กรงุ ศรีอยธุ ยา
1 กรุงศรอี ยุธยา กรุงศรีอยุธยาก่อกาเนิดข้ึนเป็น ราชธานีในปี พ.ศ.1893 แต่มีข้อถกเถียงกันมากว่า การถือกาเนิดของกรุง ศรี อยุธยาน้ัน มิได้เกิดขึ้นอย่างปัจจุบันทันด่วนเสียทีเดียว มีหลักฐานว่าก่อนท่ีพระเจ้าอู่ทองจะสร้างเมืองข้ึนท่ีตาบลหนอง โสน บริเวณนี้เคยมีผู้คนอาศัยมากอ่ นแล้ว วัดสาคญั อย่างวัดมเหยงค์ วัดอโยธยา และวดั ใหญช่ ัยมงคล ล้วนเป็นวัดเก่าท่ีมี มาก่อนสร้างกรุงศรี อยุธยาทั้งสิ้น โดยเฉพาะที่วัดพนัญเชิง วัดที่ประดิษฐาน หลวงพ่อโต พระพุทธรูปปูนป้ันขนาดใหญ่ แบบอู่ทอง พงศาวดารเก่าระบุว่า สร้างขึ้นก่อนการสร้างพระนครศรีอยุธยาถึง 26 ปี วัดเหล่านี้ ต้ังอยู่ตามแนวฝั่ง ตะวันออกของแม่น้าป่าสัก นอกเกาะเมืองอยธุ ยาที่มีการขุดพบคเู มืองเก่าด้วย ทาให้เช่อื กันว่าบรเิ วณน้ีน่า จะเป็นเมืองเก่า ที่มีชื่ออยู่ในศิลาจารึกกรุงสุโขทัยว่า อโยธยาศรีรามเทพนคร อโยธยาศรีรามเทพนคร ปรากฏชื่อเป็นเมืองแฝดละโว้อโยธ ยา มาต้ังแต่ช่วงราวปี พ.ศ.1700 เป็นต้นมา ครั้นก่อนปี พ.ศ.1900 พระเจ้าอู่ทองซ่ึงครองเมืองอโยธยาอยู่ ก็ทรงอภิเษก สมรสกับพระราชธิดาของ กษัตริย์ทางฝ่ายสุพรรณภูมิ ซ่ึงครองความเป็นใหญ่อยู่อีกฟากหน่ึงของแม่ น้าเจ้าพระยา อโยธ ยาและสพุ รรณภมู จิ งึ รวมตวั กันข้นึ โดยอาศยั ความ สัมพันธ์ทางเครอื ญาติ ครั้นเม่ือเกิดโรคระบาด พระเจ้าอู่ทองจึงอพยพผู้คนจากเมืองอโยธยาเดิม ข้ามแม่น้าป่าสักมาต้ังเมืองใหม่ท่ี ตาบลหนองโสน หรอื ท่ีรจู้ ัก กนั ว่า บงึ พระราม ในปจั จุบนั กรงุ ศรอี ยุธยาจงึ ก่อเกดิ เปน็ ราชธานขี น้ึ ใน ปี พ.ศ.1893 พระเจ้า
2 อทู่ องเสด็จฯ เสวยราชย์เปน็ สมเดจ็ พระรามาธบิ ดี ท่ี 1 ปฐมกษตั รยิ ์แหง่ กรงุ ศรอี ยธุ ยา รัชสมยั ของพระองค์นบั ได้ว่าเป็นยุค ของการก่อร่างสร้างเมือง และวางรูปแบบการปกครองข้ึนมาใหม่ ทรงแบ่งการบริหารราชการออก เป็น 4 กรม ประกอบด้วย เวียง วัง คลัง และ นา หรือที่เรียกกันว่า จตุสดมภ์ ระบบที่ทรงวางไว้แต่แรกเริ่มน้ี ปรากฏว่าได้สืบทอดใช้ กนั มา ตลอด 400 กวา่ ปีของกรงุ ศรอี ยธุ ยา สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 1 ครองราชย์อยู่ได้เพียง 19 ปี ก็เสด็จสวรรคต หลังจากรัชสมัยของพระองค์ ผู้ได้สร้าง ราชธานีแห่งนี้ขึ้นจาก ความสัมพนั ธ์ของสองแว่นแคว้น กรุงศรีอยุธยาได้กลายเปน็ เวทีแห่งการ แก่งแย่งชิงอานาจระหว่าง สองราชวงศค์ ือ ละโว้-อโยธยา และราชวงศ์ สพุ รรณภูมิ สมเด็จพระราเมศวร โอรสของสมเดจ็ พระรามาธิบดีท่ี 1 ขึ้นครองราชย์ต่อจากพระราชบดิ าไดไ้ ม่ทนั ไร ขุนหลวง พะงั่ว จากราชวงศ์สุพรรณภูมิ ผู้มีศักด์ิเป็นอาก็แย่งชิงอานาจได้สาเร็จ ข้ึนครองราชย์เปน็ สมเด็จพระ บรมราชาธิราช เม่ือ สิน้ รัชกาลของสมเด็จพระบรมราชาธริ าช สมเดจ็ พระราเมศวรก็กลบั มาชงิ ราชสมบัตกิ ลบั คืน มีการแย่งชิงอานาจผลัดกันขึ้นเป็นใหญ่ระหว่างสองราชวงศ์นี้อยู่ ถึง 40 ปี จนสมเด็จพระนครอินทร์ ซึ่งเป็น ใหญ่อยู่ทางสุพรรณภูมิและ สัมพันธ์แน่นแฟ้นอยู่กับสุโขทัย แย่งชิงอานาจกลับคืนมาได้สาเร็จ พระองค์สามารถรวมท้ัง สองฝ่ายให้เป็นอันหน่ึงอันเดียวกันได้อย่างแท้จริง ในช่วงของการแก่งแย่งอานาจกันเองน้ัน กรุงศรีอยุธยาก็พยายามแผ่ อานาจไปตีแดนเขมรอยู่บ่อยครง้ั จนกระท่ังปี พ.ศ.1974 หลงั สถาปนากรุงศรอี ยุธยาได้แลว้ ราว 80 ปี สมเด็จเจ้าสามพระ ยา พระโอรสของสมเด็จพระนครอนิ ทร์ ก็ตีเขมรได้สาเร็จ เขมรสูญเสยี อานาจจน ตอ้ งยา้ ยเมืองหลวงจากเมืองพระนครไป อยู่เมืองละแวกและพนมเปญในที่สุด ผลของชัยชนะคร้ังน้ี ทาให้มีการกวาดต้อนเชลยศึกกลับมาจานวนมาก และทาให้ อทิ ธพิ ลของเขมรในอยุธยาเพมิ่ มากข้ึน ซึ่งถือเปน็ เรือ่ งปกติที่ผู้ชนะมกั รบั เอาวฒั นธรรมของผแู้ พม้ าใช้ กรุงศรีอยุธยาหลังสถาปนามาได้กว่าครึ่งศตวรรษก็เริ่มเป็นศูนย์ กลางของราชอาณาจักรอย่างแท้จริง มีอาณา เขตอันกว้างขวางด้วยการ ผนวกเอาสุโขทัยและสุพรรณภูมิเข้าไว้ มีการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ โดยเฉพาะกับจีน และวดั วาอารามต่าง ๆ ได้รับการบรู ณะข้นึ มาใหมจ่ นงดงาม หลังรัชกาลสมเด็จเจ้าสามพระยา แล้วกรุงศรีอยุธยาก็เข้าสู่ยุคสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ซึ่งเป็นช่วง เวลาท่ี อาณาเขตได้แผ่ขยายออกไปอย่างกว้างขวาง มีการติดต่อค้าขาย กับบ้านเมืองภายนอก รวมทั้งมีการปฏิรูปการปกครอง บ้านเมืองข้ึน พระองค์ทรงยกเลิกการปกครองที่กระจายอานาจให้เมืองลูกหลวงปกครองอย่างเป็นอิสระ มาเป็นการรวบ อานาจไว้ท่ีพระมหากษัตริย์ แล้วทรงแบ่งเมืองต่าง ๆ รอบนอกออกเป็น หัวเมืองช้ันใน หัวเมืองชั้นนอก ซึ่งเมืองเหล่ าน้ี ดูแลโดยขุนนางท่ีพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้ง นอกจากนี้ก็ยังได้ทรงสร้างระบบศักดินาข้ึน อันเป็นการให้ กรรมสิทธ์ิถือท่ี นาได้มากน้อยตามยศ พระมหากษัตริย์มีสิทธ์ิท่ีจะ เพิ่ม หรือ ลด ศักดินาแก่ใครก็ได้ และหากใครทาผิดก็ต้องถูกปรับไหม ตามศกั ดินานน้ั ในเวลาน้ันเอง กรุงศรีอยุธยาท่ีเจริญมาได้ถึงร้อยปีก็กลายเป็น เมืองที่งดงามและมีระเบียบแบบแผน วัดต่าง ๆ ท่ีได้ก่อสร้างขึ้นอย่าง วิจิตรบรรจงเกิดขึ้นนับร้อย พระราชวังใหม่ได้ก่อสร้างขึ้นอย่างใหญ่โตก ว้างขวาง ส่วนท่ีเป็น พระราชวงั ไมเ้ ดิมได้กลายเป็นวัดพระศรสี รรเพชญ์ วดั คเู่ มอื งท่ีสาคญั กรงุ ศรอี ยธุ ยากาลงั จะเติบโตเปน็ นครแห่งพ่อค้าวาณิชอันรุ่งเรือง เพราะเสน้ ทางคมนาคมอันสะดวก ทเ่ี รอื สินค้า น้อยใหญ่จะเข้ามาจอด เทียบท่าได้ แต่พร้อม ๆ กับความรุ่งเรืองและความเปลี่ยนแปลง สงครามก็ เกิดข้ึน ช่วงเวลาน้ัน ล้านนา ท่ีมีพระมหากษัตริย์คือราชวงศ์เม็งราย ครองสืบต่อกันมา กาลังเจริญรุ่งเรืองข้ึนมาเป็นคู่แข่งสาคัญของกรุงศรี อยุธยา พระเจ้าติโลกราชซึ่งได้ขยายอาณาเขตลงมาจนได้เมืองแพร่และ นา่ นก็ทรงดาริทจี่ ะขยายอาณาเขตลงมาอีก เวลา
3 น้นั เจ้านายทางแคว้น สุโขทัยที่ถกู ลดอานาจด้วยการปฏิรูปการปกครองของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถเกิดความไมพ่ อใจ อยุธยา จึงไดช้ ักนาใหพ้ ระเจา้ ตโิ ลกราชยกทัพ มายึดเมอื งศรีสชั นาลยั ซ่ึงอยู่ในอานาจของกรงุ ศรีอยธุ ยา สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถต้องเสด็จกลับไปประทับอยู่ท่ีเมือง สระหลวงหรือพิษณุโลก เพ่ือทาสงครามกับ เชียงใหม่ สงครามยืดเย้ือยาว นานอยู่ถึง 7 ปี ในท่ีสุดอยุธยาก็ยึดเมืองศรีสัชนาลัยกลับคืนมาได้ ตลอดรชั กาลอันยาวนาน ของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ และ สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 2 กรุงศรีอยุธยาได้เจริญอย่างต่อเนื่องอยู่นานถึง 81 ปี การค้ากับต่างประเทศก็เจริญก้าวหน้าไปอย่างกว้างขวาง วัฒนธรรมก็เฟ่ืองฟูท้ังทางศาสนาและประเพณีต่าง ๆ แต่หลัง รัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี 2การแย่งชิงอานาจภายใน ก็ทาให้กรุงศรีอยุธยาอ่อนแอลง ขณะเดียวกันท่ีพม่ากลับ เขม้ แขง็ ขนึ้ ความเปลี่ยนแปลงท้ังภายในและภายนอกราชอาณาจักรได้ทาใหเ้ กดิ สงครามครง้ั ใหญอ่ ย่างหลกี เล่ียงไม่ได้ ประวัติศาสตรห์ นา้ ใหม่ อันอาจจะเรียก ได้ว่ายุคแหง่ ความคับเขญ็ ยุ่งเหยิงนี้ เร่ิมตน้ ด้วยการมาถึงของชาวตะวัน ตกพร้อม ๆ กับการรุกรานจากพม่า เม่ือวาสโก ดากามา ชาวโปรตุเกสเดินเรือผ่านแหลมกูดโฮปได้ สาเร็จในราว พ.ศ. 2000 กองเรือของโปรตุเกสก็ทยอยกันมายังดินแดนฝ่ัง ทวีปเอเชีย ในปี พ.ศ.2054 อัลฟองโซ เดอ อัลบูเควิก ชาว โปรตุเกสก็ยึด มะละกาได้สาเรจ็ สง่ คณะฑูตของเขามายังสยาม คือ ดอู ารต์ เฟอรน์ ันเดซ ซึง่ ถอื เป็นชาวตะวันตกคนแรกที่ มาถึงแผ่นดินสยาม ชาวโปรตุเกสมาพร้อมกับวิทยาการสมัยใหม่ ความรู้เก่ียวกับการสร้างป้อมปราการ อาวุธปืน ทาให้ สมัยต่อมาพระเจ้าไชยราชาธริ าชก็ยก ทัพไปตลี า้ นนาได้สาเร็จ กรุงศรอี ยธุ ยาเป็นใหญ่ข้ึน ในขณะทพี่ ม่าเองในยุคของ พระ เจ้า ตะเบ็งชะเวตี้ ก็กาลังแผ่อิทธิพลลงมาจนยึดเมืองมอญท่ีหงสาวดีได้ สาเร็จ อยุธยากับพม่าก็เกิดการเผชิญหน้ากันขึ้น เมื่อพวกมอญจากเชียงกรานท่ไี ม่ยอมอย่ใู ต้อานาจพม่าหนีมาพึ่งฝั่งไทย พระเจา้ ไชยราชาธิราช ยกกองทพั ไปขับไลพ่ ม่า ยึด เมอื งเชยี งกรานคืนมาไดส้ าเรจ็ ความขัดแย้ง ระหว่างไทยกับพม่ากเ็ ปดิ ฉากข้นึ หลังพระเจ้าไชยราชาธิราชเสด็จสวรรคตเพราะถูกปลงพระชนม์ แผ่นดินอยุธยาก็อ่อนแอลงด้วยการ แย่งชิง อานาจ พระยอดฟ้าซึ่งมีพระชนม์เพียง 11 พรรษาขึ้นครองราชย์ได้ไม่ทันไรก็ถูกปลงพระชนม์อีก ในท่ี สุดก็ถึงแผ่นดิน สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ พม่าสบโอกาสยกทัพผ่านด่านเจดีย์ 3 องค์ เข้ามาปิดล้อมกรุงศรี อยุธยา สมเด็จพระมหา จกั รพรรดนิ ากองทพั ออกสู้รบ ในช่วงนเ้ี องท่ีหน้า ประวัตศิ าสตร์ได้บนั ทกึ วีรกรรมของวีรสตรพี ระองคห์ น่ึง คือ สมเด็จพระ ศรี สุริโยทัย ที่ปลอมพระองค์ออกรบด้วย และได้ไสช้างเข้าขวางสมเด็จพระมหาจักรพรรดิที่กาลังเพลี่ยงพล้า จนถูกฟัน สิ้นพระชนม์ขาดคอช้าง ทุกวันน้ีอนุสาวรีย์เชิดชูวีรกรรมของพระองค์ยังคงต้ังเด่นเป็นสง่า อยู่ใจกลาง เมื อง พระนครศรอี ยุธยา คร้ังน้ันเม่ือพม่ายึดพระนครไม่สาเร็จ เพราะไม่ชานาญภูมิประเทศ กองทัพพระเจ้าตะเบ็งชะเวต้ีต้องยกทัพ กลับไปในทีส่ ุด ฝา่ ยไทยก็ตระเตรียมการป้องกันพระนครเพ่ือตั้งรับการรกุ ราน ของพม่าท่ีจะมีมาอีก การเตรียมกาลังผู้คน การคล้องช้างเพ่อื จัดหาช้างไว้ เป็นพาหนะสาคญั ในการทาศึกครั้งนี้ ทาให้มีการพบช้างเผือกถงึ 7 เชือก อันเป็นบุญบารมี สงู สุดของพระมหากษัตริย์ แต่นนั่ กลับนามาซ่งึ สงคราม ยดื เย้อื ยาวนานอยู่นับสิบปี พระเจ้าบุเรงนอง ผู้นาพม่าคนใหม่อ้างเหตุการณ์ต้องการช้างเผือกท่ีสมเด็จพระมหาจักรพรรดิมีอยู่ถึง 7 เชือก ยกทัพมาทาสงครามกบั กรงุ ศรีอยุธยาอีกครั้ง แล้วไทยก็เสียกรุงแกพ่ ม่าเปน็ คร้งั แรกใน พ.ศ.2112 ช้างเผอื กอนั เป็นสาเหตุ ของสงครามก็ถูกกวาดต้อนไปพร้อมกับผู้คนจานวนมาก พระ นเรศวรและพระเอกาทศรถ พระโอรสของพระมหาธรรม ราชาท่พี ม่าตัง้ ให้ เป็นกษัตรยิ ป์ กครองอยธุ ยาตอ่ ไปในฐานะเมืองประเทศราชก็ทรงถูกบังคับ ให้ตอ้ งไปดว้ ย การเสียกรุงคร้ังนั้นกินเวลายาวนานถึง 15 ปี ซ่ึงเวลาดังกล่าวพระเจ้าบุเรงนอง ทรงให้สมเด็จพระมหาธรรม ราชาธิราช ข้ึนเป็นกษัตริย์ครองกรุงศรีอยุธยาในฐานะประเทศราช จนกระท่ังพระเจ้าบุเรงนองเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2524 พระนเรศ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (ขณะนั้นเป็นพระมหาอุปราชแห่งอยุธยา) พระราชโอรสในสมเด็จพระศรี
4 สรรเพชญ์ (พระมหาธรรมราชาธิราช-ขุนพิเรนทรเทพ) ทรงเสด็จหนีออกจากพม่าได้และ ทรงทาการประกาศอิสรภาพที่ เมืองแครง เม่ือปี พ.ศ. 2126 ครั้งนั้นพระบรมชนกนาถยังคงมีพระชนมชีพอยู่ ได้รับพระราชบัณฑูรเป็นสมเด็จพระมหา อุปราช ประทับ ณ พระราชวังจันทรฯ(วังหน้า) เมื่อสมเด็จพระนเรศวรประกาศอิสรภาพแล้ว กองทัพพม่านาโดย พระ มหาอุปราชก็คุมทัพลงมาปราบ สมเด็จพระนเรศวรยกทัพไปต้งั ท่ี ตาบลหนองสาหร่าย จงั หวัดสพุ รรณบรุ ี แล้วการรบครั้ง ยงิ่ ใหญ่ก็อบุ ตั ขิ ้ึน สมเด็จพระนเรศวรทรงทายุทธหัตถจี นได้ชยั ชนะ พระมหาอุปราชถูกฟนั ส้นิ พระชนมข์ าดคอชา้ ง เป็นผล ให้กองทัพพม่าต้องแตกพ่ายกลับไป ฉะนั้นพระวีรกรรมในคราวกอบกู้เอกราชจริงๆน้ัน สมเด็จพระนเรศวรราชาธิราช จึง ยังอยู่ในพระฐานะรัชทายาททั้งสิ้น และถือได้ว่าพระองค์คือพระมหากษัตริย์ไทยที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในหน้าประวัติศาสตร์ชาติ ไทย ภาพพระนเรศวรทรงกระทายทุ ธหัตถี จากหอประวัติพระนเรศวร ยคุ สมัยของสมเดจ็ พระนเรศวร กรุงศรีอยุธยาเป็นปึกแผน่ มั่นคง ศัตรูทางพม่าอ่อนแอลง ขณะเดยี วกันเขมรกถ็ ูก ปราบปรามจนสงบ ความ มั่นคงทางเศรษฐกิจจึงเกิดข้ึนตามมา อนั ส่งผลให้กรุงศรอี ยุธยากลายเป็น อาณาจักรทรี่ ุ่งเรืองถึง ขีดสดุ ตามคากลา่ วของชาวยุโรปทห่ี ล่ังไหลเขา้ มา ตดิ ต่อคา้ ขายในชว่ งเวลาดงั กล่าว นับต้ังแต่สมัยพระนเรศวรเป็นต้นมา กรุงศรีอยุธยาก็กลายเป็นศูนย์กลางการค้าท้ังในและนอกประเทศ มีผู้คน เดินทาง เข้ามาตดิ ตอ่ ค้าขายเปน็ จานวนมากต่างก็ชืน่ ชมเมอื งทีโ่ อบล้อมไปด้วยแม่ น้าลาคลอง ผูค้ นสัญจรไปมาโดยใช้เรือ เป็นพาหนะ จึงพากันเรียกพระ นครแห่งนี้ว่า เวนิสตะวันออก หลังจากโปรตุเกสเข้ามาติดต่อค้าขายเป็นชาติแรกแล้ว ฮอลันดา ญ่ีปุ่นและองั กฤษก็ตามเข้ามา ทั้งนไี้ มน่ ับจนี ซึ่งค้าขายกับกรุงศรีอยุธยา อยู่ก่อนแลว้ ชนชาติต่าง ๆ เหล่านี้ได้รับ การจดั สรรทด่ี ินให้อยเู่ ปน็ ยา่ นเฉพาะ ดงั ปรากฏชอื่ บ้านโปรตุเกส บา้ นญ่ปี นุ่ และบ้านฮอลันดามาจน ปัจจบุ นั บันทึกของชาวฝร่ังเศสคนหน่ึงซ่ึงบาทหลวงปาลเลอกัวซ์ได้คั ลอกมา เล่าถึงพระนครศรีอยุธยาในสมัยนั้นไว้ว่า เป็นพระนครท่ีมีผู้คนต่างชาติต่างภาษารวมกันอยู่ ดูเหมือนเป็น ศูนย์กลางการค้าขายในโลก ได้ยินผู้คนพูดภาษาต่าง ๆ ทุกภาษา ในบรรดาชาวต่างชาติที่มาค้าขายกับอยุธยาในยุคแรกนั้น ญ่ีปนุ่ กลับเป็นชาติที่มีอิทธิพลมากท่ีสุด ยามาดะ นา งามาซะ ชาวญ่ีปุ่นได้รับ ความไวว้ างใจถงึ ขนั้ ได้ดารงตาแหน่งขุนนางในราชสานักของพระเอกาทศรถ มยี ศเรียกว่า ออกญา
5 เสนาภิมุข ต่อมาได้ก่อความยุ่งยากขนึ้ จดหมดอทิ ธิพลไปในท่ีสดุ แมจ้ ะมชี นชาติต่าง ๆ เข้ามาค้าขายด้วยมากมาย แต่กรุง ศรีอยุธยาก็ดูเหมือนจะผูกพันการค้ากับจีนไว้อย่างเหนียวแน่น จีนเองก็ส่งเสริมให้อยุธยาผลิตเคร่ืองป้ันดินเผาโดยเฉพาะ เครอ่ื งสงั คโลก เพอ่ื ส่งออก ไปยงั ตะวนั ออกกลางและหมู่เกาะในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การคา้ ขายตา่ ง ๆ เหลา่ นี้ทาให้กรงุ ศรอี ยธุ ยามีการเก็บภาษที ี่ เรียกวา่ ขนอน มีดา่ นขนอนซงึ่ เปน็ ดา่ นเกบ็ ภาษีอยตู่ ามลาน้า ใหญ่ทง้ั 4 ทิศ และยังมีขนอนบกคอยเก็บภาษีที่มาทางบกอีกต่างหาก นอกเหนือจากความเปน็ เมืองท่าแล้ว อยุธยายงั เป็น ชุมทางการค้าภายในอีกด้วย ตลาดกว่า 60 แหง่ ในพระนคร มีทัง้ ตลาดน้า ตลาดบก และยังมียา่ นต่าง ๆ ทผี่ ลิตสินค้าด้วย ความชานาญเฉพาะด้าน มีย่านที่ ผลติ น้ามนั งา ยา่ นทามีด ยา่ นปน้ั หมอ้ ยา่ นทาแป้งหอมธปู กระแจะ ฯลฯ พระนอนศลิ ปกรรมสมัยอยุธยา คูคลองต่าง ๆ ในอยธุ ยาไดส้ ร้างสังคมชาวน้าข้ึนพร้อมไปกับวิถีชีวิตแบบเกษตรกรรม เมื่อถึงหน้าน้าก็มีการเล่น เพลงเรอื เป็นท่ีสนุกสนาน เมื่อเสรจ็ หน้านาก็มีการทอดกฐนิ ลอยกระทง งานรน่ื เรงิ ต่าง ๆ ของชาว บ้านมกั ทาควบคู่ไปกับ พิธีการของชาววัง เช่น พระราชพิธีจองเปรียญตามพระประทีป ซึ่งต่อมาเปล่ียนชื่อเป็นลอยกระทงทรงประทีป พระราช พิธี สงกรานต์ พระราชพิธีแรกนาขวัญ พิธีกรรมเหล่านี้สะท้อนวิถีชีวิตของชาวอยุธยาท่ีผูกพันอยู่กับธรรมชาติแม่น้าลา คลองอยา่ งเหนยี วแน่น อยุธยาเจริญขึ้นมาโดยตลอด การค้าสรา้ งความมั่งค่ังให้พระคลงั ที่มีสิทธ์ิซือ้ สินคา้ จากเรือสินค้าต่างประเทศทุก ลาได้ก่อนโดยไม่เสียภาษี ความมั่งคั่งของราชสานักนาไปสู่การสร้างวัดวาอารามต่าง ๆ การทานุ บารุงศาสนาและการ กอ่ สรา้ งพระราชวงั ให้ใหญ่โตสงา่ งาม
6 ในสายตาของชาวต่างประเทศแล้ว กรุงศรีอยุธยาเป็นมหานคร อันย่ิงใหญ่ ทมี่ ีพระราชวังเปน็ ศนู ย์กลาง โยสเซา เต็น พ่อค้าชาวฮอลันดาที่ เข้ามายงั กรุงศรีอยุธยาในสมยั สมเด็จพระเจ้าปราสาททองได้บันทึกไว้วา่ กรุงศรีอยธุ ยาเป็นนคร ทใ่ี หญ่โตโอ่อ่าวิจิตรพิสดาร และพระมหากษตั รยิ ์ สยามเปน็ บุคคลที่รา่ รวยทส่ี ดุ ในภาคตะวนั ออกน้ี พระนครแห่งน้ี ภายนอกอาจดูสงบงดงามและร่มเย็นจากสายตา ของคนภายนอก แต่แท้จริงแล้วบัลลังก์แห่ง อานาจภายในของกรุงศรี อยุธยาไมเ่ คยสงบ เมื่อสมเด็จพระเอกาทศรถเสด็จสวรรคต การแยง่ ชงิ อานาจได้ ดาเนินมาอยา่ ง ตอ่ เนื่อง จนถึงปี พ.ศ.2172 ราชวงศ์สุโขทัยท่ีครองราชย์ สืบต่อกันมาต้ังแต่สมัยของพระมหาธรรมราชาก็ถูกโคน่ ล้ม พระ เจ้า ปราสาททองเสด็จข้ึนครองราชย์ และสถาปนาราชวงศ์ปราสาททองข้ึน ใหม่แม้จะครองบัลลังก์จากการโค่นล้ม ราชวงศ์อ่ืนลง ยคุ สมัยของ พระองค์และสมเด็จพระนารายณม์ หาราชทยี่ าวนานถึง 60 ปนี ้ัน กลับ เรียกไดว้ ่าเปน็ ช่วงเวลา ท่ีกรุงศรีอยุธยาเจริญรุ่งเรืองถึงขีดสุด พระเจ้าปราสาททองทรงมุ่งพัฒนาบ้านเมืองทั้งทางด้านศิลปกรรมและการค้ากับ ตา่ งประเทศ ทรงโปรดใหส้ รา้ งวดั ไชยวัฒนารามรมิ ฝ่งั แม่นา้ เจ้าพระยาขึน้ ดว้ ยคตเิ ขาพระสุเมรุจาลอง อันเป็นแบบอย่างท่ี ได้รับอิทธิพลมาจากปราสาทขอม พรอ้ มกันน้ีก็ได้มีการคดิ ค้นรูปแบบทางศิลปกรรมใหม่ ๆ ขนึ้ เช่นพระเจดีย์ย่อมุมไม้สิบ สอง พระพทุ ธรปู ทรงเคร่ืองแบบอยธุ ยาอันงดงามกไ็ ดร้ ับการฟ้ืนฟูข้ึนมาในสมยั น้ี ทางด้านการค้ากับตา่ งประเทศ หลงั จาก ท่ีโปรตุเกสเข้ามาค้า ขายกับกรุงศรีอยุธยาจนทาให้เมืองลิสบอนของโปรตุเกสกลายเป็นศูนย์ กลางการค้าเครื่องเทศและ พริกไทยในยุโรปนานเกือบศตวรรษแล้ว ฮอลันดาจึงเร่ิมเข้ามาสร้างอิทธิพลแข่ง กรุงศรีอยุธยาสร้างไมตรีด้วยการให้สิทธิ พเิ ศษบางอยา่ งแก่พวก ดัตช์ เพื่อถว่ งดุลกบั ชาวโปรตเุ กสท่ีเรมิ่ กา้ วรา้ วและเรยี กร้องสทิ ธิพเิ ศษเพิ่มข้นึ ทุกขณะ ราชทตู ฝรัง่ เศสเข้าเฝ้าสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พอถึงสมัยพระเจ้าปราสาททอง การค้าของฮอลันดาเจริญรุ่งเรือง ข้ึนมาก จึงเริ่มแสดงอิทธิพลบีบคั้นไทย ประกอบกับพระคลังในสมัยนั้นได้ ดาเนินการผูกขาดสินค้าหลายชนิด รวมท้ังหนังสัตว์ท่ีเป็นสินค้าหลักของ ชาวดัตช์ ทา ให้เกดิ ความไม่พอใจถงึ ขนั้ จะใชก้ าลังกันข้ึน
7 ถึงสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ฮอลันดาก็คกุ คามหนัก ข้นึ ในทส่ี ุดก็เขา้ ยึดเรือสนิ คา้ ของพระนารายณ์ ท่ีชักธงโปรตุเกสในอา่ วตังเกยี๋ ต่อมาไมน่ านกน็ าเรอื 2 ลาเข้ามาปิดอ่าวไทย เรียกร้องไม่ให้จ้างชาว จนี ญ่ีปุ่น และญวนใน เรือสินค้าของอยุธยา เพื่อปิดทางไม่ให้อยุธยาค้า ขายแข่งด้วย มีการเจรจากันในท้ายท่ีสุด ซ่ึงผลจากการเจรจานี้ทาให้ ฮอลันดาได้สิทธิ์ผูกขาดหนังสัตว์อย่างเดิม เพื่อถ่วงดุลอานาจกับฮอลันดาที่นับวันจะเพ่ิมข้ึนทุกขณะ สมเด็จพระนารายณ์ จึงหัน ไปเอาใจอังกฤษกับฝร่ังเศสแทน ในช่วงนี้เองความสัมพันธ์ระหว่างกรุงสยามกับ ฝร่ังเศสเจริญรุ่งเรืองอย่างที่สุด บุคคลผู้หนึ่งที่ก้าวเข้ามาในช่วงนี้และตอ่ ไปจะได้มี บทบาทอย่างมากในราชสานกั สยาม กค็ ือ คอนแสตนตนิ ฟอลคอน ฟอลคอนเป็นชาวกรีกที่เข้ามารับราชการในแผ่นดินสมเด็จพระนารายณ์ราวกลาง รัชสมัย และเจริญก้าวหน้า จนข้ึนเป็นพระยาวิชาเยนทร์ในเวลาอันรวดเร็ว เวลาเดียว กันกับท่ีฟอลคอนก้าวขึ้นมามีอานาจในราชสานักไทย ฝรั่งเศส ในราชสานักของ พระเจ้าหลุยส์ท่ี 14 ท่ีเข้ามาติดต่อการค้าและเผยแพร่ศาสนาก็พยายามเกลี้ยกล่อม ให้สมเด็จพระ นารายณ์หันมาเขา้ รตี นกิ ายโรมันคาทอลกิ ตามอย่างประเทศฝร่งั เศส ในชว่ งเวลาน้ีไดม้ ีการส่งคณะทตู สยามเดนิ ทางไปฝรั่งเศสเพื่อเจริญสัมพันธไมตรี ทางฝร่ังเศสเองกส็ ง่ คณะทตู เข้า มาในสยามบ่อยคร้ัง โดยมีจุดประสงค์หลักคือชัก ชวนให้พระนารายณ์ทรงเข้ารีต ฟอลคอนเองซึ่งเปล่ียนมานับถือนิกาย โรมันคาทอลิกตามภรรยา ได้สมคบกับฝรั่งเศสคิดจะเปล่ียนแผ่นดินสยามให้เป็น เมืองขึ้นของฝร่ังเศส ดังเช่นใน พ.ศ. 2228 โดยราชทูตเชอวาเลีย เดอโชมองต์, ปี พ.ศ. 2230 โดยลาลูแบร์ ก็กลับไม่ประสบความสาเร็จในการเปล่ียนให้พระ เจ้าแผ่น ดินสยามหันมาเขา้ รตี ไม่นานชาวสยามก็เร่มิ ชงิ ชังฟอลคอนมากข้ึน อิทธิพลของฟอลคอนทีม่ ีต่อราช สานักสยามกเ็ พิ่มมากขน้ึ ทุกวนั ปี พ.ศ. 2231 สมเด็จพระนารายณ์ทรงประชวน หนัก ไม่สามารถว่าราชการได้ มีรับสั่งให้ฟอลคอนรีบลาออกจากราชการ และไป เสียจากเมืองไทย แต่ก็ช้าไปด้วยเกิดความวุ่นวายข้ึนเสียก่อน พระเพทราชาและ คณะผู้ไม่พอใจฝรั่งเศสจับฟอล คอนไปประหารชีวิต เมื่อสมเด็จพระนารายณ์เสด็จ สวรรคตในเดือนต่อมาพระเพทราชาก็เสด็จขึ้นเถลิงราชสมบัติแทน การเข้ามาของยุโรปจานวนมากในสมัยของสมเด็จพระเจ้าปราสาททองและสมเด็จ พระนารายณ์ นอกจากจะทาให้ บ้านเมืองมีความม่ังคั่งแล้ว ยังก้าวหน้าไปด้วยวิทยา การสมัยใหม่ทั้งทางด้านสถาปัตยกรรม การแพทย์ ดาราศาสตร์ การทหาร มีการ ก่อสร้างอาคาร ป้อมปราการ พระท่ีน่ังในพระราชวังเพ่ิมเติมด้วยเทคโนโลยีแบบ ตะวันตก นอกจากนี้ ภาพวาดของชาวตะวนั ตกยงั แสดงให้เหน็ วา่ มีการสอ่ งกล้องดู ดาวในสมัยสมเดจ็ พระนารายณด์ ว้ ย เมอ่ื สน้ิ รัชกาลสมเด็จพระนารายณ์ ความขัดแยง้ ภายในเมอื งจากการแย่งชิงราช สมบัติเกิดข้นึ อยตู่ ลอดเวลา ทา ให้การตดิ ต่อกบั ตา่ งประเทศซบเซาลงไป ตั้งแตร่ ัช สมัยสมเด็จพระเพทราชาจนถึงพระเจ้าท้ายสระ มีการก่อสร้างสิ่งใหม่ๆ เพยี งไมก่ ่อี ยา่ ง ครั้นถึงสมัยพระเจ้าบรมโกศ บ้านเมืองก็กลบั เจริญรุ่งเรืองขึน้ มาอีกครั้งในช่วง ระยะเวลาหน่ึง จนกล่าวได้วา่ ยุค สมัยของพระองค์นบั เปน็ ยคุ ทองของศิลปวทิ ยา การอยา่ งแทจ้ ริงก่อนที่กรงุ ศรีอยธุ ยาจะตกต่าไปจนถงึ กาลล่มสลาย ในรัชกาลน้ีได้มีการบูรณปฏิสังขรณ์พระราชวังและวัดวาอารามต่างๆ ศิลปกรรม เฟ่ืองฟูข้ึนมาอย่างมากทั้งใน ด้านลวดลายปูนปั้น การลงรักปิดทอง การชา่ งประดบั มุก การแกะสลักประตูไม้ ทางด้านวรรณคดีก็มีกวเี กิดขนึ้ หลายคน ท่โี ดเด่นและ เป็นท่ีรู้จักคือ เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร ผู้นิพนธ์กาพย์เห่เรือ ส่วนการมหรสพก็มกี ารฟ้ืน ฟูบทละครนอกละครใน ขน้ึ มาเล่นกันอย่างกว้างขวาง กรุงศรีอยุธยาถกู ขับกล่อม ด้วยเสียงดนตรแี ละความร่ืนเริงอยตู่ ลอดเวลา แต่ทา่ มกลางความ สงบสุขและรุ่งเรืองทางศิลปวัฒนธรรม ความขัดแย้งค่อยๆ ก่อตัวขึ้น การแย่งอานาจท้ังในหมู่พระราชวงศ์ ขุนนาง ทาให้ อกี ไม่ถงึ 10 ปตี ่อ มากรงุ ศรอี ยธุ ยากเ็ สยี แก่พม่าในสมัยของพระเจ้าเอกทัศน์ เม่อื พ.ศ.2310
8 กรุงศรีอยุธยาในสมัยของพระเจ้าบรมโกศจนถึงสมัยของพระเจ้าเอกทัศน์น้ัน คล้ายกับพลุท่ีจุดขึ้นสว่างโร่บน ท้องฟ้าชั่วเวลาเพียงไม่นานแล้วก็ดับวูบลงทันที กรุงแตกเม่ือ 7 เมษายน พ.ศ. 2310 เล่ากันว่าในกาแพงเมืองมีผู้คนหนี พม่า มาแออัดอยู่นับแสนคน ปรากฏว่าได้ถูกพม่าฆ่าตายไปเสียกว่าครึ่ง ท่ีเหลือก็หนี ไปอยู่ตามป่าตามเขา พม่าได้ ปล้นสะดม เผาบ้านเรือน พระราชวังและวัดวาอาราม ต่างๆจนหมดส้ิน นอกจากนี้ยังหลอมเอาทองที่องค์พระและกวาด ต้อนผู้คนกลับ ไปจานวนมาก อารยธรรมท่ีส่ังสมมากว่า 400 ปี ของกรุงศรีอยุธยาก็ถูกทาลาย ลงอย่างราบคาบเมื่อส้ิน สงกรานต์ปีน้ัน กษัตริย์พระองค์สุดท้าย องค์ที่ 33 ของกรุงศรีอยุธยาคือพระเจ้าเอกทัศ หรือสมเด็จพระที่น่ังสุริยาศน์อัมรินทร์ ทรงข้ึนครองราชย์เมื่อปี พ.ศ. 2301 ต่อมาในปี พ.ศ. 2308 จึงเริ่มถูกรุกรานจากพม่า พอถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2310 หลังจากถูกล้อมกรุงมาเป็นเวลานาน ทหารพม่าก็ยกพลเข้ามาภายในกรุงศรีอยุธยาสาเร็จ บ้านเมืองถูกทาลายอย่างหนัก ถอื เป็นอันส้นิ สดุ ความยิ่งใหญ่ยาวนานกวา่ 417 ปี ไวเ้ พยี งเท่านั้น หลังจากกรุงแตกแล้วพม่าก็มไิ ด้เข้ามาปกครองสยามอย่างเต็มตัว คงท้ิงใหส้ ุก้ี พระนายกองตัง้ อยทู่ ่ีค่ายโพธิ์สาม ต้นเพื่อดูแลความสงบเรียบร้อย สภาพบ้าน เมืองหลังจากเสียแก่พม่าแล้วก็มีชุมนุมเกิดข้ึนตามหัวเมืองต่าง ได้แก่ ชุมนุม เจ้าฝาง ชุมนุมเจ้าตาก ชุมนุมเจ้าพิษณุโลก ชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช ที่ต่างก็ซ่องสุมผู้คนเพ่ือเตรียมแผนการใหญ่ใน บรรดาชุมนุมใหญ่น้อยเหล่าน้ี พระยาวชิรปราการ(พระยาตาก)ได้เติบโตเข้มแข็งขึ้นเมื่อ ยึดได้เมืองจันทบูร ตราด และ ธนบุรี กองทัพพระเจ้าตากใช้เวลาหลายเดือนในการรวบรวมผู้ คนตระเตรียมเรือรบ แล้วจึงเดินทัพทางทะเลขึ้นมาจนถึง เมืองธนบุรี เข้ายึด เมืองธนบุรีได้แล้ว ไม่นานก็ตีค่ายพม่าท่ีโพธ์ิสามต้นแตกในวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2310 นับรวม เวลาในกรุงศรีอยุธยาขับไล่กาลังพลพม่าออกไปสาเร็จไม่ถึงหน่ึงปี จากน้ันในวันท่ี 28 ธันวาคม พ.ศ. 2310 พระยาวชิร ปราการได้ทาพิธีปราบดาภิเษกทานองเป็นพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา (แต่นักประวัติศาสตร์นับเป็นสมัยธนบุรี) เฉลิมพระนามว่า \"สมเด็จพระบรมราชาที่ 4\" แต่ส่วนมากคนมักเรียกท่านว่า สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ขณะมี พระชนมายุได้ 33 พรรษา ทวา่ ด้วยสภาพเมืองเสยี หายอย่างหนกั ทาให้พระยาตากเลือกที่มัน่ สรา้ งเมอื งใหม่ สถาปนากรุง ธนบรุ ขี ึ้นเป็นราชธานี เรกนัม เสียน” (Regnum Sian) แผนทีร่ ว่ มสมยั “ยทุ ธหัตถี”
9 การขยายดินแดน กรุงศรีอยุธยาดาเนินนโยบายขยายอาณาจักรด้วย 2 วิธคี ือ ใชก้ าลังปราบปราม ซึ่งเห็นไดจ้ ากชัยชนะในการยึดครองเมือง นครธม (พระนคร) ได้อย่างเด็ดขาดในสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี 2 และอีกวิธีหนึ่งคือ การสร้างความสัมพันธ์แบบ เครอื ญาติ อันเห็นได้จากการผนวกกรุงสุโขทัยเขา้ เป็นส่วนหน่ึงของอาณาจกั ร การล่มสลายของอาณาจักร ช่วงสมัยรัชกาลของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เกิดการแย่งชิงราชสมบัติระหว่างพระเจ้าเอกทัศกับพระเจ้าอุทุมพร เนื่องจากพระองค์ทรงเลือกพระอนุชาขนึ้ เปน็ กษัตรยิ ไ์ ม่เป็นไปตามราชประเพณี แต่พระเจ้าเอกทัศก็ทวงบัลลงั ก์ ไดข้ ้ึนเป็น กษตั รยิ ์องค์สุดท้ายแหง่ กรุงศรอี ยธุ ยา ครั้นในปี พ.ศ. 2303 พระเจ้าอลองพญาทรงนาทัพมารุกรานอาณาจักรอยุธยา พระ เจ้าอุทุมพรทรงถูกเรียกตัวมาบัญชาการต้ังรับพระนคร แต่ภายหลังจากท่ีกองทัพพม่ายกกลับนั้น พระองค์ก็ได้ลาผนวช ดังเดิมในปี พ.ศ. 2308 พระเจ้ามังระ บุตรของพระเจ้าอลองพญา ก็ได้รุกรานอาณาจักรอยุธยาอีกคร้ังหนึ่ง โดยแบ่งกอง กาลังออกเปน็ 2 ส่วน คอื ฝ่ายเหนือภายใต้การบงั คบั ของเนเมยี วสหี บดี และฝา่ ยใต้ภายใตก้ ารนาของมงั มหานรธา และมุ่ง เข้าตีอาณาจักรอยุธยาพร้อมกันท้ังสองด้าน ฝ่ายอยุธยาทาการต้ังรับอย่างเข้มแข็ง และสามารถต้านทานการปิดล้อมของ กองทัพพม่าไว้ได้นานถงึ 14 เดือน แต่ก็ไม่อาจหยุดยั้งการล่มสลายได้ กองทัพพม่าสามารถเข้าเมืองได้ในวันที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2310 รายพระนามพระมหากษตั ริย์ ลาดบั พระนาม พระราช เริม่ สน้ิ รชั กาล สวรรคต รวมปีครองราชย์ สมภพ ครองราชย์ ราชวงศ์อทู่ อง (ครง้ั ท่ี 1) 1 สมเด็จพระรามาธบิ ดีท่ี 1 พ.ศ. 1855 พ.ศ. 1893 พ.ศ. 1912 20 ปี (พระเจ้าอู่ทอง) 2 สมเด็จพระราเมศวร พ.ศ. 1885 พ.ศ. 1912 พ.ศ. 1913 พ.ศ. 1938 ไม่ถงึ 1 ปี (1) ราชวงศส์ พุ รรณภูมิ (คร้ังที่ 1) 3 สมเด็จพระบรมราชาธริ าชท่ี 1 พ.ศ. 1853 พ.ศ. 1913 พ.ศ. 1931 18 ปี (ขุนหลวงพะงว่ั ) 4 สมเดจ็ พระเจ้าทองลนั พ.ศ. 1917 พ.ศ. 1931 7 วัน (เจา้ ทองจนั ทร)์ ราชวงศอ์ ทู่ อง (ครัง้ ท่ี 2)
10 2 สมเดจ็ พระราเมศวร พ.ศ. 1885 พ.ศ. 1931 พ.ศ. 1938 7 ปี (2) 15 ปี 5 สมเดจ็ พระรามราชาธิราช พ.ศ. 1899 พ.ศ. 1938 พ.ศ. 1952 ? 15 ปี ราชวงศส์ พุ รรณภูมิ (ครั้งที่ 2) 24 ปี 6 สมเดจ็ พระอินทราชา พ.ศ. 1902 พ.ศ. 1952 พ.ศ. 1967 (เจา้ นครอนิ ทร)์ 40 ปี 3 ปี 7 สมเด็จพระบรมราชาธริ าชที่ 2 พ.ศ. 1929 พ.ศ. 1967 พ.ศ. 1991 38 ปี (เจา้ สามพระยา) 4 ปี 8 สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พ.ศ. 1974 พ.ศ. 1991 พ.ศ. 2031 5 เดือน 9 สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชท่ี 3 พ.ศ. 2005 พ.ศ. 2031 พ.ศ. 2034 12 ปี 10 สมเดจ็ พระรามาธิบดที ี่ 2 พ.ศ. 2015 พ.ศ. 2034 พ.ศ. 2072 2 ปี 11 สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที่ 4 พ.ศ. 2040 พ.ศ. 2072 พ.ศ. 2076 42 วัน (หน่อพุทธางกรู ) (ไม่ไดร้ บั การยก ยอ่ ง แตผ่ า่ นพระ 12 พระรัษฎาธิราช พ.ศ. 2072 พ.ศ. 2077 ราชพธิ ีบรม ราชาภเิ ษก) 13 สมเดจ็ พระไชยราชาธริ าช พ.ศ. 2045 พ.ศ. 2077 พ.ศ. 2089 20 ปี 14 พระยอดฟ้า พ.ศ. 2078 พ.ศ. 2089 พ.ศ. 2091 (พระแกว้ ฟ้า) 1 ปี - ขนุ วรวงศาธริ าช พ.ศ. 2049 พ.ศ. 2091 15 สมเดจ็ พระมหาจักรพรรดิ พ.ศ. 2048 พ.ศ. 2091 พ.ศ. 2111 (พระเจา้ ชา้ งเผอื ก) พ.ศ. 2082 พ.ศ. 2111 7 สงิ หาคม พ.ศ. 2112 16 สมเด็จพระมหนิ ทราธิราช เสียกรุงคร้งั ท่ี 1
11 ราชวงศส์ โุ ขทัย สมเดจ็ พระมหาธรรม 17 ราชาธิราช พ.ศ. 2059 พ.ศ. 2112 พ.ศ. 2133 21 ปี (สมเด็จพระสรรเพชญ์ท่ี 1) 18 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พ.ศ. 2098 29 15 ปี (สมเดจ็ พระสรรเพชญท์ ี่ 2) กรกฎาคม พ 25 เมษายน พ.ศ. 2148 .ศ. 2133 19 สมเด็จพระเอกาทศรถ 25 5 ปี (สมเด็จพระสรรเพชญ์ท่ี 3) พ.ศ. 2104 เมษายน พ.ศ พ.ศ. 2153 . 2148 20 พระศรเี สาวภาคย์ ? พ.ศ. 2153 2 เดือน (สมเดจ็ พระสรรเพชญท์ ี่ 4) 21 สมเดจ็ พระเจ้าทรงธรรม พ.ศ. 2125 พ.ศ. 2154 12 ธนั วาคม พ.ศ. 2171 17 ปี (สมเดจ็ พระบรมราชาที่ 1) 22 สมเดจ็ พระเชษฐาธิราช พ.ศ. 2156 พ.ศ. 2171 พ.ศ. 2173 1 ปี 8 เดือน 23 พระอาทติ ยวงศ์ พ.ศ. 2161 พ.ศ. 2173 พ.ศ. 2173 พ.ศ. 2178 36 วัน ราชวงศป์ ราสาททอง 24 สมเดจ็ พระเจ้าปราสาททอง พ.ศ. 2143 พ.ศ. 2173 พ.ศ. 2199 25 ปี (สมเดจ็ พระสรรเพชญท์ ี่ 5) 25 สมเดจ็ เจา้ ฟ้าไชย ? พ.ศ. 2199 9 เดอื น (สมเดจ็ พระสรรเพชญท์ ่ี 6) 26 สมเดจ็ พระศรีสุธรรมราชา ? พ.ศ. 2199 2 เดือน 17 วนั (พระสรรเพชญท์ ่ี 7) 27 สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช พ.ศ. 2175 พ.ศ. 2199 พ.ศ. 2231 11 (สมเดจ็ พระรามาธิบดีที่ 3) กรกฎาคม พ 32 ปี .ศ. 2231 ราชวงศ์บา้ นพลูหลวง
12 28 สมเดจ็ พระเพทราชา พ.ศ. 2175 พ.ศ. 2231 พ.ศ. 2246 15 ปี สมเด็จพระสรรเพชญท์ ี่ 8 5 ปี 29 (สมเดจ็ พระสรุ เิ ยนทราธบิ ด)ี พ.ศ. 2204 พ.ศ. 2246 พ.ศ. 2251 (พระเจา้ เสอื ) สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 24 ปี 30 (สมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ท้าย พ.ศ. 2221 พ.ศ. 2251 พ.ศ. 2275 สระ) 31 สมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั บรมโกศ พ.ศ. 2223 พ.ศ. 2275 พ.ศ. 2301 26 ปี 32 สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร พ.ศ. 2265 พ.ศ. 2301 พ.ศ. 2339 2 เดือน (ขุนหลวงหาวัด) สมเด็จพระที่น่ังสุรยิ าศน์อัมริ 7 26 33 นทร์ พ.ศ. 2252 พ.ศ. 2301 เมษายน พ.ศ. เมษายน พ.ศ 9 ปี (พระเจ้าเอกทศั ) 2310 . 2311 พระราชวงศ์ ราชวงศก์ ษัตริย์ของกรงุ ศรีอยุธยา ประกอบดว้ ย 5 ราชวงศ์ คือ 1.ราชวงศ์อู่ทอง มีกษัตรยิ ์ 3 พระองค์ 2.ราชวงศส์ ุพรรณภมู ิ มีกษัตริย์ 13 พระองค์ 3.ราชวงศส์ โุ ขทัย มีกษัตรยิ ์ 7 พระองค์ 4.ราชวงศ์ปราสาททอง มีกษัตริย์ 4 พระองค์ 5.ราชวงศ์บา้ นพลูหลวง มีกษัตริย์ 6 องค์ ซ่ึงรวมเป็นกษัตริย์รวม 34 (นับรวมขุนวรวงศาธิราช ) พระองค์ ซึ่งถือว่ามีมาก ซ่ึง อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานี มาตงั้ แตว่ นั ที่ 3 เมษายน 1893 จนถึงวันที่ 7 เมษายน 2310 เป็นเวลายาวนานถงึ 417 ปีเลยทีเดยี ว การปกครอง การจัดการปกครองในสมัยอยุธยาสามารถแบ่งออกได้เป็นสามช่วง คือ ช่วงก่อนการปฏิรูปการปกครองของสมเด็จพระ บรมไตรโลกนาถ (1-1991) ช่วงสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถจนถึงสมัยสมเด็จพระเพทราชา (1991-2231) และการปฏิรูป การปกครองของสมเดจ็ พระเพทราชาเป็นต้นไป (2231-2310)
13 อยธุ ยาตอนตน้ (1893-1991) มีการปกครองคล้ายคลึงกับในช่วงสุโขทัย ในราชธานี พระมหากษัตริย์มีสิทธ์ิปกครองโดยตรง หากก็ทรงใช้อานาจผ่าน ข้าราชการและขุนนางเช่นกัน นอกจากนี้ยังมีระบบการปกครองภายในราชธานีที่เรียกว่า จตุสดมภ์ ตามการเรียกของ สมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอกรมพระยาดารงราชานภุ าพอันได้แก่ กรมเวียง กรมวัง กรมคลัง และกรมนา การปกครองนอกราชธานี ประกอบด้วย เมอื งหน้าด่าน เมืองช้ันใน เมอื งพระยามหานคร และเมอื งประเทศราช โดยมีรูปแบบกระจายอานาจออกจากศูนย์กลางค่อนข้างมากเมืองหน้าด่าน ได้แก่ ลพบุรี นครนายก พระประแดง และ สุพรรณบุรี ต้ังอยู่รอบราชธานีท้ังสี่ทิศ ระยะเดินทางจากราชธานีสองวัน พระมหากษัตริย์ทรงส่งเช้ือพระวงศ์ที่ไว้วาง พระทัยไปปกครอง หากก็นามาซึ่งปัญหาการแยง่ ชงิ ราชสมบัติอยู่บ่อยคร้ัง เมืองชน้ั ในทรงปกครองโดยผู้รั้ง ถดั ออกไปเป็น เมอื งพระยามหานครหรือหัวเมอื งชน้ั นอก ปกครองโดยเจ้าเมอื งทส่ี ืบเชื้อสายมาแต่เดมิ มีหนา้ ที่จา่ ยภาษีและเกณฑ์ผู้คนใน ราชการสงคราม และสุดท้ายคือเมืองประเทศราช พระมหากษัตริย์ปล่อยให้ปกครองกันเอง เพียงแต่ต้องส่งเครื่อง บรรณาการมาให้ราชธานที ุกปี สมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถถงึ พระเพทราชา (1991-2231) สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงยกเลิกระบบเมืองหน้าด่านเพ่ือขจัดปัญหาการแย่งชิงราชสมบัติ และขยาย อานาจของราชธานีโดยการกลืนเมืองรอบข้างเข้าเป็นส่วนหน่ึงของราชธานี สาหรับระบบจตุสดมภ์ ทรงแยกกิจการพล เรือนออกจากกิจการทหารอย่างชัดเจน ให้อยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของสมุหนายกและสมุหกลาโหมตา มลาดับ นอกจากนย้ี งั มกี ารเปล่ยี นชอ่ื กรมและชื่อตาแหนง่ เสนาบดี แต่ยังคงไว้ซ่ึงหนา้ ทคี่ วามรับผดิ ชอบเดิม ส่วนการปกครองสว่ นภูมิภาคมีลักษณะเปล่ียนไปในทางการรวมอานาจเข้าสู่ศูนย์กลางให้มากที่สุด โดยให้เมือง ช้ันนอกเข้ามาอยู่ภายใต้อานาจของราชธานี มีระบบการปกครองที่ลอกมาจากราชธานี มีการลาดับความสาคัญของหัว เมืองออกเป็นช้ันเอก โท ตรี สาหรับหัวเมืองประเทศราชน้ันส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมากนัก หากแต่พระมหากษัตริย์จะมีวิธีการควบคุมความจงรักภักดีต่อราชธานีหลายวิธี เช่น การเรียกเจ้าเมืองประเ ทศราชมา ปรึกษาราชการ หรือมาร่วมพระราชพิธีบรมราชาภิเษกหรือถวายพระเพลิงพระบรมศพในราชธานี การอภิเษกสมรสโดย การใหส้ ่งราชธิดามาเป็นสนม และการส่งข้าราชการไปปกครองเมืองใกลเ้ คียงกับเมอื งประเทศราชเพอื่ คอยส่งข่าว ซึ่งเมอื ง ที่มหี นา้ ทีด่ งั กลา่ ว เชน่ พิษณุโลกและนครศรธี รรมราช สมยั ต้ังแต่พระเพทราชา (2231-2310) ในสมัยพระเพทราชา ทรงกระจายอานาจทางทหารซึ่งเดิมข้ึนอยู่กับสมุหกลาโหมแต่ผู้เดียวออกเป็นสามส่วน โดยให้สมุหกลาโหมเปลี่ยนไปควบคุมกิจการทหารในราชธานี กิจการทหารและพลเรือนของหวั เมืองทางใต้ ให้สมุหนายก ควบคุมกิจการพลเรือนในราชธานี กิจการทหารและพลเรือนของหัวเมืองทางเหนือ และพระโกษาธิบดี ให้ดูแลกิจการ ทหารและพลเรือนของหัวเมืองตะวันออก ต่อมา สมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (2275-2301) ทรงลดอานาจของสมุ หกลาโหมเหลือเพยี งทปี่ รึกษาราชการ และให้หัวเมืองทางใต้ไปขน้ึ กับพระโกษาธิบดดี ้วย นอกจากนี้ ในสมัยพระมหาธรรมราชา ยังได้จัดกาลังป้องกันราชธานีออกเป็นสามวัง ได้แก่ วังหลวง มีหน้าท่ี ป้องกันพระนครทางเหนือ วังหน้า มีหน้าที่ป้องกันพระนครทางตะวันออก และวังหลัง มีหน้าท่ีป้องกันพระนครทาง ตะวนั ตก ระบบดงั กลา่ วใช้มาจนถงึ สมัยพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว
14 ประชากรศาสตร์ ในชว่ งปลายพุทธศตวรรษท่ี 20 อาณาจักรอยุธยามปี ระชากรประมาณ 1,900,000 คน ซง่ึ นับชายหญิงและเด็ก อย่างครบถ้วน แต่ลาลูแบร์กล่าวว่า ตังเลขดังกล่าวน่าจะไม่ถูกต้องเนื่องจากมีผู้หนีการเสียภาษีอากรไปอยู่ตามป่าตามดง อีกมาก มีกลุ่มชาติพันธุ์หลักคือไทยสยาม ซ่ึงเป็นกลุ่มชาติพันธ์ุในตระกูลภาษาไท-กะได ซึ่งบรรพบุรุษของไทยสยาม ปรากฏหลักแหล่งของกลุ่มคนท่ีใช้ภาษาตระกูลไท-กะไดเก่าแก่ท่ีสุดอายุกว่า 3,000 ปี ซึ่งมีหลักแหล่งแถบกวางสี คาบ เกี่ยวไปถึงกวางตุ้งและแถบลุ่มแม่น้าดา-แดงในเวียดนามตอนบน ซ่ึงกลุ่มชนน้ีมีความคลื่นไหวไปมากับดินแดนไทยใน ปัจจุบันทั้งทางบกและทางทะเลและมีการคลื่นไหวไปมาอย่างไม่ขาดสาย ในยุคอาณาจักรทวารวดีในแถบลุ่มแม่น้า เจา้ พระยาช่วงหลังปี พ.ศ. 1100 ก็มีประชากรตระกูลไทย-ลาว เปน็ ประชากรพ้นื ฐานรวมอยู่ดว้ ย ซ่ึงเป็นกล่มุ ชนอพยพลง มาจากบริเวณสองฝ่ังโขงลงทางลุ่มน้าน่านแล้วลงสู่ลุ่มแม่น้าเจ้าพระยาฟากตะวันตกแถบสุพรรณบุรี ราชบุรี ถึงเพชรบุรี และเกี่ยวข้องไปถึงเมืองนครศรีธรรมราช ซ่ึงในส่วนน้ีลาลูแบร์ เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสในรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์ มหาราช ไดบ้ ันทกึ เกีย่ วกบั ชาวสยามว่า ชาวลาวกบั ชาวสยามเกอื บจะเป็นชนชาติเดยี วกัน เอกสารจีนทบี่ ันทึกโดยหม่าฮวนได้กล่าวไว้ว่า ชาวเมอื งพระนครศรีอยุธยาพดู จาด้วยภาษาอยา่ งเดยี วกับกลมุ่ ชน ทางตะวนั ออกเฉียงใต้ของจีน คือพวกทีอ่ ยู่ในมณฑลกวางตุ้งกับกวางสี และด้วยความที่ดินแดนแถบอุษาคเนย์เป็นดินแดน ที่อุดมสมบูรณ์จึงมีกลุ่มชาติพันธุ์หลากหลายต้ังหลักแหล่งอยู่ปะปนกันจึงเกิดการประสมประสานทางเผ่าพันธ์ุ วัฒนธรรม และภาษาจนไม่อาจแยกออกจากกันไดอ้ ยา่ งชัดเจน และดว้ ยการผลกั ดันของรัฐละโว้ ทาให้เกิดรัฐอโยธยาศรรี ามเทพนคร ภายหลังปี พ.ศ. 1700 กไ็ ด้มกี ารเปล่ียนแปลงทางสังคมและวฒั นธรรมหลายอย่าง ดว้ ยเหตุทก่ี รุงศรีอยธุ ยาเปน็ อาณาจักรท่ีมีความเจริญรุ่งเรืองกลุ่มชาติพันธ์ุกล่มุ อืน่ ๆ ได้อพยพเขา้ มาพึง่ พระบรม โพธสิ มภาร เชลยท่ีถกู กวาดต้อน ตลอดจนถึงชาวเอเชียและชาวตะวันตกทีเ่ ขา้ มาเพ่ือการค้าขาย ในกฎมนเทียรบาลยุคต้น กรุงศรีอยุธยาได้เรียกช่ือชนพื้นเมืองต่างๆได้แก่ \"แขกขอมลาวพม่าเมงมอญมสุมแสงจีนจามชวา...\" ซึ่งมีการเรียกชน พื้นเมอื งทอี่ าศัยปะปนกันโดยไม่จาแนกว่า ชาวสยามในจานวนนม้ี ชี าวมอญอพยพเขา้ มาในสมยั สมเดจ็ พระมหาธรรมราชา , สมเด็จพระนเรศวรมหาราช, สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง, สมเด็จพระนารายณ์มหาราช และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรม โกศ เนื่องจากชาวมอญไม่สามารถทนการบีบค้ันจากการปกครองของพม่าในช่วงราชวงศ์ตองอู จนในปี พ.ศ. 2295 พม่า ได้ปราบชาวมอญอย่างรุนแรง จึงมกี ารลีภ้ ัยเข้ามาในกรุงศรีอยุธยาจานวนมากโดยชาวมอญในกรุงศรีอยุธยาตงั้ ถิ่นฐานอยู่ ริมแม่นา้ เชน่ บ้านขม้ินรมิ วดั ขุนแสน ตาบลบ้านหลังวัดนก ตาบลสามโคก และวดั ทา่ หอยชาวเขมรอยู่วัดคา้ งคาวชาวพม่า อยู่ข้างวัดมณเฑยี รส่วนชาวตังเก๋ียและชาวโคชนิ ไชนา่ (ญวน) ก็มีหม่บู า้ นเช่นกันเรียกวา่ หมู่บา้ นโคชินไชนา่ นอกจากนชี้ าว ลาวก็มีจานวนมากเช่นกัน โดยในรัชสมัยของสมเด็จพระราเมศวรครองราชย์คร้ังที่สอง ได้กวาดต้อนครัวลาวเชียงใหม่ ส่งไปไว้ยังจังหวัดพัทลงุ สงขลา นครศรธี รรมราชและจนั ทบุรี และในรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณม์ หาราชทีท่ รงยกทัพ ไปตีล้านนาในปี พ.ศ. 2204 ได้เมืองลาปาง ลาพนู เชียงใหม่ เชยี งแสน และไดก้ วาดต้อนมาจานวนหน่ึงเป็นตน้ โดยเหตุผล ทก่ี วาดต้อนเข้ามา ก็เพื่อวัตถปุ ระสงคท์ างด้านเศรษฐกจิ และการทหาร และนอกจากกลมุ่ ประชาชนแล้วกลมุ่ เชอ้ื พระวงศ์ท่ี เปน็ เชลยสงครามและผูท้ ่ีเข้ามาพ่ึงพระบรมโพธิสมภาร มีทั้งเชื้อพระวงศ์ลาว, เช้ือพระวงศเ์ ชียงใหม่ (Chiamay), เชือ้ พระ วงศพ์ ะโค (Banca), และเช้ือพระวงศก์ ัมพชู า นอกจากชุมชนชาวเอเชียท่ีถูกกวาดต้อนมาแล้วก็ยังมีชุมชนของกลุ่มผู้ค้าขายและผู้เผยแผ่ศาสนาทั้งชาวเอเชีย จากสว่ นอนื่ และชาวตะวันตก เช่น ชุมชนชาวฝร่งั เศสทบี่ า้ นปลาเหด็ ปัจจบุ ันอยทู่ างทิศใต้นอกเกาะอยุธยาใกลก้ บั วัดพุทไธ สวรรย์ ซึ่งภายหลังบ้านปลาเห็ตไดเ้ ปล่ียนช่ือเป็นบ้านเซนต์โยเซฟ หมู่บ้านญี่ปุ่นอยู่รมิ แมน่ ้าระหว่างหมู่บ้านชาวมอญและ โรงกลั่นสุราของชาวจีน ถัดไปเป็นชุมชนชาวฮอลันดาทางใต้ของชุมชนฮอลันดาเป็นถิน่ พานักของชาวอังกฤษ, มลายู และ
15 มอญจากพะโค นอกจากน้ีก็ยังมีชุมชนของชาวอาหรับ เปอร์เซีย และกลิงก์ (คนจากแคว้นกลิงคราฎร์จากอินเดีย)ส่วน ชุมชนชาวโปรตุเกสตั้งอยู่ตรงข้ามชุมชนญ่ีปุ่น ชาวโปรตุเกสส่วนใหญ่มักสมรสข้ามชาติพันธุ์กับชาวสยาม จีน และมอญ ส่วนชุมชนชาวจามมีหลักแหล่งแถบคลองตะเคียนทางใต้ของเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยาเรียกว่า ปทาคูจาม มีบทบาท สาคัญดา้ นการคา้ ทางทะเล และตาแหน่งในกองทพั เรือ เรยี กวา่ อาษาจาม และเรยี กตาแหน่งหวั หน้าว่า พระราชวังสัน ภาษา สาเนียงดั้งเดิมของกรุงศรีอยุธยามีความเช่ือมโยงกับชนพื้นเมืองต้ังแต่ลุ่มน้ายมท่ีเมืองสุโขทัยลงมาทางลุ่มน้า เจ้าพระยาฝ่ังตะวันตกในแถบสุพรรณบุรี, ราชบุรี,เพชรบุรี ซึ่งสาเนียงดังกล่าวมีความใกล้ชิดกับสาเนียงหลวงพระบาง โดยเฉพาะสาเนียงเหน่อของสพุ รรณบุรีมีความใกลเ้ คียงกบั สาเนียงหลวงพระบาง ซึ่งสาเนงี เหน่อดังกลา่ วเป็นสาเนยี งหลวง ของกรุงศรีอยุธยา ประชาชนชาวกรุงศรีอยุธยาทั้งพระเจ้าแผ่นดินจนถึงไพร่ฟ้าราษฏรก็ล้วนตรัสและพูดจ าใน ชีวิตประจาวัน ซ่ึงปัจจุบันเป็นขนบอยู่ในการละเล่นโขนที่ต้องใช้สาเนียงเหน่อ โดยหากเปรียบเทียบกับสาเนียงกรุงเทพฯ ในปัจจุบันนี้ ที่ในสมัยนั้นถือว่าเป็นสาเนียงบ้านนอกถิ่นเล็กๆของราชธานีที่แปร่งและเยื้องจากสาเนียงมาตรฐานของกรุง ศรีอยุธยา และถือว่าผิดขนบ ภาษาด้ังเดิมของกรุงศรีอยุธยาปรากฏอยู่ในโองการแช่งน้า ซ่ึงเป็นร้อยกรองท่ีเต็มไปด้วย ฉนั ทลักษณ์ทแี่ พรห่ ลายแถบแว่นแคว้นสองฝ่ังลุ่มแมน่ ้าโขงมาแต่ดึกดาบรรพ์ และภายหลงั ได้พากันเรียกว่าโคลงมณฑกคติ เนอื่ งจากเข้าใจว่าได้รับแบบแผนมาจากอนิ เดีย ซึ่งแท้จรงิ คือโคลงลาว หรือ โคลงห้า ทเี่ ป็นต้นแบบของโคลงด้นั และโคลงส่ี สุภาพ โดยในโองการแช่งน้าเต็มไปด้วยศัพท์แสงพื้นเมืองของไทย-ลาวส่วนคาท่ีมาจากบาลี-สันสกฤต และเขมรอยู่น้อย โดยหากอ่านเปรียบเทียบก็จะพบว่าสานวนภาษาใกล้เคียงกับข้อความในจารึกสมัยสุโขทัย และพงศาวดารล้านช้างด้วย เหตุที่กรุงศรีอยุธยาต้ังอยู่ใกล้ทะเลและเป็นศูนย์กลางการค้านานาชาติทาให้สังคมและวัฒนธรรมเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว ต่างกับบ้านเมืองแถบสองฝั่งโขงที่ห่างทะเลเป็นเหตุท่ีทาใหม้ ีลักษณะท่ีล้าหลังจึงสืบทอดสาเนียงและระบบความเช่ือแบบ ดงั้ เดิมไว้ไดเ้ กือบทั้งหมด ส่วนภาษาในกรุงศรีอยุธยาก็ได้รบั อิทธิพลของภาษาจากตา่ งประเทศจึงรับคาในภาษาต่างๆมาใช้ เช่นคาว่ากุหลาบ ที่ยืมมาจากคาว่า กุล้อบ ในภาษาเปอร์เซีย ท่ีมีความหมายเดิมว่า น้าดอกไม้ และยืมคาว่า ปาดรื (Padre) จากภาษาโปรตเุ กส แลว้ ออกเสียงเรียกเป็น บาทหลวงเป็นตน้ ระบบไพร่ อาณาจักรอยุธยามีการใช้ระบบไพร่อันเป็นการลิดรอนสิทธิเสรีภาพของประชาชนอย่างมากเม่ือเทียบกับสมัย สุโขทัย โดยกาหนดให้ชายทุกคนที่สูงตั้งแต่ 1.25 เมตรข้ึนไปต้องลงทะเบียนไพร่ ไพร่จะต้องทางานท่ีได้รับมอบหมาย เดือนเว้นเดือน โดยไม่มีคา่ ตอบแทนหรือเสบียงอาหารใด ๆ ระบบไพร่มีความสาคัญต่อการรักษาอานาจทางการเมืองของ พระมหากษัตริย์ เพราะหากมีการเบียดบังไพรโ่ ดยเจ้านายหรือขุนนางไว้เปน็ จานวนมากแลว้ ยอ่ มสง่ ผลต่อเสถียรภาพของ ราชบัลลังก์ได้ ตลอดจนส่งผลให้กาลังในการป้องกันอาณาจักรก็จะอ่อนแอ ไม่เป็นปึกแผ่น นอกจากน้ี ระบบไพร่ยังเป็น การเกณฑ์แรงงานเพ่ือใช้ประโยชน์ในโครงการก่อสร้างต่าง ๆ ซึ่งล้วนแต่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานชีวิตและความม่ันคงของ อาณาจักร ความสมั พนั ธก์ ับต่างประเทศ อาณาจักรอยุธยามักส่งเครื่องราชบรรณาการไปถวายจักรพรรดิจีนเป็นประจาทุกสามปี เคร่ืองบรรณาการน้ี เรียกว่า \"จิ้มก้อง\" นักประวัติศาสตร์เช่ือว่าการส่งเคร่ืองราชบรรณาการดังกล่าวแฝงจุดประสงค์ทางธุรกิจไว้ด้วย คือ เม่ือ อาณาจกั รอยุธยาได้ส่งเครอ่ื งราชบรรณาการไปถวายแลว้ ก็จะได้เคร่ืองราชบรรณาการกลับมาเปน็ มลู ค่าสองเทา่ ทง้ั ยังเป็น ธุรกิจที่ไม่มีความเสี่ยง จึงมักจะมีขุนนางและพ่อค้าเดินทางไปพร้อมกับการนาเครื่องราชบรรณาการไปถวายด้วย อาณาจักรอยุธยามีความสัมพันธ์กับชาติตะวันตกในด้านการค้าขายและการเผยแผ่ศาสนา โดยชาวตะวันตกได้นาเอา
16 วิทยาการใหม่ ๆ เข้ามาด้วย ต่อมา คอนสแตนติน ฟอลคอนได้เขา้ มามีอิทธิพลและยังมีหลักฐานว่าคบคิดกับฝร่ังเศสจะยึด ครองกรุงศรีอยุธยา บรรดาขุนนางจึงประหารฟอลคอนเสีย และลดระดับความสาคัญกับชาติตะวันตกตลอดช่วงเวลาท่ี เหลอื ของอาณาจักรอยุธยา สบื ค้นขอ้ มูลจาก https://th.wikibooks.org/wiki/ประวตั ิศาสตร์ไทย/ประวตั ิศาสตร์ไทยสมยั อยธุ ยา https://www.baanjomyut.com/76province/ayutthaya_2.html
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: