เกี่ยวขอ้ ง ไม่ หวั ข้อการตรวจสอบ มีการดาเนนิ การ ไม่มกี ารดาเนนิ การ เกี่ยวขอ้ ง ส่วนท่ี ๓ แนวปฏบิ ัติตามมาตรฐานสาหรบั หนว่ ยงานราชการท่มี กี ารดาเนินการเขา้ ข่ายประเภทกจิ การเฉพาะ ๑. มีการจดั ทาข้อบงั คบั และคู่มอื ว่าดว้ ยความปลอดภยั ในการทางาน ไว้ในหน่วยงาน และฝึกอบรมจนบุคลากรสามารถปฏบิ ัติงานได้อยา่ ง ถกู ต้อง ๒. มีการแตง่ ต้งั ผบู้ รหิ ารทุกคน เป็นเจา้ หน้าท่ีความปลอดภยั ในการ ทางานระดับบริหาร ๓. มีการแต่งตง้ั ผหู้ วั หนา้ งานทุกคน เปน็ เจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภัยใน การทางานระดบั หัวหนา้ งาน ๔. มเี จ้าหน้าทคี่ วามปลอดภยั ในการทางานระดบั เทคนิค ปฏิบัติงาน อยา่ งนอ้ ย ๑ ชั่วโมงต่อวัน ๕. มีเจ้าหนา้ ท่คี วามปลอดภัยในการทางานระดบั เทคนิคขั้นสงู หรอื วิชาชพี ตามแตก่ รณี ๖. จัดใหม้ คี ณะกรรมการความปลอดภยั อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางานของหน่วยงาน ๗. จัดใหม้ ีหน่วยงานความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางาน ขนึ้ ตรงต่อหัวหนา้ ส่วนราชการ 51
กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 52
ภาคผนวก ง. ตัวอยา่ งการดำ� เนินการด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน ตามมาตรฐาน 53
กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 54
ตัวอย่างคาสง่ั แต่งต้งั บคุ คล/คณะบคุ คลเพ่อื ดาเนนิ การด้านความปลอดภัยฯ ในสว่ นราชการ คาสงั่ (ช่ือส่วนราชการ/จังหวัด) เรอื่ ง แตง่ ตัง้ คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน โดยท่ีมาตรา ๓ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดล้อมในการทางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้กาหนดให้ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการ ส่วนท้องถิ่น และกิจการอื่นตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง จัดให้มีมาตรฐานในการบริหารและจัดการ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานในหน่วยงานของตนไม่ต่ากว่ามาตรฐาน ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางานตามพระราชบญั ญตั ิ ดงั นัน้ (ชือ่ ส่วนราชการ/จังหวดั ) จึงแต่งตั้งคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ของ (ช่ือส่วนราชการ/จังหวดั ) ดงั นี้ ๑. ................................................................... ประธาน ๒. .................................................................. ผ้แู ทนระดับบังคบั บญั ชา ๓. .................................................................. ผแู้ ทนระดบั บงั คับบัญชา ๔. .................................................................. ผแู้ ทนระดบั บังคบั บัญชา ๕. .................................................................. ผแู้ ทนระดับบังคบั บัญชา ๖. .................................................................. ผแู้ ทนระดับปฏบิ ัติการ ๗. .................................................................. ผู้แทนระดบั ปฏบิ ัติการ ๘. .................................................................. ผแู้ ทนระดับปฏบิ ัติการ ๙. .................................................................. ผู้แทนระดบั ปฏิบัตกิ าร ๑๐. .................................................................. ผ้แู ทนระดบั ปฏบิ ัตกิ าร ๑๑. .................................................................. กรรมการและเลขานุการ โดยคณะกรรมการฯ มีอานาจหน้าท่ดี ังนี้ ๑. พิจ า รณ า น โ ย บ า ยแ ล ะแ ผ น งา น ด้ าน ค วา ม ป ลอ ด ภั ยใ น กา ร ท าง า น รว ม ทั้ ง ความปลอดภยั นอกงานเพ่ือปอ้ งกันและลดการเกิดอุบตั ิเหตุ การประสบอันตราย การเจ็บป่วยหรือการเกิดเหตุ เดอื ดรอ้ นราคาญอันเน่ืองจากการทางาน หรอื ความไม่ปลอดภยั ในการทางานเสนอตอ่ ผู้บังคับบัญชา 55
กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน -๒- ๒. รายงานและเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้องตามกฎหมาย เก่ียวกับความปลอดภัยในการทางาน และมาตรฐานความปลอดภัยในการทางานต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อความ ปลอดภยั ในการทางานของเจ้าหน้าที่ ลูกจ้าง ผู้รับเหมา และบุคคลภายนอกที่เข้ามาปฏิบัติงานหรือเข้ามาใช้ บรกิ ารใน (ชื่อส่วนราชการ) ๓. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ กิจกรรมด้านความปลอดภัยในการทางานของ (ช่อื ส่วนราชการ) ๔. พจิ ารณาข้อบังคบั และคู่มือตามมาตรฐานด้านความปลอดภัยในการทางานของหน่วยงาน เสนอตอ่ ผ้บู งั คับบญั ชา ๕. จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย สภาพแวดล้อม ในการทางานเปน็ ประจาอย่างต่อเนอื่ ง ๖. สารวจการปฏิบัติด้านความปลอดภัยในการทางาน และตรวจสอบสถิติการประสบอันตราย ทเ่ี กดิ ข้ึนใน (ชอ่ื ส่วนราชการ) ๗. พิจารณาโครงการหรือแผนการฝึกอบรมเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางาน รวมถึง โครงการหรือแผนการฝึกอบรมเกี่ยวกับบทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบในด้านความปลอดภัยของ เจ้าหน้าท่ี ลกู จา้ ง หัวหน้างาน ผบู้ รหิ าร ผู้บังคับบญั ชา และบคุ ลากรทกุ ระดบั เพ่ือเสนอความเหน็ ต่อผ้บู ังคับบัญชา ๘. จัดทาระบบการรายงานสภาพการทางานที่ไม่ปลอดภัยให้เป็นหน้าที่ของเจ้าหน้าท่ีทุกคน ทุกระดบั ต้องปฏิบตั ิ ๙. ติดตามผลความคบื หน้าเรอ่ื งที่เสนอผบู้ งั คบั บัญชา ๑๐. รายงานผลการปฏิบัติงานประจาปี รวมท้ังระบุปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะใน การปฏิบัติหน้าท่ีของคณะกรรมการเมื่อปฏบิ ตั หิ นา้ ทีค่ รบหน่งึ ปี เพอ่ื เสนอตอ่ ผบู้ งั คับบัญชา ๑๑. ประเมนิ ผลการดาเนนิ งานด้านความปลอดภัยในการทางานของ (ช่ือส่วนราชการ/จังหวัด) ๑๒. ปฏบิ ตั งิ านด้านความปลอดภัยในการทางานอน่ื ตามท่ีผู้บังคับบัญชามอบหมาย ทั้งนี้ ให้ปฏิบัติหน้าท่ีคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมใน การทางาน ตั้งแตว่ นั ท่ี พฤศจกิ ายน ๒๕๕๕ จนถึงวันท่ี พฤศจกิ ายน ๒๕๕๗ ส่ัง ณ วันท่ี พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๕ 56
-ตตัววั ออยยา่่างง- ประกาศ (ช่ือส่วนราชการ/จังหวัด) เร่อื ง นโยบายความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน ------------------ โดยท่มี าตรา ๓ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้กาหนดให้ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถ่ิน และกิจการ อื่นตามที่กาหนดในกฎกระทรวง จัดให้มีมาตรฐานในการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานในหน่วยงานของตนไม่ต่ากว่ามาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอ้ มในการทางานตามพระราชบญั ญตั ิ ดังนัน้ (ชื่อส่วนราชการ/จังหวดั ) จึงประกาศนโยบายความปลอดภัยอาชีวอนามัยและ สภาพแวดล้อมในการทางานของ (ชือ่ สว่ นราชการ/จงั หวดั ) ดงั น้ี ๑. ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ถือเป็นหน้าที่รับผิดชอบในการ ปฏบิ ัติงานของเจา้ หนา้ ทที่ กุ คน ๒. (ช่ือสว่ นราชการ/จังหวัด) จะสนับสนุนการออกประกาศ กฎระเบียบ ข้อบังคับ และแนวปฏิบัติ ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานที่เหมาะสมและสอดคล้องกับมาตรฐาน ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ๓. (ช่ือส่วนราชการ/จังหวัด) จะดาเนินการ และสนับสนุนให้มีการปรับปรุงสภาพการทางาน และสภาพแวดล้อมในการทางานที่ปลอดภัย ๔. ผู้บังคับบัญชาในทุกระดับพึงกระทาตนให้เป็นแบบอย่างที่ดีต่อ บุคลากรในสังกัด และปฏิบัตติ ามกฎความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางานอยา่ งเคร่งครดั ๕. บุคลากรทุกคนต้องคานึงถึงความปลอดภัยของตนเอง เพ่ือนร่วมงาน และทรัพย์สิน ทางราชการเป็นสาคญั ตลอดระยะเวลาที่ปฏบิ ัตงิ าน ๖. บุคลากรทุกคนต้องให้ความร่วมมือในการดาเนินโครงการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ของ (ช่อื สว่ นราชการ/จงั หวดั ) พรอ้ มท้ังรว่ มเสนอความคิดเห็น ในการปรับปรุงสภาพการทางานและวิธีการทางาน ท่ปี ลอดภัย ๗. บุคลากรทุกคนต้องปฏิบัติตามมาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางาน และข้อกาหนดตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วข้องอย่างเครง่ ครดั 57
กรมสวัสดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน ๘. (ช่ือส่วนราชการ/จังหวัด) จะจัดให้มีการฝึกอบรมด้านความปลอดภัยในการทางานสาหรับ บุคลากร ตามลักษณะของงานท่ีปฏิบัติ โดยระบุอยู่ในแผนงานด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางาน ๙. หน่วยงานราชการท่ีเก่ียวข้อง ต้องกาหนดมาตรการป้องกันและควบคุมอันตรายภายใน (ช่ือส่วนราชการ/จังหวัด) พร้อมกันนี้บุคลากรทุกคนต้องศึกษาและเรียนรู้มาตรการป้องกันต่างๆ ของหน่วยงาน ราชการอย่างถกู ต้อง ๑๐. (ชื่อส่วนราชการ/จังหวัด) จะจัดให้มีการตรวจความปลอดภัยภายในหน่วยงาน โดยกาหนดแบบตรวจและบุคลากรในการตรวจสอบ ซ่ึงบุคลากรทุกคนพึงปฏิบัติตาม และหากมีข้อบกพร่องต้อง แก้ไขปรบั ปรงุ ใหถ้ ูกตอ้ งและปลอดภัย ๑๑. หากในกรณีท่ี (ช่ือส่วนราชการ/จังหวัด) มีการว่าจ้างผู้รับเหมาช่วงมาดาเนินการในขั้นตอนใด ขั้นตอนหนึ่งของการดาเนินงาน (ชื่อส่วนราชการ/จังหวัด) จะต้องจัดให้มีการควบคุมดูแลความปลอดภัย และกากับ ใหผ้ ้รู บั เหมาช่วง ยดึ ถือนโยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทางานของหน่วยงาน ราชการน้นั ๑๒. (ชื่อสว่ นราชการ/จงั หวดั ) จะจดั ให้มกี ารตรวจสอบ และตดิ ตามผลการดาเนนิ งานความปลอดภัย ในการทางานของส่วนราชการอย่างสมา่ เสมอ ๑๓. (ชื่อส่วนราชการ/จังหวัด) จะจัดให้มีระบบรายงานอุบัติเหตุ และการสอบสวน วิเคราะห์ อุบัตเิ หตุในหนว่ ยงาน ๑๔. (ชื่อส่วนราชการ/จังหวัด) จะสนับสนุนการรณรงค์ส่งเสริมความปลอดภัยในการทางาน และให้มีกิจกรรมด้านความปลอดภัยท่ีจะช่วยกระตุ้นจิตสานึกของบุคลากร เช่น การประชาสัมพันธ์ การแข่งขัน ดา้ นความปลอดภัย เป็นต้น ๑๕. บคุ ลากรทุกคนต้องดแู ลความสะอาด และความเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ยภายในหนว่ ยงาน ๑๖. (ช่อื ส่วนราชการ/จงั หวดั ) จะจดั ใหม้ ีการประเมินผลการปฏบิ ตั ิตามนโยบายทกี่ าหนดไว้ขา้ งตน้ ประกาศ ณ วนั ท่ี ....................เดอื น ................................... พ.ศ. ................ (ลงชือ่ ) ................................................ (พมิ พช์ อ่ื เตม็ ) (ตาแหนง่ ) 58
ตวั อยา่ ง การจดั ทาแผนงานหลกั ดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางานของหน่วยงานราชการ เดือน งบประมาณ ผรู้ บั ผิดชอบ ลาดบั กิจกรรม ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย 1 แตง่ ต้งั บุคคล หรือคณะบคุ คลเพ่ือดาเนินการดา้ นความปลอดภยั ฯ 2 ทบทวนสถานะการดาเนินการดา้ นความปลอดภยั ฯ ตามมาตรฐาน 3 จดั ทานโยบายดา้ นความปลอดภยั ฯ 4 นาผลการทบทวนสถานะฯ มาประเมนิ เพ่ือจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา 5 จดั ทาแผนงาน งบประมาณ การดาเนินการดา้ นความปลอดภยั ฯ 6 จดั ทาทะเบียนกฎหมาย/มาตรฐาน ท่ีเกี่ยวของ 7 จดั ทากฎระเบียบ มาตรฐานดา้ นความปลอดภยั ฯ ของส่วนราชการ 8 จดั การฝึกอบรมผบู้ ริหาร หวั หนา้ งาน และเจา้ หนา้ ท่ี 9 จดั ใหม้ ีสญั ลกั ษณ์เตือนอนั ตราย และเคร่ืงหมายเกี่ยวกบั ความปลอดภยั ฯ 10 จดั และดูแลใหม้ กี ารใชอ้ ุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภยั ส่วนบุคคล 11 จดั ทาแผนป้ องกนั และระงบั อคั คภี ยั 12 ฝึกซอ้ มดบั เพลิงและฝึกซอ้ มอพยพหนีไฟ อยา่ งนอ้ ยปี ละ ๑ คร้ัง 13 สารวจ/ตรวจสอบ เพื่อประเมินสภาพการทางานที่อาจจะกอ่ ใหเ้ กิดอนั ตราย 14 ปรับปรุงสภาพอนั ตรายท่ีพบจากการสารวจ/ตรวจสอบ 15* จดั เกบ็ ขอ้ มลู การประสบอนั ตรายจากการทางาน 16* ตรวจวดั สภาพแวดลอ้ มการทางานตามปัจจยั เสี่ยง 17* ตรวจสุขภาพบคุ ลากรที่ทางานเก่ียวขอ้ งกบั ปัจจยั เส่ียง 18* จดั หาอุปกรณ์และเวชภณั ฑเ์ พ่ือปฐมพยาบาลบุคลากรท่ีทางานที่มคี วามเสี่ยง 19* จดั ทา ตดิ ต้งั เครื่องป้ องกนั อนั ตรายสาหรับเคร่ืองจกั ร 20* ตรวจสอบ/รับรองความปลอดภยั ของเคร่ืองจกั ร/ป้ันจน่ั /หมอ้ น้า/ลิฟท/์ นงั่ ร้าน/ 21* จดั ทามาตรฐานการปฏิบตั งิ านท่ีปลอดภยั หรือข้นั ตอนการปฏิบตั งิ านท่ี 22 ประเมนิ ผลการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั ฯ ประจาปี งบประมาณ และจดั ทา 59 หมายเหตุ 1. สามารถปรับเปล่ียนไดต้ ามความเหมาะสมของแต่ละหน่วยงาน 2. * อาจพจิ ารณากาหนดในแผนเฉพาะกรณีหน่วยงานที่มีปัจจยั เส่ียงเฉพาะที่เกี่ยวขอ้ ง
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ตัวอย่างกฎ ระเบยี บ มาตรฐานด้านความปลอดภยั ในการทางาน มาตรฐานในการทางานสาหรับพนกั งานขบั รถยนต์ พนกั งานขบั รถทาหน้าทใี่ หบ้ รกิ ารขบั รถยนต์ราชการสาหรบั บุคลากรในหนว่ ยงานราชการ เพื่อให้เกิด ความปลอดภัยทั้งแก่ผู้รับบริการ ตัวพนักงานขับรถยนต์ รวมท้ังประชาชนท่ีจะได้รับผลกระทบเม่ือเกิดอุบัติเหตุ ดังนนั้ จึงไดก้ าหนดขน้ั ตอนการปฏิบตั งิ านเพือ่ ความปลอดภัยสาหรบั พนกั งานขบั รถยนต์ ดังน้ี ๑. ตรวจเช็ดสภาพเคร่ืองยนต์ก่อนออกรถ หากพบข้อบกพร่องและหากเห็นว่าข้อบกพร่องนี้มีอันตราย ต่อการใหบ้ รกิ ารตอ้ งไม่นารถออกใหบ้ รกิ ารใหแ้ จง้ ผ้บู งั คบั บญั ชาในทันที และทาการแก้ไขโดยดว่ น ๒. ทาความสะอาดรถยนต์ทั้งภายในและภายนอก โดยกระทาภายในพนื้ ท่ีทห่ี นว่ ยงานกาหนดให้เท่านั้น ๓. ลงข้อมูลในตารางการใช้รถก่อนนารถยนต์ไปใหบ้ ริการ ณ จุดปล่อยรถยนต์ ๔. ในระหวา่ งการให้บริการพนักงานขบั รถยนต์ตอ้ งปฏบิ ัติ ดังนี้ ๔.๑ ขับรถยนต์ในอตั ราความเร็วตามที่หนว่ ยงานกาหนด ( ใช้ความเรว็ ไม่เกิน ๘๐ กม. / ชัว่ โมง ) ๔.๒ ขบั ชิดซ้ายตลอดเสน้ ทาง ๔.๓ หยุดรถทุกคร้ังเมื่อถึงทางแยก หรือทางเล้ียว ตรวจสอบให้แน่ใจว่าปลอดภัยจึงออกรถไปด้วย ความนมุ่ นวล ๔.๔ ขบั รถดว้ ยมารยาทที่ดี และมีน้าใจใหก้ ับผใู้ ชถ้ นนอ่ืน และผ้โู ดยสารทุกคน ๔.๕ ให้บริการในจุดจอดรับ – ส่งเท่าน้ัน ส่วนในการให้บริการนอกจุดจอดนั้นขอให้อยู่ในดุลยพินิจ ของพนักงานขบั รถยนต์ ใหจ้ อดรบั – สง่ ได้ตามความเหมาะสม ๔.๖ ก่อนการออกรถต้องตรวจสอบให้แนใ่ จก่อนวา่ ผ้โู ดยสารได้ข้ึน หรือลงจากรถเรียบร้อยแล้ว และ ตอ้ งแนใ่ จไมม่ ผี โู้ ดยสารวิง่ ตามรถ ๔.๗ หากมีเหตุอันใดที่ต้องพูดคุย หรือแจ้งข้อขัดข้องกับผู้โดยสาร ต้องใช้วาจา และท่าทางท่ีสุภาพ ไมแ่ สดงกริยาท่ีไม่ดีกับผ้โู ดยสาร ไม่ว่าตนเองนน้ั จะถกู หรอื ผดิ ๔.๘ ไม่ใช้โทรศัพทม์ อื ถอื ในขณะใหบ้ รกิ าร ๔.๙ ไมส่ ูบบุหรี่ ไม่เสพสงิ่ มนึ เมา หรือส่งิ เสพติดใด ๆ ในระหว่างปฏบิ ัตงิ าน ๔.๑๐ เชอ่ื ฟงั คาส่งั ของผู้บังคับบญั ชา อยา่ งเครง่ ครัด ๔.๑๑ ขับรถตามเวลา และเส้นทางท่ีผู้ขอใช้บริการ หรือผู้บังคับบัญชากาหนดไว้เท่านั้น และต้อง ให้บริการถงึ ปลายทาง ๕. เมอ่ื หมดเวลาให้บรกิ ารให้ตรวจสอบความสะอาดของรถยนต์ และลงขอ้ มลู การใช้รถยนต์ ๖. นารถยนต์ไปจัดเก็บ ณ สถานที่ ทีก่ าหนดไวเ้ ท่านั้น 60
การดแู ลรกั ษารถยนต์เบ้ืองต้น พนักงานขับข่ีรถยนตจ์ ะต้องใหค้ วามสนใจเอาใจใส่เกี่ยวกบั เคร่ืองยนต์ของรถยนต์ราชการอย่เู สมอ ดังนี้ ๑. เปล่ยี นนา้ มันเครื่องทกุ ๕,๐๐๐ กโิ ลเมตร ส่วนไส้กรองน้ามันเคร่ืองเปลยี่ นทุก ๑๐,๐๐๐ กโิ ลเมตร ๒. ใช้น้ามนั เชอ้ื เพลิงให้ถกู ต้องตามกาหนดใหไ้ ดต้ ามคู่มือ เช่น อ๊อกเทน ๙๑ ,๙๕ ควรใช้ให้ถูกต้อง ๓. ตรวจดูระดบั น้าในหม้อนา้ บอ่ ยๆ อยา่ งน้อยอาทิตย์ละครั้ง ๔. ตรวจดูลมยางให้ได้ความดันตามท่ีกาหนดในคู่มือ ตรวจดูบ่อยตามความจาเป็นในการเดิน ทางไกลหรอื การบรรทกุ นา้ หนัก ซึ่งจะกาหนดว่านา้ หนักเท่าไรควรเติมความดันเท่าไร ๕. เปลี่ยนหัวเทยี นทกุ ๆระยะ ๑๕,๐๐๐ – ๒๐,๐๐๐ กิโลเมตร ๖. ตรวจดูไส้กรองอากาศว่าสะอาดดีหรือไม่ มีรูหรือไม่ เพราะถ้ามีรูแม้เท่าปลายดินสอ ถ้าขับรถยนต์ไป ในทมี่ ฝี นุ่ มากๆ ฝุ่นจะเข้าไปทาไหเ้ ครือ่ งยนตส์ ึกหรอเร็วกวา่ กาหนด ๗. ตรวจดูมาตรวัดต่างๆที่จาเป็น ว่ายังใช้งานได้ดีหรือไม่ เพราะสามารถบอกความผิดพลาดของ รถยนต์ไดเ้ ปน็ อย่างดี ๘. ตรวจดูน้ากลั่นในแบตเตอรี่ว่าอยู่ในระดับหรือไม่ ดูได้จากด้านข้างของหม้อแบตเตอรี่จะมีขีด กาหนดอยู่ ๒ ขีดคือ ขีดบนและขีดล่าง อย่าไห้ระดับน้ากล่ันต่ากว่าขีดล่างเพราะจะทาไห้แบตเตอร่ีเสียได้ และอย่าเติมไห้เกินกว่าขีดบน เพราะตอนเราใช้งานน้ากล่ันจะทาปฏิกิริยาเกิดเป็นกรด หากหกเลอะ ออกมาโดนตัวรถจะทาไห้รถเราผไุ ด้ ๙. สงั เกตเสียงทเี่ กิดขนึ้ ขณะใชง้ าน เพราะมันจะเปน็ ตัวบอกเหตไุ ห้เราได้รวู้ ่า มีสิ่งใดในรถยนต์ ของเราเกิดการเสียหายได้ กอ่ นท่จี ะเสียมากข้ึน ๑๐. สังเกตพื้นทีเ่ ราจอดรถยนต์ไว้ วา่ มีน้าหรือน้ามันเครื่องหยดลงมาเลอะพ้ืนหรือไม่ แล้วดูว่าหยด ลงในตาแหนง่ ใด จะบอกเราได้ว่าส่วนใดของรถท่ีเกดิ การสึกหรอแลว้ รัว่ ซมึ ๑๑. เปล่ียนถา่ ยนา้ มันเกียรแ์ ละนา้ มนั เฟอื งทา้ ย ตามกาหนดที่คูม่ ือกาหนดไว้ ๑๒. ตรวจดนู ้ามนั เบรคท่อี ยใู่ นกระป๋องวา่ ยบุ เรว็ กวา่ ปกตหิ รอื ไม่ หากยุบเร็วอาจเกิดการรว่ั ซึมที่ใดก็ได้ ๑๓. ตรวจดรู ะบบไฟในรถยนต์ว่ายงั ใช้การไดด้ ีอยู่ 61
กรมสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงาน ตัวอย่างหวั ข้อการฝกึ อบรมดา้ นความปลอดภัยในการทางาน สาหรบั ผบู้ รหิ าร หวั หน้างาน และบคุ ลากรทุกคน หวั ขอ้ การฝกึ อบรมดา้ นความปลอดภัยในการทางานสาหรบั ผูบ้ รหิ าร ๑. การบริหารงานความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ประกอบด้วยหวั ขอ้ (ก) การควบคุมความสญู เสียจากอุบัตเิ หตแุ ละโรคจากการทางาน (ข) บทบาทหนา้ ท่ีของผูบ้ ริหารเกยี่ วกบั ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน ๒. มาตรฐานความปลอดภัยที่กาหนดในกฏหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางาน และการนาไปปฏิบตั ิ ๓. ระบบการจดั การดา้ นความปลอดภัยในการทางาน ประกอบดว้ ยหัวขอ้ (ก) แนวคิดการจดั การความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (ข) ระบบการจดั การความปลอดภัยในการทางาน (ค) การประยกุ ต์ใชร้ ะบบการจดั การความปลอดภัยในการทางานในสถานประกอบกจิ การ หวั ข้อการฝกึ อบรมด้านความปลอดภยั ในการทางานสาหรับหัวหนา้ งาน ๑. ความร้เู กี่ยวกับความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน และบทบาทหน้าที่ ของหัวหน้างาน ประกอบด้วยหัวข้อ (ก) ความรเู้ ก่ยี วกบั ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (ข) บทบาทหน้าท่ีของหัวหน้างานเกี่ยวกับความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ๒. มาตรฐานความปลอดภัยที่กาหนดในกฏหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางาน และการนาไปปฏิบัติ ๓. การค้นหาอันตรายจากการทางาน ประกอบด้วยหวั ข้อ (ก) การตรวจความปลอดภัย (ข) การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย และการเฝา้ สงั เกตงาน (ค) การสอบสวนและการรายงานอบุ ัติเหตุ ๔. การป้องกนั และควบคมุ อนั ตรายตามความเสยี่ งท่ีเกยี่ วขอ้ งของสว่ นราชการ อาจประกอบดว้ ยหัวข้อ (ก) การป้องกันและควบคมุ อนั ตรายจากเครอื่ งจกั ร (ข) การป้องกันและควบคุมอนั ตรายจากไฟฟา้ (ค) การปอ้ งกันและควบคุมอนั ตรายจากการเคลอื่ นยา้ ยและการจัดเกบ็ วัสดุ (ง) การปอ้ งกันและระงบั อคั คีภัยในสถานประกอบกจิ การ (จ) การป้องกันและควบคมุ อันตรายจากส่งิ แวดลอ้ มในการทางาน (ฉ) การป้องกันและควบคมุ อันตรายจากสารเคมี 62
-๒- (ช) การป้องกนั และควบคุมปัญหาดา้ นการยศาสตร์ (ซ) การป้องกันและควบคุมอันตรายในงานก่อสรา้ ง (ฌ) การใช้อปุ กรณค์ ้มุ ครองความปลอดภยั สว่ นบุคคล หัวข้อการฝกึ อบรมด้านความปลอดภยั ในการทางานสาหรบั บุคลากรผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ๑. ความรูเ้ ก่ียวกบั ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ๒. มาตรฐานความปลอดภัยท่ีกาหนดในกฏหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางานและการนาไปปฏบิ ัติ ๓. ปจั จยั เสย่ี งจากการทางานทม่ี ใี นสว่ นราชการ ๔. ข้อบังคบั ว่าด้วยความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางานของส่วนราชการ 63
กรมสวัสดกิ ารและคุ้มครองแรงงาน ตัวอยา่ งสัญลกั ษณ์เตอื นอันตรายและเครื่องหมายเกี่ยวกบั ความปลอดภยั 64
ตัวอย่างแบบรายงานและสอบสวนการเกดิ อบุ ัติเหตุ/อุบัติการณ์ ผเู้ ขียนรายงาน ตาแหน่ง วนั ทเ่ี ขียนรายงาน....................... 1 : ขอ้ มลู ส่วนตวั ผไู้ ดร้ บั บาดเจบ็ ชอ่ื -สกุล (Name – Surname) ฝา่ ย/สว่ น อายงุ าน เดือน / ปี หน้าท่ที ร่ี บั ผดิ ชอบ เดอื น / ปี 2 : ขอ้ มูลการเกดิ อุบตั เิ หตุ วนั ท่เี กดิ อุบตั เิ หตุ ระยะเวลาการทางาน ภารกจิ ในขณะเกดิ อุบตั เิ หตุ อวัยวะท่ไี ดร้ บั บาดเจ็บ เวลาท่ีเกดิ จานวนวนั ทห่ี ยุดงานจรงิ เคร่ืองจกั ร/เครื่องมือ/อุปกรณ์ทเี่ กย่ี วขอ้ ง รายละเอียดการรกั ษา วนั พยานผพู้ บเห็นเหตุการณ์ 3 : การประเมนิ ความรนุ แรงของอบุ ตั เิ หตุ อบุ ตั ิเหตใุ นงาน ทรัพย์สนิ เสียหาย เหตุการณเ์ กือบเกดิ อุบตั เิ หตุ อบุ ตั ิเหตนุ อกงาน ความรุนแรง มูลค่าความเสยี หาย เหตกุ ารณเ์ กือบเกดิ อบุ ตั เิ หตุกบั พนกั งาน ไมห่ ยดุ งาน มีมลู คา่ ไม่เกนิ 10,000 บาท เหตกุ ารณเ์ กอื บเกดิ อบุ ัตเิ หตุกบั ทรพั ย์สนิ มีมูลค่า 10,000 – 100,000 บาท หยุดงานไมเ่ กิน 3 วนั มมี ูลคา่ มากกวา่ 100,000 บาท หยดุ งานเกิน 3 วัน สญู เสยี อวยั วะ, ทุพพลภาพ เสียชีวิต รายละเอียดของอบุ ัตเิ หตทุ เ่ี กดิ ข้นึ 65
กรมสวสั ดกิ ารและค้มุ ครองแรงงาน 4 : การวิเคราะหส์ าเหตุการเกดิ อุบตั ิเหต/ุ อบุ ตั กิ ารณ์ วิเคราะหส์ าเหต/ุ (Accident Analysis) 1. การกระทาทไ่ี มป่ ลอดภยั (Unsafe Act) ปฏิบัตงิ านโดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต การจัดวางทา่ ทางการปฏบิ ตั งิ านไม่ปลอดภัย ปฏิบัติงานผดิ ขั้นตอน ยกเคล่อื นย้าย จับยึด ไมถ่ ูกต้อง หรือไมป่ ลอดภยั ไมส่ วมอปุ กรณป์ ้องกนั อันตรายสว่ นบุคคล ใชอ้ ุปกรณ์ปอ้ งกันอันตรายสว่ นบุคคลไม่ถกู ตอ้ งหรือไม่เหมาะสม ไมใ่ ชเ้ คร่ืองมอื หรืออุปกรณท์ ก่ี าหนด ใช้เคร่ืองมือไมถ่ ูกวธิ ี เลน่ หยอกลอ้ ในขณะปฏิบตั งิ าน ความไมเ่ อาใจใสใ่ นงาน ความพลั้งเผลอเหมอ่ ลอย การไม่ปฏิบตั ติ ามกฎระเบยี บความปลอดภยั การแตง่ กายไมเ่ หมาะสม การทางานโดยทรี่ า่ งกายหรอื จติ ใจไมพ่ รอ้ มหรือผดิ ปกติ การมที ัศนคติทไี่ ม่ถกู ต้องต่อการทางาน อ่ืนๆ 2. สภาพการทางานที่ไม่ปลอดภยั (Unsafe Condition) อปุ กรณ์ เครื่องจักร เครื่องมือชารดุ ระบบไฟฟา้ หรอื อุปกรณ์ไฟฟา้ ชารดุ หรือบกพรอ่ ง วัสดุอปุ กรณว์ างไมเ่ ปน็ ระเบยี บ วธิ กี ารทางานไม่ปลอดภยั สถานที่ทางานคับแคบหรือจากดั ขาดการอบรม ขาดอปุ กรณ์ปอ้ งกนั อันตรายส่วนบุคคล ขาดอุปกรณ์ปอ้ งกนั อนั ตรายส่วนท่อี นั ตราย หรือส่วนทเี่ คล่ือนไหว สภาพแวดลอ้ มไม่ปลอดภยั เช่น แสง เสียง ความรอ้ นหรืออนื่ ๆ ระบบระบายอากาศไมเ่ หมาะสม ระบบสญั ญาณเตือนอนั ตรายชารดุ หรอื ไมเ่ พียงพอ อ่นื ๆ 66
5 : แนวทางการแก้ไขและปอ้ งกนั ไม่ใหเ้ กดิ ซา้ ก้าหนดแลว้ เสรจ็ ผูร้ บั ผิดชอบ ผมู้ อบหมาย แนวทางการแกไ้ ข กา้ หนดแล้วเสรจ็ ผรู้ บั ผิดชอบ ผู้มอบหมาย มาตรการท่ีจะด้าเนินการ แนวทางปอ้ งกันไมใ่ ห้เกิดซา้ มาตรการท่จี ะด้าเนนิ การ 6 : ข้อเสนอแนะหรอื ข้อคดิ เหน็ ของ คปอ. / คณะบุคคลทรี่ ับผดิ ชอบดา้ เนินการดา้ นความปลอดภัย 7 : การตดิ ตามมาตรการแก้ไขและป้องกนั โดย คปอ. / คณะบคุ คลทร่ี บั ผดิ ชอบดา้ เนนิ การดา้ นความปลอดภัย เสรจ็ เรียบร้อยตามมาตรการทีก่ ้าหนด อยู่ในระหวา่ งการดา้ เนินการหรอื ปรับปรุงเพิ่มเตมิ ใหเ้ ปน็ ไปตามที่กา้ หนด อ่นื ๆ (ถ้ามี) โปรดระบุ วันท่ี / / 67
กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 68
ตัวอยา่ ง แผนป้องกนั และระงบั อคั คภี ยั สาหรับหนว่ ยงานราชการ จัดทาโดย สานกั ความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและค้มุ ครองแรงงาน ๒๒/๒๒ ถนนบรมราชชนนี แขวงฉิมพลี เขตตลงิ่ ชัน กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๗๐ โทรศพั ท์ ๐ ๒๔๔๘ ๙๑๒๘ – ๓๙ WWW.OSHTHAI.ORG 69
กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน แผนการปอ้ งกนั และระงับอคั คภี ัย วตั ถุประสงค์ ๑. เพื่อเปน็ การป้องกันการสูญเสียทงั้ ชีวิตและทรัพยส์ ินจากอัคคภี ัย ๒. เพ่ือสรา้ งความม่ันใจในเรื่องความปลอดภัยต่อบคุ ลากรในหน่วยงานราชการและผรู้ ับบริการ ๓. เพื่อลดอตั ราการเส่ียงต่อการเกดิ เหตุอัคคีภยั ๔. เพื่อสรา้ งทศั นคตทิ ี่ดีต่อบุคลากรในหน่วยงานราชการและผู้รับบรกิ าร แผนปอ้ งกนั และระงบั อคั คภี ยั ประกอบด้วย ๑. แผนการตรวจตรา ๒. แผนการอบรม ๓. แผนการรณรงค์ป้องกนั อคั คีภยั ๔. แผนการดบั เพลงิ ๕. แผนการอพยพหนไี ฟ ๖. แผนบรรเทาทุกข์ ๑. แผนการตรวจตรา เป็นแผนการสารวจความเสี่ยงและตรวจตรา เพื่อเฝ้าระวังป้องกันและขจัดต้นเหตุ ของการเกิดเพลิงไหม้ ก่อนจัดทาแผนต้องมีข้อมูลต่าง ๆ ดังต่อไปน้ี เชื้อเพลิง สารเคมี สารไวไฟ ระบบไฟฟ้า จุดท่ีมีโอกาสเส่ียงต่อการเกิดเพลิงไหม้ และต้องมีการบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับ คุณสมบัติลักษณะการลุกไหม้ ปริมาณของสารอนั ตรายทมี่ อี ยสู่ งู สดุ ชนิดของสารดบั เพลิงและปริมาณท่ีต้องใช้ เพ่ือประกอบการวางแผน การตรวจตรา ต้องกาหนดบุคคล พ้ืนท่ีที่รับผิดชอบ หัวข้อและจุดที่ต้องตรวจ ระยะเวลา ความถี่ ผู้ตรวจสอบรายงาน การสง่ รายงานผล การแจ้งข้อบกพร่องในการตรวจตราทช่ี ัดเจน ตวั อยา่ งของหัวข้อท่ีต้องตรวจตรา เชน่ - จุดท่ีเสย่ี งตอ่ การเกดิ เหตเุ พลิงไหม้ - การใช้ และการเก็บวัตถไุ วไฟ - ของเสยี ติดไฟง่าย - เช้ือเพลงิ - แหล่งความร้อนตา่ ง ๆ - อุปกรณด์ ับเพลิง - ทางหนไี ฟ 70
ตัวอย่างแผนผงั การตรวจตรา ก่อนเขา้ ทางาน ๑๐ นาที ตรวจสถานทตี่ ามที่กาหนด สง่ แบบรายงานท่ฝี า่ ย..... ฝ่าย ..... ตรวจสอบแบบรายงานและสรปุ ผล มีข้อบกพร่อง ไมม่ ีขอ้ บกพร่อง ส่งั แกไ้ ข เกบ็ รวบรวมเอกสาร โดยฝา่ ย... หวั หน้าฝา่ ยท่ีเก่ียวข้อง ส่ังการ พนกั งานที่รับผดิ ชอบ ปรบั ปรุงแก้ไข 71
กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน ๒. แผนการอบรม เป็นการอบรมให้ความรู้ท้ังในเชิงป้องกันและการปฏิบัติเมื่อเกิดเหตุ ซ่ึงการเกิดอัคคีภัย ภายในหน่วยงานราชการ ย่อมนามาซึ่งความสูญเสียต่อหน่วยงานทั้งทางตรงและทางอ้อม ไม่ว่าจะเป็น ทรพั ย์สินเสียหาย การบริการหยุดชะงัก หรืออาจถึงขั้นมีผู้ที่ได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิต ดังนั้นในการป้องกัน และลดความเสี่ยงด้านการเกิดอัคคีภัยจึงจาเป็นต้องจัดให้มีแผนการอบรม โดยกาหนดผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาดาเนินการ และงบประมาณให้ชัดเจน ตัวอยา่ งของหลกั สตู รที่ตอ้ งจัดทาในแผนการอบรม - การจัดฝึกอบรมการดับเพลิงขน้ั ต้นให้กับบุคลากร - การฝึกซอ้ มดบั เพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ ตวั อย่างของหลักสูตรท่ีควรจัดทาในแผนการอบรม - การปฐมพยาบาล - การใชเ้ คร่อื งช่วยหายใจ ๓. แผนการรณรงคป์ ้องกนั อัคคีภยั แผนการรณรงค์ป้องกันอัคคีภัย เป็นแผนเพื่อป้องกันการเกิดอัคคีภัยในหน่วยงานราชการ โดยเป็นการสร้างความสนใจ และส่งเสริมในเรื่องการป้องกันอัคคีภัยให้เกิดขึ้นในทุกระดับของบุคลากร ในแผนการรณรงคป์ อ้ งกันอัคคภี ัยควรกาหนดผรู้ ับผิดชอบ ระยะเวลาดาเนินการ และงบประมาณให้ชัดเจน ตวั อยา่ งหวั ข้อทจี่ ะทาการรณรงคป์ ้องกันอัคคภี ัย เชน่ - ๕ ส. - การลดการสูบบหุ รี่ - การจดั นทิ รรศการ - จัดทาโปสเตอร์ - การใช้ส่อื ต่าง ๆ ๔. แผนการดับเพลิง แผนการดบั เพลิง เป็นแผนปฏิบัติการในการควบคุมเพลิง ณ ขณะเกิดเหตุ โดยเริ่มตั้งแต่เม่ือ มีบุคลากรพบเหตุเพลิงไหม้ ซึ่งหน่วยงานควรกาหนดผู้รับผิดชอบ ขั้นตอนการปฏิบัติ รวมถึงขั้นตอนการ รายงานตามสายการบังคับบญั ชาในแตล่ ะระดบั ใหช้ ดั เจน 72
ตัวอย่างลาดบั ข้นั ตอนการปฏิบตั ิเม่ือบุคลากรพบเหตเุ พลิงไหม้ ผู้อานวยการดับเพลงิ ชอื่ ............................ บคุ ลากรท่ีรบั ผิดชอบ ดา้ นความปลอดภยั รายงาน แจง้ ในการทางาน ผูบ้ ังคบั บญั ชาช้ันเหนอื ขึ้นไป ถา้ ดบั ได้ ใหร้ ายงาน ผบู้ งั คับบัญชาชนั้ ต้น รายงาน ผ้บู งั คับบัญชา ตามลาดบั ข้นั บุคลากร แจ้งเพ่ือนร่วมงาน - ใช้แผนปฏบิ ตั ิการระงบั ผูอ้ านวยการดับเพลงิ ท่ีพบเหตุ หรอื หัวหนา้ งาน เหตุเพลิงไหมข้ ้ันตน้ ชือ่ ............................ เพลงิ ไหม้ และเขา้ ดับเพลงิ ทนั ที - แจ้งประชาสมั พันธ์ ตดั สินใจแจ้งหนว่ ยงาน ถ้าดับไมไ่ ด้ - แจ้งบคุ ลากรทร่ี ับผดิถช้าอดบบั ไม่ได้ ถา้ ดบั ไม่ได้ ดบั เพลิงจากภายนอก ด้านความปลอดภยั รายงาน ในการทางาน 73
ตวั อย่าง การกาหนดบคุ ลากรและหน้าทเ่ี พ่ือระงับเหตเุ พลงิ ไหม้ขั้นต้น กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 74 ฝา่ ย / แผนก........................................................... หัวหน้าชดุ ดบั เพลงิ ข้ันต้น บริเวณ................................................................... ชอ่ื ......................................................................... ชุด......................................................................... บุคลากรที่ปฏิบตั งิ านอ่ืน พนักงานดับเพลิงขั้นตน้ ในขณะเกดิ เพลงิ ไหม้ ผู้รับผดิ ชอบ ๑. ช่อื ...................................................................... ผรู้ ับผิดชอบ ๑. ชือ่ ...................................................................... ๒. ช่อื ...................................................................... ๒. ชอ่ื ...................................................................... ๓. ช่ือ...................................................................... ๓. ชื่อ...................................................................... หน้าที่ ๑. ......................................................................................... หนา้ ที่ ๑. ......................................................................................... ๒. ......................................................................................... ๒. ......................................................................................... ๓. ......................................................................................... ๓. ......................................................................................... หมายเหตุ ๑. บุคลากรท่ปี ฏบิ ตั ิงานอ่ืนในขณะเกดิ เหตเุ พลิงไหม้ เช่น ผคู้ วบคุมไฟฟ้า ๒. หนา้ ที่ใหร้ ะบุตามท่ีกาหนดใหป้ ฏบิ ตั ิงานในขณะเกดิ เพลิงไหม้ เชน่ ควบคุมไฟฟ้า
๕. แผนอพยพหนีไฟ แผนอพยพหนีไฟนั้นกาหนดข้ึนเพ่ือความปลอดภัยของบุคลากรของหน่วยงานราชการ ชีวิต และทรัพยส์ นิ ของหน่วยงานราชการในขณะเกดิ เพลงิ เหตไุ หม้ แผนอพยพหนีไฟท่ีกาหนดขึ้นนั้น มีองค์ประกอบต่างๆ เช่น ผู้ตรวจสอบจานวน ผู้นาทางหนีไฟ จุดนัดพบ หน่วยช่วยชีวิต และยานพาหนะ ฯลฯ ควรได้กาหนดผู้รับผิดชอบในแต่ละหน่วยงาน โดยข้นึ ตรงตอ่ ผู้อานวยการอพยพหนีไฟหรือผู้อานวยการดับเพลิง ดงั น้ี - ผ้อู านวยการอพยพหนีไฟหรือผ้อู านวยการดับเพลงิ ชอื่ ...................................................... - ผชู้ ว่ ยผอู้ านวยการอพยพหนีไฟหรือผู้ช่วยผูอ้ านวยการดับเพลิง ชือ่ ...................................................... ในแผนดังกล่าวควรกาหนดใหม้ กี ารปฏิบัตดิ ังน้ี (๑) ผูน้ าทางหนีไฟ จะเปน็ ผนู้ าทางบคุ ลากรอพยพหนไี ฟไปตามทางออกทจี่ ดั ไว้ (๒) จุดนัดพบหรือเรียกอีกอย่างว่า “จุดรวมพล” จะเป็นสถานที่ท่ีปลอดภัย ซึ่งบุคลากร สามารถที่จะมารายงานตัวและทาการตรวจสอบนับจานวนได้ (๓) ผู้ตรวจสอบจานวนบุคลากร ผู้จัดเคล่ือนย้ายเอกสารสาคัญ มีหน้าที่ตรวจนับจานวน บุคลากรว่ามีการอพยพหนีไฟออกมายังบริเวณที่ปลอดภัยครบทุกคนหรือไม่ หากพบว่าบุคลากรอพยพหนีไฟ ออกมาไม่ครบตามจานวนจริง ซึ่งหมายถึงยังมบี ุคลากรตดิ อยู่ในพนื้ ทที่ ี่เกดิ อคั คีภัย (๔) หน่วยช่วยชีวิต (ถ้ามี) และยานพาหนะ จะเข้าค้นหาและทาการช่วยชีวิตบุคลากรที่ยังติด ค้างอยู่ในอาคารหรือในพ้ืนที่ท่ีได้เกิดอัคคีภัย รวมถึงกรณีของบุคลากรที่ออกมาอยู่ท่ีจุดรวมพลแล้วมีอาการ เป็นลม ช็อคหมดสตหิ รือบาดเจ็บ เป็นต้น หนว่ ยช่วยชีวิตและยานพาหนะจะทาการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ติดตอ่ หน่วยยานพาหนะใหใ้ นกรณที พี่ ยาบาลหรอื แพทยพ์ ิจารณาแลว้ ตอ้ งนาสง่ โรงพยาบาล 75
กรมสวสั ดิการและค้มุ ครองแรงงาน ตวั อยา่ ง แผนอพยพหนีไฟ ผ้อู านวยการ หรอื ผู้ชว่ ยผู้อานวยการดบั เพลงิ สง่ั ใชแ้ ผนอพยพหนไี ฟไปยงั ประชาสมั พนั ธ์ ประชาสัมพันธป์ ระกาศพร้อมกดสัญญาณ เตือนภัย ผู้นาทางจะถอื สัญญาณธงนาบุคลากร ออกจากพนื้ ที่ปฏิบัตงิ านตามชอ่ งทางที่กาหนด ผู้นาทางนาบคุ ลากรไปยงั จุดรวมพล ผนู้ าทาง & ผ้ตู รวจสอบยอดบคุ ลากร รบี นาผ้ปู ว่ ยหรอื ผ้ตู รวจสอบยอดแจ้งต่อผูอ้ านวยการ ผ้บู าดเจบ็ หรือผู้ช่วยผูอ้ านวยการดับเพลิง ณ จดุ รวมพล สง่ หนว่ ยพยาบาลหรอื ครบ ไมค่ รบ สถานพยาบาล ใกล้เคยี ง ผู้อานวยการหรอื ผู้ชว่ ยผูอ้ านวยการ ผอู้ านวยการหรือผูช้ ว่ ย ดับเพลิง แจ้งให้บคุ ลากรอยใู่ นจุดรวมพล ผู้อานวยการดับเพลิงสง่ั หนว่ ยงาน 76 จนกวา่ เหตุการณ์สงบ ช่วยชีวิตคน้ หา (ถา้ ม)ี หรือหน่วยงานดับเพลงิ จาก ภายนอกเขา้ ค้นหา รายงานผลให้ ผอู้ านวยการหรอื ผู้ช่วยผอู้ านวยการ ทราบ
๖. แผนบรรเทาทกุ ข์ แผนบรรเทาทกุ ขจ์ ะประกอบด้วยหัวข้อต่าง ๆ ดังน้ี ๑. การประสานงานกบั หน่วยงานต่างๆ ๒. การสารวจความเสียหาย ๓. การรายงานตัวของบุคลากรทุกฝา่ ยและกาหนดจุดนดั พบเพอื่ รอรับคาสัง่ ๔. การช่วยชวี ิตและขุดค้นหาผู้เสยี ชีวิต ๕. การเคลอ่ื นยา้ ยผูป้ ระสบภัย ทรัพยส์ นิ และผู้เสียชีวิต ๖. การประเมินความเสยี หาย ผลการปฏิบตั ิงานและรายงานสถานการณ์เพลิงไหม้ ๗. การชว่ ยเหลอื สงเคราะหผ์ ู้ประสบภัย (ถ้าม)ี ๘. การปรับปรงุ แกไ้ ขปญั หาเฉพาะหน้าเพื่อให้งานสามารถดาเนินการไดโ้ ดยเรว็ ที่สุด ตวั อย่างการกาหนดหน้าที่รับผิดชอบของผู้ปฏิบตั ิการในแผนบรรเทาทกุ ข์ หนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ ผู้ปฏบิ ตั ิ ๑. การประสานงานกับหน่วยงานตา่ งๆ หัวหน้าทีม........................................................................... บคุ ลากรรว่ มทมี ................................................................... ๒.การสารวจความเสียหาย หวั หน้าทีม........................................................................... บคุ ลากรรว่ มทมี ................................................................... ๓. การรายงานตัวของบุคลากรทุกฝา่ ยและกาหนด หัวหน้าทมี ........................................................................... จดุ นัดพบของบุคลากร บุคลากรร่วมทมี ................................................................... หัวหนา้ ทมี ........................................................................... ๔. การชว่ ยชวี ิตและคน้ หาผู้ประสบภยั (ถา้ มี) บคุ ลากรร่วมทีม................................................................... หวั หนา้ ทมี ........................................................................... ๕. การเคลื่อนยา้ ยผู้ประสบภัย ทรัพย์สินและผู้เสยี ชีวติ บุคลากรรว่ มทีม................................................................... หวั หน้าทีม........................................................................... ๖. การประเมนิ ความเสียหาย ผลการปฏบิ ัติงาน และ บุคลากรรว่ มทมี ................................................................... การรายงานสถานการณเ์ พลิงไหม้ หวั หนา้ ทมี ........................................................................... บคุ ลากรร่วมทีม................................................................... ๗. การชว่ ยเหลือ สงเคราะหผ์ ูป้ ระสบภัย หวั หนา้ ทมี ........................................................................... บุคลากรร่วมทีม................................................................... ๘. การปรบั ปรงุ แก้ไขปญั หาเฉพาะหนา้ เพ่ือให้งาน สามารถดาเนนิ การไดโ้ ดยเรว็ ท่ีสุด 77
กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน แบบตรวจสอบความปลอดภัยฯ เก่ียวกับอคั คภี ยั สาหรบั หนว่ ยงานราชการ หัวข้อการสารวจ ใช่ ไมใ่ ช่ ไมเ่ กย่ี วข้อง หมายเหตุ ๑. มีป้ายข้อปฏิบตั ิเก่ียวกบั การดบั เพลิงและการอพยพ หนไี ฟ และปดิ ประกาศให้เห็นได้อย่างชดั เจน ๒. มแี ผนปอ้ งกนั และระงับอัคคีภัยประจาหน่วยงาน ๓. วัตถุซง่ึ เม่อื รวมกนั แล้วอาจก่อให้เกิดการลกุ ไหม้ มีการแยกเก็บโดยไมป่ ะปนกนั ๔. วัตถุซงึ่ สามารถอุ้มนาหรอื ซบั นาได้มาก มีการจัดเก็บไว้ บนพืนของอาคารซึ่งสามารถรองรับนาหนกั ที่เพ่ิมขนึ ได้ ๕. มเี สน้ ทางหนีไฟทุกชันอย่างน้อยชนั ละสองเส้นทาง ๖. เสน้ ทางหนไี ฟไม่มีสิง่ กีดขวาง ๗. ประตูในเสน้ ทางหนไี ฟทาด้วยวัตถุทนไฟ ไม่มธี รณีหรอื ขอบกนั บานประตเู ปิดออกไปตามทศิ ทางของการหนีไฟ ๘. ประตูทใ่ี ชใ้ นเส้นทางหนีไฟตอ้ งไม่ปิดตาย ใส่กลอน กุญแจ ผกู ลา่ มโซ่ หรือทาให้เปิดออกไม่ได้ในขณะท่ีมี บุคลากรปฏิบัติงานอยู่ ๙. มีระบบสัญญาณแจง้ เหตเุ พลงิ ไหม้ในทกุ ชัน *กรณีหนว่ ยงานที่มีอาคารตังแต่สองชนั ขึนไป หรือมีพนื ที่ ปฏบิ ัตงิ านตังแตส่ ามร้อยตารางเมตรขึนไป ๑๐. มแี สงสวา่ งเพยี งพอสาหรับทางหนีไฟในการอพยพ บุคลากรออกจากอาคาร และมแี หล่งจา่ ยไฟฟ้าสารอง สาหรับการหนีไฟและใช้กับอุปกรณใ์ นการดบั เพลิง หรืออุปกรณ์อน่ื ที่เก่ยี วขอ้ งทันทีท่ีไฟฟ้าดับ ๑๑. มปี ้ายบอกทางหนีไฟท่เี ห็นไดอ้ ย่างชัดเจน ๑๒. มีระบบนาดับเพลงิ และอุปกรณ์ประกอบเพ่ือสามารถ ดบั เพลงิ ขนั ต้นได้อยา่ งเพยี งพอ ๑๓. มีเครือ่ งดบั เพลิงแบบเคล่ือนยา้ ยได้ เพยี งพอและ เหมาะสมตามประเภทของเพลิง ๑๔. มีการดูแลรกั ษาและตรวจสอบเครื่องดบั เพลิงใหอ้ ยู่ใน สภาพท่ีใช้งานได้ดี โดยตรวจสอบอยา่ งน้อยหกเดือนต่อหนึ่ง ครงั พร้อมตดิ ปา้ ยแสดงผลการตรวจสอบและวนั ที่ท่ี ตรวจสอบครงั สุดท้ายไว้ทอี่ ปุ กรณ์ 78
หัวข้อการสารวจ ใช่ ไมใ่ ช่ ไม่เกี่ยวข้อง หมายเหตุ ๑๕. มีการตดิ ตงั ปา้ ยแสดงจุดติดตงั อปุ กรณด์ บั เพลิง ท่ีเหน็ ได้อยา่ งชดั เจน ๑๖. มีการตดิ ตงั อปุ กรณ์ดับเพลงิ ในทีเ่ ห็นไดช้ ัดเจน ไมม่ สี ิง่ กีดขวาง ๑๗. มีการดแู ลรกั ษา และตรวจสอบอปุ กรณด์ บั เพลงิ ให้อยใู่ นสภาพใชง้ านได้ดี ไมน่ ้อยกวา่ เดือนละหน่งึ ครัง พรอ้ มตดิ ปา้ ยแสดงผลการตรวจสอบและวันทท่ี าการ ตรวจสอบครงั สดุ ทา้ ยไวท้ ่อี ุปกรณ์ ๑๘. มีการป้องกันอัคคีภัยจากแหล่งกอ่ เกิดการกระจายตวั ของความร้อน ซง่ึ เกิดจาก - กระแสไฟฟ้าลัดวงจร - เคร่ืองยนต์หรอื ปล่องไฟ - การแผร่ ังสี การนา หรอื การพาความร้อน - เครื่องจกั ร เคร่ืองมือท่ีเกิดประกายไฟ หรอื ความรอ้ นสงู - การสะสมของไฟฟา้ สถิต - การเช่อื ม หรอื ตดั โลหะ - การสะสมความร้อนของปล่องระบายควนั ๑๙. กรณมี กี ารเก็บถงั กา๊ ซชนิดเคล่อื นยา้ ยได้ชนิดเหลว มีการดาเนนิ การดังนี - กรณที ่เี กบ็ ถงั ก๊าซไว้นอกอาคาร มีการจัดเกบ็ ไว้ในท่ี เปิดโลง่ มีการปอ้ งกันความร้อน และปอ้ งกนั ความเสียหาย ท่ีเกิดจากยานพาหนะ - กรณีเก็บถงั กา๊ ซไว้ในอาคาร มกี ารแยกเก็บไวใ้ นห้อง ทีม่ ผี นงั ทาดว้ ยวัตถุทนไฟ มีการระบายอากาศไดด้ ี มีระบบ ตรวจจบั กา๊ ซอตั โนมัติ - หา้ มเกบ็ ถงั กา๊ ซไว้ใกลว้ ตั ถุทลี่ ุกไหม้ไดง้ ่าย - มโี ซร่ ัดถงั กันลม้ และติดตังฝาครอบหัวถงั เพื่อความ ปลอดภยั ในขณะเคลื่อนย้าย หรือจัดเก็บ 79
กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงาน หวั ข้อการสารวจ ใช่ ไม่ใช่ ไม่เก่ียวข้อง หมายเหตุ ๒๐. มีการแยกเก็บวัตถทุ ่ีติดไฟได้ง่ายประเภทไม้ กระดาษ ขนสตั ว์ ฟาง โฟม ฟองนาสงั เคราะห์ ไวใ้ นอาคารตา่ งหาก หรอื เก็บในห้องทนไฟทห่ี ลังคาหรอื ฝาหอ้ งต้องไมท่ าด้วย แกว้ หรือวัตถโุ ปรง่ ใสท่ีแสงแดดสอ่ งตรงเข้าไปได้ หรือกรณี ท่มี จี านวนนอ้ ยอาจเก็บไวใ้ นภาชนะทนไฟ หรือถงั โลหะทีม่ ี ฝาปดิ ๒๑. มกี ารดาเนนิ การเกี่ยวกบั การกาจัดของเสยี ท่ีตดิ ไฟได้ ดังนี - มีการทาความสะอาดเพ่ือมใิ หม้ ีการสะสมหรอื ตกค้าง ของของเสยี ที่ติดไฟไดอ้ ย่างน้อยวนั ละหน่ึงครงั - เกบ็ รวบรวมไว้ในภาชนะปิดท่เี ปน็ โลหะ - นาของเสียท่ีรวบรวมไว้ออกไปจากบริเวณท่บี คุ ลากร ปฏบิ ตั งิ านอย่างน้อยวนั ละหนึ่งครัง และต้องกาจัดใหห้ มด อยา่ งน้อยเดือนละหนึง่ ครังโดยวิธกี ารท่ีปลอดภัยและมี ประสิทธิภาพ ๒๒. กรณมี กี ารกาจัดของเสียทต่ี ดิ ไฟได้งา่ ยโดยการเผา ให้ดาเนนิ การ ดังนี - ใหเ้ ผาในเตาท่ีออกแบบโดยเฉพาะ หรือเผาในที่โลง่ แจ้งห่างบริเวณปฏบิ ตั ิงานในระยะที่ปลอดภยั และอยู่ใต้ลม - จัดให้บคุ ลากรทท่ี าหน้าที่เผาสวมใส่อปุ กรณค์ ุ้มครอง ความปลอดภัยสว่ นบคุ คล - จัดเก็บเถา้ ถา่ นที่เหลอื จากการเผาไวใ้ นทป่ี ลอดภัย มดิ ชิดปอ้ งกันการรวั่ ไหล หรอื นาไปฝังในที่ท่ีปลอดภัย ๒๓. มรี ะบบปอ้ งกันอันตรายจากฟา้ ผา่ สาหรบั อาคาร หรอื ส่ิงก่อสร้าง ๒๔. มมี าตรการปอ้ งกนั ผลกระทบจากฟา้ ผ่าเข้าสู่ระบบ ไฟฟา้ ของอาคาร ๒๕. มีการจดั ให้บคุ ลากรไมน่ ้อยกว่าร้อยละสีส่ บิ ของจานวน บุคลากรของหนว่ ยงานรับการฝึกอบรมดบั เพลงิ ขันตน้ ตามท่ีกฎหมายกาหนด 80
หัวข้อการสารวจ ใช่ ไมใ่ ช่ ไม่เก่ยี วข้อง หมายเหตุ ๒๖. จัดให้ผ้มู หี น้าท่ีเกยี่ วกบั การปอ้ งกันและระงับอคั คีภัย รับการฝกึ อบรมเกี่ยวกับการป้องกนั และระงับอัคคีภยั การใช้อุปกรณต์ ่างๆ ในการดับเพลิง การปฐมพยาบาล และการช่วยเหลือในกรณฉี ุกเฉิน ๒๗. มกี ารจัดให้บุคลากรในหน่วยงานฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ ออกจากอาคารตามเสน้ ทางหนไี ฟ ๒๘. มกี ารจัดให้บคุ ลากรทุกคนฝึกซอ้ มดับเพลงิ และฝึกซ้อม อพยพหนไี ฟ พร้อมกนั อยา่ งน้อยปีละหนึง่ ครัง 81
กรมสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงาน หนา้ ที่ของหน่วยงานความปลอดภัย และเจา้ หน้าท่คี วามปลอดภัยในการทางาน หน้าท่ขี องหนว่ ยงานความปลอดภัย (๑) วางแผนการดาเนินงานสาหรับการขจัดความเสี่ยงของหน่วยงานราชการและดูแลให้มี การดาเนนิ การอยา่ งตอ่ เน่อื ง (๒) จัดทาข้อเสนอแนะเก่ียวกับการป้องกันอันตรายจากอุบัติเหตุ อุบัติภัย และควบคุมความเสี่ยงภายใน หน่วยงาน (๓) จัดทาคู่มือและมาตรฐานว่าด้วยความปลอดภัยในการทางานไว้ในหน่วยงาน เพ่ือให้บุคลากรหรือ ผทู้ เ่ี กยี่ วข้องได้ใชป้ ระโยชน์ (๔) กาหนดชนดิ ของอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่เหมาะสมกับลักษณะความเสี่ยงของ งานเสนอตอ่ ผู้บงั คบั บัญชา เพือ่ จัดให้บคุ ลากรหรอื ผู้เกย่ี วข้องสวมใสข่ ณะปฏบิ ัตงิ าน (๕) ส่งเสรมิ สนับสนุน ด้านวิชาการและการปฏิบัติงานของหน่วยต่างๆ ในหน่วยงาน เพ่ือให้บุคลากร ปลอดจากเหตุอันจะทาให้เกิดการประสบอันตรายหรือการเจ็บป่วยอันเน่ืองจากการทางาน รวมท้ังด้าน การควบคุมปอ้ งกันอคั คภี ัยและอุบัติภยั รา้ ยแรงดว้ ย (๖) จัดอบรมเก่ียวกับความรู้พ้ืนฐานและข้อปฏิบัติเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางานแก่บุคลากรท่ี เข้าทางานใหมก่ ่อนให้ปฏิบตั ิงาน รวมท้ังบุคลากรซึ่งต้องทางานที่มีความแตกต่างไปจากงานเดิมท่ีเคยปฏิบัติอยู่ และอาจเกิดอนั ตรายดว้ ย (๗) ประสานการดาเนินงานความปลอดภัยในการทางานกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก หน่วยงาน เจา้ หนา้ ท่ีความปลอดภยั ในการทางาน ๑.เจ้าหนา้ ทค่ี วามปลอดภยั ในการทางานระดบั หัวหน้างาน เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดับหัวหน้างาน ต้องเป็น บุคลากรระดับหัวหน้างานและมี คุณสมบตั เิ ฉพาะอย่างใดอย่างหน่ึง ดงั ต่อไปน้ี (๑) ผา่ นการฝกึ อบรมตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารที่อธิบดปี ระกาศกาหนด (๒) เป็นหรือเคยเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับหัวหน้างานตามประกาศกระทรวง แรงงานและสวัสดิการสังคม เร่ือง ความปลอดภัยในการทางานของลูกจ้าง ลงวันที่ ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภัยในการทางานระดับหัวหน้างานมหี น้าทด่ี ังตอ่ ไปน้ี (๑) กากบั ดแู ล ให้บคุ ลากรในหนว่ ยงานทร่ี บั ผิดชอบปฏิบตั ิตามข้อบังคับและคู่มือด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทางาน 82
(๒) วิเคราะห์งานในหน่วยงานที่รับผิดชอบเพื่อค้นหาความเส่ียงหรืออันตรายเบื้องต้น โดยอาจร่วม ดาเนินการกับเจา้ หนา้ ทีค่ วามปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคข้ันสูง หรือระดับ วิชาชีพ (๓) สอนวิธีการปฏิบัติงานที่ถูกต้องแก่บุคลากรในหน่วยงานที่รับผิดชอบเพ่ือให้เกิดความปลอดภัยใน การปฏิบตั งิ าน (๔) ตรวจสอบสภาพการทางาน เคร่ืองจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ให้อยู่ในสภาพท่ีปลอดภัยก่อน ลงมอื ปฏิบตั ิงานประจาวัน (๕) กากับ ดูแล การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลของบุคลากรในหน่วยงานท่ี รบั ผิดชอบ (๖) รายงานการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดอุบัติเหตุเดือดร้อนราคาญอันเน่ืองจาก การทางานของบุคลากรต่อผู้บังคับบัญชา และแจ้งต่อเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางาน ระดับเทคนคิ ระดับเทคนิคข้นั สูง หรอื ระดบั วิชาชพี (๗) ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนราคาญ อันเน่ืองจากการทางานของบุคลากรร่วมกับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคขั้นสูง หรือระดับวิชาชีพ และรายงานผลรวมท้ังเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหา ตอ่ ผู้บังคบั บัญชาโดยไมช่ กั ชา้ (๘) ส่งเสรมิ และสนับสนุนกิจกรรมความปลอดภยั ในการทางาน (๙) ปฏบิ ัตงิ านด้านความปลอดภัยในการทางานอน่ื ตามทีเ่ จา้ หนา้ ท่คี วามปลอดภัยในการทางานระดับ บริหารมอบหมาย ๒. เจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิค เจ้าหนา้ ทค่ี วามปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิคตอ้ งมีคณุ สมบัติเฉพาะอยา่ งใดอยา่ งหน่งึ ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) สาเรจ็ การศึกษาไม่ต่ากวา่ ระดบั ปรญิ ญาตรสี าขาอาชวี อนามยั หรือเทยี บเท่า (๒) เป็นเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดับหัวหน้างาน และผ่านการฝึกอบรมตาม หลักเกณฑแ์ ละวิธีการทอ่ี ธิบดปี ระกาศกาหนด (๓) เป็นหรือเคยเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับพื้นฐานตามประกาศกระทรวง แรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่อง ความปลอดภัยในการทางานของลูกจ้าง ลงวันที่ ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ เจ้าหน้าทคี่ วามปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิคมหี นา้ ทดี่ งั ตอ่ ไปน้ี (๑) ตรวจสอบและเสนอแนะให้ผู้บังคับบัญชาปฏิบัติตามกฎหมายเก่ียวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน (๒) วิเคราะห์งานเพื่อบ่งชี้อันตราย รวมท้ังกาหนดมาตรการป้องกันและข้ันตอนการทางานอย่าง ปลอดภยั เสนอต่อผู้บงั คบั บญั ชา 83
กรมสวสั ดิการและคุ้มครองแรงงาน (๓) แนะนาให้บุคลากรปฏิบัติตามข้อบังคับและคู่มือด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอ้ มในการทางาน (๔) ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนราคาญ อันเนื่องจากการทางานของบุคลากรร่วมกับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับเทคนิค ระดับเทคนิคข้ันสูง หรือระดับวิชาชีพ และรายงานผลรวมท้ังเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหา ตอ่ ผ้บู ังคบั บัญชาโดยไมช่ กั ชา้ (๕) รวบรวมสถิติ จัดทารายงาน และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือ การเกิดเหตุเดือดร้อนราคาญอนั เน่อื งจากการทางานของลูกจ้าง (๖) ปฏบิ ตั งิ านด้านความปลอดภัยในการทางานอืน่ ตามท่ีผ้บู งั คับบัญชามอบหมาย เจ้าหน้าทีค่ วามปลอดภยั ในการทางานระดบั เทคนิคขั้นสงู เจ้าหน้าท่คี วามปลอดภัยในการทางานระดบั เทคนิคข้ันสูงต้องมคี ุณสมบัติเฉพาะอย่างใดอยา่ งหน่ึง ดังต่อไปน้ี (๑) สาเร็จการศึกษาไม่ตา่ กว่าระดับปริญญาตรีสาขาอาชวี อนามัย หรือเทยี บเทา่ (๒) สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิค ประกาศนียบัตรวิชาชีพข้ันสูง ประกาศนียบัตรการศึกษาขั้นสูง อนุปริญญา หรือเทียบเท่า และผ่านการอบรม และทดสอบ ตามหลักเกณฑแ์ ละวกี ารท่อี ธบิ ดปี ระกาศกาหนด (๓) สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่ามัธยมศึกษาปี่ที่ ๖ หรือระดับประกาศนียบัตรวิชาชีหรือเทียบเท่า และ ได้ทางานเปน็ เจ้าหนา้ ที่ความปลอดภยั ในการทางานระดบั เทคนคิ หรือระดบั พื้นฐานมาแล้วไม่น้อย กว่าหา้ ปี และผ่านการอบรมและทดสอบตามหลักเกณฑ์และวิธีการทอี่ ธบิ ดีประกาศกาหนด เจ้าหน้าทค่ี วามปลอดภยั ในการทางานระดับเทคนคิ ขัน้ สงู มหี นา้ ที่ ดังต่อไปน้ี (๑) ตรวจสอบและเสนอแนะให้ผู้บังคับบัญชาปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (๒) วิเคราะห์งานเพ่ือบ่งชี้อันตราย รวมทั้งกาหนดมาตรการป้องกันและขั้นตอนการทางาน อยา่ งปลอดภัยเสนอต่อผ้บู งั คับบญั ชา (๓) วิเคราะห์แผนงานโครงการ รวมทั้งข้อเสนอแนะของหน่วยงานต่างๆ และเสนอแนะมาตรการ ความปลอดภัยในการทางานต่อผบู้ ังคบั บัญชา (๔) ตรวจประเมินการปฏิบัติงานของหน่วยงานให้เป็นไปตามแผนงานโครงการหรือมาตรการ ความปลอดภยั ในการทางาน (๕) แนะนาให้บุคลากรในหน่วยงานปฏิบัติตามข้อบังคับและคู่มือด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (๖) แนะนา ฝึกสอน อบรมบุคลากร เพ่ือให้การปฏิบัติงานปลอดจากเหตุอันจะทาให้เกิดความไม่ ปลอดภัยในการทางาน 84
(๗) ตรวจสอบหาสาเหตุและวิเคราะห์การประสบอันตราย การเจ็บป่วยหรือการเกิดเหตุเดือดร้อน ราคาญอันเนื่องจากการทางาน และรายงานผลรวมทั้งเสนอแนะต่อผู้บังคับบัญชาเพื่อป้องกัน การเกิดเหตุโดยไมช่ กั ชา้ (๘) รวบรวมสถิติ วิเคราะห์ข้อมูล จัดทารายงาน และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการประสบอันตราย การเจบ็ ปว่ ย หรือการเกิดเหตเุ ดือดร้อนราคาญอนั เนอ่ื งจากการทางานของบุคลากร (๙) ปฏิบัตงิ านดา้ นความปลอดภัยในการทางานอน่ื ตามที่ผ้บู ังคบั บญั ชามอบหมาย เจ้าหนา้ ทีค่ วามปลอดภยั ในการทางานระดบั วิชาชพี เจา้ หนา้ ทีค่ วามปลอดภัยในการทางานระดบั วิชาชพี ตอ้ งมีคณุ สมบตั ิเฉพาะอยา่ งใดอย่างหน่งึ ดงั ต่อไปน้ี (๑) สาเร็จการศกึ ษาไม่ตา่ กวา่ ระดับปริญญาตรสี าขาอาชีวอนามยั หอื เทยี บเทา่ (๒) สาเร็จการศึกษาไม่ต่ากว่าระดับปริญญาตรี และได้ทางานเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางาน ระดบั เทคนิคขน้ั สูงมาแลว้ ไม่น้อยกวา่ ห้าปี และผ่านการอบรมและทดสอบตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ อธิบดีประกาศกาหนดจากหน่วยงานที่กรมสวัสดิการและคุม้ ครองแรงงานรบั รอง (๓) เป็นหรือเคยเป็นเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดับวิชาชีพตามประกาศกระทรวงแรงงาน และสวสั ดกิ ารสงั คม เรื่อง ความปลอดภัยในการทางานของลูกจ้าง ลงวันท่ี ๓๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ และผา่ นการอบรมเพมิ่ และทดสอบตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการทีอ่ ธิบดปี ระกาศกาหนดจากหน่วยงานที่ กรมสวัสดิการและค้มุ ครองแรงงานรบั รองในหลักสตู รทีเ่ ก่ียวกับการปฏิบัติหน้าที่ ตามข้อ ๑๘ (๓) (๔) และ (๘) ทง้ั นี้ ภายในห้าปีนับแตว่ นั ทกี่ ฎกระทรวงน้ีมผี ลใชบ้ งั คับ เจา้ หน้าท่คี วามปลอดภยั ในการทางานระดับวชิ าชพี มีหน้าท่ี ดังตอ่ ไปน้ี (๑) ตรวจสอบและเสนอแนะให้ผู้บังคับบัญชาปฏิบัติตามกฎหมายเก่ียวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (๒) วิเคราะหง์ านเพอ่ื ชีบ้ ง่ อนั ตราย รวมท้ังกาหนดมาตรการป้องกันหรือขั้นตอนการทางานอย่างปลอดภัย เสนอต่อผบู้ งั คับบัญชา (๓) ประเมินความเสีย่ งด้านความปลอดภยั ในการทางาน (๔) วิเคราะห์แผนโครงการ รวมท้ังข้อเสนอแนะของหน่วยงานต่างๆ และเสนอแนะมาตรการ ความปลอดภยั ในการทางานตอ่ ผู้บงั คับบัญชา (๕) ตรวจประเมินการปฏิบัติงานของหน่วยงานให้เป็นไปตามแผนงานโครงการหรือมาตรการ ความปลอดภัยในการทางาน (๖) แนะนาให้บคุ ลากรปฏิบตั ิตามขอ้ บังคบั และค่มู ือด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทางาน (๗) แนะนา ฝึกสอน อบรมบุคลากรเพื่อให้การปฏิบัติงานปลอดจากเหตุอันจะทาให้เกิดความไม่ปลอดภัย ในการทางาน 85
กรมสวัสดิการและคมุ้ ครองแรงงาน (๘) ตรวจวัดและประเมินสภาพแวดล้อมในการทางาน หรือดาเนินการร่วมกับบุคคลหรือหน่วยงานที่ข้ึน ทะเบยี นกับกรมสวัสดกิ ารและคุ้มครองแรงงานเปน็ ผรู้ ับรองหรอื ตรวจสอบเอกสารหลักฐานรายงานใน การตรวจสอบสภาพแวดลอ้ มในการทางานภายในหนว่ ยงาน (๙) เสนอแนะต่อผู้บังคับบัญชาเพ่ือให้มีการจัดการด้านความปลอดภัยในการทางานท่ีเหมาะสมกับ หน่วยงาน และพฒั นาใหม้ ีประสทิ ธภิ าพอย่างต่อเน่อื ง (๑๐) ตรวจสอบหาสาเหตุ และวิเคราะห์การประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อน ราคาญอนั เน่ืองจากการทางาน และรายงานผล รวมทั้งเสนอแนะต่อผู้บังคับบัญชาเพื่อป้องกันการเกิด เหตโุ ดยไม่ชักช้า (๑๑) รวบรวมสถิติ วิเคราะห์ข้อมูล หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนราคาญอันเน่ืองจากการทางานของ บุคลากรในหนว่ ยงาน (๑๒) ปฏบิ ัติงานด้านความปลอดภัยในการทางานอื่นตามท่ีผู้บังคบั บัญชามอบหมาย เจ้าหนา้ ทคี่ วามปลอดภยั ในการทางานระดับบรหิ าร เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานระดับบริหารต้องเป็นผู้บริหารท่ีมีคุณสมบัติเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง ดงั ต่อไปน้ี (๑) ผา่ นการฝกึ อบรมตามหลกั เกณฑ์และวิธกี ารที่อธบิ ดปี ระกาศกาหนด (๒) เป็นหรือเคยเป็นเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานระดับบริหาร ตามประกาศกระทรวงแรงงาน และสวัสดกิ ารสังคม เรือ่ ง ความปลอดภยั ในการทางาของลกู จ้าง ลงวันที่ ๓๑ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๔๐ เจา้ หน้าทคี่ วามปลอดภัยในการทางานระดับบริหารมหี น้าท่ี ดังตอ่ ไปน้ี (๑) กากับ ดูแล เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทางานทุกระดับซึ่งอยู่ในบังคับบัญชาของเจ้าหน้าท่ีความ ปลอดภัยในการทางานระดบั บรหิ าร (๒) เสนอแผนงานโครงการดา้ นความปลอดภัยในการทางานในหน่วยงานท่ีรบั ผดิ ชอบตอ่ ผบู้ งั คับบญั ชา (๓) ส่งเสริม สนับสนุน และติดตามการดาเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางานให้เป็นไปตาม แผนงานโครงการเพอื่ ใหม้ กี ารจดั การดา้ นความปลอดภัยในการทางานที่เหมาะสมกับหนว่ ยงาน (๔) กากับ ดูแล และตดิ ตามใหม้ ีการแก้ไขข้อบกพร่องเพื่อความปลอดภัยของบุคลากรตามท่ีได้รับรายงาน หรอื ตามข้อเสนอแนะของเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางาน คณะกรรมการ หรือหน่วยงานความ ปลอดภยั 86
ตวั อย่างรูปแบบการจัดเก็บขอ้ มลู การประสบอันตรายจากการทางานของหน่วยงานราชการ สรุปสถิตกิ ารประสบอันตราย ...............................ระหวา่ งเดอื น .......................................ถึง .................................... พ.ศ. ................. วนั /เดอื น/ปี ชื่อผู้ประสบ ความรุนแรงของการประสบอัตราย (3) สาเหตขุ องการ ส่ิงทท่ี าให้ ทเ่ี กิดเหตุ อันตราย สูญเสียอวัยวะ หยดุ งานเกิน หยดุ งานไมเ่ กิน ประสบอันตราย ประสบอันตราย (1) (2) ตาย ทพุ พลภาพ บางส่วน 3 วัน 3 วัน ไมห่ ยดุ งาน (4) (5) รวม (คน) หมายเหตุ : โปรดอา่ นคาอธิบายประกอบการกรอกแบบ 87
กรมสวสั ดกิ ารและค้มุ ครองแรงงาน คำอธิบำยประกอบกำรกรอกแบบ (1) ระบวุ นั / เดือน / ปี ทเ่ี กิดเหตุ (2) ระบุชื่อ - สกุลของผู้ประสบอนั ตราย (3) ทาเคร่ืองหมาย / ในช่องว่างตามความรุนแรงทเี่ กิดข้ึนจริงแล้วแต่กรณี (4) ระบุลักษณะการประสบอนั ตราย เช่น ตกจากทสี่ ูง หกลัม ล่ืนล้ม อาคารหรือสิ่งกอ่ สร้างพังทบั วตั ถุหรือสิ่งของพงั ทลาย/หล่นทับ วตั ถหุ รือส่ิงของกระแทกหรือชน วตั ถุหรือส่ิงของหนบี หรือดึง วัตถหุ รือส่ิงของ ตัด/บาด/ทม่ิ /แทง วตั ถุหรือส่ิงของกระเด็นเข้าตา ยกหรือเคลื่อนย้ายของหนกั อาการเจ็บปว่ ยจากทา่ ทางการทางาน อบุ ตั ิเหตุจากยานพาหนะ วัตถหุ รือส่ิงของระเบิด ไฟฟ้าช๊อต ผลจากความร้อนสูงหรือสัมผัสของร้อน ผลจากความเย็นจดั หรือสัมผัสความเย็น สัมผัสส่ิงมีพิษ สารเคมี แพ้จากการสัมผัสสิ่งของ (ยกเว้นสิ่งมีพิษ สารเคม)ี อนั ตรายจากแสง อันตรายจากรังสี ถกู ทาร้ายร่างกาย ถูกสัตว์ทาร้าย โรคเนอ่ื งจากการทางาน เป็นต้น (5) ระบสุ ิ่งทที่ าให้ประสบอนั ตราย เช่น ยานพาหนะ เคร่ืองจักร เครื่องมอื ตกจากทสี่ ูง ของหล่นทับ ล่ืนล้ม ความร้อน ไฟฟา้ สารเคมี ระเบิด เศษวัตถุ ถูกทาร้ายร่างกาย เสียงดัง ยกของหนัก เปน็ ต้น 88
ภาคผนวก จ. แบบรายงานผลการดำ� เนินการด้านความปลอภยั 89
กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน 90
แบบรายงาน การดาเนนิ การดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของสว่ นราชการ สว่ นท่ี ๑ ข้อมูลท่ัวไป ๑. หนว่ ยงาน ........................................................................................................................................... ๒. สถานทต่ี ดิ ต่อ เลขที่..................... ตาบล………………………….. แขวง/อาเภอ………………………………….. จังหวดั .................................................. รหสั ไปรษณีย์....................................................................... โทรศพั ท.์ ...................................................โทรสาร.............................................................................. e-mail………………………………………………………….. ๓. ชอื่ ผแู้ จง้ ขอ้ มูล/ผูป้ ระสานงาน ..................................................................................................... โทรศัพท.์ ...............................................โทรสาร................................................................................. e-mail…………………………………………………………………………………………………………………………….…. ๔. จานวนเจ้าหน้าทีผ่ ู้ปฏิบัติงานท้ังหมดในหน่วยงาน.......................คน ๕. ลกั ษณะการดาเนินงาน (ตอบได้มากกว่า ๑ ขอ้ ) สานักงาน สถานพยาบาล หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารทางกายภาพ เคมี หรอื จุลชีววทิ ยา กอ่ สร้างอาคาร สานักงาน ถนน หรือระบบสาธารณปู โภคอื่นๆ การผลติ อ่ืนๆ โปรดระบุ............................................................................................................................. ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………. สว่ นท่ี ๒ ความเสี่ยงในหน่วยงาน และข้อมูลการประสบอนั ตรายจากการทางาน ๖. ความเสย่ี งทีพ่ บในการดาเนนิ งาน (ตอบได้มากกว่า ๑ ข้อ) แสงสวา่ ง เสียงดัง ความรอ้ น แสงจ้า รงั สี สารเคมีอนั ตราย เครื่องจักร ปัน้ จ่นั หมอ้ นา้ งานก่อสร้าง งานประดาน้า การทางานในที่อับอากาศ งานกอ่ สร้าง ไฟฟา้ อคั คภี ัย ความเส่ยี งอน่ื ๆ ระบุ..................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................... ............................................................................................................................................................ ๗. การประสบอันตรายจากการทางานของเจ้าหนา้ ที่ในส่วนราชการ ในรอบ ๑ ปี ทผ่ี า่ นมา ๗.๑ จานวนพนักงานทปี่ ระสบอันตรายจากการทางาน ทุกราย ........................ คน ๗.๒ จานวนพนกั งานทป่ี ระสบอันตรายจากการทางาน ท่ีทาให้หยุดงานเกนิ ๓ วนั ทางาน ................. คน 91
กรมสวัสดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน -๒- ส่วนที่ ๓ การดาเนนิ งานตามมาตรฐาน ในรอบ ๑ ปที ผี่ ่านมา ส่วนราชการไดด้ าเนนิ การดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทางาน ดงั นี้ (ตอบตามทีส่ ่วนราชการไดด้ าเนินการจรงิ /เลือกไดม้ ากกวา่ ๑ ขอ้ ) จดั ให้มนี โยบายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ของส่วนราชการ ดาเนินการตามนโยบายดา้ นความปลอดภยั ฯ ของส่วนราชการต้นสังกดั แตง่ ตง้ั บคุ คล หรือคณะบุคคลเพ่ือดาเนินการดา้ นความปลอดภัยฯ ในส่วนราชการ จดั ทาแผนงาน งบประมาณการดาเนินการดา้ นความปลอดภัยฯ ของสว่ นราชการ จัดทากฎ ระเบยี บ หรอื มาตรฐานด้านความปลอดภยั ในสว่ นราชการ จัดใหม้ ีการฝกึ อบรมด้านความปลอดภยั ฯ ให้แกผ่ ู้บริหาร หัวหนา้ งาน และเจา้ หนา้ ที่ทุกคน ตดิ สัญลกั ษณเ์ ตือนอันตราย และเคร่ืองหมายเก่ียวกบั ความปลอดภยั ในสว่ นราชการ จัดทาระบบการรายงานอบุ ัติเหตุ ขอ้ บกพร่อง หรอื การชารุดเสยี หายของอปุ กรณ์ สถานที่ฯ ในสว่ นราชการ จัดอุปกรณค์ ุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล และดูแลใหเ้ จ้าหน้าท่ีสวมใส่ให้เหมาะสมกับลักษณะงาน จดั ทาแผนการป้องกันและระงบั อคั คีภัยประจาสว่ นราชการ จดั ให้มีการฝกึ ซ้อมดับเพลิงและฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ จดั ให้มกี ารสารวจ ตรวจสอบ หรอื ประเมนิ สภาพการทางานท่ีอาจก่อให้เกดิ อันตราย การดาเนินการตามมาตรฐานสาหรบั ส่วนราชการทมี่ ีความเสี่ยงเฉพาะหรือเข้าขา่ ยประเภทกจิ การเฉพาะ โปรดระบุ ๑. ........................................................................................................................... .............................. ๒. ........................................................................................................................... .............................. ๓........................................................................................................................................................... ๔. ……………………………………………………………………………………………………………………………………….. 92
รายนามคณะท�ำงานอ�ำนวยการและพจิ ารณาการดำ� เนินการดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน ส�ำหรับหน่วยงานราชการ ตามมาตรา ๓ วรรค ๒ *************************************** ๑. ผูอ้ �ำนวยการสำ� นักความปลอดภัยแรงงาน ประธานคณะทำ� งาน ๒. ผู้อำ� นวยการกล่มุ งานพัฒนามาตรฐานความปลอดภัยแรงงาน คณะท�ำงาน ๓. ผ้อู ำ� นวยการกลุม่ งานยุทธศาสตร์ความปลอดภยั แรงงาน คณะทำ� งาน ๔. ผอู้ ำ� นวยการกลมุ่ งานทะเบยี นความปลอดภยั แรงงาน คณะทำ� งาน ๕. ผู้อำ� นวยการกลุ่มงานสง่ เสริมความปลอดภยั แรงงาน คณะท�ำงาน ๖. ผู้อำ� นวยการกลุ่มงานเครอื ขา่ ยความปลอดภยั แรงงาน คณะท�ำงาน ๗. ผ้อู ำ� นวยการกลมุ่ งานกองทุนความปลอดภัย คณะท�ำงาน คณะท�ำงาน อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน คณะทำ� งาน ๘. ผอู้ �ำนวยการศูนยค์ วามปลอดภัยแรงงานพ้ืนท่ี ๑ คณะท�ำงาน ๙. หวั หน้าบริหารงานท่ัวไป คณะท�ำงาน ๑๐. นางสาวสุวดี ทวีสุข คณะทำ� งาน ๑๑. นายศักดศ์ิ ิลป์ ตลุ าธร คณะท�ำงาน ๑๒. นายสมนกึ ภาคพาณิชย์ คณะทำ� งาน ๑๓. นายอคั รพงษ์ นวลอ่อน คณะทำ� งาน ๑๔. นายกตกจิ หวานมณี คณะทำ� งานและเลขานกุ าร ๑๕. นายวชิ าญ สมบตั ภิ ญิ โญ คณะทำ� งานและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร ๑๖. นายทวสี ิทธ์ิ บญุ ธรรม คณะทำ� งานและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร ๑๗. นางปน่ิ ผกา นวลออ่ น ๑๘. นางสภุ าวรรณ หงศรเี มือง 93
กรมสวัสดิการและค้มุ ครองแรงงาน พิมพท์ ี่ ห้างหนุ้ ส่วนสามัญนิติบคุ คลเจยี้ ฮวั้ Tel. 0 2274 8898 Fax. 0 2274 8831 94
Search