจักร ทำให้เสยี เวลาและสนิ ค้าเสียหาย เปน็ เหตใุ ห้การขนถา่ ยสนิ ค้าเสร็จ ไม่ทันตามกำหนด ส่งผลให้บรษิ ัทรับขนส่งสินคา้ ขาดทุนและไม่ยอมรบั งาน การค้านอกระบบตามแนวชายแดน สบื เนอ่ื งจากการทไ่ี ทยและ สปป.ลาว มชี ายแดนยาวตดิ ตอ่ กนั ทำให้ มีช่องทางผา่ นแดนธรรมชาตปิ ระมาณ 700 ชอ่ งทางที่ประชาชนอาศัยเดนิ ทาง เข้า-ออก และมีการลักลอบนำสนิ คา้ ขา้ มแดน ซึ่งสินค้าท่ลี กั ลอบขา้ มแดนมี มูลค่าเกอื บเท่ากับการคา้ ปกติ สง่ ผลกระทบตอ่ ผูท้ ีเ่ ป็นตวั แทนจำหน่ายสนิ คา้ ของไทยทีอ่ ยใู่ น สปป.ลาว เนื่องจากสนิ ค้าท่ีลกั ลอบนำเขา้ มตี ้นทุนต่ำกว่า ตวั แทนจำหนา่ ยทถี่ กู ต้องในระบบไมส่ ามารถแขง่ ขนั ได้ ส่งผลให้ผ้ทู ำการคา้ สปป.ลาว ไมส่ นใจทจ่ี ะเปน็ ตวั แทนจำหน่ายสนิ คา้ ทม่ี าจากประเทศไทย เว้น แต่สินคา้ ที่มีขอ้ จำกัดไมส่ ามารถขนถา่ ยโดยใช้เรอื เล็กได้ 2.8 สทิ ธพิ เิ ศษทางการคา้ ท่ี สปป.ลาว ไดร้ ับ สิทธิพิเศษทางการค้าเกิดจากประเทศท่ีพัฒนาแล้วให้กับประเทศ กำลังพฒั นาและดอ้ ยพฒั นา ในปจั จบุ ันนี้ สหประชาชาตกิ ำหนดว่ามปี ระเทศ ดอ้ ยพัฒนาจำนวน 48 ประเทศ ซึง่ สปป.ลาว จัดอยู่กลมุ่ ประเทศดอ้ ยพฒั นา นี้ สปป.ลาว ได้รับสทิ ธิพเิ ศษทางดา้ นการค้าจากประเทศทพี่ ัฒนาแล้ว และ กำลังพัฒนาท้ังหมด 48 ประเทศ แบง่ ออกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ 1) ระบบสทิ ธิพเิ ศษทางดา้ นการคา้ ใหแ้ บบเฉพาะ ซ่งึ ได้รับในกรอบ ต่างๆ เชน่ - จนี ให้ในกรอบ ASEAN - China 202 รายการ และในกรอบ Early Harvest Program - ในกรอบความร่วมมือ 2 ฝ่าย สปป.ลาว - เวยี ดนาม สปป. ลาว-จนี และสัญญากรงุ เทพฯ ศรีลังกา 2 รายการ อนิ เดีย 4 รายการ และ สาธารณรัฐเกาหลี 9 รายการ นกั ธรุ กจิ ท่ีสนใจจะสง่ ออกสนิ ค้าจาก สปป.ลาว สามารถสอบถาม ขอ้ มลู รายการสนิ ค้าไดท้ ี่สำนักงานสง่ เสรมิ การค้าในตา่ งประเทศ ณ เวยี งจันทน์ ประจำ สปป.ลาว หรอื ท่ีกระทรวงอุตสาหกรรมและการคา้ สปป.ลาว 2) เขตการค้าเสรีอาเซยี น (ASEAN Free Trade Area: AFTA) 46 คู่มอื การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

กำหนดให้ประเทศสมาชิกเดมิ 6 ประเทศ ไดแ้ ก่ ไทย อินโดนีเซีย บรไู น ฟิลิปปินส์ สงิ คโปรแ์ ละมาเลเซีย ลดอตั ราภาษนี ำเข้าเหลอื ร้อยละ 0 ในปี 2553 ขณะที่ สปป.ลาว ซงึ่ เป็นสมาชกิ ใหม่ของอาเซยี นมกี ำหนดลดอตั ราภาษีนำเขา้ เหลือรอ้ ยละ 0 ในปี 2558 3) สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็นการทั่วไป (Generalized System of Preferences : GSP) จากประเทศผนู้ ำเข้าจำนวน 35 ประเทศ ท่ัวโลก อาทิ ประเทศในกลุ่ม EU และญี่ปุ่น เนอ่ื งจาก สปป.ลาว มีขดี ความ สามารถในการแขง่ ขนั ด้านการส่งออกอยูใ่ นระดับตำ่ สังเกตไดจ้ ากมูลคา่ สง่ ออก รวมของ สปป.ลาว ที่อยูใ่ นระดบั ต่ำสดุ ของอาเซียน นอกจากนี้ EU ยังขยาย สทิ ธพิ เิ ศษทางภาษีศลุ กากรเป็นการทัว่ ไปภายใต้โครงการ Everything But Arms (EBA) ให้แกป่ ระเทศพัฒนาน้อยทส่ี ุด ซงึ่ รวมถงึ สปป.ลาว ตั้งแตป่ ี 2544 โดย EU ยกเวน้ การเรยี กเก็บภาษีนำเขา้ และยกเลิกการกำหนดโควตา นำเข้าสินค้าทุกประเภทจาก สปป.ลาว ที่ผ่านหลักเกณฑ์การพิจารณาแหล่ง กำเนดิ สินคา้ 4) สหรัฐฯ มอบสถานะ NTR1 ให้แก่ สปป.ลาว ตัง้ แต่วันท่ี 3 ธ.ค. 47 ทำใหอ้ ัตราภาษนี ำเขา้ เฉลีย่ ทส่ี หรฐั ฯ เรียกเก็บจาก สปป.ลาว ลดลงจากเดมิ รอ้ ยละ 45 เหลอื รอ้ ยละ 2.4 ซ่ึงชว่ ยเพมิ่ ศักยภาพในการส่งออก ของ สปป.ลาว สงั เกตได้จากมูลคา่ สง่ ออกของ สปป.ลาว ไปยงั สหรฐั ฯ ระหว่าง ม.ค.-พ.ย. 48 เพม่ิ ข้นึ รอ้ ยละ 22 มลู ค่า 3.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ จาก 3.2 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ในชว่ งเดียวกนั ของปกี อ่ นหนา้ ท้ังน้ี คาดว่าปจั จัยดังกลา่ ว จะยังชว่ ยกระตุน้ การส่งออกไปยงั สหรัฐฯ ตอ่ เนอ่ื ง 2.9 ความสัมพนั ธท์ างเศรษฐกิจระหว่างไทยกับ สปป.ลาว ความร่วมมอื ภาครฐั บาล - ข้อตกลงทางการค้า (Trade Agreement) ระหว่างไทย- สปป.ลาว ลงนามเมื่อ 1 มิ.ย. 2521 และลงนามแก้ไขปรับปรุงเมื่อ 20 มิ.ย. 2534 ต่อมาไดจ้ ดั ตั้งคณะกรรมการร่วมทางการค้า (Joint Trade Com- mittee : JTC) ภายใต้ข้อตกลงดงั กลา่ ว เป็นการประชมุ ในระดบั รัฐมนตรี ประชุมไปแล้วเพยี ง 1 ครั้งเมอื่ 16-17 ก.ค. 2541 ณ กรุงเทพฯ - ความตกลงวา่ ดว้ ยการสง่ สนิ คา้ ผา่ นแดน ลงนามเมอ่ื 1 ม.ิ ย. 2521 - ความตกลงเพอื่ ส่งเสริมและคมุ้ ครองการลงทุน ลงนามเม่อื 22 ส.ค. 2533 - ความตกลงเพื่อจัดตั้งคณะกรรมาธิการว่าด้วยความร่วมมือ ไทย-ลาว (JC) ลงนามเมอ่ื 9 พ.ค. 2534 (ประชุมไปแลว้ 16 คร้งั คร้งั ล่าสดุ เมอื่ 14-15 ต.ค. 2553 ณ กรุงเทพฯ) - ความตกลงเพ่ือการเว้นการเก็บภาษีซ้อนและการป้องกันการ คมู่ ือ การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 47 สส

‘ สปป.ลาว ใหส้ ทิ ธปิ ระโยชน์‘ เลยี่ งรษั ฎากรในสว่ นที่เก่ยี วกบั ภาษีเกบ็ จากเงนิ ได้ ลงนามเมอ่ื 20 มิ.ย. 2540 และแลกเปลีย่ นสัตยาบันสารกัน เม่อื 23 ธ.ค. 2540 มีผลบงั คับใช้ 1 ม.ค. แก่นักลงทุนไทยที่เข้าไปลงทุนใน 2541 ภาษีท่อี ยูใ่ นขอบข่าย ได้แก่ ภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดา และเก็บภาษกี ำไร เขตเศรษฐกิจพิเศษดังกล่าว - ความตกลงว่าด้วยการเดินทางข้ามแดนไทย-ลาว ฉบับลงนาม ให้สามารถเช่าที่ดินได้โดยไม่ เม่ือ 20 ม.ิ ย. 2540 มผี ลบงั คับใชต้ ัง้ แต่ 19 ก.ย. 2540 เป็นความตกลง จำกัดระยะเวลา และได้รับยกเว้น ฉบับใหม่ท่ีใช้แทนความตกลงเร่ืองข้อบังคับร่วมกันว่าด้วยการจราจรชายแดน ภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นเวลา ระหว่างประเทศไทยกับอินโดจนี ฝรง่ั เศส ลงนามเม่ือ 16 ส.ค. 2486 5 ปี - ความตกลงวา่ ด้วยการยกเว้นการตรวจลงตราสำหรบั ผู้ถือหนงั สอื เดินทางราชการ ลงนาม 5 ม.ี ค. 2542 - ความตกลงวา่ ดว้ ยการขนสง่ ทางถนน ลงนาม 5 ม.ี ค. 2542 ซง่ึ ใช้แทนความตกลงวา่ ดว้ ยการขนสง่ สินค้าผ่านแดนไทย-ลาว เมอื่ 1 ม.ิ ย. 2521 ทัง้ สองฝ่ายไดล้ งนามความตกลงยอ่ ยกำหนด รายละเอยี ดการขนส่ง ทางถนน เมือ่ 17 ส.ค. 2544 - ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้านการลงทุนระหว่างสำนักงาน คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนแห่งราชอาณาจักรไทยกับคณะกรรมการ คุ้มครองการลงทุน ร่วมมือกับต่างประเทศและลงทุนภายในแห่ง สปป.ลาว ลงนามเม่ือ 17 ส.ค. 2544 - ความตกลงว่าด้วยกรอบความร่วมมือในการพัฒนาเศรษฐกิจ ไทย-ลาว ลงนามเม่อื 20 มี.ค. 2547 ณ เมืองปากเซ แขวงจำปาสัก สปป.ลาว - บันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือระหว่างการนิคมอุตสาห- กรรมแห่งประเทศไทยกบั เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษสะหวันเซโน ของ สปป.ลาว เม่ือ 27 ก.ค. 2547 โดย สปป.ลาว ใหส้ ิทธปิ ระโยชนแ์ ก่นักลงทุนไทยท่เี ข้าไป ลงทนุ ในเขตเศรษฐกิจพิเศษดังกล่าว ให้สามารถเช่าที่ดินได้โดยไม่จำกัดระยะ เวลา และได้รบั ยกเว้นภาษเี งินได้นิตบิ คุ คลเป็นเวลา 5 ปี - ความตกลงว่าด้วยการยกเว้นการตรวจลงตราสำหรับผ้ถู ือหนังสือ เดินทางธรรมดา ลงนาม 28 ต.ค. 2547 ณ เมืองแก่นท้าว แขวงไชยบุรี สปป.ลาว มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 2 ธ.ค. 2547 - บันทึกการประชุมแผนความร่วมมือระหว่างกระทรวงพาณิชย์ แห่งราชอาณาจักรไทยกับกระทรวงอุตสาหกรรมและการค้าแห่ง สปป.ลาว ครง้ั ท่ี 3 เมื่อ 24-25 มิ.ย. 2553 ณ นครหลวงเวียงจันทน์ - บันทึกผลการประชุมแผนความร่วมมือระหว่างพาณิชย์จังหวัด กับหวั หนา้ แผนกอตุ สาหกรรมและการค้า สปป.ลาว คร้ังที่ 3 เมือ่ 23 ธ.ค. 2552 ณ จ.เชยี งราย - บันทึกความเข้าใจสามฝ่าย ได้แก่ รัฐบาลแห่ง สปป.ลาว ราชอาณาจกั รไทย และสาธารณรฐั สงั คมนิยมเวียดนาม ว่าด้วยความร่วมมอื เพื่อการใช้ประโยชน์สูงสุดจากสะพานมติ รภาพ 2 (มุกดาหาร-สะหวันนะเขต) 48 คมู่ ือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

และเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจแนวตะวันออก-ตะวันตก เมื่อ 26 ธ.ค. 2550 ‘ สนับสนุนภาคเอกชนของ ‘ ณ แขวงสะหวันนะเขต สปป.ลาว ความรว่ มมือภาคเอกชน ไทยมีส่วนเข้าไปส่งเสริมการ - ข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสภาหอการค้าแห่งประเทศไทยกับ ผลิตโดยการให้ความรู้ด้านวิชา สภาอุตสาหกรรมแห่งชาติลาว ลงนามเม่อื 19 ก.พ. 2535 การเทคโนโลยี และเมล็ดพันธ์ุที่ - บันทึกการประชุมภาคเอกชนไทย-ลาว ในการประชุมแผน สามารถให้ผลผลิตต่อไร่สูงและ ความร่วมมือระหว่างกระทรวงพาณิชย์แห่งราชอาณาจักรไทยกับกระทรวง รับซ้ือสินค้าเกษตรในลักษณะ อุตสาหกรรมและการค้าแห่ง สปป.ลาว ครั้งที่ 2 เมื่อ 1 ก.ค. 2552 Contract - Farming โดยเฉพาะ ณ นครหลวงเวียงจันทน์ สปป.ลาว สินค้าท่ีไทยยกเว้นภาษีนำเข้า เพอ่ื เปน็ แหลง่ วตั ถดุ บิ เนอ่ื งจาก 2.10 ข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะจากนักธุรกจิ ไทย สปป.ลาว มีพื้นที่ว่างเปล่า จำนวนมาก และค่าเช่าทด่ี ินตำ่ ท่ี 5.1 ไทยควรแสดงความจรงิ ใจในการให้ความชว่ ยเหลอื สปป.ลาว เหมาะสำหรับทำเกษตรกรรม ให้เกิดผลเปน็ รูปธรรม ซงึ่ ไทยได้ดำเนนิ การไปแล้วหลายชอ่ งทาง อาทิ การลด ภาษสี ินคา้ เกษตรนำเขา้ ภายใต้ WTO 23 รายการ การลดภาษีสนิ ค้าวัตถุดบิ และเกษตรอนื่ ๆ 39 รายการ และการให้ความช่วยเหลือทางดา้ นวชิ าการใน สาขาตา่ งๆ เป็นตน้ เพ่อื เปน็ การเสรมิ สรา้ งความสมั พนั ธ์และทศั นคตทิ ี่ดตี ่อกนั 5.2 สนับสนุนภาคเอกชนของไทยมีส่วนเข้าไปส่งเสริมการผลิตโดย การให้ความรดู้ ้านวชิ าการเทคโนโลยี และเมลด็ พนั ธุท์ ี่สามารถใหผ้ ลผลิตต่อไร่ สงู และรับซ้ือสนิ ค้าเกษตรในลกั ษณะ Contract - Farming โดยเฉพาะสนิ ค้า ทไ่ี ทยยกเว้นภาษนี ำเขา้ เพือ่ เป็นแหล่งวัตถุดบิ เน่อื งจาก สปป.ลาว มีพน้ื ท่ีว่าง เปล่าจำนวนมาก และค่าเช่าทดี่ ินตำ่ ที่เหมาะสำหรบั ทำเกษตรกรรม รวมท้ัง สนับสนุนการจัดตั้งศูนย์รวบรวมผลผลิต/ตลาดกลางกระจายไปตามจุดต่างๆ ที่สำคัญใน สปป.ลาว เพื่อสะดวกและประหยดั ค่าขนส่ง 5.3 ควรพจิ ารณาแก้ไขปัญหาอยา่ งจรงิ จงั และรวดเรว็ โดยเฉพาะ ปญั หาทเี่ กิดข้ึนในระดับท้องถนิ่ ไมค่ วรปล่อยใหเ้ น่นิ นาน เพ่อื เสริมสรา้ งความ สัมพันธท์ ดี่ ตี ่อกนั มากย่งิ ข้ึน เนื่องจากขณะนเ้ี จ้าหน้าที่ระดับสูงของ สปป.ลาว ได้มีความสมั พันธ์ทด่ี ีมากกับเวยี ดนาม 5.4 มีส่วนร่วมและชักชวนประเทศท่ีสามหรือมูลนิธิต่างประเทศ เพื่อเข้าไปช่วยพฒั นาระบบโครงสร้างพ้ืนฐานใน สปป.ลาว เช่น สะพาน ถนน ซง่ึ จะชว่ ยอำนวยความสะดวกดา้ นการค้าและการท่องเท่ียว 5.5 ค่าขนส่งสินคา้ ซ่งึ มีลกั ษณะผกู ขาดใน สปป.ลาว เป็นอปุ สรรค ตอ่ การค้าและการลงทุนใน สปป.ลาว ซึ่งหากภาครัฐท้งั ของไทย และ สปป.ลาว ไดร้ ว่ มมอื กนั ในการแก้ไขปญั หาอุปสรรคดังกล่าว จะเป็นประโยชนต์ อ่ การค้า และการลงทนุ ของท้งั สองประเทศเป็นอย่างมาก 5.6 สนับสนุนการให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทแก่บุคลากร ใน สปป.ลาว ต่อไป เพ่ือกระชบั ความสมั พนั ธ์ในระดบั ผบู้ ริหารในระยะยาว ค่มู อื การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 49 สส

‘ การค้าและการลงทุนใน‘ ต่อไปเช่นเดียวกับที่จีนและเวียดนามได้ดำเนินการยุทธศาสตร์ดังกล่าวกับ สปป.ลาว แล้ว ประเทศเพื่อนบ้านหรือประเทศ 5.7 ส่งเสริมการให้การศึกษาและการเข้าถึงส่ือบันเทิงทั้งวิทยุ สมาชิกใหม่อาเซียนยังคงมี โทรทศั น์และสิ่งพมิ พต์ า่ งๆ กบั เยาวชนของ สปป.ลาว เพื่อปลูกฝงั /สรา้ ง ศักยภาพและมีลู่ทางการลง ค่านิยมในการนยิ มไทย นำไปสู่การขยายฐานตลาดสินคา้ ไทย และกระชบั ความ ทุนที่แจ่มใส เป็นตลาดใหม่ที่น่า สมั พันธ์ระหว่างกนั ในระยะยาว ลงทุน แต่เป็นตลาดที่นักลงทุน 5.8 สนบั สนุนโครงการ Sister City โดยเฉพาะจงั หวัดและแขวง ต้องใช้ความพยายามมากใน ชายแดนทอ่ี ยตู่ รงขา้ มกนั ซง่ึ ประชาชนของทง้ั สองฝง่ั มคี วามสมั พนั ธแ์ ละคนุ้ เคย การเริม่ ต้นใหม่ เพราะเปน็ ประเทศ กนั เป็นอยา่ งดีเป็นเวลาชา้ มานแลว้ โดยภาครฐั ทง้ั สว่ นกลางและทอ้ งถนิ่ ควร ที่ยังไม่มีความพร้อมด้านโครง เข้าไปสนบั สนุนโครงการกระชับความสมั พันธ์ ขยายตลาดสนิ ค้าและยา้ ยฐาน สร้างพน้ื ฐานต่างๆ การลงทนุ เช่น การจัดงานแสดงสนิ ค้าชายแดน การพบปะเย่ยี มเยือน ดงู าน ทัศนศึกษาแบง่ ปนั ความรู้และประสบการณ์ และการยกระดับจดุ ผอ่ นปรน ชายแดนเปน็ ด่านชายแดนถาวร เปน็ ต้น 5.9 ยทุ ธศาสตร์การคา้ กับ สปป.ลาว คือ การทีไ่ ทยให้ความ ช่วยเหลือแก่ สปป.ลาว แบบไมม่ ุ่งหวังผลกำไร แต่ดำเนินการเพอื่ รักษาฐาน ตลาดสินค้าและการกระจายสนิ คา้ ไทยเข้าสู่ประเทศท่ีสามตอ่ ไป รวมท้ังรักษา ความสมั พนั ธก์ ับประเทศเพื่อนบ้าน นอกจากน้ี ตอ้ งเข้าใจลกั ษณะนสิ ัยของ คนลาว คือ เมื่อคนลาวเสนอขอความช่วยเหลือมายังไทยแล้วคนลาวมักไม่ ทวงถามหรอื มกั เงยี บ ซง่ึ ไทยจงึ ควรแสดงความจรงิ ใจโดยการดำเนนิ การใหค้ วาม ช่วยเหลือทันที 5.10 สนับสนุนการเชื่อมโยงความร่วมมือด้านการท่องเที่ยวและ การขนสง่ ซง่ึ เปน็ จดุ แข็งของทัง้ สองประเทศ นอกจากน้ี รฐั บาลควรเจรจา กับผนู้ ำของ สปป.ลาว ในการเปดิ ตลาดธรุ กิจบริการการทอ่ งเท่ยี วในแหลง่ ท่องเที่ยวหลัก เช่น หลวงพระบาง นครหลวงเวียงจันทน์ และจำปาสัก นำไปสู่การรักษาฐานตลาดบริการของไทยและขยายฐานการลงทุนของไทย ดว้ ย ในขณะเดยี วกันรัฐบาลควรขยายความร่วมมือด้านการท่องเทย่ี วในการ รกุ เสน้ ทางเปิดใหมก่ บั ประเทศทส่ี าม เช่น จนี เวยี ดนาม และพมา่ โดยมี สปป.ลาว เป็นแกนเชื่อม เช่น เสน้ ทาง R3E และเสน้ ทางหลวงพระบาง- เชยี งขวาง-หัวพัน-เดยี นเบยี นฟู เป็นตน้ 5.11 ควรสรา้ งความเข้าใจกบั นกั ลงทนุ ไทยว่า ตลาดการคา้ และ การลงทุนในประเทศเพื่อนบ้าน หรือประเทศสมาชิกใหม่อาเซียนยังคงมี ศกั ยภาพและมลี ทู่ างการลงทนุ ทแ่ี จม่ ใส เปน็ ตลาดใหมท่ น่ี า่ ลงทนุ แตเ่ ปน็ ตลาด ที่นักลงทุนต้องใช้ความพยายามมากในการเริ่มต้นใหม่ เพราะเป็นประเทศ ท่ียังไมม่ คี วามพร้อมดา้ นโครงสร้างพน้ื ฐานต่างๆ ต้องฝึกอบรมแรงงาน และ เรียนรู้กฎระเบียบต่างๆ รวมทั้งยอมรับว่าใช้เวลาในการคืนทุนที่นาน แต่ ผ้บู กุ เบกิ รุน่ แรกกจ็ ะได้ผลตอบแทนทคี่ มุ้ คา่ 50 คมู่ ือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

3. รายงานภาวะอตุ สาหกรรม อตุ สาหกรรมการเกษตร เศรษฐกจิ ของ สปป.ลาว เกิดจากภาคการเกษตรและปา่ ไมเ้ ปน็ หลัก โดยมมี ูลคา่ เป็นรอ้ ยละ 43.5 ของ GDP สภาพดนิ ฟา้ อากาศใน สปป.ลาว มีความเหมาะสมในการทำการเกษตร มีปรมิ าณนำ้ ฝนเฉลี่ย 1,715 มม.ต่อป ี เมื่อเทียบกับภาคใต้ของไทยที่มีฝนตกชุก มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยอยู่ที่ระดับ 1,400 มม. แรงงานในภาคการเกษตรและป่าไม้กวา่ รอ้ ยละ 80 ของกำลงั แรงงาน ภาคการเกษตรและปา่ ไมม้ กี ารเปลย่ี นแปลงตลอดเวลา พน้ื ทเ่ี พาะปลกู เพ่ิมมากข้นึ โดยเฉพาะการปลกู พืชที่ใหผ้ ลตอบแทนสูง เช่น ข้าว ขา้ วโพด นอกจากน้ีมีการใหค้ วามสำคญั กับการเล้ียงสตั ว์ เชน่ หมู ไก่ การเกษตรใน สปป.ลาว มี 3 แบบ คอื การเกษตรในเขตชลประทาน การเกษตรนอกเขตชลประทาน และการเกษตรในท่ีบกุ รกุ ถางป่า รัฐบาลมี นโยบายเพ่มิ พ้นื ทีก่ ารเกษตรในเขตชลประทาน และลดการบุกรกุ ป่า พชื เกษตรท่สี ำคญั ไดแ้ ก่ ขา้ ว ขา้ วโพด มนั สำปะหลงั ถัว่ เขียว ถ่วั เหลือง ถว่ั ลสิ ง ยาสูบ ชา กาแฟ อตุ สาหกรรมพลังงาน สปป.ลาว มสี ภาพภมู ปิ ระเทศเหมาะแกก่ ารกอ่ สรา้ งเขอ่ื นผลติ กระแส ไฟฟ้า แหล่งกำเนิดพลังงานส่วนใหญ่มาจากพลังน้ำจากแม่น้ำสายต่างๆ อาทิ แม่น้ำเทนิ แมน่ ำ้ บนุ และแมน่ ำ้ งึม อตุ สาหกรรมพลังงานเปน็ อุตสาหกรรมที่ มีศกั ยภาพท่ภี าคเอกชนจะลงทนุ ใน สปป.ลาว ได้ สปป.ลาว มแี ผนก่อสร้างเขอื่ นผลติ กระแสไฟฟ้าจำนวนมาก และ ต้องการผลักดันให้การผลิตกระแสไฟฟ้าก้าวขึ้นเป็นภาคการผลิตเพ่ือส่งออก เพ่อื ขยายการจำหน่ายพลงั งานไฟฟา้ ให้กบั ประเทศเพ่ือนบา้ น อาทิ ไทย จนี และเวียดนาม โดยมีเป้าหมายหลักที่จะสร้างรายได้จากการจำหน่ายกระแส ไฟฟ้าเป็นมูลค่า 140 ลา้ นดอลลารส์ หรฐั ฯ และวางแผนจะกา้ วขนึ้ เปน็ ศนู ยก์ ลาง พลงั งานไฟฟ้าสำคัญของอาเซยี นในระยะตอ่ ไป โครงการพัฒนาเขอ่ื นผลติ กระแสไฟฟ้าของ สปป.ลาว เพื่อจำหนา่ ย ใหก้ บั ประเทศเพื่อนบา้ นโดยเฉพาะไทย ดงั นี้ โครงการที่สามารถจำหนา่ ยกระแสไฟฟ้าแล้ว ได้แก่ เขอ่ื นเทิน - หินบุน เขือ่ นหว้ ยเฮาะ โครงการที่อยู่ระหว่างการก่อสร้างและโครงการที่มีแผนก่อสร้างใน อนาคต เข่ือนน้ำเทนิ 2 เขื่อนน้ำงึม 2 เขื่อนนำ้ งึม 3 เข่อื นเซเสด 2 เขื่อน เซคามาน และ เข่อื นเซเปยี น-เซนำ้ นอ้ ย อุตสาหกรรมเหมืองแร่ สปป.ลาว มีทรัพยากรธรรมชาติ แรธ่ าตุจำนวนมาก อาทิ แร่เหลก็ คมู่ ือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 51 สส

ดีบุก ตะกว่ั ทองแดง ถ่านหิน สงั กะสี ทองคำ หินอ่อน และน้ำมนั ท่พี บวา่ มีมากในภาคกลางและภาคใต้ และมีแหล่งแร่รัตนชาติที่ยังไม่มีการนำมาใช้ ประโยชน์ เช่น ทองคำ แซฟไฟร์ เงนิ เปน็ ตน้ จากการสำรวจลา่ สุดใน สปป.ลาว พบวา่ พื้นทใ่ี นเขตเมืองปากซ่อง หรอื ท่เี รียกวา่ เขตที่ราบสูงโบละเวน แขวงจำปาสกั มีแหล่งแรบ่ อกไซต์ เปน็ จำนวนมาก คาดว่าน่าจะมมี ูลค่าถงึ ปีละ 3,200 ล้านดอลลาร์ ซ่ึงสามารถ นำมาใชป้ ระโยชน์ไดใ้ นระยะเวลามากกวา่ 50 ปี ธาตบุ อกไซต์นี้ เปน็ สนิ แร่ ที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจ เป็นวัตถุดิบที่ใช้ในการถลุงอลูมิเนียมที่ใช้กันอย่าง แพรห่ ลายทว่ั โลก อตุ สาหกรรมเหมอื งแรเ่ ปน็ สิง่ ทีร่ ฐั บาลลาวใหค้ วามสำคัญ ในการ นำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ เห็นได้จากข้อกำหนดในกฎหมายการลงทุนที่ ทำการปรับปรุงใหม่ช่วงปี 2540 ที่กำหนดโครงการที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากร ธรรมชาติต้องไดร้ ับการอนุมตั จิ ากนายกรัฐมนตรี ในปี 2553 สปป.ลาว ได้งดให้สัมปทานการทำเหมอื งแรก่ บั นัก ลงทนุ ช่ัวคราว เนอ่ื งจาก พบวา่ กระทบกบั สภาวะแวดลอ้ มมาก อุตสาหกรรมสงิ่ ทอ สปป.ลาว มชี อื่ เสยี งด้านสิ่งทอ จากความไดเ้ ปรยี บด้านตน้ ทนุ จาก คา่ แรงงานถกู และการไดร้ บั สทิ ธพิ เิ ศษดา้ นภาษี (GSP) จากประเทศตา่ งๆ จำนวน 35 ประเทศ ตลาดหลกั ในการส่งออกสง่ิ ทอของ สปป.ลาว คือ กลุม่ สหภาพ ยุโรป และประเทศไทย สวนสาธารณะรอบๆ ประตชู ยั และประตูชัย เปน็ อกี หน่ึงสถานที่สำคัญ ทีด่ ึงดูดนักทอ่ งเทยี่ วจำนวนมากในแตล่ ะปี 52 คู่มอื การคา้ และการลงทุน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

อตุ สาหกรรมการท่องเท่ยี ว อุตสาหกรรมการท่องเทย่ี วของ สปป.ลาว เปน็ อตุ สาหกรรมทีไ่ ดร้ บั ความสนใจและทำรายได้เข้าประเทศจำนวนมาก จดุ เด่น คือ มปี ระวตั ศิ าสตร์ ที่น่าสนใจ โบราณสถานเก่าแก่ที่ได้รับการอนุรักษ์ให้เป็นมรดกโลก สถานที่ ทอ่ งเทยี่ วท่ีมีความงดงามทางธรรมชาติ ตลอดจนวิถชี ีวติ ความเป็นอยขู่ องคน ลาวท่ียังคงยดึ ถอื ขนบธรรมเนยี มประเพณีพ้ืนบ้านดั้งเดิม มีความเป็นมติ รและ ค่าใชจ้ า่ ยในการท่องเท่ยี วต่ำ ทำให้นกั ทอ่ งเทย่ี วตา่ งชาตทิ ้ังชาวตะวนั ตกและ ชาวเอเชีย สนใจเดนิ ทางไปทอ่ งเที่ยว นอกจากนี้อตุ สาหกรรมการบรกิ ารที่ รองรับการทอ่ งเทย่ี วยงั มโี อกาสที่จะเจริญเติมโตอกี มาก อาทิ รา้ นอาหาร สปา ร้านทำผม รา้ นขายของทร่ี ะลกึ สถานท่ีจดั จำหน่ายอุปกรณ์ท่องเทย่ี ว เปน็ ตน้ การตกั บาตรขา้ วเหนียว เปน็ อีกหน่งึ วัฒนธรรมทด่ี ึงดูดพทุ ธศาสนิกชน จากประเทศท่นี บั ถือศาสนาพุทธให้เขา้ มาทอ่ งเทีย่ ว สนิ ค้าท่มี โี อกาส 4.1 สินคา้ อะไหล่รถยนต ์ และบรกิ ารยานยนต์ 4.2 สนิ คา้ อปุ โภคบริโภค 4.3 สนิ คา้ วัสดกุ ่อสรา้ งและสินค้าตกแต่งภายใน 4.4 สนิ คา้ ทางการเกษตร 4.5 การท่องเทีย่ ว และบรกิ าร คมู่ ือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 53 สส

‘ แมว้ า่ สปป.ลาว จะสนบั สนนุ ‘ 4. การลงทุน ให้ต่างชาติร่วมลงทุนกับคนลาว 4.1 การลงทนุ จากต่างประเทศใน สปป.ลาว แต่ก็ได้จำกัดการลงทุนของต่าง ชาติ ในธรุ กจิ สถานโี ทรทศั น-์ วทิ ยุ ยอ้ นหลังไปต้ังแต่ป ี 2531 จนถึงเดอื นมีนาคม 2549 มโี ครงการ หรือการคมนาคมขนส่งไม่ให้เกิน จากต่างชาติที่ได้รับอนุญาตให้มาลงทุนใน สปป.ลาว รวมทั้งสิ้น 1,335 รอ้ ยละ 49 และธุรกจิ ดา้ นการ โครงการ มมี ูลคา่ การลงทุน 6,945.3 ล้านเหรียญสหรฐั ฯ ในจำนวนนี้ ไทย ประกันภยั ไมใ่ หเ้ กนิ รอ้ ยละ 51 เป็นประเทศทเ่ี ข้ามาลงทุนใน สปป.ลาว มากท่สี ุด จำนวน 353 โครงการ มมี ูลคา่ การลงทุน 2,920.9 ลา้ นเหรยี ญสหรัฐฯ หรอื ประมาณร้อยละ 42.19 ของมูลค่าการลงทนุ ทง้ั หมด ประเทศทม่ี มี ูลคา่ การลงทนุ ใน สปป.ลาว ลำดบั รองลงมา ไดแ้ ก่ สหรฐั อเมริกา มาเลเซีย ฝรัง่ เศส จนี เวยี ดนาม เกาหลใี ต้ และญ่ีปนุ่ ตามลำดบั แตเ่ ปน็ ที่นา่ สงั เกตวา่ ในระยะ 2-3 ปีทผ่ี า่ นมา จนี เวียดนาม และเกาหลีใต้ มีแนวโนม้ ท่ีจะขยายการลงทนุ ใน สปป.ลาวมากข้นึ (สำนักงานสง่ เสรมิ การลงทนุ สปป. ลาว http://www.investlaos.gov.la) รูปแบบการลงทุนของตา่ งชาติใน สปป.ลาว มี 3 ลักษณะ คอื ธุรกิจรว่ มสญั ญา วิสาหกิจรว่ มทุน วิสาหกจิ ลงทุน จากต่างประเทศทัง้ หมด 1. ธรุ กิจรว่ มสญั ญา เป็นการรว่ มธรุ กจิ กนั ระหวา่ งนิตบิ ุคคลลงทุน ภายในกบั ฝา่ ยต่างประเทศ โดยไม่ได้กอ่ ต้งั นิตบิ คุ คลใหม่ใน สปป.ลาว 2. วิสาหกิจร่วมทุน เป็นวิสาหกิจที่ก่อตั้งและขึ้นทะเบียนตาม ระเบยี บกฎหมายของ สปป.ลาว ซ่ึงมกี ารดำเนินธุรกิจและเปน็ กรรมสทิ ธิ์ร่วม ระหวา่ งผลู้ งทนุ ตา่ งประเทศและผลู้ งทนุ ในประเทศ โดยผลู้ งทนุ ตา่ งประเทศตอ้ ง ลงทนุ อย่างนอ้ ยไมต่ ำ่ กวา่ 30% ของทนุ จดทะเบยี น การลงทุนเป็นเงนิ ตรา ตา่ งประเทศตอ้ งคดิ เปน็ เงนิ กบี ตามอตั ราแลกเปลย่ี นของธนาคารแหง่ สปป.ลาว แมว้ ่า สปป.ลาว จะสนบั สนุนให้ต่างชาตริ ว่ มลงทนุ กบั คนลาว แต่ ก็ได้จำกัดการลงทุนของต่างชาติ ในธุรกิจสถานีโทรทศั น-์ วิทยุ หรอื การคมนาคม ขนส่งไม่ใหเ้ กนิ รอ้ ยละ 49 และธรุ กิจด้านการประกันภยั ไมใ่ หเ้ กินร้อยละ 51 54 ค่มู อื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

ตารางแสดงสัดสว่ นการถอื หนุ้ สงู สดุ ของตา่ งชาติในแตล่ ะประเภทธรุ กิจใน สปป.ลาว ลำดับ ประเภทธรุ กิจ สัดส่วนถอื หุน้ (%) 1 ธนาคาร 10 – 100 2 สถานโี ทรทัศน์ และวทิ ยุ 10 – 49 3 โทรคมนาคม 10 – 100 4 ส่ือ สิง่ พิมพ์ / โรงพิมพ ์ 10 – 100 5 ผลติ ภณั ฑย์ า และเครื่องมือทางการแพทย ์ 10 – 100 6 ประกนั ภัย 10 – 51 7 อสงั หารมิ ทรพั ย์ 10 – 100 8 โรงแรม 10 – 100 9 ท่องเท่ียว 10 – 100 10 การคมนาคมขนส่ง 10 – 49 11 ขายปลกี 10 – 100 12 ขายส่ง 10 – 100 หมายเหตุ: แขนงการประเภทธรุ กจิ ทไี่ ม่ได้ระบไุ ว ้ อตั ราการถอื หุ้นสูงสุดจะอยู่ระหวา่ ง 10 – 100% 3. วสิ าหกจิ ลงทนุ ตา่ งประเทศทงั้ หมด 100% เปน็ วสิ าหกิจของต่างประเทศลงทนุ ฝ่ายเดียว ซึ่งกอ่ ตัง้ ใน สปป.ลาว การก่อตั้งวสิ าหกจิ ดังกลา่ ว อาจจะก่อตัง้ เปน็ นิตบิ คุ คลใหมห่ รือเปน็ สาขาของ วิสาหกจิ ตา่ งประเทศ ทุนจดทะเบียนของวิสาหกิจลงทุนต่างประเทศ ไมน่ ้อย กวา่ รอ้ ยละ 10 ของทนุ ทง้ั หมดตลอดระยะเวลาดำเนินธรุ กจิ ทรัพยส์ นิ ของ วสิ าหกิจ ไม่ใหต้ ำ่ กว่าทุนจดทะเบยี น ทง้ั น ้ี อายขุ องวสิ าหกจิ ลงทนุ ตา่ งประเทศ เป็นการลงทุนตามลักษณะ ขนาด และเงอ่ื นไขของวิสาหกิจ กิจการ หรือ โครงการ ไมใ่ ห้เกนิ 50 ปี และสามารถตอ่ อายไุ ด้ตามการตกลงของรัฐบาล แต่อายุของวสิ าหกิจลงทุนตา่ งประเทศสูงสดุ ไมใ่ หเ้ กนิ 99 ปี การลงทุนทีไ่ ดร้ บั การสง่ เสริมการลงทุนต่างประเทศอยใู่ น สปป. ลาว ปี จำนวนโครงการ เงนิ ลงทุน (เหรียญสหรฐั ฯ) 2544 64 54,097,712 2545 80 133,037,093 2546 178 465,987,139 2547 161 533,148,782 2548 143 1,245,307,116 2549 171 2,699,690,943 คู่มือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 55 สส

ปี จำนวนโครงการ เงินลงทนุ (เหรยี ญสหรัฐฯ) 2550 191 1,136,905,973 2551 152 1,215,543,365 2552 208 4,312,886,689 2553 261 1,882,194,421 ที่มา : สำนกั งานสง่ เสริมการค้าต่างประเทศ ณ กรุงเวียงจันทน์ การลงทนุ ของประเทศทส่ี ำคญั ใน สปป. ลาว ปี 2552 ปี 2553 ลำดับ ประเทศ จำนวนโครงการ เงินลงทุน จำนวนโครงการ เงนิ ลงทนุ (เหรยี ญสหรัฐฯ) (เหรียญสหรัฐฯ) 1 เวยี ดนาม 48 1,421,214,766 58 859,119,685 2 จีน 47 932,892,867 88 604,085,798 3 เกาหล ี 18 74,874,000 21 73,800,397 4 ไทย 37 908,641,389 39 50,355,26 5 อ่ืน ๆ 58 975,263,667 55 294,832,815 รวม 208 4,312,886,689 261 1,882,194,421 ทม่ี า : สำนกั งานสง่ เสริมการคา้ ตา่ งประเทศ ณ กรุงเวยี งจันทน์ การลงทนุ จากต่างประเทศใน สปป.ลาว พบว่ามีจำนวนโครงการ การลงทนุ เพ่ิมขึ้นเรอ่ื ยๆ จากปี 2552-2553 โดยประเทศจนี เขา้ มาลงทนุ ใน ปี 2553 มากทีส่ ดุ จำนวน 88 โครงการ ส่วนประเทศไทยจากเดิมทเี่ คยเป็น ประเทศท่ีเขา้ ไปลงทนุ ใน สปป.ลาว มากท่ีสุด ในปี 2553 อยู่อันดบั 3 ของ ประเทศผเู้ ขา้ ไปลงทนุ รองจากจนี และเวยี ดนาม อยา่ งไรกต็ าม หากมองในดา้ น มูลค่าของการลงทุน พบว่า ประเทศเวียดนามมีมูลค่าการลงทุนมากที่สุด รองลงมาคอื จีน เกาหลีใต ้ และไทย ตามลำดับ การลงทนุ สะสมใน สปป. ลาว 5 อันดบั แรก [ตง้ั แต่ปี 2543 - 2553] ลำดบั ท ่ี ประเทศ จำนวนโครงการ มลู ค่าการลงทุน (เหรียญสหรฐั ฯ) 1 เวียดนาม 265 2,972,339,342 2 จีน 412 2,845,674,318 3 ไทย 276 2,693,565,843 4 เกาหลี 160 515,782,912 5 ฝรงั่ เศส 78 469,537,586 อื่นๆ - 4,179,221,232 รวม - 13,676,121,233 ที่มา : สำนักงานส่งเสริมการค้าตา่ งประเทศ ณ กรงุ เวยี งจนั ทน์ 56 คมู่ ือ การค้าและการลงทุน สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

การลงทนุ สะสมใน สปป.ลาว จากต่างประเทศ พบวา่ โดยภาพรวม โครงการการลงทนุ ต้งั แต่ ปี 2543-2553 พบว่า ประเทศจีนเปน็ ประเทศทเี่ ข้า มาลงทุนโดยมีจำนวนโครงการลงทนุ มากท่ีสุดจำนวน412โครงการ ต ามมาด้วย ประเทศไทย จำนวน 276 โครงการ และ เวียดนาม ฝรัง่ เศส ตามลำดับ แตห่ ากพิจารณาในด้านมูลค่าการลงทุน พบวา่ ประเทศเวยี ดนาม มมี ูลค่าการลงทนุ สงู ท่ีสดุ คอื 2.9 พันลา้ นเหรียญสหรฐั ฯ รองลงมาคอื ประเทศ จีน มลู คา่ 2.8 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ และไทยอยใู่ นอนั ดบั สามคือ 2.7 พันลา้ นเหรียญสหรัฐฯ การลงทนุ ใน สปป. ลาว แยกเป็นรายธุรกจิ ปี 2553 ลำดับท ่ี ประเภทการลงทุน จำนวน มลู คา่ การลงทนุ โครงการ (เหรียญสหรัฐฯ) 1 แหลง่ กำเนดิ ไฟฟ้า 3 443,316,910 2 การเกษตร 32 168,156,086 3 เหมอื งแร ่ 22 268,773,557 4 อตุ สาหกรรมและหัตถกรรม 55 285,134,302 5 บริการ 89 518,834,141 6 การคา้ 36 75,875,225 7 การก่อสร้าง 6 75,000,000 8 โรงแรมและภัตตาคาร 6 9 อตุ สาหกรรมไม ้ 1 6,300,000 10 ธนาคาร 1 12,634,200 11 เทเลคอม 0 12,000,000 12 สง่ิ ทอ 1 13 ทป่ี รกึ ษา 9 0 ทุนภายในประเทศ - 300,000 รวม 261 15,870,000 12,000,000 1,882,194,421 ท่ีมา : สำนกั งานส่งเสรมิ การค้าตา่ งประเทศ ณ กรงุ เวียงจนั ทน์ เมื่อแยกเปน็ รายธรุ กจิ ของจำนวนโครงการการลงทุนใน สปป.ลาว ในปี 2553 สามารถแยกได้เป็น 13 โครงการด้วยกนั โดยมีโครงการภาค บริการซึ่งมีมูลค่าการลงทุนสูงที่สุด มูลค่า 518,834,141 เหรียญสหรัฐฯ ของมลู คา่ การลงทุนทั้งหมด สำหรบั โครงการประเภทเทเลคอม ไม่มกี ารอนมุ ัติ ในปีดงั กลา่ ว คูม่ อื การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 57 สส

อาคารศนู ย์การค้าแห่งใหม่ต้งั อยูย่ า่ นถนนลา้ นช้าง เปน็ ถนนสายหลกั ในนครเวยี งจนั ทน์ นักลงทนุ สงิ คโปรม์ าลงทนุ โครงการลงทุนด้านไฟฟา้ อีกประเภทการลงทุนทดี่ ึงดูดความสนใจจากนกั ลงทนุ ต่างชาติ 4.2 ส่ิงอำนวยความสะดวกพ้ืนฐาน นำ้ ประปา ระบบประปาใน สปป.ลาว มกี ารปรบั ปรุงทงั้ ในด้านปรมิ าณและ คุณภาพ เทศบาลแขวงต่างๆ ของประเทศ และเมืองจำนวนหนึ่งมีระบบ ประปาบรกิ ารประชาชน องคก์ ารนำ้ ประปา กรมเคหะ และผังเมอื ง กระทรวงโยธาธิการ และขนสง่ ได้ทบทวนราคาน้ำประปาสำหรับปี 2551-2553 ขอเสนอปรับข้ึน ราคาร้อยละ 32 ต่อปี เพื่อให้กิจการมีรายได้คุ้มทุน นอกจากนี้องค์การ 58 คู่มอื การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

น้ำประปา กำลงั เตรยี มการใหส้ ัมปทานแกภ่ าคเอกชนใน 6 เขต ของ 2 แขวง ภายใต้โครงการ Mini Reseaux d’Eau Potable ที่ให้ทุนโดยองค์การ GRET เอกชนที่ได้สัมปทานนี้ได้ให้บริการมาตั้งแต่ เม.ย. 49 โดยคิดราคา 2,000 กีบ/ลบ.ม. สำหรบั ครัวเรือน และราคา 2,400 กีบ/ลบ.ม. สำหรับธรุ กิจ ไฟฟา้ นบั ต้ังแต่ พ.ย. 2548 รฐั บาลลาวดำเนินการก่อสร้างสายส่งกระแส ไฟฟา้ ไปทว่ั ประเทศ ตามแผนนโยบายขจดั ความยากจนภายในปี 2563 ปจั จบุ นั ทั่วทั้งประเทศมีบ้านเรือนร้อยละ 44 ที่มีไฟฟ้าใช้ อย่างไรก็ตาม โครงการ ดังกล่าวจะช่วยยกระดับความเจรญิ เติบโตของอุตสาหกรรม ทั้งขนาดเลก็ และ ขนาดกลางในท้องถิ่น และเศรษฐกิจของชุมชนจะมีการขยายตัวมากขึ้นใน ระยะยาว ปจั จุบัน สปป.ลาว ผลิตกระแสไฟฟา้ ได้ 3 พนั ล้านกิโลวัตต์ตอ่ ปี ก า รโท ร ค ม น า ค ม ข อ ง ‘โดยแบ่งใช้ภายในประเทศประมาณ 800 ล้านกโิ ลวัตต์ชว่ั โมง ในขณะท่ีส่งออก สปป.ลาวมีการขยายตัวรวด กระแสไฟฟา้ ประมาณ 229 ลา้ นกิโลวตั ต์ชั่วโมง ซ่งึ ทำให้ สปป.ลาว สามารถ เ ร็ ว ก า ร ให้ บ ริ ก า ร ด้ า น โท ร ส่งออกกระแสไฟฟ้าให้ไทย 72.11 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และนำเข้าจากไทย คมนาคมเปล่ียนจากการให้ 27.87 ล้านเหรียญสหรฐั ฯ บริการ โดยผ่านระบบดาวเทียม สปป.ลาว ใช้ไฟระบบ 220 Volts 50 Hz สำหรบั ผทู้ นี่ ำเครอ่ื งใช้ มาใช้ระบบสายใยแก้ว ซึ่งเชื่อม ไฟฟา้ จากประเทศไทยไปใช้ สามารถใชไ้ ดโ้ ดยทไ่ี มต่ อ้ งใชป้ ลก๊ั ไฟเพอ่ื แปลงไฟใน ต่อทุกแขวงและเมืองต่างๆ การใชก้ บั อปุ กรณไ์ ฟฟา้ ของไทย นอกจากนใ้ี หร้ ะวงั เรอ่ื งไฟตกหรอื ดบั ในบางพน้ื ท่ี ระบบสายใยแก้วได้เช่ือมต่อ โทรคมนาคม ‘กับประเทศใกล้เคียง เช่น ไทย การโทรคมนาคมของ สปป.ลาว มีการขยายตวั รวดเรว็ การให้ เวยี ดนาม และจนี บริการด้านโทรคมนาคมเปล่ียนจากการให้บริการโดยผ่านระบบดาวเทียมมาใช้ ระบบสายใยแก้ว ซ่งึ เชื่อมตอ่ ทกุ แขวงและเมืองตา่ งๆ ระบบสายใยแก้วไดเ้ ชือ่ ม ตอ่ กับประเทศใกล้เคยี ง เชน่ ไทย เวยี ดนาม และจนี บรกิ ารโทรศพั ทม์ อื ถอื มคี รอบคลมุ เกอื บทกุ พน้ื ทใ่ี น สปป.ลาว ปจั จบุ นั มี 5 บริษัท ได้รบั อนุญาตให้บรกิ ารโทรศพั ทพ์ ืน้ ฐานและมอื ถือ บริษัทสว่ นใหญ่ มีรฐั ร่วมทุนอย่ดู ้วยในสดั ส่วน ดงั นี้ บรษิ ัทลาวโทรคม จำกดั (LTC รัฐ 51 : บรษิ ทั ชินวตั ร 49) วิสาหกจิ โทรคมลาว (ETL รัฐ 100) บริษัทลาวเอเชยี (LAT กระทรวงปอ้ งกนั ประเทศ 100) บรษิ ัทมิลิคอม อินเตอร์เนชันนอลเซลลูลาร์ (MLL รฐั 22 : มิลคิ อม 78) และลาวสกาย คอมมินนเิ คชัน่ (รัฐ 30 : สกาย 70) ในขณะทค่ี วามสามารถและจำนวนผูใ้ ห้บรกิ ารดา้ นน้ไี ดเ้ พิม่ สงู ขึ้น จำนวน ประชากรทใ่ี ชบ้ รกิ ารเพม่ิ ขน้ึ อยา่ งรวดเรว็ เหน็ ไดจ้ ากสถติ ขิ องผใู้ ชม้ อื ถอื อตั ราสว่ น (ตอ่ 1,000 คน) ได้สงู ข้นึ ประมาณ 210 คนในปี 2549 เมื่อเทยี บกบั 156 คนในกลางปี 2548 หรอื คดิ อตั ราการเพมิ่ ข้ึนประมาณร้อยละ 35 นอกจากนี้ มีผใู้ หบ้ ริการอินเตอร์เนต็ ได้เพ่ิมจาก 2 บริษทั ในปี 2533 เปน็ 10 บรษิ ทั ในปัจจุบัน คูม่ ือ การค้าและการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 59 สส

โทรศัพท์ รหสั ประเทศ 856 การโทรศพั ทจ์ ากไทยไป สปป.ลาว กรณโี ทรศพั ทเ์ ขา้ โทรศพั ทพ์ น้ื ฐาน กด 007-856-รหัสแขวง-เบอร์โทรศพั ท์ (6 หลกั ) กรณโี ทรศพั ทเ์ ขา้ โทรศัพท์มือถือ กด 007-856-20-เบอร์โทรศพั ท์ มือถอื (7 หลกั ) การโทรศัพท์จาก สปป.ลาว มายังประเทศไทย 00+66+รหัส จังหวัด+เบอร์โทรศัพท์ 4.3 กฎระเบยี บการลงทุน/นโยบายส่งเสรมิ การลงทุน กระทรวงแผนการและการลงทุน สปป.ลาว มหี นว่ ยงานที่รบั ผดิ ชอบต่อการลงทนุ ดำเนินการธุรกจิ ตามทรี่ ะบไุ วใ้ นกฎหมายการลงทุนดังนี้ คณะกรรมการสง่ เสรมิ การลงทุน (Committee for Promotion and Management of Investment: CPMI) ทงั้ ในส่วนกลาง และภูมภิ าค หรือแขวง ทำหน้าทด่ี แู ลนกั ลงทนุ ตา่ งประเทศ อนุญาตการลงทนุ พจิ ารณา ความเป็นไปไดข้ องโครงการ พจิ ารณาเงนิ กแู้ ละเงนิ ชว่ ยเหลือต่างประเทศ และ อนุมตั ิโครงการดว้ ย นอกจากน้แี ลว้ รัฐบาล สปป.ลาว อนุญาตให้เจ้าแขวงทุกแขวง มีอำนาจอนมุ ัตโิ ครงการลงทุนท่มี มี ลู ค่าไมเ่ กนิ 3 ล้านเหรียญสหรฐั ฯ และ อนุญาตให้เจ้าแขวงใหญ่ 4 แขวง ได้แก่ นครหลวงเวียงจันทน์ หลวงพระบาง จำปาสกั และสะหวันนะเขต สามารถอนมุ ตั ิโครงการลงทุน 60 คู่มอื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

ที่มีมลู ค่าการลงทนุ ไมเ่ กิน 5 ล้านเหรยี ญสหรฐั ฯ เพอื่ ใหแ้ ขวงสามารถสรา้ ง บรรยากาศใหเ้ ออ้ื อำนวยตอ่ การลงทนุ ได้อิสระมากข้ึน กรมส่งเสริมการลงทุน (Investment Promotion Department: IPD) ทำหน้าที่เป็นเลขานุการคณะกรรมการและปฏิบัติงานในรูปแบบครบ วงจร (One Stop Service Unit : OSU) สว่ นภูมิภาคหรอื แขวงมีเจ้าแขวง เขตการลงทนุ ใน สปป.ลาว ‘(The Provincial Governor) หรือเจา้ แขวงนครหลวงเวียงจันทน์เป็นประธาน จะมีการแบ่งการลงทุนเป็น 2 และมีแผนกแผนการและการลงทนุ แขวง ทำหน้าท่ีเลขานุการคณะกรรมการ ประเภทหลัก คือ เขตส่งเสริม ในรูปแบบครอบวงจร มสี ำนักงานทีต่ ้ังอยใู่ นทุกแขวงของประเทศ การลงทุนและเขตเศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม เขตการลงทุนใน สปป.ลาว จะมีการแบ่งการ พิเศษ ซึง่ จะมีสทิ ธิประโยชนท์ าง ลงทนุ เปน็ 2 ประเภท หลักคอื เขตสง่ เสริมการลงทนุ และเขตเศรษฐกิจ ด้านภาษีต่อผู้ลงทุนแตกต่าง ‘ พเิ ศษ ซึ่งจะมีสิทธิประโยชน์ทางด้านภาษตี ่อผลู้ งทุนแตกตา่ งกันออกไป กันออกไป ประเภทการลงทุนท่ีมศี กั ยภาพและควรสง่ เสริมให้มกี ารลงทุน 1) ธุรกจิ รบั เหมากอ่ สร้างโครงสรา้ งพ้นื ฐาน หรอื โครงการกอ่ สรา้ ง ขนาดใหญ่ 2) ธรุ กจิ ดา้ นการโรงแรม การท่องเทีย่ ว และสปา 3) ธรุ กจิ ประกอบรถบรรทกุ เพอ่ื ขนสง่ สนิ คา้ ทง้ั ภายในประเทศและ ระหว่างประเทศ 4) การเพาะปลูกสินค้าเกษตรกรรมเพื่อเป็นวัตถุดิบผลิตอาหาร สตั ว์ เช่น ขา้ วโพด ถัว่ เหลอื ง ขา้ ว และทไ่ี มใ่ ชอ่ าหารสตั ว์ เชน่ ยางพารา ปาล์มน้ำมนั และละหุ่ง 5) อุตสาหกรรมแปรรปู สินคา้ เกษตรเพื่อการส่งออก เช่น ผกั และ ผลไมด้ อง หรอื บรรจกุ ระปอ๋ ง 6) สนิ คา้ หตั ถกรรมทีผ่ ลติ จากไม้ ไม้ไผ่และหวาย เพอ่ื การส่งออก 7) อุตสาหกรรมอื่นๆ ที่ สปป.ลาว ไดร้ บั สิทธพิ เิ ศษทางศุลกากร (GSP) จากประเทศทีพ่ ัฒนาแลว้ เชน่ เสอ้ื ผา้ สำเรจ็ รปู รองเทา้ อญั มณี และ เครื่องประดับ - เขตส่งเสรมิ การลงทนุ ระดับการส่งเสริมโดยพิจารณาจากการเป็นกิจการที่รัฐบาลให้ความ สำคัญเกี่ยวกับการแก้ไขความทุกข์ยาก และการยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ ของประชาชน การสรา้ งโครงสรา้ งพนื้ ฐาน การพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย์ การ สรา้ งงานและอน่ื ๆ มี 3 ระดบั คอื ระดับที่ 1 : กจิ การทไ่ี ด้รบั การสง่ เสรมิ สูงสดุ ระดับท่ี 2 : กิจการท่ไี ด้รบั การสง่ เสริมปานกลาง ระดบั ที่ 3 : กจิ การทีไ่ ด้รับการส่งเสริมตำ่ สปป.ลาว พจิ ารณาเขตส่งเสรมิ การลงทนุ ภายใต้พ้ืนฐานของสภาพ ของลกั ษณะทางภูมิศาสตรแ์ ละเศรษฐกจิ สังคม ซึ่งมี 3 เขต โดยแต่ละเขต ค่มู ือ การค้าและการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 61 สส

จะมีผลต่อการจัดเกบ็ ภาษรี ายได้แตกตา่ งกนั ดังน้ี เขต 1 : เป็นเขตท่ีมีโครงสร้างพ้นื ฐานเศรษฐกจิ - สังคม ที่ยังไม่มี สิ่งอำนวยความสะดวกแก่นักลงทุนและภูมิประเทศส่วนใหญ่ยังเป็นเขตภูดอย ห่างไกลทุรกันดาร เขตดังกล่าวจะได้รับการส่งเสริมการลงทุนในระดับสูงสุด (ระดับ 1 ) ซึง่ มปี ระมาณ 52 อำเภอ เขต 2 : เปน็ เขตทม่ี โี ครงสรา้ งพน้ื ฐานเศรษฐกจิ - สงั คม ทส่ี ามารถ อำนวยความสะดวกแก่การลงทุนและภูมิประเทศไม่ทุรกันดารเท่ากับเขตที่ 1 เขตดงั กล่าวจะได้รบั การส่งเสริมการลงทนุ ในระดับปานกลาง (ระดับ 2) ซง่ึ มี ประมาณ 26 อำเภอ เขต 3 : เป็นเขตทีม่ ีโครงสรา้ งพนื้ ฐานเศรษฐกจิ - สงั คม ท่ีมีสงิ่ อำนวยความสะดวกท่เี หมาะสมแก่การลงทนุ เขตดงั กล่าวจึงไดร้ บั การสง่ เสริม การลงทนุ ในระดับตำ่ ( ระดบั 3 ) ตารางแสดงชอ่ื เมอื ง และแขวง ในเขตสง่ เสรมิ การลงทุน ของสปป.ลาว แขวง เขตท่ี 1 เขตที่ 2 เขตท่ี 3 พงสาล ี พงสาลี หัวพัน ขวาใหม่ พงสาลี บนุ ใต้ หลวงพระบาง หลวงน้ำทา ลอง เวียงพคู า นาหมอ้ สงิ นำ้ ทา จันทะบุลี อุดมไซ เมอื งแบง่ ลา งา หัวพัน เวียงทอง เวียงคำ สบิ เบา ซำเหนือ ปากเซ หัวเมือง ซำใต้ แอด บอ่ แก้ว นาอุดม ปากทา ตน้ ผงึ้ หลวงพระบาง เวยี งคำ ปากแบง่ โพนไซ จอมเพ็ด พูกูด ไซยะบรุ ี เวยี งฮอ้ ม หงสา ไซยะบุรี เพยี ง ปากสวย ทุ่งมไี ช เชยี งขวาง คำ หนองแรด แปลก คูน หมอกใหม่ เวยี งจันทน์ แมด็ หินเหิบ ห่ม สาระคาม ทาส ี นครหลวงเวยี งจันทน์ เมอื งนาทรายทอง บอลิคำไซ เวยี งทอง คำแสด ท่าพระบาด ปากกะดง่ิ คำมว่ น นากลาง ยมมะลาด มหาไซ หนิ ปนู ท่าแขก เซบง้ั ไฟ มง้ ละพา สะหวนั นะเขต วีละบุลี เซโปน พนั ท่าปางทอง อุดมพอน สองคอน ชนบุลี มอง นครเพิง ดงเซโดน ตะโอ้ สาละวัน ตุ้มลาน เซกอง กะลน ค่ัวจิง ปากซอง จำปาสัก บาเจียง เจริญสกุ ปทุมพอน มนู ละ ปะโมก อัตตะปอื เซยี นไซ พูงวง 62 คมู่ อื การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

แผนภาพ แสดงการแบง่ พื้นทกี่ ารลงทุน สทิ ธปิ ระโยชน์ด้านการลงทุน ทุกๆ การลงทนุ ของวสิ าหกิจลงทนุ ตา่ งประเทศจะไดร้ บั การสง่ เสริม การลงทุนเพ่มิ เติม ดงั นี้ 1. กำไรที่นำไปขยายกิจการที่ได้รับอนุญาต จะได้รับการยกเว้น อากรกำไรในปีการบญั ชี 2. สง่ ผลกำไร ทนุ และรายรับอนื่ ๆ (ภายหลังทีไ่ ด้ปฏิบัตพิ ันธะ ทางดา้ นภาษอี ากร และค่าธรรมเนียมอ่ืนๆ ตามระเบยี บกฎหมายแลว้ ) กลับ ประเทศของตน หรอื ประเทศทส่ี าม โดยผ่านธนาคารท่ตี ้ังอยูใ่ น สปป.ลาว 3. ได้รับการยกเว้นภาษีนำเข้า และอากรที่เก็บจากการนำเข้า อปุ กรณ์ เครื่องอะไหล่ พาหนะการผลิตโดยตรง วัตถุดิบที่ไม่มีอยู่ภายใน ประเทศ หรอื มแี ตไ่ มเ่ พยี งพอ ผลิตภัณฑ์ก่งึ สำเร็จรปู ท่ีนำเขา้ มาเพ่อื แปรรปู หรือประกอบเปน็ ผลิตภณั ฑ์เพือ่ ส่งออก นอกจากนี้ กระทรวงแผนการและลงทุน ประกาศใช้กฎหมาย ส่งเสริมและบริหารการลงทนุ จากต่างประเทศใน สปป.ลาว ต้ังแต่เดือนตลุ าคม 2547 กจิ การลงทุนใน 7 รายการ ท่ีไดร้ ับการสง่ เสรมิ การลงทุน จะได้รับ สทิ ธิประโยชนด์ า้ นภาษี ดังนี้ คู่มือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 63 สส

1) ยกเวน้ ภาษนี ำเขา้ ยานพาหนะ เครื่องจกั ร และอปุ กรณท์ ใ่ี ชใ้ น การผลิต รวมท้งั วตั ถุดิบ 2) ยกเวน้ ภาษีสง่ ออกสำหรบั สนิ ค้าส่งออก หรอื สินคา้ สง่ ออกต่อ (Re-export) 3 ลดอตั ราภาษีกำไรใหก้ ับธรุ กจิ ทีต่ ้ังอย่หู า่ งไกล โดยพจิ ารณาตาม เขตพืน้ ที่การลงทนุ ตารางแสดงสิทธปิ ระโยชนท์ างภาษีในแตล่ ะเขตส่งเสริมการลงทุนใน สปป.ลาว เขตท่ี 1 เขตท่ี 2 เขตท่ี 3 พ้ืนท่ีหา่ งไกลทรุ กนั ดาร พื้นท่ีทีม่ ีสาธารณปู โภค เขตเมืองใหญม่ ี ลำดับของกิจการ โครงสรา้ งพ้นื ฐาน พ้ืนฐานทางเศรษฐกิจ สาธารณูปโภค ไม่สะดวก บางส่วน พนื้ ฐานพรอ้ ม กิจการท่ไี ด้รับการสง่ เสริม ยกเวน้ ภาษีกำไร 10 ป ี ยกเว้นภาษีกำไร 6 ปี ยกเว้นภาษกี ำไร 4 ปี การลงทุนระดับ 1 กจิ การที่ได้รับการส่งเสรมิ ยกเวน้ ภาษีกำไร 6 ป ี ยกเวน้ ภาษีกำไร 4 ปี ยกเวน้ ภาษีกำไร 2 ปี การลงทนุ ระดบั 2 กจิ การทไ่ี ดร้ บั การส่งเสรมิ ยกเว้นภาษกี ำไร 4 ปี ยกเว้นภาษกี ำไร 2 ป ี ยกเวน้ ภาษีกำไร 1 ปี การลงทนุ ระดบั 3 นโยบายสง่ เสรมิ การลงทนุ เฉพาะ การสรา้ งโรงพยาบาล ยกเว้นคา่ เช่าหรือ ยกเวน้ ค่าเชา่ หรอื ยกเว้นคา่ เช่าหรอื โรงเรยี นอนบุ าล ค่าสมั ปทาน 15 ปี คา่ สัมปทาน 10 ป ี คา่ สัมปทาน 3 ปี โรงเรียนวิชาชีพ และได้รับการยกเว้น และได้รับการยกเว้น และได้รบั การยกเวน้ ภาษี วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัย ภาษีกำไรเพ่ิมอกี 5 ปี ภาษีกำไรเพ่มิ อกี 5 ปี กำไรเพ่มิ อกี 5 ปี เขต 1 อตั ราอากรกำไร ปที ี ่ 0% (ยกเว้นอากรกำไร) 0-7 ป ี ปีที่ 8 เป็นต้นไป 10% เขต 2 0% (ยกเวน้ อากรกำไร) 0-5 ปี 6-8 ปี 7.5% ปที ี่ 8 เปน็ ตน้ ไป 15% เขต 3 0% (ยกเวน้ อากรกำไร) 0-2 ป ี 10% 3-4 ปี 20% ปที ่ี 8 เปน็ ต้นไป 64 คูม่ อื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

สิทธกิ ารเช่าทดี่ ิน 1. ระยะเวลาท่ีอนุญาตให้เช่าเท่ากับระยะเวลาท่ีได้รับอนุญาตให้ลง ทนุ แต่ไม่เกนิ 75 ปี แตอ่ ยา่ งไรกด็ ี ผู้ลงทนุ สามารถขอเช่าทด่ี นิ ต่อได้ 2. หากระยะเวลาการเชา่ มากกว่า 30 ปีขน้ึ ไปจะไดร้ ับการยกเว้นค่า เชา่ เปน็ ระยะเวลา 12 ปี 3. การโอนสทิ ธกิ ารใชท้ ด่ี นิ ใหบ้ คุ คลอน่ื จะทำไดก้ ต็ อ่ เมอ่ื ผเู้ ชา่ รายแรก จ่ายค่าเช่าท่ดี นิ ครบแลว้ - เขตเศรษฐกิจพิเศษ เขตเศรษฐกจิ พิเศษสะหวนั -เซโน (Savan Seno Special Economic Zone) เขตเศรษฐกิจพิเศษสะหวัน-เซโน จัดตั้งขึ้นเมื่อปี 2546 เป็นหนึ่ง ในแผนของรัฐบาลลาว ภายใต้นโยบายส่งเสริมการลงทุนจากต่างประเทศ เพื่อจูงใจให้นกั ลงทนุ ตา่ งชาติเขา้ มาตั้งฐานการผลิตในลาวเพ่ิมมากข้นึ ทัง้ นี้ เขตเศรษฐกจิ พิเศษสะหวันเซโนเปน็ เขตเศรษฐกิจพิเศษแห่งแรกของ สปป.ลาว ทจี่ ดั ต้งั ขน้ึ ตามแนวระเบยี งเศรษฐกิจตะวันออก - ตะวนั ตก (East - West Economic Corridor) ซึ่งรฐั บาล สปป.ลาว ไดต้ ้งั เป้าหมายให้เขตเศรษฐกิจน้ี เป็นเขตเศรษฐกิจที่จะนำ สปป.ลาว ไปสู่การหลดุ พน้ จากความยากจน สรา้ ง พื้นฐานดา้ นอตุ สาหกรรมและความทันสมยั ภายใน พ.ศ.2563 โดยการดงึ ดดู นกั ลงทนุ ต่างชาติ ให้เข้าไปลงทนุ ในลาว เพ่ือสรา้ งงาน สรา้ งรายได้ และพัฒนา ฝีมอื แรงงานลาว นกั ลงทุนจะได้รบั การอำนวยความสะดวก ในการติดตอ่ ขออนุญาต ลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษฯ เนื่องจากมีการตั้งหน่วยงานที่ทำหน้าที่บริหาร เขตเศรษฐกิจพิเศษฯ คอื Savan Seno Special Economic Zone Authority (SEZA) เป็น One Stop Service มอี ำนาจพิจารณาอนมุ ตั กิ าร ลงทนุ และใบอนุญาตลงทนุ ใชเ้ วลาดำเนนิ การเพยี ง 5 วนั ทำการภายหลงั จาก ได้รบั เอกสารทเี่ ก่ียวข้องครบถ้วนจากผู้ย่ืนขอลงทุน เขตเศรษฐกจิ พิเศษสะหวัน - เซโน จะเอือ้ ประโยชนต์ ่อนกั ลงทุน ต่างชาติหลายประการซ่งึ สามารถสรุปไดด้ ังนี้ เขตเศรษฐกิจพิเศษฯ เป็นจุดที่สามารถขนส่งได้ต่อเนื่องและหลาย รปู แบบ อาทิ ขนส่งทางถนนไปยังจนี และประเทศตา่ งๆ ในภาคพ้ืนเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ขนส่งทางเรือไปยังท่าเรือดานัง และแหลมฉบงั เพอื่ ตอ่ ไปยัง คู่ค้าทั่วโลก และหากปรับปรุงสนามบินสะหวันนะเขตเป็นไปตามแผน จะ สามารถขนส่งสนิ ค้าทางอากาศต่อไปยังไทย เวยี ดนาม สิงคโ์ ปร์ ฮอ่ งกง เชอื่ ม ไปประเทศอ่นื ๆ ได้ การขนส่งสินค้าผ่านด่านมุกดาหาร - สะหวันนะเขต จะใชเ้ วลาและ ข้ันตอนน้อยลงเน่ืองจากมุกดาหารและสะหวันนะเขตเป็นพ้ืนที่นำร่องในการ คู่มอื การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 65 สส

อำนวยความสะดวกท่ดี า่ นในระบบ Single Stop Inspection Service นกั ลงทนุ ทเ่ี ขา้ ไปต้ังฐานการผลิตใน สปป.ลาว โดยเฉพาะในสินคา้ เครือ่ งนงุ่ หม่ และเส้ือผา้ สามารถใชป้ ระโยชน์จากสทิ ธิพเิ ศษทางภาษีศลุ กากร ที่ สปป.ลาว ได้รบั จากประเทศพัฒนาแลว้ ในฐานะท่ี สปป.ลาว เปน็ หน่ึงใน ประเทศทพ่ี ฒั นานอ้ ยท่ีสดุ (Least Developed Countries : LDCs) สปป.ลาว ยังมที รัพยากรอดุ มสมบรู ณ์ ท่ดี นิ ปา่ ไม้ แรธ่ าตมุ าก เหมาะแกก่ ารเป็นวัตถใุ นการผลติ สปป.ลาว โดยเฉพาะแขวงสะหวนั เขตมแี รงงานไรฝ้ มี ือ และกงึ่ ไร้ ฝมี อื ในปรมิ าณเพยี งพอจะใช้ในเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษฯ (ประมาณ 7,000 คน) และค่าจา้ งแรงงานตำ่ ประมาณ 40 - 50 ดอลลารส์ หรัฐฯ ตอ่ เดือน สปป.ลาว มแี หล่งพลงั งานไฟฟ้ามาก ท่สี ำคญั คือ เขอื่ นนำ้ เทนิ 2 ซ่งึ จะช่วยเรือ่ งพลงั งานไฟฟ้าให้กับเขตเศรษฐกิจพเิ ศษฯ สปป.ลาว เป็นประเทศท่ีมเี สถียรภาพทางการเมอื งและความปลอด ภยั ทางสงั คมสูง รายละเอยี ดสภาพพืน้ ที่ของเขตเศรษฐกิจพเิ ศษสะหวนั - เซโน พืน้ ที่สว่ น A มเี น้ือท่ี 305 เฮกตาร์(1) ต้ังอยูบ่ น กม. 5 บรเิ วณ ดา่ นสะพานมติ รภาพ 2 รฐั บาลมแี ผนจะพฒั นาพน้ื ทส่ี ว่ นนเ้ี ปน็ เขตอตุ สาหกรรม ผลติ เพอ่ื สง่ ออก (Export Processing Zone) รวมถงึ เปน็ ทต่ี ง้ั ของอตุ สาหกรรม สนบั สนนุ (Supporting Industry) และศูนยก์ ลางของธรุ กิจบริการ เชน่ ศนู ยป์ ระชมุ นานาชาติ กีฬา ปัจจบุ ันบริษทั Thai Airport Ground Services Co., Ltd. (TAGS) ของไทยรว่ มทุนกบั รฐั บาล (70:30) ในการพฒั นาพื้นท่ี 270 เฮคต้า (ประมาณ 1,687.5 ไร)่ แผนภาพแสดง พนื้ ทีข่ องเขตเศรษฐกิจพิเศษสะหวัน-เซโน (โซน A) ทมี่ า : Ministry of Finance of Lao PDR 66 ค่มู ือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

พ้ืนท่สี ว่ น B มีเนื้อท่ี 20 เฮกตาร์ ตั้งอย่ทู ่ี กม.ท่ี 28 ใกล้ ทางแยกระหวา่ งถนนหมายเลข 13 และหมายเลข 9 ทเี่ มืองเซโน หรอื เมอื งอุทมุ พร ห่างจากพื้นทีส่ ว่ น A ไปทางทศิ ตะวนั ออกตามเส้นทางถนน หมายเลข 9 ประมาณ 30 กโิ ลเมตร รัฐมแี ผนจะพฒั นาพื้นท่ีส่วนนี้เปน็ ศนู ย์ กลางการขนส่งสินค้า ประกอบด้วย คลังสินคา้ ศูนยร์ วบรวมและกระจายสนิ ค้า สถานีบรรจแุ ละแยกสินค้ากลอ่ ง และสถานพี ักตู้คอนเทนเนอร์ และโรงจอดรถ บรรทกุ สินค้า เพราะบริเวณดงั กลา่ วเป็นจดุ ตดั ของเส้นทางหมายเลข 9 ไปยัง เวียดนาม กบั เส้นทางหมายเลข 13 ไปยังภาคเหนอื และใตข้ องลาว แผนภาพแสดง พนื้ ทขี่ องเขตเศรษฐกิจพเิ ศษสะหวนั -เซโน (โซน B) ทีม่ า : Ministry of Finance of Lao PDR ภายในเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษสะหวนั - เซโน ไดก้ ำหนดใหม้ เี ขตเศรษฐกจิ ท่สี ่งเสรมิ ดงั น้ี เขตอุตสาหกรรมการผลติ และแปรรปู เพ่ือการสง่ ออก (EPZ: Export Promotion Zone) เขตการค้าปลอดภาษี (FTZ : Free Tax Zone) เขตการบรกิ ารและการกระจายสินค้า (Logistic) สปป.ลาว ได้กำหนดทนุ จดทะเบียนขั้นตำ่ ในแต่ละสาขาการลงทุนท่ี จะเข้ามาลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษฯ โดยแบง่ ออกเป็น 3 ประเภท คอื ทุนจดทะเบียนตั้งแต่ 100,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ ขึ้นไป ในสาขา การผลิต Logistics การขนสง่ โรงแรม สาขาบรษิ ัท โรงพยาบาล โรงเรยี น ทุนจดทะเบียนตั้งแต่ 50,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ ขึ้นไป ในสาขา การคา้ ส่ง คา้ ปลกี Forwarding การท่องเท่ียว บริการทวั่ ไป คมู่ ือ การค้าและการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 67 สส

ทุนจดทะเบียนตัง้ แต่ 10,000 ดอลลาร์สหรฐั ฯ ข้ึนไป ในสาขา สำนักงานตัวแทน สิทธิประโยชน์ ด้านอากร - ยกเว้นอากรขาเขา้ สำหรับสนิ คา้ ทน่ี ำเข้ามาผลติ หรือแปรรูป เพอ่ื ส่งออกกลบั ไป หรือใช้ภายในเขตฯ อาทิ วตั ถุดิบ วัสดุกอ่ สรา้ ง เครอ่ื งจักร พาหนะ อะไหล่ อุปกรณ์ และอ่ืน ๆ - ลดอากรขาเขา้ สำหรับรถท่ีใชใ้ นสำนักงานเหลือรอ้ ยละ 1 สำหรบั รถซดี าน รถกระบะ รถตู้ รถจี๊ป ทงั้ นีจ้ ะพิจารณาจากทุนจดทะเบยี น ดังน้ี ตารางแสดง สิทธิประโยชน์ดา้ นอากร ทนุ จดทะเบียน (ดอลลาร์สหรฐั ฯ) จำนวนรถทีไ่ ด้รบั สิทธิเสียภาษี 1 % 100,000 – 499,000 1 คัน 500,000 – 999,999 2 คนั 1,000,000 ขึน้ ไป 3 คัน ทมี่ า : แหลง่ ข้อมลู เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษสะหวัน - เซโน ด้านภาษี ภาษีตัวเลขธรุ กิจ (Turnover Tax) คิดตามฐานรายรบั ทงั้ หมด ภาษกี ารใช้ประโยชน์เทยี บได้กับ VAT ของไทย - ยกเวน้ ภาษี 2 ชนดิ นี้ สำหรบั สินค้าท่ีเขา้ มาจำหนา่ ยหรือใช้ในเขต เศรษฐกจิ พเิ ศษ - ยกเว้นภาษี 2 ชนิดนี้ สำหรับผลติ ภัณฑ์ทผี่ ลติ ในเขตเศรษฐกจิ พิเศษ - สินค้าและผลิตภัณฑ์จากเขตเศรษฐกิจพิเศษที่ส่งไปขายในตลาด ภายในประเทศ สปป.ลาว จะตอ้ งเสียภาษชี นิดนี้ ตามข้อ 5, 12, 2 และ 23 ของกฎหมายภาษี - ภาษีเงนิ ไดส้ ่วนบคุ คล คิดร้อยละ 5 สำหรบั ชาวลาว และชาว ตา่ งชาติ - ภาษเี งนิ ปนั ผล เรยี กเก็บร้อยละ 5 สำหรับบรษิ ัททีม่ ผี ู้ร่วมทนุ มาก กว่า 1 ราย (ต้องจา่ ยหลังสิน้ สุดระยะยกเวน้ ภาษ)ี - ภาษีกำไร มีระยะเวลาในการยกเว้นภาษีและอัตราภาษีเงินได้ แบบพเิ ศษ มีรายละเอยี ดดงั น้ี 68 ค่มู ือ การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

ตารางแสดง การยกเว้นอากรกำไรตามประเภทสาขาและเงนิ ลงทุนในเขตเศรษฐกจิ พิเศษสะหวัน-เซโน ประเภทการลงทนุ ระยะยกเว้น อากรกำไรท่เี ก็บหลงั สิน้ สุด อากรกำไร (ป)ี ระยะยกเว้น (%) อุตสาหกรรม 8 การผลติ ทสี่ ่งออกมากกว่า 70% หรอื ผลิตสนิ ค้าเทคโนโลยสี งู 10 8 การผลติ ทสี่ ่งออกระหวา่ ง 30-69% 7 8 การผลิตทีส่ ง่ ออกนอ้ ยกว่า 30% 5 8 การผลิตประเภทอ่ืนๆ 5 สาขาบรกิ ารและการพฒั นา 10 ทนุ จดทะเบียนตัง้ แต่ 2 ลา้ นดอลลาร์สหรัฐฯ 8 8 ทนุ จดทะเบียนตงั้ แต่ 5 แสน - 1.99 ล้านดอลลารส์ หรฐั ฯ 6 8 ทนุ จดทะเบียนตั้งแต่ 3 แสน - 4.99 ลา้ นดอลลาร์สหรัฐฯ 4 10 ทนุ จดทะเบยี นตง้ั แต่ 1.5 แสน - 2.99 แสนดอลลารส์ หรัฐฯ 2 10 ทุนจดทะเบยี นตั้งแต่ 5 หมน่ื - 1.49 แสนดอลลาร์สหรัฐฯ 10 สาขาการคา้ 10 การคา้ ท่สี ่งออกสินค้าของลาวและเขตฯ ไปต่างประเทศ 5 10 การค้าที่เกี่ยวกับการสง่ ออกกลบั และสง่ ออกต่อไปยงั ประเทศท่ี 3 3 10 (ผา่ นการคา้ ชายแดน) 2 การค้าทว่ั ไป (นอกเหนอื จากการคา้ ขา้ งต้น) ที่มา : Investment Promotion Department of Laos ระยะเวลาท่ีอนุญาตให้เช่าจะเท่า กับระยะเวลาทไี่ ด้รบั อนญุ าตให้ลงทุน นาน ทสี่ ุดไม่เกนิ 75 ปี แต่ทั้งนส้ี ามารถทจ่ี ะเชา่ ตอ่ ได้ - หากระยะเวลาการเช่ามากกว่า 30 ปีขึ้นไป จะได้รับการยกเว้นค่าเช่าเป็น ระยะเวลา 12 ปี - การโอนสทิ ธกิ ารใชท้ ด่ี นิ ใหบ้ คุ คล อ่นื จะทำได้ก็ต่อเมือ่ ผู้เชา่ รายแรกจ่ายค่าเชา่ ทด่ี นิ ครบถว้ นแลว้ คมู่ ือ การค้าและการลงทุน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 69 สส

ตารางแสดง ระยะเวลาการยกเวน้ และอัตราภาษีเงินไดน้ ติ บิ ุคคลท่เี รยี กเกบ็ ในเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษสะหวัน-เซโน ภาคอตุ สาหกรรม สดั ส่วนการส่งออก (%) ระยะเวลาการยกเวน้ ภาษี (%) อตั ราภาษีหลงั การยกเว้น (%) 10 8 รอ้ ยละ 70 ข้ึนไป 7 8 รอ้ ยละ 30-69 5 8 นอ้ ยกว่าร้อยละ 30 ภาคบรกิ าร ทนุ จดทะเบยี น (US$) ระยะเวลาการยกเวน้ ภาษี (%) อัตราภาษหี ลังการยกเวน้ (%) 10 8 ตงั้ แต่ 2,000,000 ขึน้ ไป 8 8 500,000-1,999,999 6 10 300,000-499,999 4 10 150,000-299,999 2 10 50,000-149,999 การค้า สง่ ออก/นำเขา้ 5 10 3 10 ส่งออกต่อ 2 10 ทั่วไป ทม่ี า : Ministry of Finance of Lao PDR หลักประกันและสิทธิประโยชน์อ่ืนท่ีมิใช่ภาษีในการเข้าไปลงทุน ใน สปป.ลาว ได้แก่ 1) การให้ความคุ้มครองแก่นักลงทุนและทรัพย์สินของนักลงทุน ต่างชาติ รวมถึงอนญุ าตใหน้ กั ลงทนุ สามารถเช่าที่ดิน และโอนสิทธิและผล ประโยชนจ์ ากการเชา่ ทด่ี นิ ได้ 2) ทรพั ยส์ ินของนักลงทนุ ต่างชาติจะไมถ่ ูกเรยี กคืน หรอื นำเอาไป จัดสรรใหมภ่ ายใตก้ ฎหมายรฐั ธรรมนญู ของ สปป.ลาว 3) นักลงทุนสามารถส่งรายได้และเงินทุนกลับไปยังประเทศของ ตน หรอื ประเทศอ่นื ได้อยา่ งเสรี 4) การอนญุ าตให้นำเขา้ แรงงานตา่ งชาตไิ ดไ้ ม่เกนิ ร้อยละ 10 ของ แรงงานทั้งหมด 5) การยกเลิกการเก็บเงินค้ำประกันการลงทุนจากนักลงทุนต่าง ชาติ 70 คมู่ อื การค้าและการลงทุน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

6) รัฐบาล สปป.ลาว จะไม่เข้าแทรกแซงตลาด แต่จะปล่อยให้มี การแขง่ ขันอย่างเสรี 7 รฐั บาล สปป.ลาว ไมแ่ บง่ แยกเรอ่ื งเชอ้ื ชาติหรอื สญั ชาติของนกั ลงทนุ 8) การอำนวยความสะดวกในการเดินทางเข้า-ออกนอกประเทศ ใหแ้ กน่ ักลงทนุ ต่างชาติ อาทิ การให้วซี า่ เขา้ ออกหลายครง้ั (Multiple Entry Visas) และสิทธิในการพักอาศัยระยะยาวใน สปป.ลาว รวมถึงมีสิทธิ์ขอ สญั ชาตลิ าว ตามขอบเขตทบี่ ัญญัติไว้ในกฎหมาย 9) นักลงทุนต่างชาติจะได้รับสิทธิประโยชน์ด้านภาษีศุลกากรเป็น การทั่วไป (Generalized System of Preferences: GSP) สำหรับ สินคา้ ท่ลี งทนุ ผลิตใน สปป.ลาว เพือ่ สง่ ออกไปยงั EU และญีป่ ุ่น 10) สปป.ลาว เปน็ สมาชกิ ของกลุ่มอาเซยี นตั้งแตเ่ ดือนกรกฎาคม 2540 โดย สปป.ลาว มีพนั ธกรณีทตี่ อ้ งเริ่มลดภาษีภายใต้กรอบ AFTA ในปี 2541 และจะต้องลดและยกเลิกมาตรการกีดกันทางการค้าทั้งที่เป็นภาษีและ มิใชภ่ าษีให้แก่สมาชิกอาเซียนให้แลว้ เสรจ็ ภายในปี 2558 ขณะเดยี วกันสินคา้ ท่สี ง่ ออกจาก สปป.ลาว ไปยงั ประเทศในกลมุ่ อาเซยี นกจ็ ะไดร้ บั สทิ ธปิ ระโยชน์ ดา้ นภาษีดว้ ย 11) สปป.ลาว ลงนามในอนสุ ญั ญาเพอ่ื ยกเวน้ การเกบ็ ภาษซี อ้ น (The Avoidance of Double Taxation) กบั ไทย ซง่ึ เร่มิ มีผลบังคับใช้ตงั้ แต่ 1 ม.ค. 41 ทำให้รายไดต้ า่ งๆ ท่นี กั ลงทนุ ไทยไดร้ บั จากการลงทุนใน สปป.ลาว ไมม่ ีปัญหาภาษีซอ้ น 4.4 ต้นทนุ การจัดตั้งธุรกจิ การดำเนินธุรกิจใน สปป.ลาว - การจดั ต้งั นิตบิ ุคคลใน สปป.ลาว ตอ้ งไปจดทะเบียนทแ่ี ผนกการ คา้ แขวง (มีอตั ราคา่ ธรรมเนยี ม) - ไปจดทะเบียนผเู้ สียอากรจากแผนกการเงนิ แขวง และจะได้รบั ใบหมายเลขผู้เสยี อากร ซงึ่ ค่าธรรมเนยี มจะขนึ้ อยู่กับจำนวนเงนิ ลงทุน และ ประเภทของธุรกิจที่จดทะเบียน (คา่ อากรเสยี ครงั้ เดียว) - การประกอบธุรกิจใน สปป.ลาว จะต้องเสยี คา่ อากรตัวเลขธรุ กิจ (อตธ.) ร้อยละ 3 ของมูลคา่ รายได้ท่ไี ดร้ บั ในแตล่ ะปี - ภาษเี งนิ ได้นิตบิ คุ คลและบคุ คลธรรมดา ภาษีนติ ิบุคคล ในกรณกี ารลงทุนของต่างประเทศใน สปป.ลาว ตอ้ ง เสียอากรกำไรใหแ้ กร่ ัฐบาล สปป.ลาว ภาษรี ายไดบ้ คุ คลธรรมดา ถา้ เปน็ คนตา่ งดา้ วเขา้ มาทำงาน/ประกอบ อาชีพใน สปป.ลาว ตอ้ งเสียอากรเงนิ ได้ คู่มือ การค้าและการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 71 สส

- ภาษีมูลค่าเพมิ่ (VAT) ในทางปฏบิ ัติยังไมเ่ ขม้ งวด เพราะยังไมม่ ี ระบบการตรวจสอบทีด่ ี การเปลี่ยนแปลงทางด้านภาษขี อง สปป.ลาว ในอนาคตมีแนวโนม้ ที่ดีขน้ึ และเกดิ ประโยชนแ์ กส่ องฝา่ ย คือ รัฐบาลและผู้ลงทนุ ทัง้ น้ีเนอื่ งจาก ว่า สปป.ลาว ไดเ้ ขา้ เป็นสมาชิกของประชาชาตอิ าเซียนตง้ั แตป่ ี 2540 และ ยังได้ทำสัญญาภาคกี บั นานาอารยประเทศในเขตภูมภิ าคและในโลก ดังนัน้ ในอนาคต สปป.ลาว จะอยโู่ ดดเด่ียวโดยลำพังไม่ได้ ระบบการคา้ การลงทนุ จะมีการแขง่ ขันอยา่ งเสรมี ากข้นึ - ค่าแรง คา่ แรงงานขน้ั ตำ่ รฐั บาลกลางกำหนดใหน้ กั ลงทนุ ตา่ งประเทศจะตอ้ ง จา่ ยคา่ แรงงานขน้ั ตำ่ สำหรบั การทำงานในอตั รา 10,000 กบี ตอ่ วนั (ประมาณ 38 บาท) หรือเดือนละประมาณ 300,000 กีบ (ประมาณ 1,137 บาท) 4.5 ภาษี ระบบภาษีท่ีเก่ียวข้องกับนักลงทุนต่างชาติที่เข้าไปประกอบธุรกิจใน สปป.ลาว มีดังนี้ 1. ภาษีกำไรของบริษทั (Tax on Enterprise Profits or Profit Tax) เก็บภาษีจากกำไรของหน่วยธุรกิจที่มีฐานะเป็นนิติบุคคลท้ังภายใน และต่างประเทศในอัตราร้อยละ 28 รวมทั้งหน่วยธุรกิจ / นิติบุคคลของ ต่างประเทศที่ได้รับอนุญาตให้ลงทุนตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน สำหรับหน่วยธุรกิจ ซึ่งมีฐานะเป็นนิติบุคคลทั้งภายในและต่างประเทศที่ผลิต ยาสบู ใหเ้ สยี ภาษกี ำไรในอตั ราร้อยละ 30 ในท่นี ้ี รอ้ ยละ 2 ให้มอบเข้า กองทุนควบคุมยาสูบ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการควบคมุ ยาสบู 72 ค่มู ือ การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

2. ภาษเี งนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา (Personal Income Tax) ภาษเี รยี กเกบ็ จากรายไดจ้ ากผมู้ รี ายไดจ้ ากเงนิ เดอื น คา่ แรงงานทเ่ี ปน็ คนลาว คนต่างด้าว คนต่างประเทศ และคนไม่มีสญั ชาตทิ ุกคนท่มี ีรายได้จาก การทำงานอยูใ่ นดนิ แดนของ สปป.ลาว ตามอัตรากา้ วหน้า ตงั้ แตร่ ้อยละ 0 - รอ้ ยละ 28 ตารางแสดง อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ข้ัน ฐานกำไรแต่ละขัน้ (กบี ) ฐานการคำนวณ อตั ราอากร อากรกำไร อากรทง้ั หมด (กีบ) แตล่ ะข้ัน (กีบ) ที่ตอ้ งจา่ ย (กีบ) 1 ตงั้ แต่ 1,000,000 ลงมา 1,000,000 0% 0 0 2 ต้งั แต่ 1,000,001 - 3,000,000 2,000,000 5% 100,000 100,000 3 ต้งั แต่ 3,000,001 - 6,000,000 3,000,000 10% 300,000 400,000 4 ตง้ั แต่ 6,000,001 - 12,000,000 6,000,000 15% 900,000 3,300,000 5 ต้งั แต่ 12,000,001 - 24,000,000 12,000,000 20% 2,400,000 3,700,000 6 ตั้งแต่ 24,000,001 – 40,000,000 16,000,000 25% 4,000,000 7,700,000 7 ตง้ั แต่ 40,000,001 ข้นึ ไป ………………. 28% …………………. …………………. 3. ภาษศี ลุ กากร (Import and Export Duty) โดยท่ัวไป สปป.ลาว จดั เก็บภาษีศลุ กากรสำหรบั การนำเข้าและการ ส่งออกในอตั รา 2-70% ข้ึนอย่กู บั ประเภทของสนิ ค้า การส่งออก : • อตุ สาหกรรมผลิตเพือ่ สง่ ออกที่ไดร้ บั สง่ เสรมิ การลงทนุ จะได้รับ ยกเวน้ ภาษีส่งออกสำหรบั สินค้าสำเร็จรูปทกุ ชนิดทสี่ ่งออก • อตั ราภาษสี ง่ ออก แยกตามประเภทสินคา้ ได้แก่ สินคา้ อัตราภาษี (%) ไฟฟ้า 20 เมล็ดกาแฟ 5 ซุง ไมแ้ ผน่ ไม้แปรรูป ปารเ์ ก ้ ตามกำหนด ไม้อดั 30 3 คู่มอื การค้าและการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 73 สส

การนำเข้า : • อุตสาหกรรมผลิตเพื่อส่งออกที่ได้รับส่งเสริมการลงทุนจะได้รับ ยกเว้นภาษีนำเข้าวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปที่ใช้ผลิต ปรุงแต่ง หรือ ประกอบเพ่อื ผลติ สินค้าสง่ ออก • การนำเข้าอุปกรณ์การผลิต อะไหล่ และอุปกรณ์อื่นๆ ที่ใช้ ในการผลิตสินค้าเพื่อทดแทนการนำเข้าจะได้รับการลดหย่อนภาษีขาเข้าเหลือ เพยี ง 1% ของราคาสนิ คา้ นำเข้า 4. ภาษกี ารค้า (Business Turnover Tax) เป็นภาษีท่ีเรียกเก็บจากการขายสินค้าตั้งแต่การขายส่งจากโรงงาน จนถงึ ผคู้ า้ ปลีก สปป.ลาว ได้ปรับเปล่ียนจากทเ่ี กบ็ ใน 2 อัตรา ได้แก่ 5% และ 10% มาเป็นการใชอ้ ัตราเดยี วคือ ร้อยละ 10 ท้ังนี้ อัตราภาษีการคา้ ท่ี ผู้ประกอบการตอ้ งชำระ แยกตามประเภทสนิ ค้า อาทิ ตารางแสดง อัตราภาษกี ารค้า สนิ ค้า อตั ราภาษี (%) ผลิตในประเทศ นำเขา้ เมลด็ พชื ดา้ ยฝา้ ย ดา้ ยไหม ยกเว้น 10 อาหาร รวมถงึ เครือ่ งปรงุ ยกเวน้ 10 ต้นออ่ นของพืช ปศสุ ตั ว์ ข้าว ยกเวน้ 10 วัตถดุ ิบ สินคา้ ก่งึ สำเร็จรปู เครือ่ งมือในภาคเกษตร เหมอื งแร ่ 10 10 เส้ือผ้า รองเท้า เครอ่ื งจกั รทใี่ ชใ้ นการตัดเย็บ 10 10 อปุ กรณแ์ ละเครือ่ งมือทใ่ี ช้ไฟฟ้า 10 10 ผลติ ภัณฑ์เกษตรแปรรปู อาทิ แป้ง ผลติ ภัณฑ์หตั ถกรรม 10 10 เคร่ืองมอื สำหรับการส่ือสาร 10 10 กระเป๋าประเภทตา่ ง ๆ นาฬกิ า เฟอร์นิเจอร ์ เครือ่ งปรับอากาศและอปุ กรณ์โทรทัศน์ เคร่ืองเล่นวิดโี อ โลหะมคี ่า ผลติ ภัณฑไ์ มแ้ ละหวาย อุปกรณ์และวัสดกุ ่อสร้าง ยานพาหนะ • สินค้าบางประเภทไม่ต้องเสยี ภาษกี ารคา้ อาทิ เมล็ดพืช พ่อแม่ พนั ธสุ์ ตั ว์ อปุ กรณ์การศึกษาวิจัย ธนบตั รและเงินเหรยี ญ เครื่องบนิ รวมถึง อุปกรณ์ท่ีเกีย่ วขอ้ งกบั การคมนาคมระหวา่ งประเทศ สนิ คา้ ที่ไดร้ ับยกเวน้ ภาษี นำเขา้ หรอื สนิ ค้าทนี่ ำเขา้ มาใน สปป.ลาว เป็นการชัว่ คราว • ธรุ กจิ โรงแรมและรา้ นอาหารต้องเสยี ภาษีการคา้ ในอัตรา 10% • ธรุ กจิ บางประเภทได้รับยกเวน้ ภาษกี ารคา้ เชน่ ธรุ กจิ ดา้ นการ 74 ค่มู อื การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

เกษตร ธุรกิจการขนส่งระหวา่ งประเทศ ธุรกจิ ส่งออกสินค้า ธรุ กจิ ประกนั ธรุ กิจ การเงนิ และการธนาคาร กิจกรรมของภาครัฐทีก่ ่อใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อสังคม 5. เกบ็ อากรกำไรจากวิสาหกจิ ส่วนบุคคล (Individual Enterprise) และผู้ประกอบอาชพี อิสระตามอตั ราก้าวหน้า ตง้ั แต่ ร้อยละ 0- ร้อยละ 28 ตารางแสดงอตั ราภาษจี ากกำไรการคา้ ขน้ั ฐานกำไรแต่ละข้นั (กีบ) ฐานการคำนวณ อตั ราอากร อากรกำไร อากรท้ังหมด (กีบ) แตล่ ะขน้ั (กีบ) ที่ตอ้ งจา่ ย (กีบ) 1 ต้งั แต่ 3,600,000 ลงมา 3,600,000 0% 0 0 2 ตงั้ แต่ 3,600,001 - 8,000,000 4,400,000 5% 220,000 220,000 3 ต้ังแต่ 8,000,001 - 15,000,000 7,000,000 10% 300,000 920,000 4 ต้ังแต่ 15,000,001 - 25,000,000 10,000,000 15% 3,500,000 2,420,000 5 ตง้ั แต่ 25,000,001 - 40,000,000 15,000,000 20% 2,400,000 5,420,000 6 ต้งั แต่ 40,000,001 ขน้ึ ไป ....................... 28% …………….. …………….. 5. ค่าธรรมเนยี มต่าง ๆ • การนำเข้าสินค้าทุกประเภทต้องเสียค่าธรรมเนียมการนำเข้า (Administrative Fee on Imports) ประมาณ 5% ของมูลคา่ นำเขา้ ท่ีแจง้ ต่อ กรมศุลกากร • โครงการลงทุนในสาขาที่เก่ียวข้องกับการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ เช่น การลงทนุ สรา้ งเขื่อนเพอื่ ผลิตกระแสไฟฟา้ ต้องจา่ ยคา่ ภาคหลวง (Royalty Fee) เปน็ รอ้ ยละของรายไดจ้ ากการจำหนา่ ยกระแสไฟฟา้ และจา่ ยคา่ ธรรมเนยี ม การใชท้ รพั ยากร (Resource Levy) เปน็ รอ้ ยละของกำไรทไ่ี ดร้ บั จากการจำหนา่ ย กระแสไฟฟ้า นอกจากนีแ้ ลว้ ทางการ สปป.ลาว ได้มีการมอบอำนาจให้แผนก การคา้ แขวงเป็นผู้ออกไปรับรองแหล่งกำเนิดสินคา้ (Form D และ AISP) โดยที่กระทรวงการค้า สปป.ลาว ไดอ้ อกข้อตกลงโดยมอบอำนาจให้แผนก การค้าแขวง เปน็ ผู้คุ้มครองและออกใบรบั รองแหล่งกำเนิดสนิ ค้า (Form D และ AISP) สำหรบั สินคา้ ทีผ่ ลิตไดอ้ ยภู่ ายในประเทศ เพื่อเป็นการอำนวยความ สะดวกให้แก่หน่วยงานธุรกิจในการส่งออกสินค้า จึงมอบหมายให้แขวงต่างๆ จำนวน 14 แขวง ได้แก่ แขวงหัวพนั เชียงขวาง หลวงพระบาง บ่อแกว้ ไชยะบรุ ี อุดมไชย หลวงน้ำทา เวียงจนั ทน์ บอลคิ ำไซ คำม่วน สะหวันนะเขต จำปาสกั สาละวนั และเซกอง 4.6 การลงทนุ ของไทยใน สปป.ลาว มูลคา่ การลงทุนของไทยใน สปป.ลาว ในปี 2552 มลู คา่ 908.6 ล้านเหรยี ญสหรัฐฯ ในปี 2553 มีมูลคา่ 50.3 ลา้ นเหรียญสหรฐั ฯ ซ่ึงเม่อื คู่มอื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 75 สส

‘ นักลงทุนต่างประเทศและ‘ รวมการลงทนุ ของไทยตงั้ แตป่ ี 2543-2553 พบว่า จำนวนโครงการการลงทนุ อยใู่ นอนั ดับท่ี 2 จำนวน 276 โครงการ รองจากจนี ซง่ึ มโี ครงการทัง้ หมดรวม แรงงานชาวต่างประเทศ ผู้ซึ่ง 412 โครงการดว้ ยกนั แต่เม่อื พจิ ารณาด้านมูลค่าการลงทนุ พบวา่ ประเทศจนี ทำงานและมีรายได้เกิดข้ึนใน มมี ูลคา่ การลงทนุ สงู ท่สี ุด จำนวน 2,845 ลา้ นเหรียญสหรฐั ฯ ในขณะท่รี อง สปป.ลาว มีหน้าที่ต้องยื่นเสีย ลงมา คือ เวียดนาม และไทย ตามลำดับ การลงทนุ ของไทยส่วนใหญอ่ ยใู่ น ภาษีเงินได้ในอัตราร้อยละ 10 สาขาไฟฟ้าพลงั งาน เหมอื งแร่ โทรคมนาคม และการเกษตร ของรายไดท้ ่เี กดิ ขน้ึ โครงการทส่ี ำคญั ท่ธี รุ กจิ ไทยเข้าไปลงทนุ ได้แก่ 1. โครงการพฒั นาเข่อื นไฟฟา้ นำ้ งมึ 2 โดย Nam Ngum 2 Power Co., Ltd. 2. โรงงานผลิตเหลก็ เส้นและเหล็กรูปภณั ฑ์ โดย Lao Mental Industry Co., Ltd. 3. Hotel, Golf, Super Market, Sport Center โดย Intra Global Holdings (Lao) Co., Ltd. 4. ผลติ กระแสไฟฟ้าตามสญั ญาสัมปทาน โดย Tad Salen Power Co., Ltd. 5. การคา้ ขาออก-ขาเขา้ และผา่ นแดน โดย SCC Lao Trading Re-export and Service Co., Ltd. 4.7 หลักเกณฑ์การจัดการรายได้และนำเงนิ กลบั ประเทศ นักลงทนุ ผมู้ คี วามประสงคด์ ำเนนิ การประกอบธรุ กิจ และลงทนุ เพ่ือ การค้าใน สปป.ลาว ควรปฏบิ ตั ติ ามแนวทางตอ่ ไปน้ี 1.) นักลงทุนต่างประเทศและแรงงานชาวต่างประเทศ ผู้ซึ่งทำงาน และมีรายได้เกดิ ขึ้นใน สปป.ลาว มีหนา้ ท่ตี อ้ งยนื่ เสียภาษเี งนิ ได้ในอตั ราร้อยละ 10 ของรายไดท้ ีเ่ กดิ ขนึ้ 2.) การแสดงบัญชีทรัพย์สินเงินฝากซึ่งครอบคลุมถึงบัญชีเงินฝาก ทีเ่ ป็นเงนิ ตราสกุลทอ้ งถ่ิน คอื เงินกีบและบัญชเี งินฝากเงนิ ตราสกลุ ต่างประเทศ ท่ีผลู้ งทนุ ชาวตา่ งประเทศมีบญั ชฝี ากไวก้ บั ธนาคารพาณิชย์ของ สปป.ลาว หรือ ธนาคารต่างประเทศทม่ี ีสาขาทำการอย่ภู ายในอาณาเขตของ สปป.ลาว 3.) การปฏิบัติตามระบบบัญชีทีก่ ำหนดข้นึ โดยรฐั บาล สปป.ลาว องค์กรธุรกิจควรจัดทำรอบบัญชีให้มีความสอดคล้องกับระยะเวลาการตรวจ สอบบญั ชี ของกระทรวงการคลังของ สปป.ลาว 4.) การสง่ รายไดท้ เ่ี ปน็ เงนิ ตราตา่ งประเทศและทรพั ยส์ นิ มคี า่ กลบั คนื สู่ประเทศผู้ลงทุนหรือประเทศท่สี าม โดยการปฏบิ ัตติ ามกฎหมายและระเบยี บ ทรี่ ัฐบาลได้กำหนดไว้ 5.) การจัดส่งเงินตราต่างประเทศผ่านระบบธนาคารพาณิชย์ที่มี สาขาเปิดดำเนินการภายในประเทศและใช้อัตราแลกเปล่ียนเงินตราที่เก่ียวข้อง ท่ีมีแหล่งอา้ งองิ โดยธนาคารกลางแหง่ สปป.ลาว 76 คมู่ อื การค้าและการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

6.) การส่งเงินผลกำไรท่ีเป็นเงินตราต่างประเทศกลับคืนสู่ประเทศ เดิมของผู้ลงทุน หลังจากดำเนินการยื่นเสียภาษีเงินได้และภาษีที่เกี่ยวข้องต่อ รัฐบาล ของ สปป.ลาว เป็นท่เี รียบรอ้ ยแล้ว 7.) นักลงทุนต่างประเทศต้องให้ความสำคัญต่อการว่าจ้างแรงงาน สัญชาติลาว แต่อย่างใดก็ตามผู้ประกอบการชาวต่างชาติมีสิทธิในการว่าจ้าง แรงงานที่มีฝีมือหรือผู้เชี่ยวชาญชาวต่างประเทศได้ในกรณีที่จำเป็น ในกรณี เชน่ น้จี ะต้องไดร้ ับการอนุญาตจากหนว่ ยงานราชการของ สปป.ลาวกอ่ น 4.8 อน่ื ๆ - กฎหมายแรงงานและอัตราคา่ แรงงาน กฎหมายแรงงานกำหนดหลักเกณฑ์ในการควบคุมการใช้แรงงาน เวลาทำงาน อตั ราคา่ จ้าง และการประกันสังคมดังนี้ ระเบียบการควบคมุ และการใช้แรงงาน - ไม่จำกดั สิทธิในการรับคนงาน แต่บังคบั ใหท้ ำสญั ญาจา้ งแรงงาน - ต้องกำหนดระเบียบการโดยอยู่ภายใต้การควบคมุ ของรัฐ - กำหนดใหต้ ง้ั กรรมบาล (องคก์ รแรงงานทจ่ี ดั ตง้ั ขน้ึ โดยกลมุ่ แรงงาน) ภายในสถานทท่ี ำงาน มีหน้าท่ีชกั ชวนแรงงานให้ปฏิบัติตามระเบียบและเป็น สอื่ กลางไกล่เกลีย่ ข้อพิพาทระหว่างนายจา้ งกับลกู จ้าง - ห้ามใช้แรงงานด้วยการบังคับ ยกเว้นกรณีเพื่อการรักษาความ ม่นั คงภายใน หรือกรณีเมือ่ เกิดวิกฤตการณ์ซง่ึ รฐั บาลเปน็ ผูใ้ ช้อำนาจ เวลาทำงานและหยุดงาน 1. เวลาทำงาน - งานธรรมดา สปั ดาห์ละไมเ่ กิน 6 วัน วนั ละไมเ่ กนิ 8 ชว่ั โมง หรอื สปั ดาหล์ ะไมเ่ กนิ 48 ช่ัวโมง - งานหนกั (ได้แก่ งานท่กี อ่ ให้เกิดผลเสยี ต่อสขุ ภาพได้งา่ ย และมี ความเสย่ี งสูงเม่อื คนงานตอ้ งสมั ผัสกบั รงั สี หรือสารเคมี) วันละไมเ่ กิน 6 ช่วั โมง หรอื สัปดาหล์ ะไม่เกนิ 36 ชัว่ โมง 2. ลกู จ้างมสี ิทธไิ ด้รบั คา่ ล่วงเวลาหากทำงานนอกเวลาปกติ แตก่ าร ทำงานนั้นจะตอ้ งไมเ่ กิน 3 ชัว่ โมงตอ่ วัน ไมเ่ กิน 30 ชั่วโมงต่อเดอื น หรือหาก มีความจำเป็นต้องทำงานลว่ งเวลาเกนิ 30 ช่ัวโมงตอ่ เดือน จะตอ้ งขออนญุ าต เป็นการเฉพาะต่อองค์กรคุ้มครองแรงงาน โดยมีหนังสือรับรองเห็นชอบจาก กรรมการ หรอื ผแู้ ทนแรงงาน เพือ่ พิจารณาอนุญาตเสยี ก่อนจึงจะทำได้ 3. มวี ันหยุดประจำสปั ดาห์อย่างน้อย 1 วนั ตอ่ สัปดาห์ ส่วนวันหยดุ ราชการรฐั บาลจะเปน็ ผกู้ ำหนด 4. วันหยุดนักขัตฤกษ์ ลกู จา้ งทกุ คนมสี ิทธิได้รบั การพักงานตามวนั หยุดนักขัตฤกษ์ โดยได้รับเงินเดือนหรือค่าจ้างแรงงานตามปกติ ถ้าวันหยุด นักขตั ฤกษ์ ตรงกับวนั หยดุ ประจำสัปดาห์ ให้มกี ารหยดุ ชดเชยแทน คู่มอื การค้าและการลงทนุ สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 77 สส

5. การลาป่วยไม่เกนิ 30 วันต่อปี หากเกนิ 30 วัน ผู้ป่วยจะใช้ กองทุนอุดหนุนแทนตามระเบียบการประกันสังคม ซึ่งผู้ใช้แรงงานจะได้รับ เงินเดือนตามปกตแิ ตไ่ มเ่ กนิ 180 วนั และจะไดร้ บั เพยี งร้อยละ 50 หากเกนิ 180 วนั 6. การลาพักผ่อนประจำปี (เฉพาะลูกจา้ งรายเดือนท่มี อี ายุงานไม่ ตำ่ กวา่ 1 ป)ี มสี ิทธิลาพักผ่อนประจำปีได้ปลี ะไมเ่ กิน 18 วัน หากผใู้ ดไม่ต้อง การลาก็มีสิทธิเรียกเงินอุดหนุนตามจำนวนวันที่มีสิทธิลาหยุดโดยให้คิดเท่ากับ รายได้ของวันทำงานปกติ เงนิ เดอื นและคา่ จ้าง 1. เงนิ เดอื นและคา่ จา้ ง อาจเบิกจา่ ยวนั ใดก็ได้ และจ่ายก่อนหรอื หลงั งานกไ็ ด้ ตามท่กี ฎหมายกำหนดใหเ้ นน้ ความเสมอภาคในการรับเงนิ เดอื น และค่าแรง โดยไม่คำนึงถงึ เพศ สญั ชาติ หรือเช้ือชาติ 2. คา่ แรงงานขั้นตำ่ รัฐบาลกลางกำหนดให้นกั ลงทุนต่างประเทศ จะตอ้ งจา่ ยค่าแรงงานข้นั ตำ่ สำหรับการทำงานในอตั รา 10,000 กบี ต่อวัน (ประมาณ 38 บาท) หรือเดอื นละประมาณ 300,000 กบี (ประมาณ 1,137 บาท) 3. ระดับเงินเดือนของลูกจ้างจะต้องไม่ต่ำกว่าระดับเงินเดือนข้ันต่ำ ทท่ี างการประกาศ โดยลกู จา้ งที่ทำงานในเวลากลางคนื (22.00-06.00 น.) ตอ้ งไดร้ บั เงนิ มากกวา่ ลกู จา้ งทท่ี ำงานในเวลากลางวนั ไมน่ อ้ ยกวา่ 1.1 เทา่ และ การเบกิ จ่ายเงินเดือนหรอื ค่าแรงในแตล่ ะครั้ง ตอ้ งมีลายเซ็นผู้รบั และเบิกตรง ตามกำหนดเวลา (ยกเว้นสญั ญาระบไุ ว้เปน็ อยา่ งอน่ื ) 4. คา่ ล่วงเวลา - วันทำงานปกติ 17.00-20.00 น. 1.5 เทา่ ของปกติ 20.00-06.00 น. 2.0 เทา่ ของปกติ - วนั หยุดประจำสัปดาห์และวนั หยุดราชการ 08.00-20.00 น. 2.5 เทา่ ของปกติ 20.00-06.00 น. 3.0 เท่าของปกติ การประกันเงนิ เดอื นหรอื ค่าแรง 1. กรณีเลกิ กจิ การ เงนิ เดือนหรือค่าแรงของลกู จา้ งต้องจัดใหเ้ ป็น ปัญหาอันดบั แรกในการชำระบญั ชี 2. การหักเงินเดือนหรือค่าแรงเพ่ือชดใช้ค่าเสียหายจะต้องไม่เกิน รอ้ ยละ 20 ของเงนิ เดือนที่จะไดร้ บั การทำสญั ญาแรงงานและยกเลกิ สญั ญาแรงงาน การทำสัญญาแรงงานถอื เปน็ เง่ือนไขท่ีจำเปน็ ทั้งน้ีอาจทำด้วยวาจา หรอื เป็นลายลักษณอ์ กั ษร แลว้ แตล่ ักษณะของการว่าจ้างซงึ่ อาจกำหนดเวลา หรือไมก่ ็ได้ 78 ค่มู อื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

การขอใบอนุญาตทำงาน (Work Permit) ใน สปป.ลาว ใชเ้ วลา อยา่ งน้อย 15 วนั การทดลองงานมกี ำหนดไม่เกนิ 1 เดือนสำหรับแรงงานไร้ฝีมอื และ ไมเ่ กิน 3 เดอื นสำหรับแรงงานฝมี ือ การยกเลกิ สญั ญามี 3 กรณี 1. กรณตี ่างฝ่ายต่างเหน็ ชอบ ผู้ประสงค์จะยกเลกิ ตอ้ งแจ้งล่วงหนา้ อย่างนอ้ ย 90 วนั 2. กรณนี ายจา้ งต้องการปลดพนกั งานออก จะตอ้ งแจง้ ลว่ งหนา้ 3 เดือน พร้อมใหเ้ หตผุ ลการปลด กรณนี ้ีผถู้ ูกปลดมสี ทิ ธิได้รับเงนิ อุดหนุน 3. กรณีลูกจ้างกระทำความผดิ นายจ้างสามารถปลดลูกจา้ งออก จากการทำงานไดโ้ ดยไม่จำเป็นต้องจ่ายเงนิ อดุ หนุน การกระทำผดิ หมายถึง ไม่ซื่อสัตย์ ละเมดิ ระเบยี บวนิ ัยบ่อยครงั้ ละทิ้งหน้าทกี่ ารงาน 4 วนั ติดต่อกนั โดยไม่แจง้ เหตุผลบ่อยครัง้ หรอื ถูกศาลตดั สินจำคุก - กฎหมายท่ดี นิ สำหรบั การเปน็ เจ้าของกรรมสิทธิท์ ดี่ ิน ตามกฎหมายรัฐธรรมนญู แห่งสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว กำหนดวา่ ทดี่ นิ ทงั้ หมดใน สปป. ลาว เป็นของชาติลาว อย่างไรก็ตาม นักลงทุนต่างชาติสามารถเช่าที่ดินใน สปป.ลาว ไดเ้ ป็นระยะเวลา 30-50-80 ปี ซ่งึ ข้นึ อยกู่ ับประเภทของการลงทุน และการเจรจากับผ้มู อี ำนาจของแขวงต่างๆ และสามารถตอ่ อายุได้ ท้ังนี้ หนว่ ย งานท่มี ีอำนาจในการให้สมั ปทานทีด่ นิ แก่นักลงทุน ข้ึนอยูก่ บั ขนาดที่ดนิ ดงั น้ี ขนาดทด่ี ิน หนว่ ยงานทีม่ ีอำนาจอนุมัติ 1-3 เฮกตาร์ แผนกกสกิ รรมและป่าไมใ้ นแขวง 3-100 เฮกตาร ์ กระทรวงกสิกรรมและปา่ ไม้ 101-10,000 เฮกตาร์ รัฐบาล สปป.ลาว ตั้งแต่ 10,001 เฮกตาร์ สภาแห่งชาติ หมายเหตุ : 1 เฮกตาร์ เท่ากับ 6.25 ไร่ ค่มู ือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 79 สส

5. ขอ้ มูลอ่ืนๆ ท่ีจำเป็นในการลงทุน 5.1 การจดทะเบยี นการค้า นกั ลงทุนทีไ่ ดศ้ ึกษาเกีย่ วกับการลงทนุ ในประเทศน้บี างสว่ น ต้อง ตระหนักถึงความสำคัญของกระบวนการทางด้านเอกสารซ่ึงมีความสำคัญอย่าง ยิ่งต่อการประกอบการลงทนุ ใน สปป.ลาว ดังนัน้ จงึ มคี วามสำคัญทจี่ ะต้องทำ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับเอกสารเหล่าน ้ี เพอื่ ประโยชน์ในการประกอบธุรกจิ และ การลงทนุ ในสปป.ลาว 1. ใบอนุญาตลงทุนต่างประเทศ (Foreign Investment License : FIL) คำแรกคอื คำวา่ ใบอนญุ าตลงทุนตา่ งประเทศ หรือทร่ี ้จู ักกันดใี น วงกวา้ งโดยเฉพาะในส่วนของภาครฐั บาล ในช่ือย่อ วา่ FIL ใบอนญุ าตฉบบั แรกนี้เป็นเอกสารของบริษัทฉบับแรกท่ีนักลงทุนทุกคนท่ีมีความสนใจจะเข้า มาลงทนุ ใน สปป.ลาว ต้องรูจ้ กั และตอ้ งดำเนินการขอรบั เนือ่ งจากใบอนุญาต ฉบบั น้เี ป็นเหมอื นใบเบิกทาง สำหรับนักลงทุนทกุ คน หากไมม่ ีใบอนุญาต ฉบับนี้ นกั ลงทุนจะไม่สามารถดำเนินการอะไรต่อไปใน สปป.ลาว ไดอ้ กี เพราะการดำเนินการตา่ งๆ ในขนั้ ต่อๆ ไป จำเปน็ ตอ้ งใช้ FIL เปน็ เอกสาร หลักในการอ้างอิงทั้งสิ้น เหตุผลที่นกั ลงทุนต้องดำเนนิ การขอ FIL น้ี เนอ่ื ง จากการลงทุนที่มาจากประเทศไทยย่อมหมายถึงการลงทุนจากภายนอก ประเทศที่เขา้ ไปลงทนุ ใน สปป.ลาว ไมว่ า่ นกั ลงทนุ ของประเทศไทยนัน้ จะ เข้าไปร่วมถอื หุน้ มากน้อยเพียงใด ไมว่ า่ จะท้ังหมด บางสว่ น หรอื แม้กระทง่ั เป็นส่วนนอ้ ย เนอื่ งจากกฎหมายของ สปป.ลาว นน้ั การพจิ ารณาความเปน็ บรษิ ัทลงทนุ จากตา่ งประเทศของบรษิ ทั ใดๆ น้ัน ไม่ได้ข้นึ อยู่กับวา่ หนุ้ ส่วนใหญ่ ของบริษทั เป็นนักลงทุน ตา่ งประเทศหรอื นักลงทุนภายใน หากมสี ่วนประกอบ ของทนุ ในบรษิ ทั สว่ นใดสว่ นหนง่ึ มาจากตา่ งประเทศ ยอ่ มถอื วา่ เปน็ บรษิ ทั ทม่ี กี าร ลงทุนจากต่างประเทศทง้ั หมด และต้องได้มีการดำเนนิ การขอ FIL ท้งั หมด เช่นกัน สำหรบั หนว่ ยงานท่นี กั ลงทนุ ต้องตดิ ตอ่ เพื่อขออนุญาตรับใบ FIL นน้ั นักลงทุนตอ้ งตดิ ต่อกบั กระทรวงแผนการและการลงทุน (Ministry of Planning and Investment: MPI) ซึ่งเป็นกระทรวงหลกั ท่ีรฐั บาล ของ สปป.ลาว มเี ป้าหมายทจี่ ะจัดตงั้ ใหเ้ ปน็ หน่วยงานกลางที่รบั ผดิ ชอบ ประสานงานกับหน่วยงานอ่นื ๆ ท่ีเก่ยี วข้อง เพอื่ เช่อื มโยงนกั ลงทนุ ทจ่ี ะเขา้ มา ลงทนุ กบั หน่วยงานภาครฐั ทง้ั หมดไว้ด้วยกัน ในลกั ษณะของ One-stop service หนว่ ยงาน MPI น้จี ะมีลักษณะท่ใี กลเ้ คยี งกบั BOI ของประเทศไทย แตจ่ ะมขี อบเขตอำนาจทก่ี วา้ งกว่า เน่ืองจากอำนาจของ MPI ไมไ่ ดถ้ ูกจำกดั เพียงในด้านของการส่งเสรมิ การลงทนุ ต่างประเทศ แตค่ รอบคลุมนกั ลงทนุ ทกุ คน แมว้ า่ นักลงทุนดังกลา่ วจะไม่ไดร้ บั การส่งเสริมการลงทุนตามกฎหมาย 80 ค่มู ือ การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

แตน่ กั ลงทุนดังกล่าวก็ตอ้ งมาเสนอแผนการในการดำเนนิ ธรุ กิจกับทาง MPI ‘ ปัจจัยส่วนหน่ึงที่ทาง ‘ กอ่ นเสมอ เอกสารท่นี กั ลงทนุ จะต้องดำเนินการจดั เตรยี ม เพอ่ื ยื่นเสนอขอรบั ใบ FIL จาก MPI น้นั ทาง MPI จะมรี ายละเอียดเป็น package หน่วยงานราชการต้องการ สำหรบั การขออนญุ าตลงทนุ โดยเฉพาะ โดยจะมีแบบฟอร์มหลกั ที่ เป็นเอกสาร พิจารณาคอื การให้สิทธพิ เิ ศษ ที่ต้องได้จัดเตรียมขึ้น ที่มีชื่อว่า Unified Investment Application กั บ แ ร ง ง า น แ ล ะ ห น่ ว ย ผ ลิ ต Form in Lao P.D.R. ข้อมลู ที่นักลงทุนตอ้ งไดด้ ำเนินการกรอก จะแบ่งออก ภายในประเทศ หรือที่เรียกกัน เปน็ 2 สว่ นหลกั คือสว่ นท่เี กยี่ วขอ้ งกบั ตวั นกั ลงทุนโดยผทู้ ีจ่ ะมาลงทุนตอ้ ง ติดปากว่า Lao Preference ไดก้ รอกขอ้ มูลเกยี่ วกบั ประวัติการดำเนนิ งานตา่ งๆ ของนักลงทุนทีผ่ ่านมา โดย ภายใตก้ ฎหมายของ สปป.ลาว จะต้องมีการแนบชีวประวัติโดยย่อของนักลงทุนดังกล่าวไปพร้อมกับแบบฟอร์ม นั้น จะมีข้อกำหนดที่ส่งเสริม หากนักลงทนุ ทีเ่ สนอขออนุญาตลงทนุ เป็นบริษทั สว่ นของขอ้ มูลรายละเอียด ให้นักลงทุนที่มาลงทุนใน สปป. การจดทะเบียนของนักลงทุนในประเทศไทยเป็นสิ่งสำคัญอีกสิ่งหนึ่งที่ต้องส่ง ลาว ต้องใช้สินค้าและแรงงาน เพื่อประกอบการพจิ ารณา นอกจากชีวประวตั แิ ล้วนกั ลงทนุ ยังต้องสง่ ขอ้ มลู ใน ของ สปป.ลาว เปน็ หลัก ส่วนทเี่ กีย่ วขอ้ งกับ financial statement ของนกั ลงทนุ ยอ้ นหลัง 3 ปีให้ MPI พจิ ารณาเพ่ิมเติมอีกด้วย ข้อมูลส่วนท่ีสองท่ีต้องมีการกรอกรายละเอียดในแบบฟอร์มเพื่อ ขอรบั FIL จะเกีย่ วข้องกับบรษิ ัทหรือกิจการท่ีจะลงทุนโดยตรง โดยตอ้ งมกี าร ระบุเกย่ี วกบั ขอ้ มูลการถอื หุ้น ขอ้ มูลการจดั การบริหาร ข้อมูลเก่ยี วกบั ทดี่ นิ ทจ่ี ะใชใ้ นการประกอบกิจการ ความเปน็ ไปได้ในการดำเนนิ ธุรกิจ หรอื ท่ี เรยี กกันว่า บทวิพากษเ์ ศรษฐกจิ และสงั คม (Feasibility Study) ซงึ่ จะตอ้ ง รวบรวม ระบเุ กีย่ วกบั ลกั ษณะโดยรวมของการลงทุนของนกั ลงทุน แผนงาน ทางด้านธรุ กิจ ขอ้ มลู ละเอยี ดในสว่ นของการใช้วตั ถุดิบของโครงการ ว่าจะ มีสัดสว่ นการใชภ้ ายในประเทศเทา่ ใด นำเข้าเท่าใด สัดส่วนการใช้แรงงาน คนลาวและคนต่างประเทศต่างๆ แผนการรายรับรายจ่ายทคี่ าดการณไ์ ว้ 5 ปี หลังจากการดำเนินการ เปน็ ต้น เมอ่ื กรอกข้อมูลครบถว้ น สำหรบั ผู้ทีม่ อี ำนาจ ลงชื่อในใบคำร้องขอลงทุนดังกล่าว ได้แก่ ผู้อำนวยการใหญ่ของบริษัท (Managing Director) หรอื จะเปน็ ผทู้ ี่จะเปน็ เจ้าของบรษิ ทั ก็ได้ ปัจจัยสว่ นหนง่ึ ท่ที างหน่วยงานราชการต้องการพิจารณาคือ การให้ สทิ ธิพิเศษกบั แรงงานและหน่วยผลิตภายในประเทศ หรอื ท่ีเรยี กกันติดปากวา่ Lao Preference ภายใตก้ ฎหมายของ สปป.ลาว น้ัน จะมีขอ้ กำหนดทสี่ ่งเสริม ให้นักลงทุนทมี่ าลงทนุ ใน สปป.ลาว ต้องใช้สนิ คา้ และแรงงานของ สปป.ลาว เปน็ หลกั ยกตวั อย่างเชน่ ในสว่ นของแรงงานคนต่างประเทศนัน้ ตามกฎหมาย แรงงานและกฎหมายส่งเสริมการลงทุนต่างประเทศเองได้กำหนดว่า ห้ามมี คนต่างประเทศทำงานเกินรอ้ ยละ 10 ของแรงงานทง้ั หมด นอกจากน้ี การ พจิ ารณาสว่ นของการใช้วตั ถดุ ิบในการลงทนุ ก็เชน่ กัน ทางรฐั บาลจะมุ่งเนน้ ให้ นกั ลงทนุ ใชว้ ตั ถดุ บิ ภายในประเทศเปน็ หลกั เวน้ แตเ่ พยี งวา่ เปน็ วตั ถดุ บิ ทไ่ี มส่ ามารถ หาไดภ้ ายในประเทศ หรอื คณุ ภาพของวตั ถดุ บิ ภายในประเทศนน้ั ไมเ่ พยี งพอเทา่ นน้ั คู่มอื การค้าและการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 81 สส

‘ การขออนุญาตใบ FIL น้ี ‘ อกี ปจั จยั หนง่ึ ทน่ี กั ลงทนุ ตอ้ งใหค้ วามสนใจ คอื ประเดน็ ของสง่ิ แวดลอ้ ม หากโครงการดังกล่าวมีส่วนส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมและสังคมของชุมชน คือเอกสารเกือบท้ังหมดท่ีย่ืน ในพ้ืนที่การลงทุน นักลงทุนจะตอ้ งดำเนนิ การจดั ทำแบบประเมินผลกระทบ ใน package นั้น ต้องได้มีการ ตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มและสงั คมขึ้นมาเฉพาะ เพื่อศึกษาผลกระทบและเสนอแนวทาง แปลเป็นภาษาลาวทั้งหมด โดย การแกไ้ ขทเ่ี หมาะสม และนำเสนอบทรายงานและแผนการจดั การเยยี วยาความ ส่วนมากจะมีการทำเพียง 2 เสียหายให้แก่กรมทรัพยากรน้ำและสิ่งแวดล้อม หรือ Water Resources ภาษาเท่านั้น คือ ภาษาลาว and Environmental Authority (WREA) เพื่อให้ออกใบอนญุ าตยืนยัน และภาษาอังกฤษ หากได้ทำเป็น ความสมบรู ณข์ องแบบประเมนิ ดงั กล่าวเป็นการเฉพาะ สำหรบั รปู แบบของการ ภาษาลาวจะเป็นการง่ายกับ ทำแบบประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อมและสังคมน้ันค่อนข้างมีความเข้มงวดสูง เจ้าหน้าท่ีที่พิจารณาและระยะ ประกอบกับปัจจุบันกำลังมีการพัฒนาในส่วนของแบบมาตรฐานส่ิงแวดล้อม เ ว ล า ใ น ก า ร พิ จ า ร ณ า จ ะ ส้ั น ของ สปป.ลาว เปน็ การเฉพาะอกี ด้วย เรือ่ งสิ่งแวดล้อมจงึ เป็นอีกเรือ่ งทสี่ ำคัญ กว่าการส่งเอกสารเป็นภาษา ซ่ึงนักลงทุนต้องพจิ ารณา ภายหลังจากไดร้ ับการอนุญาตจาก WREA แลว้ อังกฤษเพียงอย่างเดียว นักลงทุนต้อง ได้แนบใบยืนยันนี้ประกอบไปกับเอกสารเพื่อประกอบการ พจิ ารณา FIL ด้วย อีกสิ่งหน่ึงที่นักลงทุนต้องให้ความสนใจเกี่ยวกับการขออนุญาตใบ FIL นี้คอื เอกสารเกือบทงั้ หมดทย่ี ืน่ ใน package น้นั ต้องไดม้ กี ารแปลเป็น ภาษาลาวทัง้ หมด โดยสว่ นมากจะมกี ารทำเพยี ง 2 ภาษาเทา่ นนั้ คือ ภาษา ลาว และภาษาองั กฤษ หากได้ทำเปน็ ภาษาลาวจะเปน็ การงา่ ยกับเจ้าหนา้ ที่ ที่พิจารณาและระยะเวลาในการพิจารณาจะสั้นกว่าการส่งเอกสารเป็นภาษา อังกฤษเพยี งอยา่ งเดยี ว ภายหลังได้มกี ารยื่นเอกสารท้ังหมดที่จำเป็นแล้ว ทาง MPI จะดำเนินการสง่ เอกสารฉบบั ดังกล่าวไปขอความเหน็ จากหนว่ ยงานท่ี เกี่ยวขอ้ งกบั ธุรกจิ ที่นักลงทนุ จะลงทุนเอง ยกตัวอย่างเช่น หากจะมกี ารดำเนิน ธรุ กิจเก่ยี วกับโรงแรม MPI ก็จะดำเนนิ การสง่ ไปขอความเหน็ จากองค์การ ท่องเที่ยวแหง่ ชาติ หรือหากเปน็ การลงทุนในด้านการเปิดธนาคาร ก็จะดำเนิน การสง่ ไปขอความเห็นจากธนาคารแห่ง สปป.ลาว เป็นตน้ เมือ่ ไดร้ บั ความเห็น ชอบจากหน่วยงานตา่ งๆ อย่างครบถ้วนแล้ว ทาง MPI จะออกใบอนญุ าต FIL ให้แกน่ ักลงทุน ในด้านของระยะเวลาการออกจะเรว็ หรือช้านนั้ ขนึ้ อยู่กบั ราย ละเอยี ดทสี่ ง่ ไปและความเหน็ จากหนว่ ยงานที่เกีย่ วขอ้ ง แต่เวลาที่เปน็ มาตรฐาน สำหรบั การออกใบอนญุ าตหนง่ึ ใบ หากไมต่ ิดปัญหา ใดๆ เลย คอื 21 วันทำการ 2. ใบทะเบยี นวสิ าหกิจ (Enterprise Registration Certificate : ERC) ใบอนญุ าตฉบบั ทสี่ อง ท่ีนกั ลงทุนทกุ คนตอ้ งดำเนนิ การเพ่อื ขอรับ คอื ใบทะเบียนวิสาหกิจ หรอื ERC หากเทยี บกบั ประเทศไทยแล้ว ERC จะ เทียบเทา่ กับหนงั สือบรคิ ณฑส์ นธิของบรษิ ทั เปน็ เอกสารสำคญั อกี ใบหนง่ึ ทีท่ กุ บริษัทท่จี ะเขา้ ไปลงทนุ ในสปป.ลาว ต้องดำเนินการขอรับ โดยใบ ERC นี้ จะได้ตอ่ เมอ่ื นกั ลงทุนได้รับ FIL มาจาก MPI ก่อน นักลงทนุ จึงจะสามารถ 82 คู่มือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

ดำเนนิ การเพ่อื ขอรบั ใบ ERC นไ้ี ด้ ใบทะเบยี นฉบับน้ี นอกจากจะมคี วาม สำคัญในด้านของการเปน็ เอกสารสำคัญของบรษิ ทั แล้ว หากบริษทั ใดดำเนนิ การจนไดร้ บั เอกสาร ERC นีแ้ ล้ว บรษิ ัทจะถือว่าได้มีการจดั ต้งั และมตี วั ตนอยู่ ภายใตก้ ฎหมายของ สปป.ลาวทันที เม่อื มตี วั ตนภายใตก้ ฎหมายแลว้ บริษัท ดงั กลา่ วก็จะมีหนา้ ทีต่ ้องปฏิบตั ิให้ครบถ้วนตามระยะเวลา 2 สว่ น คือการ ท่ีจะต้องดำเนินการนำทุนจดทะเบียนที่ระบุไว้ในใบทะเบียนเข้ามาภายใน ประเทศ ภายใน 60 วนั นับแต่วันไดร้ ับ ERC ส่วนทสี่ องคอื จะต้องได้มีการเริ่ม ดำเนินกิจการทีไ่ ด้รับการอนุญาต ตาม FIL ภายใน 90 วัน นบั แต่วันที่ไดร้ บั ทะเบยี นฉบบั นี้ หากนักลงทนุ ไม่ดำเนินการภายใตก้ รอบระยะเวลาดงั กล่าว เจ้าหน้าท่ีภาครัฐมีสิทธิดำเนินการถอดถอนทะเบียนทั้งFILและERCคืนจาก นักลงทนุ ได้ สำหรับหน่วยงานและวิธีการขอรับ ERC นน้ั นกั ลงทุนตอ้ งติดตอ่ กบั หนว่ ยงาน ซง่ึ รบั ผดิ ชอบเกย่ี วกบั การจดทะเบยี นบรษิ ทั โดยตรง คอื หนว่ ยงาน ทะเบียนวิสาหกิจ (Enterprise Registration Office : ERO) ซึ่ง อยภู่ ายใตก้ ารกำกบั ดแู ลของกระทรวงอตุ สาหกรรมและการคา้ เอกสารที่ต้อง ใชใ้ นการยนื่ ขอรบั ERC นี้ สามารถดาวน์โหลดไดจ้ ากอินเทอร์เน็ต นักลงทุน ตอ้ งกรอกข้อมลู ซ่ึงจะประกอบไปดว้ ยใบคำรอ้ งขอจองชื่อวสิ าหกจิ ใบคำรอ้ ง ขอข้ึนทะเบียน และจะเป็นสว่ นของแบบฟอรม์ ของสญั ญาผถู้ ือหนุ้ และกฎ ระเบยี บของบริษัท พร้อมทงั้ เอกสารประกอบอ่ืนๆ ซ่ึงรวมถงึ สำเนาของ FIL สว่ นของผ้มู ีอำนาจลงนามในแบบฟอร์มทัง้ หมดนน้ั เน่อื งจากในใบทะเบียน ERC นน้ั จะได้มกี ารติดรปู ของผอู้ ำนวยการใหญ่ (Managing Director) หรอื รปู ของเจ้าของวสิ าหกจิ ดว้ ย บคุ คลดังกลา่ วจึงตอ้ งเป็นผ้ลู งลายมอื ช่ือในแบบ ฟอรม์ ทงั้ หมด ภายหลงั ได้รับเอกสารครบถว้ น ทาง ERO จะออกใบ อนญุ าตให้ภายใน 7 วันทำการ คา่ ธรรมเนยี มสำหรบั การออกใบ ERC น้นั จะได้ดำเนินการจ่ายพร้อมกับการเสียค่าธรรมเนียมใบทะเบียนอากรเป็น จำนวน1,000,000กีบ 3. ใบทะเบียนอากร (Tax Registration Certificate :TRC) ใบทะเบยี นอากร หรือ TRC เปน็ เอกสารทีส่ ำคญั อกี ฉบับหนง่ึ ของบริษัท โดยเอกสารฉบับนี้จะต้องได้มีการยื่นเพื่อขอรับใบทะเบียนใหม่ ทุกปี เมื่อได้มีการดำเนินการยื่นภาษีรายปีครบถ้วนแล้วสำหรับการขอออก ใบทะเบยี น TRC ในครง้ั แรกนัน้ จะได้ดำเนินการภายหลังจากไดร้ บั ERC โดย จะยื่นไปที่ฝ่ายทะเบียนอากร กระทรวงการเงิน โดยในใบทะเบียนอากร ดังกล่าวจะต้องได้มีการขอรับเลขทะเบียนอากรผู้เสียภาษีพร้อมกันไปในคราว เดียวกัน เอกสารที่ต้องประกอบเพื่อยื่นใบทะเบียนอากรนั้นมีค่อนข้างมาก โดยจะมแี บบฟอรม์ หลัก 2 ชดุ ซ่งึ ต้องใช้วิธีการกรอก โดยต้องซ้อื แบบฟอร์ม จากทางกรมทะเบยี นอากร และจะต้องประกอบเอกสาร เพิม่ เติม เชน่ ใบแสดง ค่มู ือ การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 83 สส

ทรัพยส์ นิ ท่ีมีอยู่ ใบแสดงสิทธิเหนือทด่ี ิน ใบยั่งยืนที่อยู่ของสำนักงานสมดุ ทะเบียนผ้ถู ือหุ้นต่างๆ ทุกฉบับลงลายมือช่อื ของผูอ้ ำนวยการใหญ่ (Managing Director) ท้งั หมด พร้อมกบั รูปถ่ายโดยรปู ของผ้อู ำนวยการใหญ่จะปรากฏ อย่บู นใบทะเบยี นดังกลา่ วด้วย สำหรบั การขอรบั เลขทะเบยี นอากรผเู้ สียภาษีน้ัน จะมแี บบฟอรม์ อกี ใบหนง่ึ แยกตา่ งหาก โดยเลขทะเบียนอากรน้ีจะเปน็ ใบที่จะใชป้ ระโยชน์ สำหรบั การเก็บข้อมูลของทางกรมทะเบยี นอากร โดยจะมีข้อกำหนดว่า หาก บรษิ ทั ดังกล่าวดำเนินการขายสินคา้ หรือใหบ้ รกิ ารใด ตอ้ งไดด้ ำเนนิ การโดยใช้ เลขทะเบยี นอากรทไ่ี ดร้ ับจากเจ้าหน้าท่ดี ังกลา่ วทัง้ หมด ภายหลงั ได้รบั เอกสาร อย่างครบถว้ น แลว้ ทางกรมทะเบยี นอากรจะใช้เวลาในการพิจารณาและออก ใบทะเบียนอากรพร้อมเลขทะเบียนผู้เสียอากรใหภ้ ายใน 10 วนั ทำการ โดย ต้องได้มีการจ่ายคา่ ธรรมเนยี มโดยรวมคา่ ธรรมเนียมของทะเบียน ERC ด้วย ประมาณ 1,700,000 กีบ 4. ตราประทบั ของบรษิ ทั (Company’s Seal) สิ่งหน่งึ ทร่ี ะบบการจดทะเบียนบรษิ ทั ของ สปป.ลาว แตกต่างจาก ประเทศไทยอย่างชัดเจน คือรายละเอยี ดในสว่ นของตราประทบั บรษิ ัท ใน ประเทศไทยตราประทับบริษัทน้ันจะเป็นส่วนท่ีทางบริษัทแต่ละบริษัทจะ ดำเนินการแกะตราประทับเองและสามารถใช้ได้อยา่ งอสิ ระ แตใ่ น สปป. ลาว น้นั การจะทำตราประทบั บรษิ ัทได้นั้น ต้องเสนอใบคำร้องเพ่อื ใหท้ างเจา้ หน้าที่ รัฐบาลเป็นผดู้ ำเนินการแกะตราประทับให้ โดยรูปแบบจะมรี ปู แบบเป็นทรง แปดเหลย่ี ม และมีฟอรม์ ที่เปน็ มาตรฐาน และต้องไดม้ กี ารขออนุญาตเพื่อใช้ ตราประทับเป็นการเฉพาะหน่วยงานที่รับผิดชอบเก่ียวกับการแกะตราประทับ และอนุญาตใช้ตราประทับนนั้ เร่ิมจากหน่วยงานท่อี อกใบทะเบยี นวิสาหกิจ คือ ERO นอกจากการยื่นเพอื่ ขอรบั ERO แลว้ นกั ลงทุนตอ้ งดำเนนิ เรอ่ื ง ขอซื้อแบบฟอร์มและกรอกแบบฟอรม์ ซง่ึ เป็นแบบฟอร์มขออนุญาตแกะตรา ประทบั จากทาง ERO หลังจากน้นั นักลงทนุ ต้องรอจนได้รบั TRC กอ่ นจงึ นำ ใบอนุญาตที่ ERO ออกให้พร้อมกับ ERC และ TRC ไปขออนญุ าตทาง ตำรวจแกะตราประทบั ซึ่งสงั กัดกระทรวงปอ้ งกนั ความสงบ (Ministry of Public Security) เปน็ ผูด้ ำเนนิ การแกะตราประทับให้ ระยะเวลาในการ แกะตราประทบั น้ใี ช้เวลาประมาณ 1 เดอื น และภายหลังจากทไ่ี ดร้ ับตรา ประทับแล้ว จะต้องได้ดำเนนิ การเพ่ือขอจากหน่วยงานตำรวจอกี รอบหน่ึงเพอ่ื ขอรบั ใบอนญุ าตนำใชต้ ราประทบั ดงั กลา่ วใชเ้ วลาอกี ประมาณ 2 สปั ดาห์ เสยี คา่ ธรรมเนยี มประมาณ 50,000 กบี ตราประทบั ของบรษิ ทั ทไ่ี ดน้ น้ั ทางราชการ จะรับรู้การทำเพียงแค่อันเดียวเท่าน้ันจะไม่มีการออกตราประทับอันท่ีสอง หรือท่ีสามให้เว้นแตจ่ ะทำหายซง่ึ ก็ต้องแสดงหลักฐานการทำหายให้ครบถ้วน 84 ค่มู อื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

5. ธนาคารแห่งสปป.ลาว ( Bank of Lao PDR : BOL) ‘ นักลงทุนต้องได้ส่งร่าง ‘ หน่วยงานกลางทีช่ ่ือว่าธนาคารแหง่ สปป.ลาว หรือธนาคารกลาง (BOL) หนว่ ยงานน้เี กี่ยวข้องกับนกั ลงทุนโดยตรง โดยเฉพาะในส่วนของ สั ญ ญ า กู้ ยื ม เ งิ น จ า ก ต่ า ง นกั ลงทนุ ต่างประเทศ เกย่ี วกบั การนำทุนจดทะเบยี นจากต่างประเทศเข้ามา ประเทศมาให้ BOL ตรวจสอบ ภายใน สปป.ลาว รวมถงึ ในสว่ นของการกู้ยมื เงินจากตา่ งประเทศ และการ พิจารณาก่อน หากนักลงทุน ขออนุญาตเปดิ บญั ชอี ยู่ต่างประเทศของบรษิ ัทท่จี ดทะเบยี นภายใน สปป.ลาว ไปดำเนินการลงนามในสัญญา ดว้ ย สำหรับส่วนของทนุ นั้นเมือ่ ได้มีการจดั ตั้งบรษิ ทั แลว้ คือนับแต่วันทไ่ี ดร้ บั กอ่ นแลว้ จงึ มาขออนญุ าต ใน ERC นกั ลงทนุ มีภาระต้องนำทนุ จดทะเบยี นท่กี ำหนดไวต้ ามใบทะเบยี นต่างๆ ครง้ั แรกจะไดร้ บั หนงั สอื ตกั เตอื น เข้าประเทศ โดยตามกฎหมายระบวุ า่ ให้นำเข้าอย่างน้อย 20% ของทนุ จด แต่หากยังคงทำผิดเช่นเดิมจะ ทะเบียนทร่ี ะบไุ วเ้ ข้ามาภายใน 60 วัน เมื่อไดม้ ีการนำทุนเข้ามาภายในประเทศ โดนปรับเป็นเปอร์เซ็นต์ของ แลว้ นักลงทนุ ต้องดำเนินการตดิ ตอ่ กบั BOL เพอื่ ใหอ้ อกใบยง่ั ยืนการนำทนุ มูลค่าสัญญากู้ยืมที่ได้ลงนาม เขา้ (Capital Importation Certificate : CIC) เพอ่ื ยืนยนั การที่ได้นำทุน กนั ไปนน้ั ซงึ่ สูงถงึ 50% จดทะเบียนดังกล่าวเข้ามาภายในประเทศและในทุกครั้งที่ได้มีการนำทุนหรือ แมก้ ระทั่งเงินก้ยู มื เขา้ มาในบัญชีของบรษิ ัทภายในประเทศ นกั ลงทุนก็จะตอ้ ง ประกอบเอกสารเพื่อขอรบั ใบ CIC นที้ กุ ครงั้ ระยะเวลาในการพิจารณาออก ใบ CIC ใช้เวลาประมาณ 15 วนั ทำการ นอกจากในสว่ นทเี่ กี่ยวขอ้ งกบั ทุน แล้ว หากบรษิ ัทจะดำเนนิ การกยู้ ืมเงนิ จากต่างประเทศ นักลงทุนก็จะต้องมา ดำเนนิ การตดิ ตอ่ กบั BOL เชน่ กนั โดยจะตอ้ งประกอบเอกสารท่ีเกีย่ วข้อง กับการแสดงความสามารถในการชำระหน้ีของบริษัทในการกู้ยืมเงินจำนวน ดงั กลา่ วมาใหแ้ ก่ BOL และทส่ี ำคญั นกั ลงทนุ ตอ้ งได้สง่ รา่ งสญั ญาก้ยู ืมเงนิ จาก ต่างประเทศมาให้ BOL ตรวจสอบพจิ ารณาก่อน หากนักลงทุนไปดำเนนิ การ ลงนามในสญั ญากอ่ นแลว้ จงึ มาขออนุญาต ในครัง้ แรกจะไดร้ ับหนังสอื ตักเตอื น แต่หากยังคงทำผิดเช่นเดิมจะโดนปรับเป็นเปอร์เซ็นต์ของมูลค่าสัญญากู้ยืมท่ี ไดล้ งนามกันไปนน้ั ซึง่ สงู ถึง 50% เมอื่ BOL ได้รับเอกสารแล้วจะพิจารณา เพ่ือออกใบอนุญาตกู้ยืมเงินจากต่างประเทศให้กับนักลงทุนใช้เวลาประมาณ 15 วนั ทำการเชน่ กัน ส่วนของการกูย้ ืมเงนิ จากตา่ งประเทศนนั้ สว่ นหน่ึงจะมี ความเกยี่ วพันกับสว่ นทุนของบริษัท โดยภายใต้กฎหมายของ สปป.ลาว น้นั ทุนจะแบ่งออกเปน็ 2 สว่ น คือทุนทง้ั หมด และทุนจดทะเบยี น ทนุ ท้ังหมด (Total Capital) หมายถงึ ทนุ ท่ีนักลงทุนคดิ ว่าจะตอ้ งใช้ในการลงทุนโครงการ ทง้ั หมด หรอื Project Cost ทีร่ วมเอาทง้ั ส่วนที่เป็นทนุ จากผู้ถือหุ้นและ สว่ นท่ีเป็นเงินจากการกู้ยืมมา ส่วนทนุ จดทะเบยี น (Registered Capital) นั้น หมายความถงึ เฉพาะส่วนของทุนทีเ่ ปน็ ส่วนของผู้ถือหนุ้ ส่วนเดียว ลบ สว่ นทเ่ี ป็นเงินจากการก้ยู มื ไป โดยภายใต้กฎหมายของ สปป.ลาว ได้กำหนด สัดส่วนของทุนจดทะเบียนว่าตอ้ งไมต่ ่ำกว่า 30 เปอร์เซ็นต์ของทนุ ทั้งหมด ย่อมแปลว่าอตั ราส่วน D/E ratio ตอ้ งไม่เกิน 70:30 หากอตั ราสว่ นการ กู้ยมื สงู เกินกวา่ ทก่ี ำหนด นกั ลงทนุ ตอ้ งขอรบั ความเหน็ จาก MPI กอ่ น วา่ คมู่ อื การคา้ และการลงทุน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 85 สส

อตั ราสว่ นดังกล่าวน้นั MPI รบั ได้และจะได้มีการกำหนดให้เพิม่ ทุนภายหลงั อกี หาก MPI ไม่เหน็ ชอบดว้ ย BOL ก็จะไม่อนญุ าตให้มกี ารก้ยู ืมเงนิ จากตา่ ง ประเทศดงั กลา่ ว สว่ นสุดท้ายท่เี ก่ียวขอ้ งกับ BOL สำหรับนกั ลงทุนตา่ งประเทศคอื การขออนุญาตเปิดบัญชีธนาคารอยู่ต่างประเทศ เพื่อประโยชน์ในการชำระ คืนเงนิ กู้ยมื หรือเพื่อชำระคา่ สินคา้ และบริการทซ่ี ื้อขายกจ็ ะต้องมาดำเนินการ ขออนุญาตจาก BOL เช่นกนั โดยการเปิดบัญชีดงั กล่าวตอ้ งเปิดเพือ่ ใช้ในวตั ถุ ประสงค์เฉพาะที่กฎหมายกำหนดไว้เท่านั้น สำหรับการยื่นเอกสาร ทาง BOL ใชเ้ วลาประมาณ 15 วนั ทำการในการพจิ ารณาออกใบอนญุ าตเปิดบญั ชี ต่างประเทศให้ ค่าธรรมเนยี มสำหรับใบอนญุ าตทง้ั หมด ทั้งการขอรบั CIC การขออนุญาต กู้ยืมเงินจากต่างประเทศ และการขออนุญาตเปิดบัญชี อยูต่ ่างประเทศน้นั BOL เกบ็ ในอัตราเดยี วคือฉบับละ 15,000 กบี 5.2 เงอ่ื นไขการชำระเงนิ - การชำระเงนิ ในการซื้อขายสนิ คา้ ระหวา่ งไทย-ลาว การชำระเงินโดยการใช้ระบบการเปิด L/C (Letter of Credit) : สว่ นใหญเ่ ป็นการชำระเงนิ จากรฐั บาลไทยในการซ้ือพลังงานไฟฟ้าจากลาว การชำระดว้ ยเงินสด : คอื เงินบาทของไทย และเงนิ กบี ของลาว ซง่ึ การซื้อขายระหวา่ งไทย-ลาว จะนิยมชำระเป็นเงนิ บาทมากกว่าเงนิ กีบ เนื่อง จากการจำกัดการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของรัฐบาลลาวและค่า เงนิ กีบไมม่ เี สถียรภาพ การชำระเงนิ โดยใช้ระบบ T/T (Telegraphic Transfer) : เป็น ระบบของการไว้ใจซ่งึ กนั และกนั โดยผสู้ ่งออกไทยจะสง่ สนิ ค้าไปให้ผูน้ ำเข้าลาว โดยใหเ้ ครดติ (ระยะเวลาจะมากหรือน้อยขนึ้ อยกู่ บั ความสัมพันธ)์ เม่ือครบ กำหนดเครดติ ผู้นำเข้าลาวจะโอนเงินกลบั มาใหผ้ ้สู ง่ ออกของไทย การชำระเงินโดยระบบ D/A (Document Against Acceptance) : ผูส้ ่งออกของไทยจะตรวจสอบฐานะของผนู้ ำเข้าลาวจนเปน็ ท่ีพอใจแล้วจะ สง่ สนิ ค้าไปใหผ้ นู้ ำเขา้ ลาว พรอ้ มสง่ เอกสารการออกสินคา้ (Shipping Documents) ใหธ้ นาคารในลาวเพอื่ การชำระเงิน ผนู้ ำเขา้ ของลาวจะตอ้ งนำ เงินมาชำระสินคา้ ที่ธนาคารกอ่ น จงึ จะได้รบั เอกสารเพื่อนำไปออกสินค้าจาก คลงั สินค้าได้ 86 คู่มอื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

6. คำถามที่ถามบอ่ ยเก่ียวกบั การคา้ การลงทุน 1.) ถาม - การคา้ ขายกับนักธุรกิจของ สปป.ลาว มคี วามเชอ่ื ถอื ‘‘ หากไทยเป็นผู้ซื้อหรือ ได้หรอื ไม่ว่า ผ้ซู อ้ื ซึ่งอยูใ่ น สปป.ลาว จะสามารถชำระคา่ สนิ ค้าได้ หรอื สามารถ ชำระได้ในระยะเวลาทกี่ ำหนดหรือไม่ ? ผู้นำเข้ามาประเทศไทยจะต้อง ตอบ - แม้ว่า สปป.ลาว จะทำการคา้ ขายมานานพอควร แตท่ วา่ นำเงินไปให้นักธุรกิจของ สปป. ก็ยังไม่มีเงินตราต่างประเทศเพียงพอท่ีจะทำการค้าด้วยระบบเงินตราได้เต็มท่ี ลาว กอ่ นเพ่อื หาซื้อสินค้าหรือ ปจั จบุ นั สปป.ลาว มปี รมิ าณการคา้ กบั ตา่ งประเทศปลี ะ 6,000 ลา้ นบาทเศษ เพื่อดำเนินการต่างๆ เพื่อให้ได้ มรี ายไดจ้ าการสง่ ออกสนิ คา้ ทส่ี ำคญั ๆ เช่น เส้ือผา้ ไม้ กาแฟ ของป่า สินค้ามา ปัญหาคือ ไม่มีอะไร สมุนไพร เศษเหล็ก ปลี ะประมาณ 1,600 ลา้ นบาทเศษ ขายกระแสไฟฟ้า เป็นหลักประกันว่าเมื่อจ่ายเงิน ให้ไทยปีละ 500-600 ลา้ นบาท และได้รับเงนิ ช่วยเหลือจากต่างประเทศ ก้อนนั้นไปแล้วสินค้าจะมาตาม ประมาณ 2,500 ลา้ นบาท ปัจจุบนั การคา้ ระบบแลกเปลี่ยนหรือที่เรียกกันวา่ ที่สัญญากันไว้ หากมีการผิด ระบบบราเตอรเ์ ทรด กย็ งั คงใชก้ ันอย่อู ยา่ งกรณขี องบรษิ ทั น้ำมันเชลล์ ซ่งึ ขาย สั ญ ญ า ก็ ไ ม่ มี ใ ค ร ต า ม เ ร่ื อ ง น้ำมนั ใหแ้ ขวงคำม่วน ปรากฏวา่ พอสงั่ นำ้ มนั เข้ามากๆ ทางฝ่ายลาวไม่มีเงินจา่ ย ให้ได้เพราะไม่มีหลักฐานอะไร เขาก็ใชว้ ิธียกดบี กุ ใหเ้ ชลล์ แตเ่ ชลล์เปน็ บริษัทน้ำมันเขาไม่ทำเหมืองแรด่ ีบกุ จงึ ถ้าไม่เช่นนั้นก็ต้องทำการค้า ใหไ้ ทยซาโก ซ่งึ เป็นบรษิ ัทในเครอื เข้าไปทำเหมือง กก็ ลายเปน็ วา่ ไทยซาโกเปน็ ผ่านระบบธนาคาร คนจ่ายค่านำ้ มนั ให้ลาว นอกจากนีก้ ารแกป้ ญั หาในการทำการคา้ ของ สปป.ลาว อาจจะเปน็ เร่อื งท่โี ชคดีสำหรับลกู ค้าท่ีเปน็ คนไทย เนอื่ งจากคู่ค้าฝ่ายลาวยนิ ดีท่ีจะรับเงนิ สกลุ บาทของไทยในการทำการค้าแตท่ ว่าการค้าโดยอาศัยเงินไทยนนั้ คู่คา้ ท้ัง สองฝา่ ย จะตอ้ งไวเ้ นอ้ื เชอ่ื ใจกนั อยา่ งยง่ิ มฉิ ะนน้ั แลว้ ฝา่ ยไทยจะเปน็ ผเู้ สยี เปรยี บ ระบบการคา้ ท่ีจะรบั เงนิ บาท ค่คู ้าทัง้ สองฝา่ ยจะตอ้ งตดิ ตอ่ กันเอง 2.) ถาม - นักธรุ กจิ ไทยตอ้ งมคี วามรอบคอบและระมดั ระวงั ในการ ทำธรุ กิจกับนกั ธรุ กิจของ สปป.ลาว โดยเฉพาะเม่ือตอ้ งนำเขา้ สินค้าบางอย่าง จาก สปป.ลาว ? ตอบ - ในบางกรณี เม่ือมีการตกลงธุรกจิ จากความคนุ้ เคย หาก ไทยเป็นผซู้ ้ือหรอื ผ้นู ำเขา้ มาประเทศไทยจะต้องนำเงนิ ไปใหน้ กั ธรุ กจิ ของ สปป. ลาวกอ่ นเพื่อหาซอ้ื สินคา้ หรอื เพื่อดำเนนิ การตา่ งๆ เพอ่ื ใหไ้ ด้สนิ ค้ามา ปญั หา คือ ไม่มีอะไรเป็นหลักประกันว่าเมื่อจ่ายเงินก้อนนั้นไปแล้วสินค้าจะมาตามที่ สัญญากันไว้ หากมกี ารผิดสญั ญาก็ไม่มใี ครตามเรอ่ื งใหไ้ ด้เพราะไม่มีหลักฐาน อะไร ถ้าไมเ่ ชน่ นั้น ก็ต้องทำการคา้ ผ่านระบบธนาคาร เหตุการณ์ทำนองน้ี เปน็ เรอื่ งที่พ่อค้าทง้ั หลายสมควรจดจำไว้เปน็ อุทาหรณ์ ตราบใดที่คคู่ า้ สามารถหาสนิ คา้ ให้ได้ตามกำหนดในสัญญา ตราบนั้น การนำเงนิ ตราตา่ งประเทศ ไมว่ า่ จะเปน็ เงนิ สกลุ บาทหรอื สกลุ อน่ื ใดโดยไมผ่ า่ น ธนาคารเพ่ือไปจ่ายให้คู่ค้าก็เป็นเร่ืองท่ีหลงหูหลงตาเจ้าหน้าท่ีของรัฐไปได้เสมอ ยามใดที่คู่ค้า เกิดขัดสนขึ้นมาไม่สามารถปฏิบัติตามสัญญาที่ให้ไว้ต่อกันได้ ค่มู ือ การคา้ และการลงทุน สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 87 สส

‘ หลักการก็เหมือนกับการ‘ เม่ือนน้ั เงินท่ีจะนำไปจ่ายให้เขา จะกลายเปน็ เงินทีเ่ ขา้ ประเทศโดยผดิ กฎหมาย ข้ึนมาทนั ที ความจรงิ คนลาวกไ็ มใ่ ช่วา่ จะเป็นขี้โกงอะไรแตป่ ัญหาคอื เขาวาง เปิด แอลซี. (Letter of Credit) แผนในการใชจ้ ่ายเงินไมเ่ ปน็ เวลาพอ่ ค้าไทยนำเงินไปจา่ ยเพ่ือทจี่ ะให้เขาเป็น นั่นเอง คือเมื่อผู้ซื้อและผู้ขาย ค่าใช้จา่ ยในการหาสินค้า เชน่ ตัดไม้หรือชักลากไมอ้ อกมา เขากเ็ อาเงินน้ัน สินค้าทำสัญญากันแล้ว ผู้ซื้อ ไปใชจ้ า่ ยอยา่ งอื่นเสยี จนหมดเอาไปซื้อรถมอเตอร์ไซดข์ เ่ี ล่นบา้ ง หรอื เอามา จะต้องนำสัญญาซื้อขายน้ัน เทีย่ วฝ่งั ไทยเสยี จนหมด พอถึงเวลาจะทำงานกันจริงๆ ก็ไมม่ คี า่ ใชจ้ ่ายหรอื เงิน พร้อมท้ังเงินสดตามสัญญาไป เหลอื ไมพ่ อ กไ็ ดข้ องออกมาไมต่ ามสญั ญาทใ่ี หก้ นั ไวพ้ อ่ คา้ ไทยกบ็ อกวา่ ไมเ่ ปน็ ไร ทธ่ี นาคารประเทศผูซ้ ือ้ ติดหนี้ไว้ก่อนก็ได้ บางรายปล่อยให้หนี้พอกพูนเสียจนไม่มีทางจะชดใช้ให้ได้ ก็ตอ้ งใช้วธิ โี กงเอาดอ้ื ๆ แลว้ กเ็ ลิกกิจการไปเลยจริงๆ 3.) ถาม - มีวิธสี ำหรบั การสร้างความมั่นใจกบั การชำระเงนิ จาก นกั ธุรกิจของ สปป.ลาว หรอื ไม ่ ? ตอบ - เพอื่ เป็นการแกไ้ ขปญั หาการบดิ พลิ้วกนั จงั หวัดนครพนม ได้มีการนำร่องในการแก้ไขปญั หาดงั กล่าวดว้ ยการออกเปน็ ประกาศของจังหวดั เรื่องหลักประกันการชำระเงินนำเข้าและส่งออกโดยสาระสำคัญของการออก ประกาศฉบบั นค้ี อื ใหธ้ นาคารเขา้ มามสี ว่ นในการออกหลกั ประกนั การชำระเงนิ ใน การสัง่ ซ้อื สนิ ค้าไม่ว่าการนำเข้าหรอื สง่ ออก โดยธนาคารทเี่ ข้ามาใหบ้ รกิ ารคือ ธนาคารทหารไทย สาขานครพนม และธนาคารลาวใหม่ สาขาแขวงคำมว่ น จะตกลงกันในการเรียกเก็บเงินระหวา่ งธนาคาร ซึ่งในความจรงิ แลว้ หลักการ ก็เหมือนกบั การเปิดแอลซี. (Letter of Credit) นนั่ เองคือเมอ่ื ผู้ซ้อื และผู้ขาย สินคา้ ทำสัญญากันแลว้ ผู้ซอ้ื จะต้องนำสัญญาซ้ือขายน้นั พรอ้ มท้งั เงินสดตาม สญั ญาไปท่ีธนาคารประเทศผ้ซู ้ือ สมมตวิ ่าผ้ซู ้ือเป็นคนไทยก็ไปทธี่ นาคารทหาร ไทย สาขานครพนมธนาคารดงั กล่าวก็จะออกหนงั สือคำ้ ประกนั การชำระเงินคา่ สินคา้ ตามสัญญาซือ้ ขาย แล้วสง่ ไปยังธนาคารประเทศผูข้ ายในที่นค้ี ือ ธนาคาร ของ สปป.ลาว น่ันเองจากนัน้ ธนาคารสปป.ลาวกจ็ ะแจ้งใหผ้ ้ขู าย ซง่ึ เปน็ คน สปป.ลาว ทราบวา่ ธนาคารทีป่ ระเทศผซู้ ือ้ คอื ธนาคารทหารไทยได้รับรองการ ชำระเงินค่าสินค้าแล้วเม่ือผู้ขายส่งมอบสินค้าให้ผู้ซื้อครบถ้วนตามสัญญาแล้ว ใหส้ ง่ เอกสารการสง่ สนิ ค้าไปใหธ้ นาคาร เพอ่ื ธนาคารจะไดเ้ รียกเกบ็ เงินจาก ธนาคารประเทศผู้ซ้อื มาให้ผู้ขายตอ่ ไปถ้าไทยเป็นผขู้ ายกก็ ลับกัน การทำเชน่ นี้ จะทำให้ทงั้ ผู้ซื้อและผขู้ ายม่ันใจได้วา่ เงนิ ที่จา่ ยไปแลว้ จะไดส้ นิ ค้ามาแนๆ่ เพราะ ธนาคารท่ีออกหลักประกันการชำระเงินให้เขาจะต้องตรวจสอบอย่างม่ันใจเสีย ก่อนวา่ มกี ารส่งมอบสนิ ค้ากันจรงิ การผดิ สัญญา เพราะเหตแุ ห่งการใชจ้ ่ายเงนิ ไมเ่ ปน็ ของคนลาวดงั กลา่ วข้างต้น อาจจะพอมที างแก้ไขได้ 4.) ถาม - สญั ญาท่ีทำกับนักธรุ กิจของ สปป.ลาว มักเกดิ การ เปลีย่ นแปลงบอ่ ยคร้ัง ? ตอบ - ในหลายกรณกี ารบิดพลวิ้ สัญญากเ็ กดิ ขึน้ อยา่ งจงใจ ด้วย การเขียนข้อความบางประการท่ีจะทำให้มีการเปลี่ยนแปลงสัญญาได้ในอนาคต 88 ค่มู ือ การคา้ และการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

เชน่ “ถ้าเกิดเหตกุ ารณ์อย่างใดอย่างหนึ่งท่ไี ม่สอดคล้องกบั สภาพความเป็น จรงิ ทง้ั สองฝา่ ยจะไดห้ ารอื เพอ่ื แกไ้ ขใหส้ อดคลอ้ งกบั ความเปน็ จรงิ ” ขอ้ ความ ที่แสนจะธรรมดาในสัญญานี่เอง ท่ีอนญุ าตให้คำทไี่ มพ่ งึ ปรารถนาเหลา่ น้ีเกดิ ขน้ึ เป็นตน้ ว่า “โควตาไม้ของบรษิ ัทเราหมดสนิ้ แล้ว ตามสภาพความเปน็ จรงิ ทำ ตอ่ ไปไมไ่ ด้”, “บริษทั ขาดทนุ ทำต่อไปไม่ได้ คือสภาพความเปน็ จรงิ ”, “เงิน ค่าสินคา้ ท่รี บั มา ใชจ้ ่ายไปหมดเพราะขาดทนุ ถา้ จะใหส้ ่งไม้ต่อจนครบสัญญา ตอ้ งนำเงินมาใหย้ ืมกอ่ นถงึ จะทำต่อไปได้ เพราะตามสภาพความเป็นจรงิ เรา ไม่มเี งินเหลอื เลย”, “ศูนยก์ ลางขนึ้ ภาษีไม้ ตามสภาพความเปน็ จรงิ ราคาไมส้ ูง ข้นึ ถา้ ไม่เพิ่มราคาใหอ้ ีกทำไมไ่ ด้ สัญญาต้องลบลา้ ง (คือเลกิ สัญญาน่ันเอง)”, “คา่ ใช้จา่ ยเพิ่มมากขึ้น เพราะบางอย่างลมื คิดไป ตามความเปน็ จริงเราไม่มี กำไรจะทำได้อย่างไร ถ้าไม่เพ่ิมก็ลบลา้ งสัญญา”, “ราคาในสัญญานี้ขายให้ ไมไ่ ด้เพราะคนอ่นื ใหร้ าคาสงู กว่า สภาพความเปน็ จรงิ ปจั จุบันเป็นอยา่ งนี้” หรือ “สงั่ ซือ้ พัดลมจากประเทศไทย 200 ตวั ส่งมอบไปแล้วบางส่วน สว่ น ทเี่ หลอื ไม่เอาแลว้ ตามสภาพความเป็นจรงิ ขณะนีต้ ลาดต้องการร่นุ ทอ่ี อกใหม”่ ฯลฯ ในฐานะที่เป็นการคา้ ระหวา่ งประเทศ การค้าระหวา่ งไทย-สปป.ลาว ก็มีปัญหาและอปุ สรรคมากมาย บางครัง้ กม็ ากเกินกว่าท่ีจะคาดได้ว่าเป็นปัญหา ของคู่คา้ ท่สี อ่ื ภาษาเดียวกนั เขา้ ใจได้ 5.) ถาม - นกั ธรุ กิจไทยที่ตอ้ งการสง่ ออกสนิ ค้าเขา้ มาขายใน สปป. ลาว ควรปฏิบัตเิ ช่นไร เพอ่ื ให้ประสบความสำเร็จกับสินคา้ ของตน? ตอบ - ประการสำคญั ท่ีนกั ธรุ กจิ ชาวไทยมองขา้ มคือ การไม่เห็น ความสำคัญของการติดต่อประสานงานกับสำนักงานการค้าระหว่างประเทศ (สคร.) ซง่ึ การประสานงานผา่ น สคร. ณ กรงุ เวยี งจนั ทน์ ยอ่ มทำให้เกดิ ความม่นั ใจและน่าเช่อื ถือของนักธรุ กจิ ในสปป.ลาวตอ่ นักธุรกิจชาวไทยรายน้ันๆ เพื่อที่ทำการค้าด้วย และอกี ประการหนึง่ นักธุรกิจไทยสามารถตดิ ต่อตัวแทน จำหนา่ ย (Distributor) เพือ่ ทำการกระจายสนิ คา้ ซง่ึ ทาง สคร.มีรายชือ่ ของ ตัวแทนจำหน่ายซ่ึงย่อมมีความน่าเชื่อถือในระดับหน่ึงเม่ือเปรียบเทียบกับการ ติดต่อโดยตรงโดยไม่ผ่านทางสคร. น อกจากการคา้ แลว้ การลงทุนก็เชน่ เดยี วกัน หากมีการติดต่อผา่ นทางสคร. ย่อมสรา้ งความนา่ เชือ่ ถือตอ่ หนว่ ยงานของรัฐใน สปป.ลาว โดยเฉพาะหน่วยงานที่รับผิดชอบเกย่ี วกบั การลงทุน เชน่ กระทรวง อุตสาหกรรม ซ่ึงจะเป็นการง่ายในการพจิ ารณาหรอื อนุมตั โิ ครงงานท่ีขอเข้าไป ลงทุนใน สปป.ลาว คมู่ ือ การค้าและการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 89 สส

7. หนว่ ยงานสำคัญและสถานทต่ี ดิ ต่อ สถานเอกอคั รราชทูตไทย ณ กรุงเวยี งจันทน์ Royal Thai Embassy Phonkeng road Vientiane, Lao PDR ตู้ ป.ณ. 23 หนองคาย 43000 โทรศัพท์ 007-856-21-214582-3 โทรสาร 007-856-21-214580 E-mail : [email protected] สำนกั งานส่งเสริมการคา้ ระหวา่ งประเทศ ณ กรงุ เวยี งจนั ทน์ 028 Kaisone Phomvihane Av, Ban Phonxay, Xaysettha District, Vientiane Capital , Lao P.D.R. ตู้ ป.ณ. 7 อ. เมอื ง จ.หนองคาย 43000 โทรศพั ท์ 007-856-41-212373 โทรสาร 007-856-21-412089 สถานกงสลุ ใหญ่ ณ สะหวันนะเขต No. 26, Ban Xayamongkon, Kouvoravong Road, Khanthabouly District Savannakhet Province, Lao PDR ตู้ ป.ณ.22 มุกดาหาร 49000 โทรศัพท์ 007-856-41-212373 โทรสาร 007-856-41-212370 กรมส่งเสรมิ การลงทนุ บา้ นสถี านเหนือ ถนนสุพานวุ ง เมอื งสีโคดตะบอง นครหลวงเวยี งจนั ทน์ สปป.ลาว โทรศพั ท ์ 007-856-21-222 691, 217 005 โทรสาร 007-856-21-215 491, 222 691 กระทรวงแผนการและการลงทนุ บ้านสถี านเหนือ ถนนสุพานวุ ง เมืองสโี คดตะบอง นครหลวงเวยี งจนั ทน์ สปป.ลาว โทรศพั ท ์ 007-856-21-216 653, 216 562, 217 001, 217 020 โทรสาร 007-856-21-216 552, 217 010, 217 019, 216 754 90 ค่มู อื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว

แผนกแผนการและการลงทนุ แขวงสะหวนั นะเขต ถนนฟา้ ง่มุ เมืองไกสอน พมวิหาร แขวงสะหวนั นะเขต โทรศพั ท ์ 007-856-41-212 163 แผนกแผนการและการลงทุน แขวงจำปาสกั เมอื งปากเซ แขวงจำปาสัก โทรศพั ท์ 007-856-31-212 541 โทรสาร 007-856-31-212 542 Special Economic Zone Office Savannakhet Province โทรศัพท ์ 007-856-41-212145 โทรสาร 007-856-41-214291 Ministry of Industry and Commerce Phonxay Road, Ban Phonxay, Xiasettha District, Vientiane, Lao PDR โทรศพั ท์ 007-856-21-412014 โทรสาร 007-856-21-412434 E-mail: [email protected]/ Department of Foreign Trade Policy โทรศพั ท ์ 007-856-21-452453, 415 927, 415 931,450 065 โทรสาร 007-856-21-450066 Ministry of Finance Thatluang Road, Ban Phonxay, Xiasettha District, P.O. Box 46, Vientiane, Lao PDR โทรศัพท ์ 007-856-21-412409 โทรสาร 007-856-21-412407 คมู่ ือ การค้าและการลงทุน สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 91 สส

Bank of Lao PDR Yonnet Road, P.O. Box 19 Vientiane, Lao PDR โทรศัพท์ 007-856-21-223331 โทรสาร 007-856-21-218326 http://www.bol.gov.la Lao National Chamber of Commerce and Industry Ban Phonphanao, Kaysone Phomvihane Road, Saysettha District, Vientiane Capital, P.O.Box 4596 Vientiane, Lao PDR Tel : 007-856-21-452579, 453312-4 Fax : 007-856-21-452580 E-mail: [email protected] www.incci.laopdr.com รายชอ่ื ร้านอาหารไทยใน สปป.ลาว Sudaporn Thai Food (ข้าวราดหน้า) 017/2-3 Ban Anou, Jaoanu Road, Chanthabouly District, Vientiane Capital, Lao P.D.R. Tel : (856-21) 214 283 Linda Sathaporn Restaurant 306/18 Ban Phonsynuan, Saphanthong Road, Sisattanak District, Vientiane Capital, Lao P.D.R. Tel. : (856-21) 415 355 Pikul Restaurant Ban Haysok, Laungprabang Road, Sikhottabong District, Vientiane Capital, Lao P.D.R. Tel. : (856-21) 212 377 92 ค่มู อื การคา้ และการลงทนุ สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว

Tonhome Restaurant Ban Sihome, Samsenthai Road, Chanthabouly District, Vientiane Capital, Lao P.D.R. Tel. : (856-21) 223 113 Sweet Home Restaurant 118/1 Ban Thatkao Thadeau Road, Sisattanak District, Vientiane Capital, Lao P.D.R. Tel. : (853-21) 314 048 Asia Pavilion Hotel 379 Ban Xiangnyeun, Samsenthai Road, Chanthabouly District, Vientiane Capital, Lao P.D.R. Tel. : (856-21) 213 430, 213 431, 213 085, 222 890 Fax : (856-21) 213 432 Kongview Restaurant 108 Unit 01, Ban Nongpanay Sikhottabong District, Vientiane Capital, Lao P.D.R. Tel. : (856-21) 520 522, 20-5689 9738 Fax : (856-21) 520 533 Tonenam Restaurant Ban Phonsenuan, Saysettha District, Vientiane Capital, Lao P.D.R. Tel. : (856-30) 988 4888, 988 5888 Fax : (856-30) 526 6121 Mobile : (856-20) 5422 2333 E-mail : [email protected] คูม่ ือ การค้าและการลงทุน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 93 สส


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook