Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

10

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-05 21:46:43

Description: 10

Search

Read the Text Version

ค�ำนำ� “ทจุ รติ คิดโกงชาติ จะพนิ าศ ท้ังราษฏรร์ ฐั ” เป็นคำ� ขวญั ชนะเลิศตอ่ ตา้ นการทุจริต ปี 2558 ของสำ� นกั งานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ (สำ� นกั งาน ป.ป.ช.) โดย นางนงนภสั ขนั ธด์ วง จากจงั หวดั รอ้ ยเอด็ แสดงใหเ้ หน็ วา่ การทจุ รติ คอรปั ชน่ั หรอื การโกง ไมซ่ อื่ สตั ย์ สจุ รติ ของเจา้ หนา้ ท่ี ภาครัฐเปรยี บเสมือน “มะเร็งรา้ ย” ท่เี ป็นภัยคุกคาม กัดกรอ่ นท�ำลายชาตมิ าอย่างยาวนาน ส่งผลกระทบก่อ ใหเ้ กดิ ความเสียหายแก่ประชาชนทุกคน และการพฒั นาประเทศในภาพรวม จากการจดั ลำ� ดบั ดชั นภี าพลกั ษณค์ อรปั ชนั พบวา่ สถานการณก์ ารทจุ รติ ในภาครฐั ของประเทศไทย ใน 15 ปีทผ่ี า่ นมา ไทยยงั อยใู่ นกลุ่มประเทศทมี่ กี ารทจุ ริตสูง โดยปี 2557 ประเทศไทยได้คะแนน 38 จาก คะแนนเต็ม 100 (อันดับท่ี 85 จากการจัดอันดบั ทงั้ หมด 175 ประเทศท่ัวโลก) แมว้ ่าจะมคี ะแนนดขี ึน้ เล็ก นอ้ ยจาก 35 คะแนนในปที แ่ี ล้ว ทงั้ นี้เนื่องจากในชว่ งปที ี่ผ่านมา หลายภาคส่วนไดพ้ ยายามมสี ว่ นรว่ มในการ แก้ไขปัญหา เช่น การปลกู ฝงั ความดีใหเ้ ดก็ ๆ ในการเรียนการสอนหลักสูตร“โตไปไม่โกง” การตน่ื ตวั ของ ภาคธรุ กจิ ในการต่อตา้ นการทจุ รติ รวมถงึ การท่ีส�ำนักงาน ป.ป.ช. ร่วมกบั กระทรวงสาธารณสุข เม่อื วนั ท่ี 11 พฤษภาคม 2553 ไดม้ พี ธิ ลี งนามบนั ทกึ ความรว่ มมอื “เครอื ขา่ ยเมอื งคนด”ี   เพอื่ สง่ เสรมิ ให้ อสม. ทวั่ ประเทศ เขา้ มามบี ทบาทในการรว่ มป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริต และในปี 2559 กรมสนบั สนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ ไดจ้ ดั ทำ� “โครงการเสรมิ สรา้ งศกั ยภาพเครอื ขา่ ยอาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจำ� หมบู่ า้ น ด้านป้องกันและปราบปรามการทุจริต (อสม. ป.ป.ช.)” ด้วยการจัดกิจกรรมอบรมวิทยากร อสม.ต้นแบบ เพอ่ื นำ� ความรทู้ ไี่ ดไ้ ปขยายเครอื ขา่ ยเมอื งคนดที ว่ั ประเทศ เนน้ ด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความซอื่ สตั ยใ์ นระดบั หมบู่ า้ นและชมุ ชน สรา้ งสงั คมไทยใหป้ ราศจากการทจุ รติ อยา่ งยง่ั ยนื ตอ่ ไป โดย อสม.ทผ่ี า่ นการอบรมสามารถ ขยายเครือข่ายได้ 10-15 รายตอ่ คน  ท้งั นีถ้ ือเปน็ หน้าที่พลเมอื งไทยทต่ี อ้ งปกป้องผลประโยชน์ เปลย่ี นค่า นยิ ม สร้างความเชอ่ื มนั่ ให้แกป่ ระเทศไทย ค่มู อื อสม. ป.ป.ช. เครอื ข่ายเมอื งคนดี ฉบบั น้ี เป็นการปรับปรงุ เนอื้ หาจากตน้ ฉบบั คู่มือ”อสม. ด้านการป้องกันและปราบ ปรามการทุจริต ปี 2557” ให้กระชับเข้าใจง่าย สู่การน�ำไปปฏิบัติในชุมชน โดยสำ� นักงานสนับสนุนบรกิ ารสุขภาพ เขต 7 รว่ มกบั ส�ำนกั งานสนบั สนนุ บรกิ ารสุขภาพ เขต 10 จดั ท�ำค่มู อื ดังกลา่ ว และหวังเปน็ อย่างย่งิ ว่าเอกสารนีจ้ ะเปน็ ประโยชนก์ ับ อสม. และผูเ้ กี่ยวข้องทกุ ภาคส่วน สจุ ินดา สขุ ก�ำเนิด สัมพนั ธ์ มณุ ีรัตน์ ผู้อำ� นวยการ ผู้อ�ำนวยการ สำ� นักงานสนับสนุนบริการสขุ ภาพ เขต 7 ขอนแกน่ สำ� นกั งานสนับสนุนบรกิ ารสขุ ภาพ เขต 10 อบุ ลราชธานี

สารบญั หนา้ • บทบาทอำ� นาจหนา้ ทข่ี องคณะกรรมการ ป.ป.ช. และ ป.ป.ช.จังหวดั 3 • กฎหมายท่เี ก่ยี วข้องกบั การทุจริต 5 • บทบาทหน้าที่ และภารกิจของเครอื ข่าย ป.ป.ช. 6 • การเฝา้ ระวงั และตรวจสอบการบริหารของ อปท. 7 • วิธีการตรวจสอบ เฝา้ ระวงั การทจุ รติ โดยการมสี ่วนร่วมของประชาชน 10 • วิธีการร้องเรยี นและชอ่ งทางการร้องเรยี นการทจุ ริต 13 • กระบวนการปฏิบัติในการร้องเรียนการทุจริต 16 • กรณศี กึ ษา เรอ่ื งทจุ รติ 18 • แบบประเมนิ ความรู้ความเข้าใจกอ่ น-หลงั การฝกึ อบรม 22 • ใบงาน การเสริมสร้างเครอื ข่ายเมอื งคนดีในชมุ ชน 24

บทบาทอำ� นาจหน้าท่ี ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. และ ป.ป.ช.จงั หวัด ความหมายของค�ำส�ำคัญ คำ� วา่ การทุจิต หมายถึง ความประพฤตชิ ว่ั ถา้ เป็นความประพฤติช่วั ทางกาย เรียกวา่ กายทจุ รติ ถา้ เปน็ ความประพฤติช่ัว ทางใจ เรยี กว่า มโนทุจรติ ถ้าเป็นความประพฤติชว่ั ทางวาจา เรียกวา่ วจที จุ รติ ทจุ รติ (ก.) หมายถึง โกง คดโกง ฉอ้ โกง (พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ 2542 หนา้ 534) อาจกล่าวได้ว่า การทุจริต ฉ้อราษฎร์บังหลวง และคอร์รัปชัน เป็นค�ำที่มีความหมายเดียวกันกับค�ำว่า ทจุ ริต พฤติกรรมการฉอ้ ราษฎรบ์ ังหลวง คอื การกระทำ� ทงั้ หลายของการทจุ รติ ในหนา้ ที่ ราชการ การรดี นาทาเรน้ ประชาชน การกนิ สนิ บน ตลอดจน ความอยตุ ิธรรมอืน่ ๆ ทีข่ ้าราชการหรือบุคคลอนื่ ใด ใชเ้ ป็นเครอื่ งมอื ในการลดิ รอนความเปน็ ธรรม และความถกู ตอ้ งตามกฎหมาย ตามระเบยี บและตามขนบธรรมเนยี มประเพณขี องสงั คมไทย สว่ นใหญร่ าษฎร ผเู้ ก่ียวข้อง ในกรณีนัน้ ๆ จะเปน็ ผู้รูเ้ ห็น สมยอม และสมคบในการกระท�ำ ความหมายของการทจุ รติ ตอ่ หนา้ ท่ี การทุจริตต่อหน้าท่ี หมายความว่า ปฏบัติหรือละเว้นการปฏบัติอย่างใดในต�ำแหน่งหรือหน้าท่ี หรือปฏบัตหิ รอื ละเว้นการปฏิบัตอิ ย่างใดในพฤตกิ ารณ์ทอี่ าจทำ� ให้ผอู้ ่ืน เชื่อว่ามีต�ำแหน่งหรือหน้าท่ีทั้งท่ีตน มิได้มตี ำ� แหนง่ เชน่ นัน้ จรงิ ผลประโยชนส์ ว่ นบุคคลหรอื ผลประโยชนส์ ว่ นตวั ผลประโยชน์ส่วนบุคคล (ส่วนตัว) หมายถึง การกระท�ำใดๆที่มุ่งประโยชน์ส่วนตนเป็นเรื่องที่ เกย่ี วกบั ผลประโยชนส์ ว่ นตวั ของบคุ คลนน้ั ๆเอง ประโยชนส์ ว่ นตวั อาจหมายถงึ สงิ่ ทเี่ กดิ ขน้ึ แลว้ เปน็ ประโยชน์ เฉพาะตวั เองและพวกพอ้ งกไ็ ด้ ผลประโยชน์สว่ นรวมหรือประโยชนส์ าธารณะ หมายถึง ผลประโยชน์หรือ สวัสดิการร่วมกันของทุกคนส่ิงที่เกิดขึ้นแล้วเป็นประโยชน์กับ สว่ นรวม เรอ่ื งทีเ่ ก่ยี วกับผลประโยชน์ของทกุ คนหรือสว่ นรวม คู่มือ อสม.ป.ป.ช. เครือขา่ ยเมอื งคนดี 3

บทบาทอ�ำนาจหนา้ ท่ี ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. คณะกรรมการ ป.ป.ช.ประกอบดว้ ยประธานกรรมการคนหนง่ึ และกรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ อิ นื่ อกี 8 คน คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีหนว่ ยธรุ การ คือ สำ� นักงานคณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ ริต แห่งชาติเรียกโดยย่อว่า “ส�ำนักงาน ป.ป.ช.” เป็นส่วนราชการที่เป็นหน่วยงานอิสระและมีเลขาธิการคณะ กรรมการ ป.ป.ช. เปน็ ผบู้ ริหารสงู สุด ขึ้นตรงต่อประธานกรรมการ ป.ป.ช. อำ� นาจหนา้ ทข่ี องคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ มดี งั น้ี 1. ด้านการป้องกนั การทุจรติ 2. ดา้ นการตรวจสอบทรพั ย์สนิ 3. ดา้ นปราบปรามการทุจริต บทบาท อ�ำนาจหนา้ ทข่ี องกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ รติ ประจ�ำจงั หวดั (กรรมการ ป.ป.ช. ประจ�ำจงั หวัด) - ให้มกี รรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ ประจำ� จังหวดั จำ� นวนไม่น้อยกวา่ สามคนแต่ ไม่เกนิ ห้าคน ตามที่คณะกรรมการ ป.ป.ช.ก�ำหนด - มีคณะกรรมการสรรหากรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ ประจ�ำจังหวัด อำ� นาจหน้าท่ีของกรรมการ ป.ป.ช.ประจ�ำจงั หวดั สง่ เสรมิ ดา้ นการปอ้ งกนั การทจุ รติ โดยประสานความรว่ มมอื กบั สว่ นราชการและประชาชนในการ เสริมสรา้ งค่านิยมเกย่ี วกับความซอ่ื สัตย์สจุ ริตและการมีสว่ นร่วมในการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ มาตรการในการสง่ เสรมิ การป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ ตามพ.ร.บ.ประกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2554 1) ว่าด้วยการคมุ้ ครองผู้เสยี หายและการคุ้มครองพยาน การคมุ้ ครองชว่ ยเหลอื ผเู้ สยี หาย ผทู้ ำ� คำ� รอ้ ง ผรู้ อ้ งทกุ ขก์ ลา่ วโทษ ผใู้ หถ้ อ้ ยคำ� ผทู้ แ่ี จง้ เบาะแส หรอื ขอ้ มลู ใดเกี่ยวกับการทุจรติ ตอ่ หน้าท่ี การรำ่� รวยผดิ ปกติ หรอื ข้อมลู อืน่ อนั เป็นประโยชนต์ ่อการดำ� เนนิ การตามกฎหมายของคณะกรรมการ ป.ป.ช. โดยถือว่าบคุ คลดังกล่าวเปน็ พยานท่มี ีสิทธไิ ด้รับความคมุ้ ครอง ตามกฎหมายว่าด้วยการคมุ้ ครองพยาน ถา้ บคุ คลดังกล่าว เป็นเจา้ หนา้ ที่ของรฐั และรอ้ งขอต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ว่าหากผ้นู ั้นยงั คงปฏบิ ตั หิ นา้ ทใ่ี นสงั กดั เดมิ ตอ่ ไปอาจถกู กลน่ั แกลง้ หรอื ไดร้ บั การปฏบิ ตั โิ ดยไมเ่ ปน็ ธรรม และคณะกรรมการ ป.ป.ช.เห็นว่ามีพยานหลักฐานอันควรเช่ือได้ว่ามีเหตุดังกล่าว ให้เสนอต่อนายกรัฐมนตรีเพ่ือสั่งการให้ได้รับ ความคมุ้ ครองหรือมาตรการอื่นตามท่ีเห็นสมควรได้ 2) การใหร้ างวัลผู้แจ้งเบาะแส ผู้กล่าวหา หรือผู้ที่แจ้งเบาะแสหรือข้อมูลเก่ียวกับการทุจริตอาจได้รับรางวัลตอบแทนหรือ ประโยชนอ์ ื่นใด ตามระเบยี บที่ ป.ป.ช.ก�ำหนด 4 คมู่ อื อสม.ป.ป.ช. เครอื ข่ายเมืองคนดี

กรณเี ปน็ เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั และคณะกรรมการ ป.ป.ช. เหน็ วา่ แจง้ เบาะแสขอ้ มลู เปน็ ประโยชน์ ตอ่ การปอ้ งกนั แลปราบปรามทจุ รติ อย่างยง่ิ สมควรไดร้ บั การยกยอ่ งใหเ้ ปน็ แบบอย่างทดี่ แี กเ่ จ้าหนา้ ทขี่ องรฐั และประชาชนให้คณะกรรมการ ป.ป.ช. เสนอคณะรัฐมนตรี เพ่อื การพจิ ารณาเลื่อนขน้ั เงนิ เดอื น และระดับ ตำ� แหนง่ ให้แกบ่ ุคคลนัน้ เปน็ กรณพี เิ ศษ 3) การกนั บุคคลเปน็ พยาน บคุ คลผถู้ กู กลา่ วหารายใดไดใ้ หถ้ อ้ ยคำ� หรอื แจง้ เบาะแสหรอื ขอ้ มลู อนั เปน็ สาระสำ� คญั ในการ ทจี่ ะใชเ้ ปน็ พยานหลกั ฐานในการวนิ จิ ฉยั ชม้ี ลู การกระทำ� ผดิ ของเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั รายอน่ื นนั้ และคณะกรรมการ ป.ป.ช. เห็นสมควรกันผู้น้ันไว้เป็นพยานโดยไม่ด�ำเนินคดีก็ได้ ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขท่ีคณะกรรมการ ป.ป.ช. กำ� หนด กฎหมายที่เก่ยี วขอ้ งกบั การทุจรติ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2542 (แกไ้ ขเพ่มิ เติม พ.ศ. 2550 และฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2554) การไต่สวนและวนิ ิจฉยั ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ขอบเขต ของเรื่องท่ี ป.ป.ช. จะไดร้ บั ไว้พิจารณา 1) ผ้ถู กู กล่าวหา จะตอ้ งมีสถานะเป็นเจ้าหน้าท่ขี องรัฐ 2) เร่อื งที่อยใู่ นอำ� นาจ (1) ทจุ ริตตอ่ หนา้ ท่ี (2) กระทำ� ความผดิ ตอ่ ต�ำแหน่งหน้าที่ในการยตุ ธิ รรม (3) ร�่ำรวยผิดปกติ 3) ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมอื ง หมายถึง นายกรัฐมนตรี รฐั มนตรี สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร (ส.ส.) สมาชกิ วุฒิสภา (ส.ว.) ขา้ ราชการเมอื งอืน่ ผู้เป็นตัวการ ผู้ใช้ ผสู้ นับสนนุ และรวมถึงผ้บู รหิ ารท้องถน่ิ และสมาชิกสภาท้องถนิ่ ทีม่ ีรายได้ หรืองบประมาณไม่ต่�ำกว่าเกณฑท์ ค่ี ณะกรรมการ ป.ป.ช.ก�ำหนด โดยประกาศในราชกจิ จานุเบกษา วิธกี ารกลา่ วหา เจ้าหน้าท่ีอืน่ ของรฐั ทม่ี ิใชผ่ ้ดู �ำรงตำ� แหน่งทางการเมืองบตั รสนเท่ห์ เชน่ ข้าราชการทวั่ ไป 1) ผถู้ กู กลา่ วหา ขณะรอ้ งเรยี นผถู้ กู กลา่ วหาจะตอ้ งมสี ถานะเปน็ เจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั หรอื พน้ จาก การเป็นเจา้ หน้าทข่ี องรัฐไมเ่ กินสองปี และเหตุเกดิ ไมห่ า้ ปี 2) การส่งบัตรสนเทห่ ์ ให้ผู้กล่าวหาสง่ บตั รสนเท่หไ์ ปยงั คณะกรรมการ ป.ป.ช. 3) รายละเอียดตามบตั รสนเท่ห์ อย่างน้อยตอ้ งมีรายละเอียด ดังนี้ (1) ช่ือและต�ำแหน่งผู้ถกู กลา่ วหา (2) ขอ้ กลา่ วหาและพฤตกิ รรมแหง่ การกระทำ� ความผดิ ตามขอ้ กลา่ วหาโดยรายละเอยี ดพรอ้ ม พยานหลักฐานใหช้ ัดเจนเพยี งพอท่จี ะด�ำเนนิ การตอ่ ไปได้ ค่มู ือ อสม.ป.ป.ช. เครือข่ายเมอื งคนดี 5

4) การรบั พิจารณาบัตรสนเทห่ ์ คณะกรรมการ ป.ป.ช. จะรบั ไว้พิจารณา (1) ในกรณีมีเหตุอันควรสงสัยนน้ั (2) จะตอ้ งมรี ายละเอียดพรอ้ มพยานหลักฐานเพยี งพอท่ดี ำ� เนนิ การต่อไปได้ วิธีการกล่าวหา เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐที่มิใช่ผู้ด�ำรงต�ำแหน่งทางการเมืองผ่านทางพนักงาน ในข้อกลา่ วหา ดงั น้ี 1) ทจุ ริตตอ่ หน้าท่ี 2) กระท�ำความผิดตอ่ ตำ� แหนง่ หน้าทร่ี าชการ 3) กระทำ� ความผดิ ต่อต�ำแหนง่ หนา้ ที่ในการยุตธิ รรม (เวน้ ขอ้ กล่าวหาร่ำ� รวยผิดปกตจิ ะต้องย่นื ต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. เทา่ นน้ั ) ใหผ้ กู้ ลา่ วหารอ้ งทกุ ขก์ ลา่ วโทษตอ่ พนกั งานสอบสวน (เจา้ หนา้ ทตี่ ำ� รวจ) ทอ้ งทเ่ี กดิ เหตซุ ง่ึ พนกั งาน สอบสวน จะตรวจข้อเท็จจรงิ เบอื้ งต้นกอ่ นสง่ เร่อื งใหค้ ณะกรรมการ ป.ป.ช. ภายใน 30 วนั บทบาท หน้าที่ และภารกจิ ของเครือข่าย ป.ป.ช. บทบาทและภารกิจต่อ ป.ป.ช. การส่งเสรมิ ให้องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ดำ� เนินการตามหลักธรรมาภิบาล 1. จดั เวทีพดู คุยแลกเปลย่ี นกันระหวา่ ง อปท. ในการด�ำเนินการตามหลักธรรมาภิบาล 2. ใหป้ ระชาชนเขา้ ร่วมประชมุ สภาทอ้ งถิ่น 3. ส่งเสริมให้ อปท. รายงานการด�ำเนนิ งานให้ประชาชนทราบอยา่ งต่อเนือ่ ง 4. ส่งเสริมให้ผนู้ ำ� องค์กร / ประชาชนติดตามข้อมลู การดำ� เนินงาน อปท. 5. สร้างช่องทางการร้องเรยี น 6. ให้ประชาชนมสี ่วนร่วมในการวางแผน การติดตามประเมินผลการด�ำเนินงานของ อปท. 7. กระตุ้นให้ประชาชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มกับ อปท. ใหม้ ากข้ึน 8. ใหป้ ระชาชนเป็นกรรมการด�ำเนินงานของ อปท. 9. ใหค้ วามรคู้ วามเขา้ ใจในเรอื่ งธรรมาภิบาลแก่ประชาชน 10. จดั ให้มเี วทรี บั ฟงั ความคดิ เหน็ ของประชาชน 11. ใหป้ ระชาชนประเมลิ ผลความพงึ พอใจในการด�ำเนนิ งานของ อปท. 12. รณรงคส์ ง่ เสริมการจดั ทำ� ตัวชี้วัด (ข้อตกลงการบริหารจดั การตามหลักธรรมาภบิ าล) ภารกจิ ในการขยายเครอื ข่าย การสรา้ งเครือข่ายประชาชนในการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ 1. จดั ต้งั ศนู ยป์ ระสานเครือข่ายในระดบั หมบู่ ้าน ต�ำบล อ�ำเภอ จงั หวดั 2. จดั การอบรม สัมมนาเพ่อื ใหเ้ กดิ ดารแลกเปล่ยี นเรียนร้รู ะหว่างกัน 6 คมู่ ือ อสม.ป.ป.ช. เครือข่ายเมอื งคนดี

3. จดั สรรงบประมาณ วสั ดอุ ปุ กรณ์ในการดำ� เนนิ การศนู ยป์ ระสานงานเครอื ขา่ ย 4. คดั เลอื กตัวแทนเพอ่ื ขยายแกนนำ� เครอื ขา่ ยประชาชน 5. ร่วมมอื กับเครือขา่ ยประชาชนท่ีมอี ยู่แล้วในการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริต ขนั้ ตอนการเฝ้าระวงั การทจุ รติ 1. การรรวบรวม ประกอบด้วย สังเกต ซักถาม ตรวจสอบจากแหลง่ ข้อมลู ดว้ ยการบนั ทึกแล้ว รายงาน 2. การเรยี บเรียงข้อมลู ขอ้ เท็จจริง ผ้เู ก่ียวข้อง 3. การวิเคราะหเ์ หตุการณ์ 4. การกระจายขา่ วสารสู่แกนนำ� และส�ำนกั งาน ป.ป.ช. เครือข่ายงานเฝา้ ระวังการทุจริตระดบั ตา่ งๆ ระดบั ตำ� บล / หมูบ่ ้าน สมาชิกเครือข่าย ป.ป.ช. / กลุ่มองค์กรชุมชนและแนวรว่ มในพืน้ ที่ ระดบั อำ� เภอ สมาชิกเครอื ขา่ ย ป.ป.ช. ท่ีมอี ยู่อ�ำเภอละ 2 คน และเครือขา่ ยแนวร่วมอื่นๆ ระดับจังหวัด สำ� นกั งาน ป.ป.ช. จงั หวัด แกนน�ำเครอื ข่าย ป.ป.ช. เครือขา่ ยองคก์ รแนวรว่ มอืน่ ๆ ระดบั ประเทศ คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาติ สำ� นกั ปอ้ งกนั การทจุ รติ ภาคประชาสังคมและการพัฒนาเครือขา่ ย การเฝา้ ระวังและตรวจสอบการบริหารของ อปท. วิธกี ารตรวจสอบของประชาชน กฎหมายท่ีรองรบั 1. ร่วมกับ อปท. ในการแสดงความคิดเห็น - ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าดว้ ยการจดั ทำ� การด�ำเนินการโครงการ แผนพฒั นาของ อปท. พ.ศ. 2548 ข้อ 8 ขอ้ 9 ข้อ 10 ขอ้ 16 ข้อ 17 ขอ้ 26 ขอ้ 28และข้อ 29 2. ร่วมเป็นคณะกรรมการจัดท�ำแผนพฒั นา - ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ยการจดั ท�ำ แผนพฒั นาของ อปท. พ.ศ. 2548 ขอ้ 8 ขอ้ 9 ขอ้ 10 ขอ้ 16 ขอ้ 17 และขอ้ 26 3. การรว่ มรับฟงั การประชุมสภา อปท. - ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยข้อบังคับ การประชมุ สภาท้องถิน่ พ.ศ. 2547 ข้อ 24 วรรคสอง 4. คัดค้านข้อบังคับหรือมติของ อปท. ท่ีท�ำความ - พ.ร.บ. ว่าดว้ ยการเข้าชือ่ เสนอขอ้ บัญญัติท้องถิ่น เดอื ดรอ้ นแกป่ ระชาชน พ.ศ. 2542 มาตรา 4 และมาตรา 5 คมู่ อื อสม.ป.ป.ช. เครือข่ายเมืองคนดี 7

วธิ ีการตรวจสอบของประชาชน กฎหมายทีร่ องรับ 5. รว่ มเปน็ คณะกรรมการจัดซอื้ / จดั จ้าง - กรณขี องเทศบาล และ อบจ. เปน็ ไปตามระเบยี บ กระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ยการพสั ดขุ องหนว่ ยการ บริหารการพัสดุของหน่วยงานบริหารราชการ ส่วนทอ้ งถนิ่ พ.ศ.2535 ข้อ ว 28 วรรค 2 - กรณีของ อบต. เป็นไปตามระเบียบกระทรวง มหาดไทยวา่ ดว้ ยการพสั ดุของ อบต. พ.ศ. 2538 ขอ้ 22 วรรคแรก 6. การตรวจสอบพฤตกิ รรมของสมาชิกสภา อปท. - พ.ร.บ.ว่าด้วยการลงคะแนนเสียงเพ่ือถอดถอน สมาชกิ สภาท้องถิ่นหรือผบู้ ริหารทอ้ งถ่ิน พ.ศ.2542 มาตรา 5 มาตรา 6 และมาตรา 7 7. การขอรับทราบขอ้ มลู ข่าวสาร - พ.ร.บ.ขอ้ มูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 มาตรา 9 มาตรา 11 มาตรา 12 มาตรา 13 มาตรา 14 และมาตรา 25 8. ตรวจสอบแผนพัฒนา อปท. เป็นไปตามความ - ระเบยี บกระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ยการจดั ทำ� แผน ตอ้ งการหรือไม่ พัฒนาของ อปท. พ.ศ. 2548 ขอ้ 16 ขอ้ 26 ขอ้ 28 9. ติดตามการก่อสร้างโครงการและการใช้จ่ายเงิน - ประกาศคณะกรรมการขอ้ มลู ขา่ วสารของราชการ งบประมาณ เร่ืองก�ำหนดให้ข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับผลการ พจิ ารณาจดั ซอื้ จดั จา้ งของหนว่ ยงานรฐั เปน็ ขอ้ มลู ขา่ วสารทต่ี อ้ งจดั ไวใ้ หป้ ระชาชนเขา้ ตรวจดไู ดต้ าม มาตรา 9(8) แหง่ พ.ร.บ. ขอ้ มูลขา่ วสารราชการ พ.ศ. 2540 ฉบบั ลงวนั ที่ 1 ธ.ค.2543 - หนงั สือกระทรวงมหาดไทยด่วนมากที่ มท 0808.2/ว2808 ลงวนั ที่ 20 ส.ค.2547 เรอ่ื งการปอ้ งกันการทุจริตและการมสี ว่ นรว่ ม ของประชาชนในการดำ� เนนิ งานของ อปท. - ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบ ประมาณของ อปท. พ.ศ.2541 ขอ้ 4 10. ประชาชนสามารถเขา้ ชอ่ื หนง่ึ ในสองของผมู้ สี ทิ ธิ - พ.ร.บ. วา่ ดว้ ยการเข้าช่ือเสนอขอ้ บญั ญัตทิ ้องถน่ิ เลอื กตั้งต่อประธาน สภา อปท. เพือ่ เสนอ พ.ศ. 2542 มาตรา 4 ข้อบงั คบั 8 คมู่ อื อสม.ป.ป.ช. เครอื ข่ายเมอื งคนดี

วธิ กี ารตรวจสอบของประชาชน กฎหมายทร่ี องรบั 11. ร้องเรียนตอ่ ประธานสภา อปท. เม่อื พบว่า - พ.ร.บ. อบจ. พ.ศ.2540 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ผู้บรหิ ารท้องถน่ิ ท�ำงานไมโ่ ปร่งใส ถงึ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2546 มาตรา 44/2 กำ� หนด ให้เปน็ อำ� นาจของสมาชิกสภา อบจ. (ประชาชน โดยตรงไม่มี) - พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ. 2496 และที่แก้ไขเพม่ิ เติม ถงึ (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2546 มาตรา 48 ทวาทศ กำ� หนดใหเ้ ปน็ อำ� นาจของสมาชกิ สภาเทศ (ประชาชนโดยตรงไม่มี) - พ.ร.บ.สภาตำ� บลและองคก์ ารองคก์ ารบรหิ ารสว่ น ต�ำบลพ.ศ.2537 และแก้ไขเพ่มิ เติมถงึ (ฉบับท่ี 5) พ.ศ. 2546 มาตรา 58/7 กำ� หนดให้เปน็ อำ� นาจ ของสมาชกิ สภา อบต. (ประชาชนโดยตรงไม่มี) 12. ร้องเรียนต่อนายอ�ำเภอกรณีที่คณะกรรมการ - พ.ร.บ. สภาตำ� บลและองค์การบริหารสว่ นต�ำบล บริหารไม่สนใจต่อคำ� คัดคา้ น พ.ศ. พ.ศ. 2537 และ ทีแ่ ก้ไขเพิ่มเติมถงึ (ฉบับท่ี 5) พ.ศ. 2546 มาตรา 90 และมาตรา 92 13. ฟอ้ งรอ้ งตอ่ ศาลปกครองกรณไี ดร้ บั ความเสยี หาย - พ.ร.บ จัดต้ังศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดี จาก อปท. หรือพนกั งาน อปท. ปกครอง พ.ศ. 2542 มาตรา 42 ประกอบกับ ค�ำสง่ั ศาลปกครอง สูงสดุ ท่ี 161/2546 ที่สรปุ ได้ วา่ กรณที ี่ผบู้ รหิ าร อบต. กระท�ำละเมดิ ต่อ อบต. ผู้เสยี หายอาจเป็น อบต. ซึง่ มีฐานะเป็นนิติบุคคล หรือราษฎรในเขต อบต. 14. เข้าชื่อถอดถอนผู้บริหาร อปท. หรือสมาชิก - พ.ร.บ. ว่าด้วยการลงคะแนนเสียงเพ่ือถอดถอน อปท. โดยประชาชนผูม้ สี ทิ ธิ สมาชิกสภาท้องถ่ินหรือผู้บริหารท้องถ่ิน พ.ศ. 2542 มาตรา 5 มาตรา 6 และมาตรา 7 จะเหน็ ไดว้ า่ การเฝา้ ระวงั และตรวจสอบการบรหิ ารงานดงั กลา่ ว มคี วามสำ� คญั ในการนำ� ไปสกู่ าร มีส่วนของประชาชนในการป้องกันการทุจริตอีกทั้งเป็นหลักการที่ส�ำคัญท่ีเป็นส่วนหนึ่งในหลักธรรมาภิบาล ทเี่ ปน็ หลกั ในการบรหิ ารงานทง้ั อยา่ งเปน็ ทางการ และไมเ่ ปน็ ทางการทด่ี อี กี ทางหนง่ึ หากการบรหิ ารงานของ องค์การปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ นำ� การมีส่วนร่วมในการคดิ ตัดสินใจรว่ มดำ� เนินการ และรว่ มประเมนิ นผลจาก ประชาชน ร่วมกบั ความโปร่งใสในการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนทราบ และตรวจสอบการท�ำงาน ได้ทุกข้นั ตอน ก็เป็นสว่ นในการพัฒนาองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และชมุ ชนอยา่ งยัง่ ยนื ตอ่ ไป ค่มู ือ อสม.ป.ป.ช. เครอื ขา่ ยเมอื งคนดี 9

วธิ ีการตรวจสอบเฝา้ ระวังการทจุ รติ โดยการมีส่วนรว่ มของประชาชน ประชาชนสามารถตง้ั ขอ้ สงั เกตเบื้องตน้ ไดว้ า่ งานก่อสร้างใดอาจมีการทจุ รติ โดยมีขอ้ สงั เกตดังน้ี 1. งานก่อสรา้ งไม่สมั พันธห์ รือสอดคลอ้ งกับสภาพพืน้ ท่ี และการใชป้ ระโยชน์ 2. ไมส่ ามารถใช้งานได้ตรงตามวัตถุประสงค์ 3. มคี วามเส่ือมสภาพเร็วกวา่ ปกติ แตท่ ้งั น้ี จะตอ้ งพิจารณาการดแู ล บ�ำรุงรกั ษาประกอบด้วย 4. โครงสรา้ งมีการช�ำรดุ แตกรา้ ว เอยี ง หรือมีรอยแยกออกจากกัน จนผดิ ปกติ 5. ผวิ วสั ดุตกแต่ง หลดุ รอ่ น แตก ซีดจางเร็วกวา่ ปกติ 6. ขนาดของโครงสรา้ งหรอื วสั ดุประกอบ คลาดเคลื่อนจากแบบก่อสร้างมากผดิ ปกติ 7. จำ� นวนของงานไม่ครบถ้วนตามแบบกอ่ สรา้ ง เราสองคน ตอ้ งไปคอยเฝ้าระวังตรวจสอบการทุจรติ งานก่อสรา้ ง ในท้องถ่ินของเราแล้ว กอ่ นทจ่ี ะเกดิ การทจุ ริตไปซะก่อน และท�ำให้ ประชาชนได้รับสง่ิ อำ� นวยความสะดวกไมค่ งทนถาวรอยา่ งทค่ี วรจะเป็น นอกจากวิธีการตรวจสอบในเบ้อื งต้นและขอ้ สงั เกตแลว้ ประชาชนสามารถตรวจดขู อ้ กำ� หนดของโครงการกอ่ สร้าง ท่ีหนว่ ยงานได้ตดิ ตงั้ แผ่นปา้ ยแสดงรายละเอยี ด เกย่ี วกับงานสรา้ ง ดังนี้ กรณีงานก่อสร้างสาธารณูปโภคที่ต้องขุดเจาะถนนหรือทางเท้า ที่อยู่ในความรับผิดชอบของ กรงุ เทพมหานคร หนว่ ยงานเจา้ ของงานจะกำ� หนดใหผ้ รู้ บั จา้ งตดิ ตง้ั แผน่ ปา้ ยแสดงรายละเอยี ดเกยี่ วกบั งานกอ่ สรา้ ง ไว้ ณ บริเวณสถานทีก่ อ่ สรา้ งโดยในแผ่นป้ายจะมีรายละเอียด ดงั น้ี 1. ช่ือหน่วยงานเจ้าของโครงการ สถานที่ติดต่อ และหมายเลขโทรศัพท์ พร้อมดวงตรา หน่วยงานเจา้ ของโครงการ 2. ประเภทและชนิดของส่ิงกอ่ สรา้ ง 3. ลกั ษณะงานก่อสรา้ ง 4. ชือ่ ทอ่ี ยู่ ผรู้ บั จ้าง หรือหนว่ ยงานทก่ี ่อสรา้ ง พรอ้ มหมายเลขโทรศัพท์ 5. ระยะเวลาเร่ิมต้นและระยะเวลาสิ้นสดุ ของงานหรอื โครงการ 6. วงเงนิ คา่ ก่อสรา้ ง 10 คมู่ อื อสม.ป.ป.ช. เครอื ข่ายเมอื งคนดี

7. ชื่อเจา้ หนา้ ทขี่ องหนว่ ยงาน ผ้คู วบคุมงาน พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ 8. ช่ือเจ้าหน้าทีข่ องบรษิ ัทวศิ วกรทีป่ รกึ ษาผคู้ วบคุมงาน พร้อมหมายเลขโทรศพั ท์ 9. ก�ำลังก่อสร้างด้วยเงินภาษอี ากรของประชาชน ประชาชนสามารถตรวจสอบดูไดว้ ่าโครงการกอ่ สร้างของกรุงเทพมหานคร หน่วยงานใดเป็นผู้รับผดิ ชอบ จะตดิ ต่อได้อย่างไรบา้ ง ระยะเวลากอ่ สรา้ ง ส้นิ สุดเมื่อใด เกนิ ระยะเวลาที่กำ� หนดหรือไม่ ผ้รู ับจา้ งมสี ว่ นไดส้ ่วนเสีย กบั ผู้อนมุ ตั โิ ครงการหรอื ไม่ สำ� หรับโครงการกอ่ สร้างขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ (อบจ. เทศบาล และ อบต.) ที่มีค่างานต้ังแต่ 100,000 บาท ขึน้ ไป จะต้องตดิ ต้ังแผ่นปา้ ยแสดงรายละเอียดเกีย่ วกับงานกอ่ สรา้ ง ดงั นี้ กรณีแผน่ ปา้ ยในระหวา่ งการดำ� เนนิ การก่อสรา้ ง (ปา้ ยชว่ั คราว) อย่างนอ้ ยต้องมรี ายละเอยี ด ดงั นี้ 1. ชอ่ื องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ พรอ้ มหมายเลขโทรศพั ท์ 2. ประเภทและชนิดของสง่ิ ก่อสร้าง 3. ปริมาณงานก่อสรา้ ง 4. ชอ่ื ทอี่ ยู่ หมายเลขโทรศพั ท์ของผรู้ ับจา้ ง 5. ระยะเวลาเร่ิมต้น และระยะเวลาสน้ิ สุด รวมระยะเวลากอ่ สรา้ งทงั้ ส้ิน 6. วงเงนิ งบประมาณทไ่ี ด้ตง้ั ไว้หรือเงินที่ไดร้ ับ 7. ราคากลางค่ากอ่ สร้าง 8. วงเงินคา่ ก่อสรา้ งตามท่ไี ดล้ งนามในสญั ญาจา้ ง 9. ช่ือกรรมการตรวจการจ้างและผคู้ วบคุมงานพรอ้ มหมายเลขโทรศพั ท์ กรณีแผน่ ป้ายภายหลงั การกอ่ สรา้ งแล้วเสร็จ (ป้ายถาวร) อย่างน้อยตอ้ งมรี ายละเอยี ด ดงั นี้ 1. ช่อื องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ 2. ประเภทและชนดิ ของส่ิงก่อสรา้ ง 3. ปงี บประมาณทท่ี ำ� การกอ่ สร้าง 4. วงเงินกอ่ สรา้ งและแหลง่ วงเงินท่ีก่อสรา้ ง 5. ระยะเวลาที่ผู้รับจ้างประกันความช�ำรุด บกพร่องตามสัญญา (ก�ำหนดวันเร่ิมต้นและ วันสิ้นสดุ การรบั ประกนั ) โดยประชาชนสามารถตรวจสอบดูไดเ้ ชน่ กนั ว่าโครงการก่อสร้างขอองค์กร ปกครองสว่ นท้องถ่ิน (อบจ. เทศบาล และอบต.) หน่วยงานใดเปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบ จะตดิ ตอ่ ได้อย่างบา้ ง ระยะเวลากอ่ สร้างส้นิ สดุ เม่ือใด เกินระยะเวลาทก่ี ำ� หนด หรือไม่ ผู้รบั จ้างมีส่วนได้ส่วนเสยี กับผ้อู นมุ ัตโิ ครงการหรือไม่ คมู่ ือ อสม.ป.ป.ช. เครือขา่ ยเมืองคนดี 11

ตัวอยา่ งการทจุ รติ งานกอ่ สรา้ ง ตัวอย่างท่ี 1 เทศบาล ว. ทำ� สัญญาจดั จ้างบริษัท ส. ในการกอ่ สรา้ งถนนคอนกรตี โดยตาม แบบกอ่ สร้างทีก่ �ำหนดในสญั ญา ต้องเทคอนกรตี หนา 20 ซ.ม. แตป่ รากฏว่าผูร้ ับเหมาเทคอนกรตี หนา เพียง 8 ซ.ม. ท�ำให้คณะกรรมการตรวจรับงานไม่ยอมลงชื่อตรวจรับงาน และท�ำหนังสือแย้งว่าการ ก่อสร้างผดิ แบบแปลนของเทศบาล ฯ ใหท้ �ำการแกไ้ ข และไม่สามารถเบิกจา่ ยให้ผู้รับเหมาได้ แต่นายก เทศมนตรกี ลับอนมุ ตั ิให้มีการเบิกจ่ายเงินแกผ้ ูร้ ับจา้ ง และพอกอ่ สรา้ งเสรจ็ ไดเ้ พียง 3 เดอื นปรากฎว่า ถนนแตกรา้ ว จากการตรวจสอบจากประชาชนโดยการเอาไมบ้ รรทัดไปวดั ความหนาของถนน กร็ ูว้ ่ามี การทุจริต โดยผู้รับเหมาใช้วิธีการเททรายตรงกลางถนนให้หนูคล้ายหลังเต่า ส่วนริมขอบถนนก็ท�ำให้ หนา 20 ซ.ม. เพื่อพรางตาประชาชน ตวั อยา่ งท่ี 2 องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล ข. ทำ� สญั ญาจดั จา้ ง บรษิ ทั ค. ในการกอ่ สรา้ งโครงการ ก่อสร้างถนนแอสฟัลท์ติก พร้อมปรับปรุงก่อสร้างทางระบายน้�ำและบบ่อพัก โดยในแบบสัญญาจ้าง ก�ำหนดใหก้ ารกอ่ สรา้ งถนนฯ มคี วามยาว 43 เมตร กว้าง 4 เมตร หนา 10 ซม. ระยะเวลาสน้ิ สุดของ โครงการ คือ วันที่ 30 ตุลาคม 2556 แต่ปรากฏวา่ ผรู้ ับเหมาท�ำจรงิ ๆ ไม่ได้มาตรฐานตามแบบแปลน วดั ความยาวได้แค่ 40 เมตร กว้างแค่ 3.5 เมตร และวดั ความหนาโดยเฉล่ียพยี ง 7-8 ซ.ม. และก่อสร้าง ไมแ่ ล้วเสรจ็ ตามทก่ี �ำหนดระยะเวลาส้นิ ของโครงการ ลว่ งเลยเวลามาเปน็ เวลา 3 เดอื น พลังของประชาชนส�ำคญั ทสี่ ดุ คิดกนั ดูวา่ ถา้ เงินทีถ่ ูกทุจรติ ไป นำ� มา ช่วยเหลอื ประชาชนท่ียากไรใ้ หม้ ที ด่ี นิ ทำ� กนิ สรา้ งถนนหนทางท่ีมี คุณภาพ สร้างสงิ่ อำ� นวยความสะดวกอนื่ ๆ จะได้มากมายขนาดไหน 12 คมู่ ือ อสม.ป.ป.ช. เครือข่ายเมืองคนดี

วิธกี ารร้องเรยี นและชอ่ งทางการรอ้ งเรยี นการทุจริต 13 เจา้ หน้าทีค่ รบั หากประชาชนพบเหน็ เจา้ หนา้ ทรี่ ฐั ทจุ รติ หรือรำ�่ รวยผดิ ปกติ สามารถรอ้ งเรียนได้ท่ไี หน และมีวิธีการอย่างไร ? สามารถร้องเรยี นเขา้ มาท่ี ส�ำนกั งาน ป.ป.ช. ได้เลย โดยมวี ิธีการดังนี้ 1. ท�ำเปน็ หนังสอื เรียน เลขาธกิ ารคณะกรรมการ ป.ป.ช. ส�ำนักงาน ป.ป.ช. เลขที่ 361 ถนนนนทบุรี ต�ำบลท่าทราย อ�ำเภอเมอื ง จังหวดั นนทบรุ ี 11000 หรือสง่ ที่ส�ำนักงาน ป.ป.ช. ประจำ� จงั หวดั หรอื ส่งมาที่ตู้ ปณ. 100 ถนนพษิ ณโุ ลก เขตดุสิต กรงุ เทพฯ 10300 2. กล่าวหาดว้ ยวาจาตอ่ พนกั งานเจ้าหน้าท่ี ทีส่ ำ� นักงาน ป.ป.ช. หรือส�ำนักงาน ป.ป.ช ประจำ� จังหวัดโดยตรง เพือ่ ให้เจา้ หนา้ ทท่ี �ำการบันทึกค�ำกลา่ วหาไว้เป็นพยานหลักฐาน 3. รอ้ งเรียนผา่ นเว็บไซต์ส�ำนักงาน ป.ป.ช. www.nacc.go.th โดยในคำ� กล่าวหา ตอ้ งมีรายละเอียด ดังน้ี 1. ช่ือ – สกลุ ทีอ่ ยู่ และหมายเลขโทรศพั ท์ของผกู้ ล่าวหา 2. ชอ่ื – สกุล ตำ� แหน่ง สงั กัด ของผถู้ กู กล่าวหา 3. ระบุข้อกลา่ วหาการกระท�ำความผดิ 4. บรรยายการกระทำ� ความผดิ อย่างละเอยี ดตามหัวข้อ ดังน้ี 4.1 หากเป็นการกระท�ำความผิดต่อหน้าที่ การกระท�ำความผิดต่อต�ำแหน่งหน้าท่ี ราชการ การกระท�ำความผิดต่อตำ� แหนง่ หน้าที่ในการยุติธรรม จะต้องระบุว่า การกระทำ� ความ ผิดเกิดข้ึนเมื่อใด มีข้ันตอนหรือรายละเอียดการกระท�ำความผิดอย่างไร มีพยานบุคคลรู้ เห็น เหตกุ ารณห์ รอื ไม่ (ถา้ ไมส่ ามารถนำ� มาไดใ้ หร้ ะบวุ า่ ใครเปน็ ผเู้ กบ็ รกั ษา และในเรอื่ งนไ้ี ดร้ อ้ งเรยี น ต่อหน่วยงานใด หรอื ยน่ื ฟ้องตอ่ ศาล เม่ือใด และผลเป็นประการใด 4.2 หากเป็นการกล่าวหาวา่ รำ่� รวยผดิ ปกติ หรอื มที รัพยส์ นิ เพ่ิมขึ้นผดิ ปกติ จะต้อง ระบวุ า่ ฐานะเดมิ ของผถู้ กู กลา่ วหา และภรรยาหรอื สามี รวมทง้ั บดิ ามารดาของทงั้ สองฝา่ ยเปน็ อยา่ งไร ผูถ้ ูกกลา่ วหา และภรรยาหรอื สามี มีอาชพี อ่นื ๆ หรือไม่ ถา้ มีอาชพี อนื่ แลว้ มีรายได้มาก นอ้ ยเพยี งใด และทรพั ยส์ นิ ท่จี ะแสดงให้เหน็ ว่าร่�ำรวยผิดปกติมอี ะไรบา้ ง เชน่ - บา้ นมจี ำ� นวนกหี่ ลงั ตง้ั อยทู่ ใี่ ด (เลขทบี่ า้ น ถนน ซอย ตำ� บล/แขวง อำ� เภอ/เขต จงั หวดั ) ซ้อื เมือ่ ใด และราคาขณะซื้อเท่าใด - ท่ดี นิ มจี �ำนวนกี่แปลง ตงั้ อยู่ท่ใี ด (ถนน ซอย ตำ� บล/แขวง อำ� เภอ/เขต จงั หวัด) ซอ้ื เม่อื ใด และราคาขณะซอ้ื เท่าใด - รถยนต์ มจี �ำนวนกี่คนั ยีห่ ้อ ร่นุ สี หมายเลขทะเบยี นรถ ซือ้ เม่ือใด จากใครและราคา ขณะซอ้ื เทา่ ใด - มเี งนิ ฝากทธี่ นาคารใด สาขาใด - ทรัพย์สินอน่ื ๆ ค่มู ือ อสม.ป.ป.ช. เครอื ขา่ ยเมืองคนดี

ท่สี ำ� คัญทสี่ ุด คือ ต้องใหข้ ้อมูลเกีย่ วกับชื่อ-สกลุ ทอี่ ยู่ หมายเลขโทรศัพท์ ของผู้กลา่ วหา ที่สามารถติดต่อได้อย่างชัดเจน เพื่อประโยชน์ในการติดต่อกลับเพ่ือยืนยันการกล่าวหาร้องเรียน ขอทราบข้อเท็จจริงเพิ่มเติมให้ชัดเจนสามารถด�ำเนินการต่อไปได้ หรือ รายงานผลให้ผู้กล่าวหา ทราบ ท้ังน้ี ขอ้ มลู จะถูกเกบ็ เปน็ ความลับท่ีสุด กรณไี มเ่ ปิดเผยช่ือ – สกุลจริง ถือว่าเป็น ‘บตั รสนเท่ห’์ แต่จะตอ้ งระบุพยานหลักฐานที่ ชัดเจนเพยี งพอทด่ี ำ� เนินการไต่สวนข้อเท็จจรงิ ได้ ซึง่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. อาจจะรบั ไว้พจิ ารณา ท้ังน้ี ส�ำนักงาน ป.ป.ช. จะรายงานผลกลับไปยังผู้กล่าวหาให้ทราบความคืบหน้าเป็น ระยะๆ แต่หากประขาชนประสงคจ์ ะติดตามเรอื่ งรอ้ งเรยี น ก็สามารถติดตามไดท้ างนี้เลย 1. ทางเว็บไซค์ www.nacc.go.th หัวข้อ ตดิ ตามเรอ่ื งรอ้ งเรยี น 2. ทางโทรศัพทห์ มายเลข 1205 3. ตดิ ตอ่ ด้วยตนเองทสี่ �ำนกั งาน ป.ป.ช. หรือสำ� นักงาน ป.ป.ช. ประจ�ำจงั หวัด ท้ังน้ี โปรดจำ� เลขรับเร่ืองจากส�ำนกั งาน ป.ป.ช. / วนั เดือน ปี ท่ยี น่ื เร่อื ง ชอื่ – สกุล เรื่อง ของผูก้ ลา่ วหา ดว้ ยนะครบั นอกจากน้ี ยงั สามารถรอ้ งเรียนเจา้ หนา้ ท่ีของรฐั ที่กระทำ� การทุจรติ หรือ ประพฤตมิ ชิ อบไปยงั หนว่ ยงานอนื่ ๆ ทีเ่ ก่ียวข้องได้ ดงั นี้ 1. ศนู ยบ์ ริการประชาชน สำ� นักงานปลดั สำ� นักนายกรฐั มนตรี สายดว่ นทำ� เนยี บรัฐบาล 1111 บริการรับแจ้งเรื่องร้องทุกข์ ตลอด 24 ช่ัวโมง หรือรับร้องเรียนผ่านทาง โทร. 0 2283 1271-84 โทรสาร 0 2283 1286-7 2. สำ� นักงานการตรวจเงนิ แผ่นดนิ โทร. 0 2271 8000 3. ส�ำนกั งานผ้ตู รวจการแผ่นดิน โทร. 0 2141 9100 หรอื 1676 4. ส�ำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ กระทรวงยุติธรรม (ป.ป.ท.)สายดว่ น โทร. 1206 5. ศูนย์ดำ� รงธรรม กระทรวงมหาดไทย สายดว่ น โทร. 1567 6. กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถ่ิน กระทรวงมหาดไทย 7. พนักงานสอบสวน ณ สถานีตำ� รวจในเขตอำ� นาจสอบสวน โดยพนกั งานสอบสวนจะส่งเรอ่ื ง ไปยังสำ� นักงาน ป.ป.ช. เพอ่ื ดำ� เนนิ การต่อไป เราสองคน ต้องขอขอบคณุ เจา้ หน้าทมี่ ากเลยนะครับ ทมี่ าใหค้ วามรกู้ บั พวกเรา ในเรอื่ งการส่วนรว่ มในการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริต การเฝ้าระวังตรวจสอบการทุจรติ การดำ� เนินงานของภาครฐั ในเบือ้ งต้น วธิ ีการร้องเรียน รวมถึงความรูอ้ ่ืนๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 14 คู่มอื อสม.ป.ป.ช. เครอื ขา่ ยเมืองคนดี

ด้วยความยนิ ดคี ะ่ ทิดโตง้ ทิดเต้ ถึงเวลาแลว้ ทีเ่ ราตอ้ งชว่ ยกนั เพือ่ ประเทศชาตขิ องเรา เพ่อื บา้ นเมอื งของเรา ทดิ โต้ง ทิดเต้ วา่ ไหม ..การทุจริตท่ีเพิ่มมากขึ้น สาเหตสุ �ำคญั เกิดจากวธิ กี ารคดิ ของคนท่เี หน็ แกป่ ระโยชนส์ ว่ นตัว และหากตอ้ งการใหก้ ารทุจริตลดน้อยลง กเ็ พยี งเหน็ แกป่ ระโยชนส์ ว่ นรวมใหม้ ากข้ึนแค่น้ันเอง เหน็ ด้วยเลยครบั พวกเราขอเชญิ ชวนพีน่ ้องประชาชนทุกคน มาร่วมกนั เฝา้ ระวังตรวจสอบการทจุ รติ ของหน่วยงานภาครัฐดว้ ยนะครบั เด็กนักเรียน จำ� นวนถึง 42,857,143 คน (เฉลย่ี 7000 โรงพยาบาลมีอาคารรองรับผู้ป่วย บาท/คน/ปี) มีชุดนักเรียน จ�ำนวน 5 ชุด (ชดุ นักเรยี น 8 ช้นั พร้อมเตยี งคนไข้ จ�ำนวน 320 ชุดลูกเสือ เนตรนารี ชุดพละ) กระเปา๋ นกั เรียน ต�ำรา เตียง ราคา 125,000,000 บาท เรียน สมุด อุปกรณ์เครื่องเขียน รวมท้ัง อาคารเรียน จำ� นวน 2400 อาคาร สามารถรองรับ อาหารกลางวนั คอมพิวเตอร์ ฯลฯ ผปู้ ว่ ยได้ 777,600 คน หยดุ ทุจรติ ได้ ประเทศไทย จะไดอ้ ะไร???? ถ้าเราไม่สญู เสยี เงนิ จากการทจุ รติ กว่า สามแสนล้าน บาท เงนิ จ�ำนวนนีส้ ามารถทำ� อะไรไดบ้ ้าง ถนนคอนกรีตเสรมิ เหล็ก อน่ื ๆ อีกมากมายนับไม่ถ้วน (ราคา 5,340,600 บาท/กโิ ลเมตร) ใช่หรอื ไม?่ สำ� หรับอ�ำนวยความสะดวกในการเดนิ ทาง จ�ำนวนถึง 56,173.5 กโิ ลเมตร คมู่ อื อสม.ป.ป.ช. เครอื ขา่ ยเมืองคนดี 15

กระบวนการปฏบิ ตั ิในการรอ้ งเรียนการทุจริต 1. หนงั สอื รอ้ งเรยี น เขียนที่ (ระบสุ ถานทเี่ ขียน)..................... (ท่ีอย่ขู องผู้เขยี น).................................... วันที่........................................... เร่อื ง เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ทุจรติ ต่อหนา้ / กระทำ� ความผิดตอ่ ต�ำแหน่งหน้าทรี่ าชการ / กระท�ำความผดิ ตอ่ ตำ� แหนง่ หน้าทีใ่ นการยตุ ธิ รรม / ร่ำ� รวยผิดปกติ เรยี น คณะกรรมการ ป.ป.ช. ด้วย(ชื่อเจ้าหน้าทขี่ องรฐั ) ตำ� แหนง่ ..............................................กระท�ำการทุจริตตอ่ หน้าท่ี / กระทำ� ความผดิ ตอ่ ตำ� แหนง่ หนา้ ทรี่ าชการ / กระทำ� ความผดิ ตอ่ ตำ� แหนง่ หนา้ ทใี่ นการยตุ ธิ รรม / รำ�่ รวยผดิ ปกติ โดยมีพฤติกรรม ดังนี.้ ..................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ โดยมพี ยานหลักฐาน คือ พยานบคุ คล 1. ............................................................................................................................................. 2. ............................................................................................................................................. 3. ............................................................................................................................................. พยานเอกสาร 1. ............................................................................................................................................. 2. ............................................................................................................................................. 3. ............................................................................................................................................. พร้อมน้ี ไดส้ ง่ เอกสารหลักฐานทีเ่ กยี่ วขอ้ ง (ถ้ามี) มาประกอบการพิจารณาดว้ ยแล้ว จงึ เรยี นมาเพอื่ ด�ำเนินการตอ่ ไป ขอแสดงความนับถือ ) ผู้กล่าวหา/ผ้เู สียหาย (ลงชอ่ื ) ( 16 คมู่ อื อสม.ป.ป.ช. เครอื ขา่ ยเมอื งคนดี

2. แบบการรอ้ งเรยี นเจ้าหน้าทรี่ ฐั ทุจริต / ร�ำ่ รวยผดิ ปกติ ส่วนท่ี 1 ข้อมลู ของผู้กล่าวหา ชอ่ื - นามสกลุ .................................................................................................................................. รหสั บัตรประชาชน......................................................................................................................................... ท่อี ยู่...............................หมู่ที่.................................ซอย................................................................................. ถนน...............................................................................ต�ำบล....................................................................... อ�ำเภอ............................................................................จงั หวดั ..................................................................... โทรศพั ท์..........................................................................e-mail.................................................................... อาชพี .............................................................................................................................................................. ส่วนท่ี 2 ข้อมูลของผู้ถูกกล่าวหา ชอ่ื - นามสกลุ .................................................................................................................................. ต�ำแหนง่ ................................................................................ระดบั ................................................................ สงั กัดของผูถ้ กู กลา่ วหา................................................................................................................................... กรม.............................................................................กระทรวง...................................................................... จังหวดั ท่เี กิดเหตุ............................................................................................................................................ ขอ้ กลา่ วหา..................................................................................................................................................... สว่ นที่ 3 พฤตกิ รรมการกระทำ� การทจุ รติ ตามขอ้ หาโดยละเอยี ด (โปรดระบวุ นั เวลา สถานท่ี ของเหตกุ ารณ์ ท่ีเกิดขึ้น พยานบุคคลหรือพยานหลักฐานอ่ืนๆ ที่สามารถตรวจสอบได้ และหากมีเอกสารหลักฐาน ใหแ้ นบมาดว้ ย ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ลงชือ่ ผู้กล่าวหา............................................................. คู่มอื อสม.ป.ป.ช. เครือข่ายเมืองคนดี 17

กรณีศึกษา เรอ่ื งทุจริต กรณศี กึ ษาเรอ่ื งที่ 1 เรอ่ื ง “ใตโ้ ต๊ะหรอื บนโต๊ะ” กรณศี ึกษา นายนภดล ขบั รถกระบะจากบา้ นพกั ไปโรงพยาบาลในกรงุ เทพ เพอื่ ไปเยย่ี มแมท่ ปี่ ระสบอบุ ตั เิ หตุ อาการเปน็ ตายเทา่ กันอยูใ่ นห้อง ICU ขณะขับรถผา่ นสแ่ี ยกไฟแดง ด้วยความรอ้ นใจและเห็นวา่ ไมม่ รี ถอนื่ ในบรเิ วณนน้ั เลย ทำ� ใหน้ ายนภดลตดั สินใจขับรถฝ่าไฟแดง ตำ� รวจท่อี ยบู่ ริเวณนน้ั เรียกให้หยุดและขอตรวจ ใบขับขี่ นายนภดลจึงได้แอบส่งเงินจ�ำนวนหน่ึงให้แก่ต�ำรวจ เพื่อจะได้ไม่เสียเวลาให้ต�ำรวจเขียนใบสั่งและ ต้องไปจ่ายคา่ ปรับทีส่ ถานตี ำ� รวจ หลังจากนนั้ ตำ� รวจไดป้ ล่อยนายนภดลไป ประเด็น 1. ทา่ นคดิ วา่ การทนี่ ายนภดลขบั รถผา่ ไฟแดงดว้ ยเหตผุ ลเพอื่ จะรบี ไปเยยี่ มแมท่ ป่ี ระสบอบุ ตั เิ หตุ อยูใ่ นหอ้ ง ICU เปน็ การปฏบิ ตั ทิ ่ถี กู ต้องหรือไม่ เพราะอะไร 2. ถ้าท่านเป็นนายนภดล จะมีวิธีปฏิบัติอย่างไรในกรณีดังกล่าวให้ถูกต้องตามกฎหมายหนา้ ที่ พลเมืองและคุณธรรมจริยธรรม 3. ต�ำรวจที่รับเงินท่ีนายนภดลแอบให้ เพ่ือท่ีจะไม่ต้องเสียค่าปรับ ได้ชื่อว่าเป็นการกระท�ำที่ ทจุ รติ ผดิ กฎหมาย หรอื คอร์รัปชันอย่างไร 4. ในฐานะที่เป็นประชาชน ท่านคิดว่า จะมีส่วนหรือมีบทบาทในการป้องกันพฤติกรรมท่ีเกิด ขนึ้ ไดห้ รอื ไม่ อยา่ งไร กรณีศึกษาเรือ่ งที่ 2 เรอ่ื ง “เจ้าบิก๊ ...เป็นเหตุ” กรณีศกึ ษา มีหน่วยงานแห่งหนึ่งมีหน้าที่ก่อสร้างถนน ต้องมีเครื่องจักรกลหนักไว้ใช้งานจ�ำนวนมากต้องถูก ใชง้ านอย่างสมบกุ สมบนั ในท่ีสดุ กห็ มดสภาพตามอายุการใช้งาน บรรดาเคร่อื งจกั รกลหนักมี ‘เจ้าบ๊กิ ’ รถ แทรกเตอร์เก่าท่ีถูกใช้งานหนักมาเป็นเวลานานหลายปี มีปัญหาเคร่ืองเสีย ใช้งานไม่ได้ต้องจอดน่ิงอยู่ใน โรงเกบ็ รถ แตห่ วั หนา้ พสั ดทุ มี่ หี นา้ ควบคมุ ดแู ลเครอ่ื งจกั ร และจดั ซอื้ เบกิ จา่ ยคา่ นำ้� มนั เชอื้ เพลงิ เกดิ ความคดิ ทจ่ี ะใช้ ‘เจ้าบิ๊ก’ เปน็ แหลง่ หารายได้โดยสัง่ ใหเ้ จ้าที่พัสดุทำ� การเบิกค่าน�้ำมนั และคา่ อะไรไหล่ต่างๆ เพือ่ ใช้ ซ่อมแซมให้ ‘เจ้าบิ๊ก’ทุกเดือน ซ่ึงคนขับรถคนรู้เร่ืองนี้ดีแต่ก็ไม่กล้าคัดค้าน และหัวหน้าพัสดุได้น�ำรายได้ ท่รี วบรวมไดจ้ าก ‘เจา้ บิก๊ ’ มาแจกจา่ ยใหล้ ูกนอ้ งทกุ คนเท่าๆ กัน จนกระท่งั 3 ปีผา่ นไป มีเจา้ หนา้ ที่พสั ดมุ า ใหม่ไม่ยอมท�ำตามหัวหน้าพัสดุท่ีให้เบิกจ่ายค่าน�้ำมันเช้ือเพลิง ค่าอะไหล่ต่างๆ ให้ ‘เจ้าบ๊ิก’ เหมือนเคย โดยไดท้ �ำบันทึกตอบโตใ้ หร้ ้ถู งึ สภาพ ‘เจา้ บกิ๊ ’ ทีไ่ มส่ ามารถท�ำงานได้แล้ว ไมม่ ีความจำ� เปน็ ทีจ่ ะต้องเบกิ จ่าย ค่าใชจ้ า่ ยใดๆ และไดร้ วบรวมหลักฐานยอ้ นหลงั การเบิกต่างๆ นำ� ไปร้องเรยี นยัง ป.ป.ช. 18 คมู่ อื อสม.ป.ป.ช. เครือขา่ ยเมืองคนดี

ประเด็น 1. การกระท�ำของหัวหน้าพัสดุถือว่า เป็นการทุจริตจากการใช้อ�ำนาจหน้าท่ีหรือไม่เพราะ เหตุใด มผี ลเสียต่อราชการอยา่ งไร 2. การทหี่ วั หนา้ พสั ดนุ ำ� รายไดท้ ไ่ี ดจ้ ากการเบกิ คา่ นำ้� มนั ให้ เจา้ บกิ๊ มาแจกจา่ ยใหล้ กู นอ้ งถอื เปน็ ผู้มีคุณธรรมในการปฏิบัติหน้าท่ีหรือไม่ ถ้าท่านเป็นลูกน้องคนหนึ่งจะรับเงินส่วนแบ่งดังกล่าวหรือไม่ เพราะเหตุใด 3. ถ้าท่านเป็นเจ้าหน้าที่พัสดุมารับรู้พฤติกรรมของหัวหน้าพัสดุ ท้ังการเบิกจ่ายค่าน้�ำมันให้ ‘เจา้ บก๊ิ ’ และการนำ� รายไดม้ าแบง่ เฉลย่ี ใหล้ กู นอ้ งทกุ คน ทา่ นจะนง่ิ เสยี ไมเ่ ขา้ ไปเกย่ี วขอ้ งหรอื ทา่ นจะทำ� เรอ่ื ง รอ้ งเรียน ป.ป.ช. โดยไม่ค�ำนงึ ถงึ ความเดอื ดร้อนของเพ่อื นร่วมงานเพราะเหตุใด กรณีศกึ ษาเร่ืองที่ 3 เรื่อง “เลือกต้งั ...อปั ยศ” กรณศี ึกษา กรณกี ารเลอื กตงั้ นายกและสมาชกิ องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล (อบต) แหง่ หนงึ่ มผี ไู้ ปแจง้ ความรอ้ ง เรียนกับคณะกรรมการการเลอื กตง้ั จังหวดั (กกต.) พรอ้ มเงิน 300 บาท วา่ มีคนส่งเงินน้ีมาให้พรอ้ มเอกสาร ไม่ลงนาม โดยขอใหไ้ ปลงคะแนนเลอื กตั้งแก่ผูส้ มัครรายหนงึ่ (ก�ำหนดหมายเลขผู้สมัครให้ดว้ ย) แตต่ นเองไม่ รบั เงนิ และเห็นวา่ ไมถ่ กู ตอ้ งและอาจมีการแจกเงินผู้มสี ิทธิเลือกตั้งรายอ่ืนๆด้วยแล้ว จงึ มาแจง้ ร้อนเรยี นต่อ กกต.จังหวัด กกต.จงั หวดั จงึ นำ� ผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื กตงั้ รายนนั้ ไปแจง้ ความกบั ตำ� รวจพรอ้ มหลกั ฐาน จากการสอบสวน เจา้ หนา้ ทต่ี ำ� รวจแจง้ วา่ ไมส่ ามารถเอาผดิ กบั ทง้ั ผสู้ มคั รรบั เลอื กตง้ั ทถ่ี กู รอ้ งเรยี นวา่ แจกเงนิ และผมู้ สี ทิ ธเิ ลอื ก ตั้งรายอ่ืนๆ ที่อาจรับเงิน มาลงโทษตามกฎหมายได้ แต่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งรายนั้นยังยืนยันว่ามีผู้กระท�ำผิด เพราะมีการแจกเงนิ จริงมีหลักฐานชัดเจน กกต. และต�ำรวจควรจะตอ้ งหาคนผดิ มาลงโทษให้ได้ ประเดน็ 1. ในกรณศี กึ ษาทา่ นวา่ มกี ารกระทำ� ผดิ กฎหมายเลอื กตงั้ สามารถนำ� ตวั คนกระทำ� ผดิ มาลงโทษ ไดห้ รอื ไม่ เพราะเหตใุ ด 2. ถ้าจะไม่ให้เกิดกรณีการท�ำผิดกฎหมายเลือกตั้งในลักษณะนี้ ท่านคิดว่าประชาชนควรจะมี สว่ นรว่ มป้องกันปญั หาในชุมชนของทา่ นหรือไม่ อยา่ งไร 3. มผี แู้ สดงความเหน็ วา่ ทง้ั ผใู้ หแ้ ละผรู้ บั เงนิ ควรจะตอ้ งละอายใจ และสำ� นกึ วา่ ไดท้ ำ� บาปทเี่ ปน็ สิ่งผิดต่อตนเอง ต่อชุมชน และประเทศ ท่านเห็นด้วยหรือไม่ เพราะเหตุ มีคุณธรรมใดบ้างท่ีเก่ียวข้องกับ ปญั หานี้ ควรน�ำมาอภปิ รายร่วมกันบ้าง ค่มู ือ อสม.ป.ป.ช. เครือขา่ ยเมืองคนดี 19

กรณีศกึ ษาเรอ่ื งที่ 4 เรื่อง “การตรวจรบั สง่ เดช” กรณศี ึกษา จากการไต่สวนข้อเท็จจริงของ ป.ป.ช. ไดค้ วามว่า เมอื่ ปี พ.ศ.2545 องคก์ ารบริหารส่วนตำ� บล แห่งหนึ่ง ได้สอบราคาจ้างเหมาก่อสร้างอาคารอเนกประสงค์คอนกรีตเสริมเหล็ก 2 ช้ันวงเงิน 1,904,000 บาท โดยมนี าย ก ผถู้ กู กลา่ วหา เมอื่ ครง้ั ดำ� รงตำ� แหนง่ นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลเปน็ ประธานกรรมการ ตรวจการจา้ ง ในการดำ� เนนิ การกอ่ สรา้ งปรากฏวา่ ผรู้ บั จา้ งกอ่ สรา้ งไมถ่ กู ตอ้ งตามแบบรปู รายการทอี่ งคก์ าร บริหารส่วนต�ำบลก�ำหนดหลายรายการ เป็นเหตุให้หัวหน้าส่วนโยธาในฐานะผู้ควบคุมงานท�ำบันทึกเสนอ ผถู้ ูกกล่าวหาในฐานะประธานกรรมการตรวจการจา้ งแจง้ ให้ผู้รบั จา้ งแก้ไขใหถ้ กู ต้อง ตอ่ มาผรู้ ับจ้างได้เขา้ มา ดำ� เนนิ การแกไ้ ขงานแลว้ แตก่ ย็ งั ไมถ่ กู ตอ้ งตามแบบรปู รายการทก่ี ำ� หนดอกี หวั หนา้ สว่ นโยธาในฐานะผคู้ วบคมุ งานและคณะกรรมการตรวจการจา้ ง จึงไดม้ ีบนั ทึกเสนอผ้ถู ูกกล่าวหาอกี ครัง้ เพื่อแจง้ ใหผ้ ูร้ ับจ้างด�ำเนินการ แก้ไขโดยด่วนแต่ปรากฏผู้ถูกกล่าวหาได้มีค�ำสั่งอนุมัติเบิกจ่ายเงินให้แก่ผู้รับจ้างท�ำให้องค์การบริหารส่วน ตำ� บลตอ้ งเบกิ จา่ ยเงนิ คา่ จา้ งกอ่ สรา้ งใหแ้ กผ่ รู้ บั จา้ งไปโดยทงี่ านยงั ไมเ่ สรจ็ สมบรู ณเ์ ปน็ เหตใุ หท้ างราชการได้ รบั ความเสยี หาย ประเด็น จากกรณศี ึกษา เรอื่ ง ตรวจรบั ส่งเดช นายก อบต. กระทำ� ความผดิ ในเร่ืองใด และส่งผลตอ่ คุณ ธรรณในการบรหิ ารงานอยา่ งไร กรณีศกึ ษาเรอื่ งที่ 5 เรื่อง “ใครผิด” กรณศี ึกษา เทศบาลต้องการซ้ือทด่ี นิ เพื่อทำ� เป็นทีท่ งิ้ ขยะ นายอนุสรณ์ นายกเทศมนตรไี ด้อนุมัตใิ ห้เทศบาล จัดซื้อท่ีดิน และในการจัดซ้ือนายอนุสรณ์ได้มีค�ำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการหลายคณะเพ่ือด�ำเนินการจัดซื้อ ทด่ี ิน ดงั นี้ 1. แตง่ ต้ังนายโกศล เปน็ กรรมการทปี่ รกึ ษาและจดั ซ้ือที่ดนิ พร้อมร่วมต่อรองราคา 2. แตง่ ตัง้ นายสวุ รรณ และคณะอีก 4 คน เป็นกรรมการก�ำหนดหลกั เกณฑ์สถานทก่ี ำ� จัดขยะ มลู ฝอย จะตอ้ งเปน็ พน้ื ทใี่ นเขตเทศบาลและอยหู่ า่ งไกลชมุ ชนพอสมควร และหากมพี น้ื ทที่ ตี่ ดิ กนั เจา้ ของทดี่ นิ จะตอ้ งมอบอำ� นาจใหเ้ จา้ ของทดี่ นิ รายหนงึ่ มายน่ื แตเ่ พยี งผเู้ ดยี วและมอี ำ� นาจในการตดั สนิ ใจทำ� การแทนไดด้ ว้ ย 3. แต่งต้ัง นายแสงสี และคณะอีก 4 คน เปน็ กรรมการจัดซ้ือทดี่ นิ โดยวธิ พี เิ ศษ โดยมไี ด้เชิญ เจา้ ของทด่ี ินมาเสนอราคาและช้พี ื้นท่จี รงิ และคณะกรรมการ ฯ ก็มไิ ด้ลงไปดูพืน้ ท่จี รงิ ดว้ ย 4. แตง่ ตง้ั นายววิ ฒั น์ และคณะอกี 4 คน เปน็ กรรมการตรวจรบั ทดี่ นิ และคณะกรรมการฯกม็ ไิ ด้ ลงไปดพู น้ื ท่ีจรงิ ดว้ ย 20 คูม่ อื อสม.ป.ป.ช. เครอื ขา่ ยเมอื งคนดี

ข้อเทจ็ ปรากฏวา่ นายอนุสรณ์ไดร้ วบรวมและจดั ซือ้ ท่ีดิน จำ� นวน 4 แปลง ไวล้ ว่ งหนา้ เพื่อขายให้ กับเทศกาลและท่ีดินท่ีขายให้กับเทศบาลมีสภาพเป็นบ่อลูกรังลึก ประมาณ 20 เมตร เต็มพ้ืนที่และมีเสา ไฟฟา้ แรงสงู ตงั้ อยใู่ นทดี่ นิ และทดี่ นิ อยนู่ อกเขตเทศบาลไมม่ ที างเขา้ ออกและมรี าคาประเมนิ ตารางวาละ 200 บาท แต่ซ้ือในราคา 1000 บาท ท�ำใหท้ างราชการซ้ือทีด่ นิ แพงขึ้นกวา่ ความเปน็ จริง ประเด็น 1. จากกรณศี กึ ษา เจา้ หนา้ ทข่ี องเทศบาลซอื่ สตั ยส์ จุ รติ หรอื ไม่ และเปน็ การใชอ้ ำ� นาจในตำ� แหนง่ โดยทจุ รติ และปฏิบตั หิ นา้ ทีโ่ ดยทจุ ริตหรอื ไม่ 2. ในกรณดี ังกลา่ ว อำ� นาจในการไตส่ วนการทุจริต การช้ีมลู ความผิด เปน็ อำ� นาจของ ป.ป.ช. หรอื ไม่ (พระราชบญั ญตั ปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ พทุ ธศกั ราช 2542 (ฉบับท่ี2) พทุ ธศักราช 254 มาตรา 19(4) 3. การร้องเรียนเพ่ือให้มีการตรวจสอบพฤติกรรมการทุจริตดังกล่าว ท่านคิดว่ามีช่องทางใดที่ สามารถทำ� ได้ กรณศี กึ ษาเรอื่ งที่ 6 เร่ือง สายนำ� จับเท็จ กรณศี กึ ษา สายน�ำจบั หมายถึง ผทู้ แ่ี จ้งขอ้ มลู ในการกระท�ำความผิดตอ่ เจ้าหนา้ ทผ่ี มู้ อี �ำนาจเพ่ือดำ� เนินการ จับกมุ และการมคี ดสี ายสืบนำ� จบั ...เทจ็ หมายถึง ไม่มีสายนำ� จับตัวจริงเปน็ การสรา้ งหลกั ฐานเท็จขนึ้ มาเปน็ สายสบื การจา่ ยเงนิ สนิ บนและเงนิ รางวลั แกผ่ แู้ จง้ ความนำ� จบั หรอื สายนำ� จบั รวมทง้ั เจา้ หนา้ ทท่ี ที่ ำ� การจบั กมุ สงิ่ ของลักลอกหนภี าษี โดยเจา้ หน้าที่ผู้จับกมุ จะได้เงนิ รางวลั 30%ของมูลคา่ สง่ิ ของท่ีจับกมุ ได้ แต่ถา้ หากมี ผแู้ จง้ ความนำ� จบั หรอื สายแจง้ ความนำ� จบั ตอ่ เจา้ หนา้ ทสี่ ายทแี่ จง้ นำ� จบั กไ็ ดเ้ งนิ สนิ บน 30%สว่ นเจา้ หนา้ ทจ่ี ะ ไดเ้ งนิ รางวลั 25%ของมูลค่าส่ิงของท่ีจับกุมได้รวมเปน็ เงนิ รางวลั ทจ่ี ะได้เพิม่ มากขนึ้ เป็น 55%(30%+25%) จึงเป็นมูลเหตุจูงใจให้จัดหลักฐานใบแจ้งความเท็จข้ึนมาโดยอ้างว่ามีสายแจ้งความไว้ทั้งๆ ท่ีเป็นการจับกุม ตามหนา้ ท่เี ทา่ น้ัน ประเดน็ จากเนือ้ หาเรือ่ ง “สายน�ำจับเทจ็ ” ผเู้ รยี นเหน็ วา่ เจา้ พนักงานผสู้ ร้างหลกั ฐานการนำ� จับเท็จข้ึน มาเพื่อผลประโยชนด์ า้ นใด และขัดตอ่ หลักคุณธรรม จริยธรรมในด้านใด คู่มือ อสม.ป.ป.ช. เครอื ข่ายเมืองคนดี 21

แบบประเมนิ ความรู้ ความเขา้ ใจ กอ่ น-หลงั การฝกึ อบรม หลกั สูตรฝกึ อบรม อสม. ด้านการปราบปรามการทุจริตในระดบั ชุมชน (อสม. ป.ป.ช.) ประจ�ำปีงบประมาณ 2559 กองสนบั สนนุ สขุ ภาพภาคประชาชน กรมสนับสนุนบรกิ ารสุขภาพ กระทรวงสาธารณสขุ คำ� ชแี้ จง : เพอื่ ประโยชนใ์ นการเสรมิ สรา้ งความรเู้ รอื่ ง “ความรู้ ความเขา้ ใจดา้ นการมสี ว่ นรว่ มของ อสม.และ ประชาชน ตลอดจนการเสรมิ สร้างเครือขา่ ยดา้ นการป้องกันและปราบการทุจริตในระดับชมุ ชน กรณุ าตอบ ค�ำถามตามความรู้ ความเขา้ ใจ ทแ่ี ท้จริงของทา่ น โดย ท�ำเคร่อื งหมาย X ในขอ้ ที่ถกู ท่สี ดุ (ให้เวลา 20 นาท)ี 1. ข้อใดไมใ่ ชภ่ ารกจิ หลกั ของส�ำนกั งาน ป.ป.ช. ข. ภารกจิ ด้านปราบปรามการทุจริต ก. ภารกจิ ด้านปอ้ งกนั การทุจรติ ค. ภารกิจด้านประชาสมั พนั ธ ์ ง. ภารกจิ ดา้ นตรวจสอบทรัพยส์ ิน และหนีส้ ิน 2. อสม.สามารถเข้ามามีส่วนร่วมกบั ส�ำนกั งาน ป.ป.ช. ในการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริต ได้อย่างไร ก. สรา้ งเครือข่ายการเฝ้าระวงั ป้องกนั การทุจรติ ในชุมชน ข. เสรมิ สรา้ งจิตส�ำนกึ ค่านิยมเก่ยี วกับ คุณธรรม จรยิ ธรรม ซ่ือสตั ยส์ จุ รติ ให้กบั สมาชิกใน ครอบครวั และชุมชน ค. เป็นแบบอยา่ งในการประพฤตดิ ี มคี ุณธรรม จริยธรรม ง. ถูกทกุ ขอ้ 3. ประชาชนสามารถเขา้ มามสี ว่ นรว่ มกบั สำ� นกั งาน ป.ป.ช. ในการปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ ได้อยา่ งไร ก. เสนอความคิดเหน็ ข้อเสนอแนะ หรือมาตรการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ ข. รว่ มเป็นเครือขา่ ยในการเฝ้าระวังการทุจริต ค. แจง้ เบาะแสการเล่นพนนั ในหมู่บ้าน ง. ถูกท้งั ขอ้ ก และ ข 4. ขอ้ ใด คอื การส่งเสรมิ การมีสว่ นร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจรติ ใน ระดับชุมชน ก. ส่งเสรมิ สนับสนนุ สรา้ งบคุ คลต้นแบบดา้ นการประพฤติดี มคี ุณธรรม จริยธรรม ข. สง่ เสริมการดำ� รงชีวิตอยู่อยา่ งพอเพยี ง ค. กำ� หนดมาตรการปอ้ งกนั การทจุ ริตในชมุ ชน ง. ถกู ทุกข้อ 22 คมู่ อื อสม.ป.ป.ช. เครือขา่ ยเมอื งคนดี

5. ประชาชนสามารถเขา้ ร่วมตรวจสอบการดำ� เนินงานและเฝ้าระวังการทุจรติ ของรัฐในเบอ้ื งต้นได้ อย่างไร ก. กรณจี ดั ซอ้ื จัดจ้าง ควรตรวจสอบวัสดอุ ุปกรณ์มคี ุณภาพต่�ำกว่ามาตรฐานหรือราคาสูงกวา่ มาตรฐานในทอ้ งตลาดหรอื ไม่ ข. กรณกี ารเงินการบัญชี ควรตรวจสอบการซอื้ สินค้าหรอื สง่ิ ของทม่ี คี วามหรหู รา และสวยงาม ค. กรณงี านกอ่ สร้าง ต้องจา้ งบริษัทท่มี ีช่ือเสียง มีเงนิ ทุนหมนุ เวยี นสูงและกรรมการบรหิ ารตอ้ ง เปน็ ผ้กู วา้ งขวาง ง. ถกู ท้ังข้อ ก และ ข 6. ข้อใดไม่ถกู ตอ้ ง “พบเหน็ เจ้าหน้าทร่ี ฐั ทุจริตหรือคำ่� รวยผิดปกติ สามารถรอ้ งเรียนไดท้ ่ีใด ก. ท�ำเป็นหนงั สือส่งทสี่ ำ� นักงาน ป.ป.ช. ข. ร้องเรยี นผา่ นสายด่วน 1205 ค. ร้องเรียนผา่ นเว็ปไซต์ สำ� นกั งาน ป.ป.ช. www.nacc.go.th ง. กล่าวหาด้วยวาจาต่อพนกั งานเจา้ หน้าท่ี สำ� นกั งาน ป.ป.ช. 7. ขอ้ ใด มใิ ช่ รายละเอยี ดการร้องเรียน ตาม พ.ร.บ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าดว้ ยการป้องกนั และ ปราบปรามการทจุ ริต ก. ชอื่ และท่อี ยขู่ องผกู้ ล่าวหา ข. ช่อื หรอื ต�ำแหนง่ ของผถู้ กู กลา่ วหา ค. ช่อื และทีอ่ ยคู่ ่สู มรสของผ้ถู กู กล่าวหา ง. ข้อกล่าวหาการกระท�ำความผดิ 8. ประชาชนควรมคี วามตระหนกั ที่เกย่ี วข้องกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตด้านใดบ้าง ก. ด้านปญั หาที่อาจเกิดข้นึ จากการทุจริต ข. ความสำ� คัญของการปฏิบัติตามระเบียบและขอ้ บังคบั ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ค. ดา้ นผลกระทบของการทจุ ริตท่มี โี อกาสเกดิ ขน้ึ ในกจิ กรรมการทำ� งาน ง. ถูกทุกข้อ 9. ท่านคดิ วา่ การกระทำ� ข้อใด เปน็ การชว่ ยแกไ้ ขปัญหาการทุจริตของประเทศมากทส่ี ดุ ก. ศึกษากฎหมายทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั การปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริต ข. ร่วมตรวจสอบการปฏิบัตงิ านของเจา้ หน้าที่รฐั และแจง้ ขอ้ มลู ให้หน่วยงานทเี่ ก่ยี วขอ้ งทราบ ค. ประพฤติ ปฏิบตั ติ น ดว้ ยความซ่ือสัตยส์ ุจรติ และติดตามวิเคราะห์ขา่ วสารการทจุ ริต จากสื่อตา่ งๆ ง. ถูกทงั้ ขอ้ ก และ ค 10. ทา่ นสามารถตดิ ตามข้อมูลของสำ� นักงาน ป.ป.ช. ได้ทางเวปไซต์ใด ก. www.nacc.go.th ข. www.pacc.go.th ค. www.ocsc.go.th ค. www.oncb.go.th คูม่ ือ อสม.ป.ป.ช. เครอื ขา่ ยเมอื งคนดี 23

ใบงาน การสรา้ งพลงั ชุมชน “เครอื ข่ายเมืองคนดี” ในการเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั ตรวจสอบ และรว่ มตอ่ ตา้ นการทจุ รติ ของภาครฐั หลังจากการอบรม อสม. ป.ป.ช. ท่านกับ อสม. ในชุมชนของท่าน คิดว่าจะมีกระบวนการ ดำ� เนนิ งานในชมุ ชนตอ่ ไปอยา่ งไร หัวขอ้ ที่ 1) รูปแบบการจัดตั้งศูนย์ประสานงาน เครือข่ายเมืองคนดี อสม. ป.ปช. ในระดับ หม่บู ้าน / ตำ� บล / อ�ำเภอ / จงั หวดั อย่างไร หัวขอ้ ท่ี 2) การเผยแพรค่ วามรู้ สรา้ งความเขา้ ใจ ปลกู ฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความซื่อสตั ย์ แกค่ รอบครวั ของตนเอง / กลมุ่ นักเรยี น / เยาวชน / แกนนำ� ในชมุ ชนและหม่บู ้าน และขยายเครือขา่ ยเมือง คนดี ควรมขี ้ันตอนการดำ� เนินงานอย่างไร หวั ขอ้ ที่ 3) รปู แบบการจดั กจิ กรรมรณรงค์ สรา้ งจติ สำ� นกึ และประกาศคำ� ขวญั ตอ่ ตา้ นทจุ รติ ใน ชุมชนหรือหมบู่ า้ น / ต�ำบล / อ�ำเภอ อยา่ งไร หัวขอ้ ท่ี 4) รปู แบบการสง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ มในการเฝา้ ระวงั ป้องกัน ตรวจสอบ การทำ� งาน ขององค์กรภาครัฐในชุมชน เช่น เทศบาล/อบต. / โรงเรียน / โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล เป็นต้น ใหม้ คี วามสจุ ริตโปร่งใส อย่างไร หัวข้อท่ี 5) รปู แบบการจดั กจิ กรรมสรปุ ผลการดำ� เนนิ งานเครอื ขา่ ยเมอื งคนดี เชน่ อสม. ทผ่ี า่ น การอบรมหลกั สตู รการปอ้ งกันการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ สามารถขยายเครอื ขา่ ยได้ 10-15 รายตอ่ คน และเชิดชคู นหรือชุมชนตน้ แบบ อยา่ งไร หวั ข้อท่ี 6) ข้อเสนอการจดั กจิ กรรมอ่นื ๆ ในชมุ ชน/หมบู่ า้ น ********************************************************************************************** หมายเหตุ : แบง่ กลุ่มตามประเดน็ ในหวั ข้อ 1 - 5 เพือ่ รว่ มกันแลกเปลีย่ นหาแนวทาง รปู แบบการดำ� เนินงาน พร้อมให้ทกุ กลมุ่ ร่วมกันให้ขอ้ เสนอกจิ กรรมอื่น ๆ พมิ พท์ ี:่ โรงพิมพแ์ อนนาออฟเซต โทร./แฟ็กซ์: 043-333137 Email: [email protected] 24 คูม่ อื อสม.ป.ป.ช. เครือข่ายเมืองคนดี




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook