2 ประวัติพระองค์เจ้ารพพี ฒั นศักดิ์ ประสตู ิ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ มีพระนามเดิมว่า พระเจ้า ลูกยาเธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักด์ิ เป็นพระราชโอรส พระองค์ท่ี 14 ในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา จุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ประสูติแต่เจ้าจอมมารดาตลับ ณ วันพธุ ขึ้น 11 คา่ ปจี อ ฉศก จลุ ศักราช 1236 ตรงกบั วาระทางสรุ ิยคติ 21 ตุลาคม พทุ ธศักราช 2417
3 การศึกษา เม่ือเจริญวัยขึ้นพระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ทรงเข้าศึกษาวิชาภาษาไทยเบื้องต้นกับพระยาศรีสุนทร โวหาร (น้อย อาจารยางกรู ) โดยใชเ้ ก๋งกรงนกภายในพระบรมมหาราชวงั เปน็ ท่ที รงพระอกั ษร เม่ือทรงศึกษาจบ แล้ว ก็ทรงเข้าศึกษาต่อที่ส่านักของบาบู รามซามี โดยใช้โรงเรียนทหารมหาดเล็กเป็นที่ถวายพระอักษร จนกระท่ังถึงปี พ.ศ. 2426 ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้เข้าศึกษาใน โรงเรยี นพระต่าหนักสวนกุหลาบพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ทรงมีพระราชปณิธาน แน่วแน่ท่ีจะส่งพระราชโอรสทุกพระองค์ไปศึกษาตอ่ ท่ีตา่ งประเทศ เนื่องจากขณะน้ันประเทศไทยก่าลังประสบ ปัญหาการแผ่อ่านาจแสวงหาอาณานิคมของชาติตะวันตก จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระองค์เจ้า รพพี ฒั นศักด์ิ ทรงศกึ ษาต่อ ณ ประเทศองั กฤษ ในการส่งพระราชโอรสไปศึกษายังต่างประเทศของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองคเ์ จา้ รพีพฒั นศักดิ์เปน็ พระราชโอรสกลุ่มแรกท่ที รงไปศึกษาต่อในทวีปยุโรป เมื่อ พ.ศ. 2428 พร้อมกัน 4 พระองค์ คอื พระองคเ์ จ้ากิตยิ ากรวรลักษณ์ (กรมพระจันทบุรนี ฤนาถ) พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ (กรมหลวงราชบุรีดเิ รกฤทธ)ิ์ พระองค์เจา้ ประวติ รวัฒโนดม (ถุ ากรมหลวงปราจิณกิติบด)ี พระองค์เจ้าจริ ประวตั วิ รเดช (กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช) แต่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระราชด่าริให้ทรงแยกกันเรียน โดยพระองค์เจ้า รพีพัฒนศักด์ิ พระองค์โปรดเกล้าฯ เสด็จไปศึกษาที่กรุงเอดินบะระ ประเทศสกอตแลนด์ โดยให้หมอเกาวัน เป็นผจู้ ดั การศึกษาในการน้ีเป็นเพียงการศึกษาเบื้องต้น จึงมีเพียงครูชาวต่างชาติมาถวายพระอักษรท่ีต่าหนัก ครึง่ วัน และหมอ่ มเจา้ เพม่ิ ลดาวลั ย์ ถวายการสอนภาษาไทยอกี ครึ่งวัน พระองคเ์ จา้ รพีพฒั นศักดิ์ ทรงศึกษาวิชาภาษาละตนิ วชิ าภาษาอังกฤษ และวิชาภาษาฝร่ังเศสอยู่ 2 ปี จึงเสด็จนิวัติประเทศไทย จนถึงปี พ.ศ. 2431 จึงเสด็จไปศึกษาต่อในช้ันมัธยมอยู่ ณ กรุงลอนดอน ประเทศ อังกฤษ และต่อมาปี พ.ศ. 2434 ทรงเลือกศึกษาวิชากฎหมายต่อที่วิทยาลัยไครส์ตเชิร์ช ในมหาวิทยาลัย ออกซฟอร์ด จนกระท่ังปี พ.ศ. 2437 ทรงสามารถสอบไล่ได้ตามหลักสูตรช้ันปริญญาเกียรตินิยมจากน้ันจึง เสดจ็ กลับประเทศไทย ด้วยพระอัจฉริยภาพที่มีมาต้ังแต่ทรงพระเยาว์ จึงได้รับพระสมญาว่า เฉลียวฉลาดรพี
4 เหตุที่พระองค์ทรงเลือกศึกษาวิชากฎหมาย ก็เน่ืองจากช่วงเวลานั้น เมืองไทยมีศาลกงสุลฝรั่ง ชาวยุโรปและ อเมริกันมีอ่านาจในประเทศไทยอย่างมาก ซึ่งยากแก่การปกครอง จึงมีพระทัยตั้งม่ันท่ีจะพยายามขอยกเลิก อ่านาจศาลกงสลุ ตา่ ง ๆ ทมี่ าตั้งพิจารณาพิพากษาคดีชนชาติของตนเสีย เพื่อที่ประเทศไทยของเราจะได้มีเอก ราชทางการศาลอยา่ งแท้จรงิ พระองคท์ า่ นจึงทรงเลือกศึกษาวิชากฎหมาย เพ่ือจะได้กลับมาพัฒนากฎหมายบ้านเมืองกับพัฒนาผู้ พพิ ากษาและราชการศาลยุติธรรมให้ดีข้ึน และทสี่ ่าคัญเพือ่ ให้ตา่ งชาติยอมรับนับถือกฎหมายไทย และยอมอยู่ ภายใต้อา่ นาจศาลไทย พระองคเ์ จ้ารพีพัฒนศักด์ิ ทรงมีพระสติปัญญาฉลาดเฉลียวเป็นอย่างยิ่ง ในต้นปี 2434 พระองค์ทรงสามารถสอบผ่านเข้าศึกษาวิชากฎหมายที่วิทยาลัยไครสต์เชิร์ช มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด (Christchurch College Oxford University) ขณะทพี่ ระองคท์ รงมพี ระชนมายุเพยี ง 17 พรรษา ซึง่ ทีแรกมหาวทิ ยาลัยไมย่ อมรบั เข้าศึกษา โดยอ้างว่าพระชนมายุยังไม่ถึง 18 พรรษา ตามเกณฑ์ของ มหาวิทยาลัย พระองค์จึงต้องเสด็จไปขอความกรุณา โดยพระองค์ด่ารัสว่า \"คนไทยเกิดง่ายตายเร็ว\" ทาง มหาวทิ ยาลัยจึงยอมผ่อนผนั โดยให้ทรงสอบไล่อกี ครัง้ หนง่ึ พระองค์ก็ทรงสอบได้อกี และด้วยความทีพ่ ระองค์ทรงพระวิรยิ อตุ สาหะเอาพระทัยใสใ่ นการเรยี นเปน็ อย่างมาก ทรงสอบไลผ่ ่าน ทุกวิชาและได้รับปริญญาเกียรตินิยมทางกฎหมาย Bachelor of Arts.Hons (B.A. (Oxon)) เม่ือพระชนมายุ 20 พรรษา โดยใช้เวลาศกึ ษาเพียง 3 ปี ด้วยพระปรชี าญาณดังกลา่ วเปน็ ท่พี อพระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยิ่ง นกั ถงึ กบั ทรงเรียกพระองคเ์ จา้ รพีพฒั นศักดว์ิ า่ \"เฉลียวฉลาดรพ\"ี หลังจากส่าเร็จการศึกษาดังกล่าวแล้ว พระองค์ก็ทรงตั้งพระทัยว่า จะทรงเรียนเนติบัณฑิตอังกฤษ (Barrister at law) ที่กรุงลอนดอน แล้วจะเสด็จไปศึกษาต่อที่ประเทศเยอรมนี แต่พระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้เสด็จกลับมารับราชการท่ีประเทศไทยเสียก่อน พระราชพิธีโสกันต์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงจัดให้ตั้งพระราชพิธีโสกันต์พระเจ้าลูกยาเธอทั้ง 3 พระองค์พร้อมกันคือ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ พระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช และพระองค์เจ้ารพีพัฒน ศักดิ์ เป็นการสมโภช 3 วนั ต้งั แตว่ นั องั คารที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2427 ถึงวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2427 แล้ว จงึ ประกอบพระราชพิธโี สกนั ตใ์ นวันท่ี 26 ธันวาคม พ.ศ. 2427 โดยโปรดให้ทรงเครื่องต้นท้งั 4 พระองค์
5 ผนวช หลังจากพระราชพิธีโสกันต์ผ่านพ้นไปแล้ว จึงโปรดให้พระเจ้าลูกยาเธอทั้ง 4 พระองค์ท่ีจะเสด็จไป ศึกษาตอ่ ยงั ต่างประเทศ ได้ผนวชเปน็ สามเณรพร้อมกันตามโบราณราชประเพณี โดยวันท่ี 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2428 เวลาย่าค่า มีการเวยี นเทยี นสมโภชทัง้ 4 พระองค์ ณ พระท่ีนั่งจกั รมี หาปราสาท เช้าวันรุ่งข้ึนแห่พระเจ้า ลูกยาเธอทั้ง 4 พระองค์จากพระท่นี ั่งดสุ ติ าภริ มย์ไปวดั พระศรีรัตนศาสดาราม ผนวชเป็นสามเณรโดยมีพระเจ้า บรมวงศเ์ ธอ กรมพระปวเรศวรยิ าลงกรณ์ เปน็ พระอปุ ัชฌาย์ ในคืนนั้นพระองค์เจ้าสามเณรทั้ง 4 พระองค์ทรง ประทับแรมที่พระพุทธปรางค์ปราสาท เช้าวันถัดมาพระองค์เจ้าสามเณรทรงรับบิณฑบาตใน พระบรมมหาราชวัง เวลายา่ ค่าจึงเสด็จไปอย่ทู ีต่ ่าหนักในวัดบวรนิเวศราชวรวิหารถึงวันที่ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2 4 2 8 ทั้ ง 4 พ ร ะ อ ง ค์ จึ ง ท ร ง ล า ผ น ว ช ณ พ ร ะ อุ โ บ ส ถ วั ด บ ว ร นิ เ ว ศ วิ ห า ร งานราชการและพระกรณยี กจิ ปี 2437เมื่อ พระองค์เจา้ รพพี ัฒนศักดิ์ เสดจ็ กลับมาพระองคก์ ็ทรงเป็นอธิบดผี ้จู ดั การโรงเรียมหาดเล็ก หลวงเพ่อื สอนความรเู้ บอ้ื งตน้ สา่ หรับผ้เู ข้ารบั ราชการพลเรือนในกระทรวงต่าง ๆ และต่อมาพระองค์ทรงสมัคร รับราชการทางฝ่ายตุลาการ แล้วทรงฝึกหัดราชการในกรมราชเลขานุการ และทรงศึกษากฎหมายไทยอย่าง จริงจงั ด้วยพระปรีชาสามารถและพระอตุ สาหะ ไม่นานพระองคส์ ามารถท่างานในกรมราชเลขานุการได้ทุก ต่าแหน่งโดยเฉพาะการร่างพระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดเกล้าฯ แต่งต้งั พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ เปน็ องคมนตรีในปเี ดียวกันนัน้ ปี 2439 รัชกาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระองค์เป็นสภานายกพิเศษจัดการตั้งศาลใน มณฑลอยุธยา พระองคท์ รงท่าการในหน้าที่ด้วยพระปรีชาสามารถ เป็นทนี่ ยิ มยินดขี องหมูช่ นในมณฑลนัน้ ปี 2440 รชั กาลที่ 5 ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้พระองค์เปน็ ประธานพร้อมด้วยกรรมการไทยและ ฝรั่ง ช่วยกันตรวจช่าระพระราชก่าหนดบทพระอัยการเก่าใหม่และปรึกษาลักษณะการท่ีจะจัดระเบียบแล้ว เรียบเรียงกฎหมายขึ้นใหม่เพ่ือเป็นบรรทัดฐาน และในปีเดียวกันนั้นก็ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็น เสนาบดีกระทรวงยตุ ธิ รรม และคงอยใู่ นต่าแหนง่ สภานายกพิเศษจดั การศาลตามเดมิ ด้วย ในการปรับปรุงกฎหมาย เบือ้ งตน้ มีการน่ากฎหมายอังกฤษมาใช้ โดยใช้กฎหมายวิธีสบัญญัติก่อน ที แรกมขี อ้ ถกเถียงกันว่าจะใช้ระบบกฎหมายแบบองั กฤษ หรือจะใช้ระบบกฎหมายซีวิลลอว์ แบบประเทศยุโรป แล้ว
6 รัชกาลที่ 5 ก็ทรงตัดสินพระราชหฤทัยปฏิรูประบบกฎหมายไทยให้เป็นไปตามแบบประเทศภาคพ้ืน ยโุ รป คอื ใช้ระบบ \"ประมวลธรรม\" แตอ่ ยา่ งไรกด็ ี กย็ ังนา่ แนวคิดหลักกฎหมายอังกฤษบางเรอ่ื งมาใช้ดว้ ย ประมวลกฎหมายของไทยฉบบั แรก คือ ประมวลกฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127 ใช้เวลาร่างท้ังส้ิน 11 ปี โดยส่าเร็จลงในปี 2451 พระองค์เจ้ารพีฯ ทรงช่วยแปลต้นร่างท่ีเขียนเป็นภาษาฝรั่งเศสและอังกฤษมา เปน็ ภาษาไทย ส่วนประมวลกฎหมายฉบับต่อ ๆ มา ไม่ว่าจะเป็นประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง วิธี พิจารณาความอาญา และประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์บรรพต่าง ๆ พระองค์ก็ทรงมบี ทบาทสา่ คญั ในการ ยกร่างด้วย ในปเี ดียวกนั น้ี พระองค์เจา้ รพีฯ มีพระด่าริว่า \"การท่ีจะยังราชการศาลยุติธรรมให้เป็นไปด้วยดีนั้น มี ความจ่าเป็นท่ีจะต้องจัดให้มีผู้รู้กฎหมายมากข้ึนกว่าแต่ก่อน โดยการเปิดให้มีการสอนกฎหมายข้ึนเป็นท่ี แพร่หลาย\" จึงทรงสถาปนาโรงเรียนสอนกฎหมายขึ้น สังกัดกระทรวงยุติธรรม เพื่อให้โอกาสแก่ประชาชน ทัง้ หลายมโี อกาสรบั การศึกษากฎหมาย และพระองค์ทรงแนะนา่ ส่ังสอนดว้ ยพระองค์เองด้วย และแลว้ ปลายปี 2440 พระองค์ทรงเปิดให้มีการสอบไล่เนติบัณฑิต โดยใช้ศาลาการเปรียญใหญ่ วัด มหาธาตุ เป็นสถานที่สอบ ใช้เวลาสอบทั้งส้ิน 6 วัน วันละ 4 ชั่วโมง ให้คะแนนเป็นเกรด ผู้สอบไล่ได้เป็นเนติ บณั ฑิตรุน่ แรกมีทั้งส้ิน 9 คน ผสู้ อบได้ล่าดบั ท่ี 1 ในครั้งนั้น คือ เจ้าพระยามหิธร (ลออ ไกรฤกษ์) ซึ่งได้รับการ ยกย่องว่าเป็นเนตบิ ัณฑติ ไทยคนแรก ปี 2441 พระองค์เจ้ารพีฯ ทรงเป็นกรรมการตรวจตัดสินความฎีกาในคณะกรรมการ มีช่ือว่า \"ศาล กรรมการฎกี า\" ทา่ หนา้ ท่ีเป็นศาลสูงสุดของประเทศ แต่ไม่สังกัดกระทรวงยุติธรรม และต่อมาได้กลายมาเป็น ศาลฎกี าในปัจจุบนั ปี 2442 ได้รบั พระราชทานพระสพุ รรณบฏั เปน็ \"กรมหม่ืนราชบรุ ีดิเรกฤทธ์ิ\" ปี 2443 ทรงด่าริจัดตั้งกองพิมพ์ลายมือขึ้น ทรงสอนวิธีตรวจเส้นลายมือ และวิธีเก็บพิมพ์ลายมือ ส่าหรับตรวจพิมพ์ผู้ต้องหาในคดีอาญา เพื่อใช้เป็นหลักฐานเพ่ิมโทษผู้กระท่าความผิดหลายคร้ัง ปี 2453 ใน สมยั รชั กาลท่ี 6 ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้เป็นองคมนตรี ปี 2455 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นเสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการ และในปีเดียวกัน ทรง พระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ สถาปนาข้ึนเปน็ กรมหลวง มพี ระนามจารกึ ในพระสุพรรณบฏั วา่ \"พระเจ้าพ่ียาเธอ กรม หลวงราชบรุ ดี เิ รกฤทธ์ิคชนาม\"
7 ปี 2462 พระองค์เจ้ารพีฯ ทรงประชวรด้วยพระวัณโรค ท่ีพระวักกะ (ไต) และได้ขอพระราชทาน กราบถวายบังคมลาพักราชการรักษาพระองค์ และได้เสด็จไปรักษาพระองค์ท่ีกรุงปารีส ประเทศฝร่ังเศส แพทย์ไดจ้ ัดการรักษาและถวายพระโอสถ อยา่ งเตม็ ความสามารถแต่พระอาการหาทุเลาลงไม่ จนกระทัง่ วันเสารท์ ี่ 7 สงิ หาคม 2463 พระเจา้ พ่ยี าเธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธ์ิ ก็ส้ินพระชนม์ สิริ พระชนมายุ 47 พรรษา สนิ้ พระชนม์ ในปี พ.ศ. 2462 พระเจ้าพ่ียาเธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธ์ิ ประชวรด้วยพระโรคที่ต่อมลูกหมาก และมีการแทรกซ้อนต่อไปยังพระวักกะ (ไต) จึงทรงขอลาพักราชการในวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2462 เพื่อ รักษาพระองค์แตอ่ าการยงั ไม่ทเุ ลา ต่อมาจึงเสด็จไปรักษาพระองค์ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส แต่พระโรคที่ พระวกั กะกย็ ังทวคี วามรนุ แรงย่ิงขนึ้ เกนิ ที่แพทย์จะเยียวยาได้ จนกระทั่งถึงวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2463 เวลา ประมาณ 21 นาฬิกา จงึ สิ้นพระชนม์ สริ ิพระชันษา 45 ปี 9 เดอื น 17 วนั พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยหู่ ัวโปรดให้เอกอัครราชทูตสยามประจ่าประเทศฝร่ังเศสจัดการ ถวายพระเพลิง ณ กรุงปารีส ตามที่กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์รับสั่งไว้ หลังจากนั้นหม่อมเจ้าไขแสงรพี รพพี ฒั น์ เสด็จไปรับและอัญเชิญพระอัฐิของกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์มาถึงประเทศไทยในวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2463 ในคราวนัน้ เจ้าพระยายมราช (ป้ัน สุขุม) หวนระลึกถึงรับสั่งของกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธ์ิได้ตรัส ไวก้ ่อนท่ีเสดจ็ ไปรักษาพระองคท์ ่ปี ระเทศฝรัง่ เศสว่า “บางทีครูจะไมไ่ ดเ้ หน็ ฉันอีก และไม่ได้เหน็ อกี จรงิ ๆ” พระโอรส-ธิดา หลังพระองคเ์ จ้ารพพี ฒั นศักด์เิ สด็จกลบั จากศกึ ษาท่ปี ระเทศอังกฤษ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจา้ อยหู่ ัวทรงส่ขู อพระเจ้าวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้าอรพัทธ์ประไพ พระธิดาพระองค์ใหญ่ในสมเด็จพระเจ้าบรม วงศเ์ ธอ เจา้ ฟ้าจาตุรนต์รศั มี กรมพระจกั รพรรดิพงษ์ พระราชทานเสกสมรสให้ โดยในครั้งนั้นนบั เปน็ ครั้งแรกที่ มีการพระราชทานน่า้ สังข์ แต่ทรงใชช้ วี ิตครู่ ่วมกันเพียงไม่นานก็ทรงหย่าขาดจากกัน และหลังจากนั้นพระองค์ จึงทรงรบั หมอ่ มอ่อนมาเปน็ หมอ่ มเอก โดยนอกจากหม่อมอ่อนแล้วพระองค์ยังมีหม่อมอีก 2 คน คือ หมอ่ มแดง และหมอ่ มราชวงศ์สอางค์ ปราโมช
8 พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักด์ิ มีพระโอรสและพระธิดา ที่ประสูติกับหม่อมอ่อน หม่อมแดง และหม่อม ราชวงศ์สอางค์ 13 องค์ ซ่ึงทุกองค์ทรงต้ังพระนามคล้องจองกันหมด และมีความหมายเก่ียวกับ พระอาทิตย์ หมอ่ มออ่ น รพีพฒั น์ ณ อยุธยา หม่อมออ่ น รพพี ฒั น์ ณ อยุธยา บตุ รขี องพระยาสุพรรณพิจิตร (โต) กับหม่อมราชวงศ์ส่าอาง เสนีวงศ์ เสดจ็ ในกรมหลวงราชบุรีได้รบั หมอ่ มอ่อนเข้ามาเปน็ หม่อมในพระองคห์ ลงั จากทท่ี รงหย่ากับพระชายาแล้ว โดย มีพระโอรสพระธิดารวม 11 องค์ ดังนี้ หม่อมเจ้าพิมพ์ร่าไพ โสณกุล (18 มกราคม พ.ศ. 2441 - 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2510) เสกสมรสกับ หมอ่ มเจ้าทองตอ่ ทองแถม และหมอ่ มเจ้ารัชฎาภิเศก โสณกุล หม่อมราชวงศ์นภาจรี ทองแถม สมรสกับเดด็ ดวง บุนนาค และสมใจ สริ สิ งิ ห หม่อมราชวงศ์ปรียา โสณกุล หม่อมเจ้าไขแสงรพี รพีพฒั น์ (29 ตลุ าคม พ.ศ. 2442 - 19 ตุลาคม พ.ศ. 2521) เสกสมรสกับเริงจิตร์ แจรง อาภากร (หย่า) และหม่อมหลวงสุมิตรา สทุ ศั น์ (หย่า) หม่อมราชวงศเ์ ตมิ แสงไข รพพี ฒั น์ สมรสกับปรีดา กรรณสูต หม่อมราชวงศ์ศักดิ์รพี รพีพัฒน์ สมรสกบั สนุ ทรี (สกลุ เดิม ศริ จิ ิตต์) หม่อมเจ้าสรุ ยี ์ประภา กฤดากร (16 เมษายน พ.ศ. 2444 - 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2513) เสกสมรสกับ หมอ่ มเจ้าอิทธเิ ทพสรร กฤดากร และหมอ่ มเจา้ เศรษฐสริ ิ กฤดากร หม่อมราชวงศ์ฤทธ์ิสุรีย์ กฤดากร สมรสกับจิ๋ว สุรเิ วก หม่อมราชวงศ์ประภาศริ ิ กฤดากร สมรสกบั ฉลอง ชมุ พล หม่อมเจ้าวิมวาทิตย์ รพีพัฒน์ (25 ธันวาคม พ.ศ. 2445 - 29 ธันวาคม พ.ศ. 2501) เสกสมรสกับ หม่อมเจา้ วนิ ิตา รพพี ัฒน์ (ราชสกุลเดมิ กิติยากร) หมอ่ มราชวงศ์วภิ ากร รพีพัฒน์ สมรสกับวุฒิวิฑู (ราชสกุลเดิม วุฒิชัย) และเย็นจิตต์ (สกุลเดิม สัมมา พันธ)์
9 หม่อมเจา้ ชวลิตโอภาศ กติ ิยากร (11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2447 - 18 มิถุนายน พ.ศ. 2475) ทรงใช้ชีวิตคู่ โดยมิไดเ้ สกสมรสกบั สมเด็จพระเชษฐาธริ าช เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ ภายหลัง เสกสมรสกบั หม่อมเจ้าอมรสมานลกั ษณ์ กติ ยิ ากร หม่อมราชวงศก์ ิตนิ ัดดดา กติ ยิ ากร หมอ่ มราชวงศอ์ มราภินพ กติ ิยากร สมรสกบั แจเน็ท กริมม์ หมอ่ มราชวงศ์กติ อิ จั ฉรา กติ ิยากร สมรสกบั สมิทธิ์ ปวนะฤทธิ์ หมอ่ มเจ้าอากาศด่าเกิง รพพี ฒั น์ (19 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2448 - 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2475) หม่อมเจ้าเพลิงนภดล รพีพัฒน์ (30 ธันวาคม พ.ศ. 2449 - 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2528) เสกสมรสกับ หมอ่ มเจา้ ทรงอปั ษร (ราชสกลุ เดมิ กติ ิยากร) หมอ่ มราชวงศอ์ คนิ รพีพัฒน์ สมรสกับจนั ทรา (สกลุ เดิม ปิตรชาติ) และบงั เอญิ (สกลุ เดิม เกดิ อารยี )์ หมอ่ มราชวงศร์ พีพงศ์ รพีพฒั น์ สมรสกับหม่อมหลวงศริ ิมา (ราชสกลุ เดิม ศรีธวัช) และจริยา (สกุลเดิม รอดประเสรฐิ ) หม่อมราชวงศ์อัปษร รพีพฒั น์ สมรสกบั ทวีเกยี รติ กฤษณามระ และจอห์น อ.โรก๊อซ หม่อมเจ้าถกลไกรวัล รพีพัฒน์ (2 มกราคม พ.ศ. 2452 - 16 กันยายน พ.ศ. 2523) เสกสมรสกับ หม่อมตลับ (สกลุ เดิม ศรโี รจน์) หม่อมราชวงศ์มธรุ า รพพี ัฒน์ สมรสกับจรญู ชินาลยั หม่อมเจ้ารวิพรรณไพโรจน์ รพีพัฒน์ (5 กนั ยายน พ.ศ. 2455 - 18 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2531) เสกสมรส กับหมอ่ มจ่าเริญ (สกุลเดิม จลุ กะ) ฉตั รสดุ า วงศ์ทองศรี (ราชสกุลเดิม ฉัตรชัย) และหม่อมเพ็ญศรี รพีพัฒน์ ณ อยธุ ยา หม่อมราชวงศ์พันธ์ุรพี รพีพัฒน์ สมรสกับฉวีวรรณ (สกุลเดิม จันโทภาสกร) และปราณี (สกุลเดิม อรรถพนั ธ์) หมอ่ มราชวงศพ์ ฒั นฉตั ร รพพี ัฒน์ สมรสกบั ทกั ษพล เจยี มวจิ ติ ร (หยา่ )
10 หมอ่ มราชวงศ์ดิเรกฤทธ์ิ รพีพฒั น์ สมรสกับอรุณวรรณ (สกุลเดมิ วงศ์ใหญ่) หม่อมราชวงศว์ นิ ิตา รพพี ัฒน์ สมรสกบั โชค อัศวรักษ์ หม่อมราชวงศ์นสิ ากร รพพี ัฒน์ สมรสกับวรวิทย์ เหมจุฑา หมอ่ มเจ้าดวงทพิ ย์โชตแิ จ้งหลา้ อาภากร (11 ตุลาคม พ.ศ. 2457 - 4 มีนาคม พ.ศ. 2542) เสกสมรส กบั พลเรอื เอก หม่อมเจ้าครรชติ พล อาภากร หมอ่ มราชวงศ์ชาย (ถึงแกก่ รรมในวยั เยาว)์ หมอ่ มราชวงศ์ทพิ พากร อาภากร สมรสกบั หม่อมราชวงศว์ ิบลู ยเ์ กียรติ วรวรรณ หม่อมราชวงศพ์ รระพี อาภากร สมรสกับอุทุมพร (สกุลเดิม ศุภสมุทร; หย่า) และองค์อร อาภากร ณ อยุธยา หม่อมเจ้าทิตยาทรงกลด จักรพันธุ์ (21 พฤษภาคม พ.ศ. 2459 - 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2553) เสกสมรส กับหมอ่ มเจา้ คัสตาวัส จักรพันธ์ุ หมอ่ มราชวงศ์กทลี จกั รพนั ธ์ุ สมรสกบั พลต่ารวจตรวี ศิษฐ์ สุนทรสิงคาล หมอ่ มราชวงศส์ ดศรี ปันยารชุน สมรสกบั อานันท์ ปนั ยารชนุ หม่ อ ม ร า ช ว ง ศ์ต ร า จั ก ร จั ก ร พั น ธุ์ ส ม ร ส กั บ อ ร ว ร ร ณ (ส กุ ล เ ดิม ทั น ต เ ย า ว น า ร ถ ) หม่อมแดง รพีพฒั น์ ณ อยุธยา หมอ่ มแดง รพพี ัฒน์ ณ อยธุ ยา เปน็ บตุ รีของพ่อคา้ ชาวจนี เจ้าของรา้ นเพชรหัวเมด็ ในประมาณปี พ.ศ. 2458 เสดจ็ ในกรมหลวงราชบุรที รงรับหม่อมแดงเขา้ มาเปน็ หมอ่ มในพระองค์ โดยมพี ระธดิ า 1 องค์ คอื คนั ธรสรงั ษี แสงมณี (5 มนี าคม พ.ศ. 2459 - 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2526) เสกสมรสกับหม่อมเจ้าทรง วฒุ ไิ ชย วฒุ ิชยั ตอ่ มาทรงลาออกจากฐานนั ดรศักดิ์แห่งพระราชวงศเ์ พอื่ สมรสกับหลวงช่านาญนิติเกษตร (อุทัย แสงมณ)ี หมอ่ มราชวงศ์วุฒิรสรงั ษี วุฒิชยั หม่อมราชวงศ์อจั ฉรีเพราพรรณ วุฒชิ ัย สมรสกบั สากล วรรณพฤกษ์
11 หมอ่ มราชวงศ์สอางค์ ปราโมช หม่อมราชวงศ์สอางค์ ปราโมช พระธิดาในพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าค่ารบ กับหม่อมนุ่ม โดยมี พระธดิ า 1 องค์ คอื ร่าไพศรีสอางค์ สนิทวงศ์ (17 กันยายน พ.ศ. 2462 - 4 เมษายน พ.ศ. 2543) ทรงลาออกจาก ฐานนั ดรศกั ดิ์แห่งพระราชวงศเ์ พือ่ สมรสกบั หม่อมหลวงซงั สนทิ วงศ์ สอางศรี สนทิ วงศ์ ณ อยธุ ยา สมรสกับจริ ายนต์ สงั ฆสุวรรณ อรนิ ทร์ สนทิ วงศ์ ณ อยุธยา สมรสกบั เวณกิ จงเจรญิ และสุณยี ์ ลรี เศรษฐกร แซม สนทิ วงศ์ ณ อยธุ ยา สมรสกบั พอใจ ตณั สถิตย์
12 ทรงปฏิรปู ระบบกฎหมาย และเป็นหว่ งผู้พพิ ากษา ในสมัยพระองค์ การปฏิรูปงานศาล เป็นส่ิงจ่าเป็นต่อสยามประเทศเป็นอย่างมาก มูลเหตุเนื่องจาก ศาลในตอนน้ันกระจายอยู่ตามกระทรวงต่าง ๆ อันส่งผลให้การพิจารณาอรรถคดีเป็นไปด้วยความล่าช้ามาก อา่ นาจตลุ าการขาดอิสระถกู แทรกแซงโดยอา่ นาจบรหิ าร รวมทง้ั มกี ารทจุ ริตเน่ืองจากขาดระบบตรวจสอบ การ ตัดสินคดี ตลอดจนเกดิ วิกฤตการณ์เรื่องเอกราชทางการศาล ท่ีตา่ งชาตไิ มย่ อมขึ้นศาลไทย แต่กลับตั้งศาลกงสุล พิจารณาตัดสินคดีคนในชาติของตนเอง ดังนั้น เพ่ือท่าให้การยุติธรรมสามารถทัดเทียมกับนานาอารยประเทศ และเป็นท่ียอมรับของ ต่างประเทศ พระองค์จึงทรงพัฒนาระบบงานยุติธรรมท้ังระบบ และมีการจัดท่าประมวลกฎหมายเป็นลาย ลักษณ์อกั ษรดงั กล่าวมาแลว้ เพ่ือให้ศาลสามารถตดั สินคดไี ดร้ วดเรว็ ย่ิงขนึ้ และมีฝา่ ยธุรการคอยให้ความสะดวก และทรงได้วางนโยบายให้ศาลสามารถตัดสินคดีโดยปราศจากการแทรกแซงของฝ่ายปกครอง ซึ่งเป็นไ ปใน แนวทางเดยี วกนั กับอารยประเทศ ในเร่อื งน้ี ทรงเคยรบั สั่งไวว้ า่ \"อา่ นาจการพิจารณาพิพากษาคดีอยู่ใต้อุ้งมือฝ่ายธุรการนั้นใช้ไม่ได้ มีแต่ จะเกดิ ภัยขึน้ เสมอ ดงั ทรี่ ัฐบาลเองก็ได้ประกาศแสดงความอนั นนั้ หลายครงั้ ...\" ซึง่ การท่ศี าลสามารถตัดสินคดีความได้อย่างอิสระนั้น ถือได้ว่าเป็นหลักประกันความยุติธรรมในศาล อนั เป็นทพ่ี ึ่งของประชาชน และน่าไปสู่การยอมรบั ของประเทศอ่ืน ๆ ความประสงค์ของพระองคเ์ ก่ยี วกับเรื่องน้ี กว่าจะแยกศาลออกจากกระทรวงยตุ ธิ รรมฝ่ายบริหารได้ กต็ ้องใช้เวลาประมาณ 100 ปีเลยทีเดียว ซ่ึงศาลเพ่ิง แยกเปน็ อิสระจากกระทรวงยุติธรรม เมอ่ื ประมาณปี 2543 เอง พระองคเ์ จ้ารพีฯ ทรงเอาพระทัยใส่คุณสมบัติของบุคคลผู้ที่จะมาเป็นผู้พิพากษาเป็นพิเศษ พระองค์ ทรงยึดมั่นว่าความซื่อสัตย์สุจริตเป็นอุดมคตสิ ่าคัญยิง่ กวา่ กิจสว่ นตวั ใด ๆ พระองค์เจ้ารพีฯ ก็ได้ทรงตักเตือนผู้ พพิ ากษาเสมอมาวา่ \"อย่ากนิ สินบน\" นอกจากน้ี พระองค์เจ้ารพีฯ ทรงขอพระราชทานพระมหากรณุ าธคิ ณุ เรื่องเงินเดอื นผู้พิพากษาให้ เหมาะสมกบั ศักดิ์และหนา้ ท่ี การทจ่ี ะให้ผพู้ ิพากษาคงความดเี อาไว้นน้ั ตอ้ งระลกึ ถึงเงินเดอื นท่จี ะใหแ้ ก่ผู้ พิพากษาด้วย เพราะกวา่ จะเปน็ ผ้พู ิพากษาได้นัน้ ต้องใชเ้ วลาศึกษานานเป็นพิเศษกว่าจะสา่ เรจ็ ต่าแหนง่ ทจี่ ะ เล่ือนขึ้นก็มีนอ้ ย และอีกข้อหน่ึงในราชการอย่างอน่ื ตามภาษาไพร่เรยี กว่า \"มกี า่ ลังในราชการ\" แต่ฝ่ายตลุ าการ ไมม่ ีเลย
13 ดา้ นกฎหมาย เม่ือพระองค์เจา้ รพีพัฒนศกั ด์ิทรงเป็นเสนาบดกี ระทรวงยุตธิ รรม พระองค์ทรงมสี ่วนส่าคญั อย่างยิง่ ใน การปฏริ ปู การศาล ซึ่งปญั หาส่าคัญส่าหรับศาลไทยในเวลานั้น คอื เรื่องของศาลกงสุลต่างชาติ ทีม่ ีอยเู่ ปน็ จ่านวนมากในยคุ นนั้ เปน็ ที่รู้กนั ว่าชาวตา่ งชาตเิ หล่านีม้ อี ่านาจอทิ ธิพลมาก เมอ่ื เกดิ คดีความหรอื ขอ้ โตแ้ ยง้ ชาว ไทยมักตกเป็นฝา่ ยเสียเปรยี บ เพราะชาวต่างชาติมกั จะอ้างว่ากฎหมายยงั ล้าหลังไม่ทันสมยั เพอ่ื เป็นข้ออ้างเอา เปรยี บชาวไทยซ่ึงสาเหตุสว่ นหน่ึงมาจากการที่ผพู้ ิพากษาและเจา้ หนา้ ทศี่ าลของไทยยังไม่พรอ้ มท่ีจะรบั ขอ้ กฎหมายใหม่ ๆ ในเวลาน้ันพระองคเ์ จา้ รพพี ัฒนศกั ด์ทิ รงแกป้ ญั หาเรือ่ งนี้โดยการจ้างชาวต่างชาตมิ าเป็นผู้ พพิ ากษาเป็นเหตุให้ผู้พพิ ากษาศาลไทยเกิดความกระตือรือรน้ เรง่ ศึกษากฎหมายไทยและตา่ งประเทศท่าใหศ้ าล ไทยมคี วามเชือ่ ถือมากข้ึนและเป็นทีย่ อมรบั ของชาวตา่ งชาติถึงกบั ยกเลกิ ศาลกงสุลยอมให้คนชาตติ วั เองมาขึ้น ศาลไทยนอกจากนน้ั ยงั ทรงปฏิรปู การศาลในด้านอ่ืนอกี มากมาย อาทิ ขอพระราชทานพระบรมราชาอนุญาตให้ศาลในสังกัดกระทรวงยุติธรรมสามารถก่าหนดโทษเองได้ เน่ืองจากในสมัยน้ันเม่ือศาลก่าหนดโทษจ่าคุกผู้ต้องหาแล้ว ต้องให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ หัวทรง ก่าหนดเวลาใหอ้ ีกชั้นหนึง่ ซึ่งเป็นเหตุของความล่าชา้ ในวงการศาล ทรงปรับปรุงเงนิ เดอื นผพู้ ิพากษาให้เหมาะสมกับต่าแหนง่ หน้าที่ ออกประกาศออกประกาศยกเลกิ หรือแก้ไขพระราชบัญญัติ กฎเสนาบดีกว่า 60 ฉบับ เพ่ือแก้ไขจุดที่ บกพรอ่ ง เพม่ิ สทิ ธิของคคู่ วามใหเ้ ท่าเทยี มกนั หรือแกไ้ ขบทลงโทษที่ล้าหลังทีส่ ่าคญั ได้แก่ ท่ที รงออกใหม่ ท่ที รงแกไ้ ข พระราชบัญญตั เิ พิ่มเตมิ วธิ ีพิจารณาความอาญา พระราชบัญญตั ิกระบวนวธิ พี จิ ารณาความแพง่ ร.ศ. 115 พระราชบญั ญัตอิ ุทธรณ์ ร.ศ. 123 พระราชบัญญตั ิกฎหมายพยาน มาตรา 6 พระราชบญั ญัตพิ ระธรรมนญู ศาลยุตธิ รรม พระราชบญั ญัตวิ ธิ พี จิ ารณาความแพ่ง ร.ศ. 127 กฎเสนาบดีเร่อื งการด่าเนนิ คดีอย่างคนอนาถา กฎเสนาบดเี รอื่ งอตั ราธรรมเนียมค่าทนายความ หา้ มนา่ คดที ี่ศาลโปรสิ ภาตัดสนิ แลว้ ฟอ้ งต่อศาลแพ่ง และศาลอาญา การเรยี กทรพั ย์คืนจากจ่าเลยในคดีอาญาข้อหาลักทรพั ย์
14 ให้อ่านาจศาลเปน็ อิสระจากฝา่ ยบริหาร ฯลฯ พระราชกรณยี กิจทส่ี า่ คัญอกี อย่างหนึ่งกค็ ือในปี พ.ศ. 2440 ได้ทรงจดั ต้ังโรงเรียนกฎหมายข้นึ โดยมี เจ้าพระยาอภัยราชาสยามานุกลู กิจ (โรลงั ยัคมินส์) เป็นที่ปรกึ ษา และพระองคเ์ จา้ รพีพัฒนศักดท์ิ รงเขา้ สอน เป็นประจ่า ต่อมาได้จัดให้มีการสอบไล่ขึ้นด้วย ในปีแรกท่มี กี ารสอบปรากฏว่ามีผู้สอบผา่ นเพยี ง 9 คนจาก จา่ นวนกวา่ รอ้ ยคน และแม้ใน 14 ปีแรกมีผ้สู อบผ่านเพยี ง 129 คนเทา่ น้ัน แตก่ ถ็ อื เปน็ การผลิตนกั กฎหมายที่มี คณุ ภาพให้สังคมเป็นอยา่ งมาก ตอ่ มายงั ทรงเป็นประธานกรรมการตรวจช่าระกฎหมาย, กรรมการตรวจตดั สนิ ความฎีกาและกรรมการตรวจรา่ งกฎหมายลักษณะอาญาอีกด้วย พระเกียรติยศ พระอสิ รยิ ยศ พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจา้ รพพี ัฒนศกั ด์ิ (พ.ศ. 2419 - 10 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2442) พระเจา้ ลูกยาเธอ กรมหม่นื ราชบรุ ดี เิ รกฤทธ์ิ (10 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2442 - 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453) พระเจ้าพีย่ าเธอ กรมหมนื่ ราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ (23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 - 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2455) พระเจ้าพี่ยาเธอ กรมหลวงราชบุรดี ิเรกฤทธ์ิ (11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2455 - 7 สิงหาคม พ.ศ. 2463) ภายหลังส้นิ พระชนม์ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอกรมหลวงราชบรุ ดี ิเรกฤทธิ(์ 10 กรกฎาคมพ.ศ.2478) สถานที่อันเนอ่ื งด้วยพระนาม สถาบันวจิ ัยรพีพัฒนศกั ด์ิ สา่ นักงานศาลยตุ ธิ รรม อาคารราชบรุ ดี ิเรกฤทธิ์ ศนู ยร์ าชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธนั วาคม 2550 ทรงไดร้ บั การถวายพระสมญั ญาว่า \"พระบดิ าแหง่ กฎหมายไทย\" ด้วยคณุ าณุปการอันลน้ พน้ ดังกล่าวขา้ งตน้ เนติบณั ฑิตยสภาจึงได้ถวายการยกยอ่ งพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ เป็น \"พระบิดาแห่งกฎหมายไทย\" เม่ือปี 2497 ท้ังเริ่มต้นเรียก วันท่ี 7 สิงหาคม ของทุกปี เป็น \"วันรพี\" เพื่อเป็นการน้อมร่าลึกถึงวันคล้ายวันส้ินพระชนม์ พร้อมทั้งมีการจัดงานบ่าเพ็ญกุศล อุทิศถวายเปน็ ประจา่ ทกุ ปี
15 คตพิ จน์เตอื นใจนักกฎหมาย สมัยพระองค์เป็นเสนาบดีกระทรวงยุติธรรม พระองค์ทรงทุ่มเทให้กับงานราชการอย่างเต็ม ความสามารถ มิได้ทรงเห็นแก่ความเหน็ดเหนื่อย พระยามานวราชเสวีจึงทูลว่า \"ไม่เคยเห็นใครท่างานมาก อยา่ งใตฝ้ า่ พระบาท ใตฝ้ า่ พระบาทมีพระประสงค์อยา่ งไร\" ทรงตอบวา่ \"รู้ไหมว่า My life is service\" ซึ่งหมายความว่า ชีวิตของฉันเกิดมา เพือ่ รับใช้ประเทศชาติ\"
16 อนุสาวรีย์พระรูปหน้าสานักงานศาลยตุ ิธรรม เมื่อ พ.ศ. 2498 คณะกรรมการเนตบิ ณั ฑติ ยสภาไดม้ มี ตจิ ัดสรา้ งอนสุ าวรยี พ์ ระรูปพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ กรม หลวงราชบุรีดเิ รกฤทธ์ิ ขึน้ โดยไดจ้ ัดการเรย่ี ไรเงินจ่านวน 500,000 บาท ตอ่ มาวนั ท่ี 27 มกราคม พ.ศ. 2507 ไดร้ ับเงินบริจาครวมทัง้ หมดเปน็ จ่านวน 296,546.75 บาท ซึง่ กย็ ังไม่ครบตามจ่านวนท่ีตั้งไว้ แต่แมจ้ ่านวนเงนิ บรจิ าคนั้นจะยงั ไมค่ รบ แต่ในส่วนของตัวอนสุ าวรีย์น้นั ไดม้ ีการป้ันเสร็จในปี พ.ศ. 2506 และพระบาทสมเด็จ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดชพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจา้ สริ ิกติ ์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ ได้เสด็จพระราช ด่าเนินทรงเปิดอนสุ าวรยี พ์ ระรูปพระองคเ์ จา้ รพพี ัฒน์ศกั ดิ์ในวนั ท่ี 27 มกราคม พ.ศ. 2507
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: