Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทะเลของเรา มัธยมศึกษา

ทะเลของเรา มัธยมศึกษา

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2022-10-16 08:37:21

Description: ทะเลของเรา มัธยมศึกษา

Search

Read the Text Version

อ�านาจอธิปไตย สทิ ธิอธิปไตย และเขตอ�านาจในเขตทางทะเลต่าง ๆ ของไทย ประเทศไทยมิได้มีอ�านาจอธิปไตยเหนือเขตทางทะเลอย่างสมบูรณ์ในทุกพ้ืนท ่ี เนอื่ งจากมกี ารกา� หนดอา� นาจ สทิ ธแิ ละหนา้ ทข่ี องรฐั ชายฝง่ั ไวใ้ นแตล่ ะเขตทางทะเล 7 เขต คอื น่านนา้� ภายใน ทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องเขตเศรษฐกจิ จ�าเพาะ ไหลท่ วปี ทะเลหลวง และบริเวณพน้ื ท ี่ ซง่ึ เป็นไปตามหลักสากล ดงั นัน้ ในบางพ้ืนทปี่ ระเทศไทยจะมอี �านาจอธปิ ไตยอย่างสมบูรณ ์ ในขณะท่ีบางพืน้ ที่ ประเทศไทยจะมเี พยี งสิทธิอธปิ ไตย หรือสทิ ธบิ างประการในการใชป้ ระโยชน์ ดงั นี้ น่านน้�าภายใน (Internal Waters) น่านน�้าภายในเป็นพ้ืนที่ทางทะเลท่ีอยู่หลังเส้นฐานแห่งทะเลอาณาเขตเข้ามา ทางด้านแผ่นดิน รัฐชายฝั่งมีอ�านาจอธิปไตย (Sovereignty) อย่างสมบูรณ์ เช่นเดียวกับ อธปิ ไตยบนแผ่นดนิ ทเี่ ปน็ อาณาเขตของตน ทะเลอาณาเขต (Territorial Sea) ทะเลอาณาเขตเปน็ พน้ื ทที่ างทะเลทอ่ี ยภู่ ายใตอ้ า� นาจอธปิ ไตย (Sovereignty) ของรฐั ชายฝัง่ ตามข้อ 2 (1) ของอนสุ ญั ญาสหประชาชาติว่าดว้ ยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (1982 UNCLOS) ซง่ึ ระบวุ า่ “อธปิ ไตยของรฐั ชายฝง่ั ขยายเลยอาณาเขตทางบกและนา่ นนา้� ภายใน ของตน...” และข้อ 3 ของอนสุ ัญญาฯ ซ่ึงระบวุ า่ “รฐั ทุกรฐั มีสทิ ธกิ า� หนดความกว้างของ ทะเลอาณาเขตของตนได้จนถึงขอบเขตหนึง่ ซ่ึงไม่เกิน 12 ไมล์ทะเล โดยวดั จากเสน้ ฐานที่ ก�าหนดขน้ึ ตามอนุสัญญานี้” ซึง่ ประเทศไทยได้ออกประกาศเมอ่ื วันท ่ี 6 ตลุ าคม พ.ศ. 2509 กา� หนดความกวา้ งของทะเลอาณาเขตออกไป 12 ไมลท์ ะเล โดยวดั จากเสน้ ฐานทใ่ี ชว้ ดั ความ กว้างของทะเลอาณาเขตไว้อย่างชดั แจ้งแลว้ อธปิ ไตยของไทยในทะเลอาณาเขตขยายไปถงึ ห้วงอากาศเหนือทะเลอาณาเขต ตลอดจนพื้นดินท้องทะเลและดินใต้พื้นดินท้องทะเล (Seabed and Subsoil) แหง่ ทะเลอาณาเขตตามข้อ 2 (2) ของอนสุ ญั ญาฯ อยา่ งไรกด็ ี การใช้อ�านาจอธิปไตยเหนือทะเลอาณาเขต จะต้องอยู่ภายใต้บังคับของอนุสัญญาฯ และ กฎหมายระหวา่ งประเทศ อาท ิ การยอมใหเ้ รอื ตา่ งชาตผิ า่ นโดยสจุ รติ (Innocent Passage) ในทะเลอาณาเขตตามข้อ 17 ของอนสุ ัญญาฯ 50

เขตตอ่ เนอ่ื ง (Contiguous Zone) เขตต่อเน่ืองเป็นพื้นที่ทางทะเลที่ต่อออกไปจากทะเลอาณาเขต โดยวัดจาก เส้นฐานท่ีใช้วัดความกว้างของทะเลอาณาเขตออกไปไม่เกิน 24 ไมล์ทะเล ดังน้ัน เขตต่อเน่ืองจึงเป็นพ้ืนท่ีทางทะเลท่ีมีความกว้าง 12 ไมล์ทะเล ท่ีอยู่ประชิดติดกับ และถัดออกไปจากทะเลอาณาเขต เขตต่อเนื่องพ้นจากทะเลอาณาเขตของไทยแล้ว จึงพ้นจากอ�านาจอธิปไตยของไทย แต่ไทยสามารถด�าเนินการได้บางประการ ตามข้อ 33 ของอนุสัญญาฯ ได้แก่ ด�าเนินการควบคุมท่ีจ�าเป็นเพื่อป้องกันการฝ่าฝืนกฎหมายและข้อ บังคับ 4 เร่อื ง ไดแ้ ก่ (1) ศุลกากร (2) การคลงั (3) การเขา้ เมอื ง (4) การสุขาภิบาล และ ลงโทษการฝ่าฝืนกฎหมายและข้อบังคับ 4 เร่ืองดังกล่าวท่ีได้กระท�าภายในอาณาเขตหรือ ทะเลอาณาเขตของไทย เขตเศรษฐกจิ จา� เพาะ (Executive Economic Zone) เขตเศรษฐกิจจ�าเพาะเปน็ พน้ื ท่ีทางทะเลทต่ี อ่ ออกไปจากทะเลอาณาเขต โดยวดั จาก เส้นฐานที่ใช้วัดความกว้างของทะเลอาณาเขตออกไปไม่เกิน 200 ไมล์ทะเล ดังน้ัน เขตเศรษฐกจิ จา� เพาะจงึ เปน็ พนื้ ทที่ างทะเล ทมี่ คี วามกวา้ งไมเ่ กนิ 188 ไมลท์ ะเล ซงึ่ อยปู่ ระชดิ ติดกับและถัดออกไปจากทะเลอาณาเขตเขตเศรษฐกิจจ�าเพาะ พ้นจากทะเลอาณาเขต ของไทยแล้ว จึงพ้นจากอ�านาจอธิปไตย (Sovereignty) ของไทย แต่ไทยมีสิทธิอธิปไตย (Sovereign Rights) ตามข้อ 56 ของอนุสัญญาฯ กล่าวคือ สิทธิจ�าเพาะแต่เพียงผู้เดียว (Exclusive Rights) ในการสา� รวจและแสวงประโยชน ์ อนรุ กั ษแ์ ละจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ ท้ังที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต ในน้�าเหนือพื้นดินท้องทะเล พื้นดินท้องทะเล และใต้พ้ืนดิน ท้องทะเลน้ัน และในกิจกรรมอ่ืน ๆ เพื่อการแสวงประโยชน์และการส�ารวจทางเศรษฐกิจ อาทิ การผลิตพลังงานจากน�้า กระแสน�้า และลม นอกจากนี้ ไทยยังมีเขตอ�านาจ (Jurisdiction) เกยี่ วกบั (1) การสรา้ งและการใช้เกาะเทยี ม สงิ่ ตดิ ตั้ง และส่งิ กอ่ สร้างตา่ ง ๆ (2) การวจิ ยั วทิ ยาศาสตรท์ างทะเล (3) การคุ้มครองและการรกั ษาสิ่งแวดลอ้ มทางทะเล 51

ไหลท่ วีป (Continental Shelf) ไหลท่ วีปของรัฐชายฝง่ั ได้แก ่ พื้นดินทอ้ งทะเลและดนิ ใตพ้ น้ื ดินท้องทะเล สว่ นที่ ทอดยาวเลยทะเลอาณาเขตของรัฐตลอดส่วนต่อออกไปตามธรรมชาติของดินแดนทางบก ของตน จนถงึ รมิ นอกของขอบทวปี หรอื จนถงึ ระยะ 200 ไมล์ทะเล จากเส้นฐาน ซง่ึ ใช้วดั ความกว้างของทะเลในกรณที ีร่ ิมของขอบทวีปขยายไปไมถ่ งึ 200 ไมล์ทะเล สา� หรบั สว่ นท่ี ทอดยาวออกไปเกินกว่า 200 ไมล์ทะเล อนุสัญญาฯ ได้ระบุวิธีก�าหนดขอบเขตไหล่ไว้ ในกรณีตา่ ง ๆ โดยละเอียด ดา้ นทะเลอา่ วไทย ไทยอา้ งสทิ ธใิ นเขตไหลท่ วปี ทบั ซอ้ นกบั ประเทศเพอื่ นบา้ น ไดแ้ ก ่ มาเลเซยี เวยี ดนาม และกัมพูชา ซง่ึ ยังไม่มกี ารจดั ท�าความตกลงแบง่ เขต ไหล่ทวปี ระหว่างกันตามข้อ 83 วรรค 1 ของอนุสัญญาฯ โดยในส่วนท่ีไทยอ้างสิทธิในไหล่ทวีปทับซ้อนกับมาเลเซียมีการจัดท�า ขอ้ ตกลงซง่ึ มลี กั ษณะชว่ั คราวตามนยั ขอ้ 83 วรรค 3 ของอนสุ ญั ญาฯ ไดแ้ ก ่ บนั ทกึ ความเขา้ ใจ ระหว่างราชอาณาจักรไทยและมาเลเซียเก่ียวกับการจัดตั้งองค์กรร่วมเพื่อแสวงประโยชน์ จากทรัพยากรในพื้นดินใต้ทะเลในบริเวณท่ีก�าหนดของไหล่ทวีปของประเทศท้ังสองใน อ่าวไทย ลงวนั ที่ 21 กุมภาพันธ ์ พ.ศ. 2522 ดา้ นทะเลอันดามนั ได้ท�าความตกลง 1. ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐ อนิ โดนเี ซีย วา่ ด้วยการแบ่งกน้ ทะเลระหวา่ งประเทศทง้ั สองในทะเลอันดามัน 2. ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทย รัฐบาลแห่งสาธารณรัฐ อนิ โดนเี ซยี และรฐั บาลแห่งมาเลเซยี วา่ ด้วยการแบ่งเขตไหล่ทวีปในตอนเหนอื ของช่องแคบ มะละกา 3. ความตกลงระหว่างรฐั บาลแห่งราชอาณาจกั รไทย รฐั บาลแหง่ สาธารณรัฐอินเดยี และรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐอินโดนีเซีย เก่ียวกับการก�าหนดจุดร่วมสามฝ่าย และการแบ่ง เขตที่เกี่ยวขอ้ งกบั ประเทศท้งั สามในทะเลอนั ดามัน 4. ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐ อินเดีย วา่ ดว้ ยการแบ่งเขตก้นทะเล ระหวา่ งประเทศทงั้ สองในทะเลอนั ดามัน 5. ความตกลงระหว่างรัฐบาลแห่งราชอาณาจักรไทยกับรัฐบาลแห่งสาธารณรัฐ แหง่ สหภาพเมยี นมาร ์ วา่ ดว้ ยการแบง่ เขตทางทะเล ซง่ึ ในสว่ นทอี่ า้ งสทิ ธทิ บั ซอ้ นกบั เมยี นมาร์ ยังไมแ่ ลว้ เสรจ็ 52

ทะเลหลวง (High Seas) ทะเลท้ังหมดท่ีไม่ได้รวมอยู่ในน่านน�้าภายใน (หรือน่านน�้าหมู่เกาะของรัฐหมู่เกาะ) ทะเลอาณาเขตและเขตเศรษฐกิจจ�าเพาะของรัฐใดรัฐหน่ึง ในทะเลหลวงนี้ รัฐท้ังปวง มเี สรภี าพในการเดนิ เรอื เสรภี าพในการบนิ ผา่ น การวางสายเคเบลิ และทอ่ ใตท้ ะเล การสรา้ ง เกาะเทยี มและสงิ่ ตดิ ตง้ั ตา่ ง ๆ การประมง การวจิ ยั ทางวทิ ยาศาสตรภ์ ายใตเ้ งอื่ นไขขอ้ บงั คบั ทีก่ า� หนดไวใ้ นอนสุ ญั ญาฯ และใชเ้ พื่อความม่งุ ประสงค์ในทางสนั ติตามท่รี ะบใุ นขอ้ 86-88 ของอนุสัญญาฯ ไทยจงึ มสี ทิ ธเิ สรภี าพขา้ งตน้ ในทะเลหลวง นอกจากน ี้ ไทยมพี นั ธกรณที จ่ี ะตอ้ งคมุ้ ครอง และรักษาส่ิงแวดล้อมทางทะเล รวมทั้งอนุรักษ์ทรัพยากรมีชีวิตในทะเลหลวงด้วยตามท่ี ก�าหนดในอนุสญั ญาฯ บรเิ วณพ้นื ที่ (The Area) บรเิ วณพน้ื ที่ คอื พื้นดินทอ้ งทะเล พ้นื มหาสมุทร และใต้ดนิ นัน้ (seabed and ocean floor and subsoil thereof) สว่ นทอ่ี ยพู่ น้ จากเขตอา� นาจของรฐั (National Jurisdiction) ดงั นนั้ รฐั ใด ๆ จงึ มอิ าจอา้ งหรอื ใชอ้ า� นาจอธปิ ไตยหรอื สทิ ธอิ ธปิ ไตย เหนอื สว่ นใดสว่ น หนึง่ ของบรเิ วณพ้ืนท่ีและทรพั ยากรในบริเวณพ้ืนที่ เพราะถือเป็นมรดกร่วมของมนุษยชาต ิ โดยมอี งค์กรทเ่ี รียกวา่ International Seabed Authority (ISA) ท�าหนา้ ทบ่ี ริหารจัดการ ทรพั ยากรในบรเิ วณพืน้ ท่ี เพ่อื ประโยชนร์ ่วมกันของรัฐตา่ ง ๆ ส่วนห้วงน้�าและห้วงอากาศท่ี อยเู่ หนือบรเิ วณพน้ื ที่รัฐทุกรฐั ยงั คงมีสิทธิเสรภี าพในระบอบทะเลหลวง ดังระบแุ ลว้ ข้างตน้ องค์กรและหน่วยงานรับผิดชอบในการรักษาผลประโยชน์ ของชาติทางทะเล 1. หนว่ ยงานหลกั หนว่ ยงานทมี่ กี ารปฏบิ ตั กิ ารหลกั ในการรกั ษาผลประโยชนข์ องชาตทิ างทะเล ไดแ้ ก่ กองทพั เรอื (ทร.) กองบงั คบั การตา� รวจน้�า (บก.รน.) กรมศุลกากร (ศก.) กรมเจ้าท่า (จท.) กรมประมง (กปม.) กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.) ศูนย์อา� นวยการรกั ษาผลประโยชน์ของชาตทิ างทะเล (ศรชล.) ซ่ึงตง้ั ขึน้ ตาม พระราชบัญญตั ิการรกั ษาผลประโยชนข์ องชาติทางทะเล พ.ศ. 2562 53

2. หนว่ ยงานรว่ ม ประกอบดว้ ยหน่วยงานท่ีเกย่ี วข้องด้านทะเล ในการรว่ มกนั กา� หนดนโยบายและ ยุทธศาสตร์ทางทะเล เพ่ือน�าไปสู่การบริหารจัดการผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ทั้งหนว่ ยงานราชการ รัฐวิสาหกจิ และภาคเอกชน ประมาณ 36 หนว่ ยงาน อาทิ 2.1 ส�านักนายกรัฐมนตรี มีหน่วยงานย่อยท�าหน้าท่ีก�าหนดนโยบายและ ยทุ ธศาสตร์ การจัดการผลประโยชนข์ องชาติทางทะเล ร่วมกบั หนว่ ยงานอน่ื ๆ ที่เก่ยี วข้อง เพื่อบริหารจัดการผลประโยชน์จากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลอย่างคุ้มค่าและ เหมาะสม อาท ิ สา� นกั งานสภาความมนั่ คงแห่งชาต ิ และสา� นักขา่ วกรองแหง่ ชาติ 2.2 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยตรงในการจัดการทรัพยากรมีชีวติ และทรัพยากรไมม่ ีชวี ติ ทางทะเล มีหน้าทีก่ �ากบั ดูแล การอนุรักษ ์ ฟื้นฟ ู ศึกษาวิจัย และบริหารจัดการการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทางทะเล และชายฝ่งั อาท ิ กรมควบคุมมลพิษ กรมทรพั ยากรธรณี 2.3 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการ ทรพั ยากรทางทะเล ไดแ้ ก ่ กรมประมง ท�าหน้าที่จดั การทรัพยากรประมง ควบคุม ป้องกัน และปราบปรามการทา� ประมงทผี่ ดิ กฎหมาย และผลติ สตั วน์ า�้ ใหม้ มี าตรฐานทที่ ว่ั โลกยอมรบั 2.4 กระทรวงคมนาคม มีหน่วยงานย่อยที่เกี่ยวข้องกับการขนส่งทางน้�า การจัดการท่าเรือ มีหน้าท่ีด�าเนินการตามกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้�าไทย บริหารและพัฒนาท่าเรือให้เป็นโครงสร้างพ้ืนฐานเพ่ือสร้างความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศไดอ้ ยา่ งยัง่ ยืน อาทิ กรมเจ้าท่า 2.5 กระทรวงอุตสาหกรรม มีหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการและ ดแู ลธรุ กิจ อตุ สาหกรรม ดา้ นวตั ถุอนั ตราย การผลิต และความปลอดภยั เพื่อให้เป็นไปตาม กฎหมายและขอ้ ตกลงระหว่างประเทศ อาท ิ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม 2.6 กระทรวงพลังงาน มีหน่วยงานที่ท�าหน้าท่ีวิจัย และพัฒนาด้านพลังงาน การจัดหาพลังงาน การอนุรกั ษพ์ ลังงาน และบริหารจดั การการใชพ้ ลังงานอยา่ งย่ังยืน อาท ิ กรมเช้ือเพลิงธรรมชาต ิ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแหง่ ประเทศไทย 54

2.7 กระทรวงกลาโหม ซึ่งประกอบด้วยหน่วยเฉพาะกิจ และหน่วยขึ้นตรงกับ กองทัพเรอื ทา� หน้าทร่ี ักษาและคุ้มครองผลประโยชน์จากการใชท้ รพั ยากรในทะเล ติดตาม และตรวจวัด ปจั จัยทางสมทุ รศาสตร์ อุทกศาสตร์ และอุตุนยิ มวทิ ยาทางทะเล 2.8 กระทรวงมหาดไทย มีหน่วยงานย่อยท่ีท�าหน้าที่ในการรักษาความสงบ เรยี บรอ้ ย ปอ้ งกันและปราบปรามอาชญากรรม ตามประมวลกฎหมายอันเก่ียวกบั ความผดิ ทางอาญาทง้ั หลายในนา่ นนา้� ไทย อาท ิ กรมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั กรมโยธาธกิ าร และผังเมอื ง 2.9 กระทรวงอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม มีหน่วยงานย่อย ทด่ี า� เนนิ การเกย่ี วกบั การบรู ณาการองคค์ วามรทู้ างทะเล ศกึ ษาวจิ ยั และพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล เพื่อน�ามาประยุกต์สู่การจัดการทรัพยากรได้ อย่างถูกต้อง และเหมาะสม อาทิ ส�านักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) 2.10 กระทรวงการทอ่ งเที่ยวและกฬี า ทา� หน้าทค่ี วบคมุ ดแู ล ส�ารวจ วางแผน ด�าเนินการส่งเสริมการท่องเท่ียวทางทะเล ตลอดจนส่งเสริมการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และ พฒั นาสถานที่ทอ่ งเท่ยี วทางทะเล ทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดล้อมท่ี เกีย่ วขอ้ ง อาทิ การท่องเทย่ี วแหง่ ประเทศไทย สภาอตุ สาหกรรมการท่องเท่ียวแหง่ ประเทศไทย 2.11 กระทรวงการต่างประเทศ เป็นหนว่ ยงานทมี่ ภี ารกิจดา้ นการต่างประเทศ ส่งเสริมความสัมพันธ์ ความเข้าใจ และความร่วมมือระหว่างประเทศ และอ�านวยความ สะดวกในการติดต่อประสานกับต่างประเทศ และคุ้มครองผลประโยชน์ของไทยใน ต่างประเทศ รวมไปถึงการด�าเนินการ เพื่อเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาหรือความตกลงระหว่าง ประเทศต่าง ๆ ซ่ึงมีหน่วยงานระดับกรมท่ีด�าเนินภารกิจ ดังกล่าว อาทิ กรมภูมิภาค ทเี่ กี่ยวขอ้ ง กรมองค์การระหวา่ งประเทศ กรมอาเซยี น กรมสนธสิ ัญญาและกฎหมาย 55

กรงุ เทพมหานคร ฉะเชงิ เทรา สมทุ รสาคร ชลบรุ ี สมทุ รสงคราม สมุทรปราการ เพชรบรุ ี ระยอง จันทบุรี ประจวบคีรีขนั ธ ตราด ชุมพร ระนอง สรุ าษฎรธานี พงั งา นครศรธี รรมราช กระบ่ี ภเู กต็ ตรงั พัทลุง สตลู สงขลา ปตตานี ยะลา นราธวิ าส 56

บทที่ 3 เขตการปกครอง ของ จังหวัดทางทะเล 57

ความเป็นมา ของการก�าหนดเขต จงั หวดั ทางทะเล 58

เพราะว่าประเทศไทยไม่มีหลักกฎหมายภายในท่ีบอกถึง หลักการแนวทางการปฏิบัติในการแบ่งเขตจังหวัดทางทะเลไว้ เป็นการเฉพาะ คณะอนุกรรมการก�าหนดแนวทางการปรับปรุงพ้ืนท่ีเขต การปกครองของจงั หวดั ทางทะเล จึงได้พิจารณาแนวทางในการก�าหนดการแบ่งเขตจังหวัด ทางทะเลให้เป็นไปตามหลักการท่ีเป็นสากลและเป็นท่ียอมรับ ของนานาประเทศ เชน่ หลกั การทก่ี า� หนดไวใ้ นอนสุ ญั ญาสหประชาชาติ วา่ ดว้ ยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 และฉบับ ค.ศ.1982 รวมท้ังในคู่มือที่องค์การระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องก�าหนด โดยสามารถสรุปแนวทางการก�าหนดเขตทางทะเลท่ีเป็นหลักสากล น�ามาประยุกต์ใช้ในการแบ่งเขตจังหวัดทางทะเล ของแต่ละคู่จังหวัด ท่ีมเี ขตอยู่ประชิดกนั หรอื อยตู่ รงขา้ มกนั ได้ ดงั น้ี 1) ตามพันธกรณอี นั สบื เนื่องมาจากข้อตกลงทที่ �าไวเ้ ดิม 2) กา� หนดตามหลกั กฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 เชน่ - หลกั การของเสน้ มธั ยะ (หลกั ระยะหา่ งเทา่ กนั Principle of Equidistance เป็นหลักการพ้ืนฐานท่ีสามารถน�ามาใช้กับ ทะเลอาณาเขต) - สภาวะแวดล้อมพิเศษ Special Circumstance 3) ก�าหนดตามหลักกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 เช่นหลัก ของความเท่ียงธรรม (Principle of Equitable) และหลักการ แนวคดิ ทฤษฎขี องนักกฎหมายทะเล ท่สี นับสนนุ หลกั การของความ เที่ยงธรรม รวมท้ังการศึกษาแนวทางการตัดสินของศาลโลกในคดี ทเ่ี ก่ียวข้องกบั เขตทางทะเล 59

แนวทางในการก�าหนดเขตจังหวดั ทางทะเล เนื่องจากประเทศไทยไม่มีหลักกฎหมายภายในท่ีระบุหลักการแนวทางการปฏิบัติ ในการแบ่งเขตจังหวัดทางทะเลไว้เป็นการเฉพาะ คณะอนุกรรมการก�าหนดแนวทางการ ปรับปรุงพื้นท่ีเขตการปกครองของจังหวัดทางทะเล จึงได้พิจารณาแนวทางในการ ก�าหนดการแบ่งเขตจังหวัดทางทะเลให้เป็นไปตามหลักการท่ีเป็นสากลและเป็นท่ียอมรับ ของนานาประเทศ เช่น หลักการท่ีก�าหนดไว้ในอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมาย ทะเล ค.ศ. 1958 และฉบับ ค.ศ. 1982 รวมทั้งในคมู่ อื ท่อี งคก์ ารระหว่างประเทศท่เี กี่ยวขอ้ ง ก�าหนด โดยสามารถสรุปแนวทางการก�าหนดเขตทางทะเลทีเ่ ป็นหลกั สากล นา� มาประยุกต์ ใชใ้ นการแบ่งเขตจังหวัดทางทะเลของแต่ละคูจ่ งั หวัด ทีม่ ีเขตอยปู่ ระชิดกนั หรอื อยู่ตรงขา้ ม กันได ้ ดงั น ้ี 1) ตามพันธกรณีอันสืบเนือ่ งมาจากข้อตกลงท่ที �าไวเ้ ดิม 2) ก�าหนดตามหลกั กฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 เชน่ - หลักการของเสน้ มัธยะ (หลักระยะห่างเท่ากนั Principle of Equidistance เป็นหลกั การพื้นฐาน ที่สามารถนา� มาใชก้ บั ทะเลอาณาเขต) - สภาวะแวดล้อมพิเศษ Special Circumstance 3) ก�าหนดตามหลักกฎหมายทะเล ค.ศ.1982 เช่นหลักของความเที่ยงธรรม (Principle of Equitable) และหลักการแนวคิดทฤษฎขี องนกั กฎหมายทะเล ท่ีสนบั สนุน หลักการของความเที่ยงธรรม รวมท้ังการศึกษาแนวทางการตัดสินของศาลโลกในคดี ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งกบั เขตทางทะเล 60

จากหลักการท่ีกล่าวแล้วข้างต้น สามารถน�ามาประยุกต์ใช้ในการแบ่งเขตจังหวัด ทางทะเลของประเทศไทยไดโ้ ดยมรี ายละเอยี ดของแตล่ ะแนวทางพอสรปุ ได้ดังน ้ี 1. การแบง่ เขตจังหวัดทางทะเล โดยพิจารณาถงึ บรรดากฎหมายท่เี ก่ยี วข้องที่มีผล ใช้บังคับมากระท่ังถึงปัจจุบัน เช่น ข้อตกลงระหว่างไทยกับประเทศเพ่ือนบ้านโดยรอบ ท่ีมีมาแต่เดิมในรูปแบบของสนธิสัญญาระหว่างไทยกับเพื่อนบ้านในอดีต ท่ีมีผลก�าหนด แบ่งเขตในทะเลใกล้ชายฝั่งไว้แล้วบางส่วนในแนวเส้นเขตแดน นอกจากนั้นก็มีกฎหมาย ภายในของไทยที่มีการก�าหนดเขตทางทะเลไว้บางพื้นท่ีแล้ว เช่น พ.ร.บ.การก�าหนดเขต ของจงั หวดั ในอา่ วไทยตอนใน พ.ศ. 2502 ประกาศของกระทรวงมหาดไทยในสว่ นทเี่ กย่ี วขอ้ ง กับการก�าหนดจุดพิกัดเริ่มต้นที่จรดริมทะเล และการก�าหนดเส้นแบ่งแนวเกาะในทะเล บางพ้ืนท่ีของจังหวัดชายทะเล ประกาศของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในส่วนท่ีเคย แบ่งเขตพื้นท่ีประมงพื้นบ้านในแต่ละรายจังหวัดชายทะเล สามารถน�ามาใช้ประกอบใน การกา� หนดเสน้ แบ่งเขตของเขตจงั หวัดทางทะเลได้ 2. ส�าหรับการแบง่ เขตจงั หวัดทางทะเลในพืน้ ท่อี น่ื ๆ ทมี่ ิไดเ้ คยมกี ฎหมายก�าหนด ไวต้ ามข้อ 7.1 การกา� หนดเสน้ แบง่ เขตจงั หวัดคณะอนุกรรมการฯ ได้พจิ ารณาใช้หลักการ ของเส้นมัธยะซึ่งเป็นหลักการที่เป็นสากล ท่ีก�าหนดไว้ในกฎหมายระหว่างประเทศ อาท ิ อนสุ ญั ญากฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 (ขอ้ 12 ของ UNCLOS 1958) อนสุ ญั ญากฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (ข้อ 15 ของ UNCLOS 1982) ในกรณีที่เขตจังหวัดอยู่ประชิดกันหรืออยู่ ตรงข้ามกนั จะแบง่ เขตระหวา่ งกนั โดยหลักของเส้นมัธยะดังภาพ 61

3. การประยุกตใ์ ชห้ ลักการของความเท่ยี งธรรมเม่อื คา� นงึ ถึงสภาพแวดลอ้ มอ่นื ๆ ท่ีเมื่อใช้หลักการของเส้นมัธยะหรือเส้นระยะห่างเท่ากันแล้วไม่เหมาะสมหรือไม่ได้ผลลัพธ์ ที่เท่าเทียมกัน ก็สามารถน�าหลักท่ีเกี่ยวข้องกับความเที่ยงธรรมมาประยุกต์ใช้ได้ เช่น หลกั ความไดส้ ดั สว่ น (Proportionality) การใชเ้ สน้ แบง่ เขตครงึ่ มมุ (Bi-Sector) การกา� หนด เส้นตั้งฉากกับเส้นทิศทางทั่วไปของชายฝั่ง (General Direction of the Coast) หรือ การให้ผลบางส่วนกับเกาะ (Partial Effect) โดยคณะอนุกรรมการฯ ได้พิจารณาเลือกใช้ วิธีท่ีกล่าวมาในข้อ 1)-3) ผสมผสานกันในแต่ละพื้นที่และบางจังหวัดท่ีแนวเขตมี ความซับซ้อน รวมทัง้ มีการชีแ้ จงและรับฟงั ความเห็นในรา่ งแผนท่ีจากภาคสว่ นต่าง ๆ ทีม่ ี ส่วนไดส้ ว่ นเสียในแตล่ ะคจู่ ังหวัดเพอื่ ให้ได้ขอ้ ยุติทเ่ี หมาะสมรว่ มกัน ภาพแสดงการลากเสน้ มธั ยะกรณรี ัฐตรงขา้ ม และเสน้ มัธยะกรณรี ฐั ประชดิ (ท่มี า :TALOS) 62

ภาพแสดงการสรา้ งเสน้ มธั ยะลงในภาพถา่ ย หรือลงในแผนท่เี ดินเรอื 63

(1) กลมุ่ จงั หวดั อ่าวไทยตะวนั ออกประกอบดว้ ยจังหวัดชายทะเล 3 จังหวดั ได้แก่ จงั หวดั ตราด จงั หวดั จันทบุรี และจงั หวดั ระยอง (2) กลมุ่ จังหวดั อ่าวไทยตอนใน ประกอบด้วยจงั หวัดชายทะเล 7 จังหวัด ได้แก ่ จังหวัดชลบรุ ี จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดสมทุ รปราการ จังหวัดสมทุ รสาคร จงั หวัดสมทุ รสงคราม จงั หวดั เพชรบุร ี และกรงุ เทพมหานคร (3) กลุ่มจงั หวัดอา่ วไทยตอนบน ประกอบด้วยจังหวัดชายทะเล 3 จงั หวัด ไดแ้ ก ่ จงั หวัดประจวบครี ขี ันธ ์ จังหวดั ชุมพร และจังหวดั สุราษฎรธ์ านี (4) กลุม่ จังหวัดอา่ วไทยตอนลา่ ง ประกอบดว้ ยจังหวดั ชายทะเล 4 จงั หวัด ได้แก่ จังหวดั นครศรธี รรมราช จงั หวดั สงขลา จงั หวัดปตั ตานี และจงั หวดั นราธิวาส (5) กล่มุ จังหวัดฝงั่ ตะวนั ตกตอนบน ประกอบดว้ ยจังหวดั ชายทะเล 3 จงั หวดั ได้แก ่ จงั หวดั ระนอง จังหวดั พงั งา และจังหวดั ภูเกต็ (6) กลุ่มจังหวดั ฝง่ั ตะวนั ตกตอนลา่ ง ประกอบดว้ ยจงั หวดั ชายทะเล 3 จังหวดั ได้แก ่ จงั หวดั กระบ่ ี จงั หวัดตรัง และจงั หวัดสตลู เขามีการลงพ้ืนท่ี รับฟงั ความเหน็ จากผ้มู ีส่วนได้ส่วนเสียในพ้ืนที่ แล้วถงึ มากา� หนดแบ่งกลมุ่ จงั หวดั ชายทะเลทงั้ 23 จังหวดั เป็น 6 กลุ่มจงั หวดั ตามสภาพภูมิศาสตร์ และพน้ื ฐานของกิจกรรมทางทะเล ที่สง่ ผลกระทบระหว่างกนั ตามภาพขา้ งบนเลย แชลาว้ ยแทผะนเลท่ี เขากา� หนดกนั ยงั ไงนะ แล้วการกา� หนด เส้นเขตทางทะเล ระหวา่ งจงั หวัด เขาแบง่ กนั ยังไงล่ะ 64

ในการกา� หนด เส้นเขตทางทะเลระหวา่ งจังหวัด ไดก้ �าหนดแบ่งกลุม่ จังหวดั ชายทะเล ท้ัง 23 จงั หวัด ออกเปน็ 6 กล่มุ จังหวัด ตามสภาพภูมิศาสตรแ์ ละพ้นื ฐาน ของกจิ กรรมทางทะเล ท่สี ่งผลกระทบระหว่างกันได้ ดงั น้ี 12 กลุ่มจังหวัด กลุ่มจงั หวดั อา่ วไทยตอนใน อา่ วไทยตะวนั ออก ประกอบดว้ ยจงั หวดั ชายทะเล ประกอ3บดจ้วังยหจวงั ดั หไวดดั ้แชกา่ ยทะเล 7 จงั หวัด ได้แก่ จังหวัดชลบรุ ี จังหวดั ตราด จังหวดั จันทบุรี และจงั หวดั ระยอง จงั หวดั ฉะเชิงเทรา จังหวัดสมทุ รปราการ จงั หวดั สมุทรสาคร จงั หวัดสมทุ รสงคราม จังหวดั เพชรบุรี และกรงุ เทพมหานคร 3 6 กลุ่มจังหวดั อ่าวไทยตอนบน กลมุ่ จงั หวัด ประกอบดว้ ยจงั หวดั ชายทะเล ฝ่งั ตะวันตกตอนลา่ ง 3 จงั หวัด ได้แก่ จงั หวดั ประจวบคีรีขันธ์ แผนท่ีประกอบด้วยจังหวัดชายทะเล จงั หวัดชุมพร และ จังหวดั3 จงั หวดั ได้แก่ 4 จังหวดั สุราษฎรธ์ านี จงั หวัดกระบ่ี จังหวดั ตรงั กลุ่มจังหวัด อ่าวไทยตอนล่าง ชายทะเลและจังหวดั สตลู ประกอบด้วยจงั หวดั ชายทะเล 5 4 จังหวัด ได้แก่ กลุม่ จังหวดั จงั หวดั นครศรธี รรมราช ฝง่ั ตะวันตกตอนบน จงั หวัดสงขลา จังหวดั ปัตตานี จังหวัดปชราะยกทอะบเลดว้ 3ยจังหวดั และจงั หวดั นราธิวาส ไดแ้ ก่ จงั หวดั ระนอง แลจะงั จหังวหดั วพัดงัภงเู าก็ต 65

สมุทรสงสคมรทุามรกสราุงคเทร พมหานฉคะรเชิงเทรา แผนที่แสดงเขตจังหวัดทางทะเล สมทุ รปราการ ชลบุรี เขตทางทะเล เพชรบุรี ระยอง จันทบุรี เสันฐานตรง ทะเลอาณาเขต ประจวบครี ขี นั ธ ตราด เขตตอเน่อื ง ไหลทวีป/EEZ ชุมพร เขตระหวางจังหวดั ทางทะเล ระนอง เขตแดนทะเล เสน มัธยะไทย-เมียนมาร โดยประมาณ นา นนำ้ ภายใน ทะเลอาณาเขต MT-JDA สุราษฎรธ านี พงั งา กระบ่ี นครศรีธรรมราช ภเู ก็ต ตรงั พทั ลุง สตลู สงขลา ปต ตานี ยะลา นราธิวาส ถ้าอยา่ งน้นั เรามาดู แผนท่แี สดงภาพรวม การแบง่ เขตจงั หวัด ทางทะเลทงั้ 23 จงั หวัด ชายทะเลกันเลย ดูในตารางเลยจา้ 66

ในลทกั อ้ ษงณถิน่ ะตเขนตเอทงาเงปทน็ ะยเลงั ไง ขนาดของพน้ื ท่ีและความยาวชายฝ่ังทะเลรายจงั หวัด ลา� ดับที่ จงั หวัด ความยาว ขนาดพน้ื ทท่ี างทะเล 67 1 ตราด (กิโลเมตร) (ตารางกิโลเมตร) 2 จันทบรุ ี 3 ระยอง 187.95 5,847.99 4 ชลบุรี 101.50 2,064.70 5 ฉะเชิงเทรา 117.99 2,440.16 6 สมุทรปราการ 188.34 5,423.81 7 กรุงเทพมหานคร 15.77 8 สมุทรสาคร 49.54 187.73 9 สมทุ รสงคราม 1,204.4 10 เพชรบรุ ี 6.51 11 ประจวบครี ขี นั ธ์ 45.26 76.33 12 ชมุ พร 26.20 964.25 13 สรุ าษฎรธ์ านี 96.55 226.38 14 นครศรีธรรมราช 254.57 3,050.77 15 สงขลา 252.60 5,759.93 16 ปตั ตานี 179.38 7,441.42 17 นราธิวาส 246.66 9,058.02 18 ระนอง 158.78 12,375.31 19 พงั งา 144.04 9,690.30 20 กระบ่ี 57.20 12,866.7 21 ภเู ก็ต 106.85 2,362.51 22 ตรงั 254.18 2,381.87 23 สตูล 203.55 12,264.61 รวม 219.07 4,657.22 140.74 3,660.04 140.21 3,008.52 3,193.44 5,328.82 112,341.84

จังหวัดชายทะเล จ�านวนอ�าเภอ รายช่อื อา� เภอที่ตดิ ชายทะเล ทตี่ ิดทะเล อ.พระสมุทรเจดยี ์ อ.เมือง อ.บางบอ่ ฝั่งตะวันออกของอ่าวไทย อ.บางปะกง สมทุ รปราการ อ.เมอื ง อ.ศรรี าชา อ.บางละมงุ อ.สตั หบี ฉะเชิงเทรา 3 อ.บ้านฉาง อ.เมอื ง อ.แกลง ชลบรุ ี 1 อ.นายายอาม อ.ทา่ ใหม่ อ.แหลมสิงห์ อ.ขลุ ระยอง 4 อ.แหลมงอบ อ.เมือง อ.คลองใหญ่ อ.เกาะช้าง อ.เกาะกูด จันทบรุ ี 3 เขตบางขุนเทยี น ตราด 4 อ.เมอื ง ฝ่งั ตะวนั ตกของอ่าวไทย 5 อ.เมือง อ.พระสมทุ รเจดีย์ อ.เมอื ง อ.บางบอ่ กรุงเทพมหานคร 1 อ.บา้ นแหลม อ.เมือง อ.ทา่ ยาง อ.ชะอา� สมุทรสาคร 1 อ.หวั หนิ อ.ปราณบุรี อ.สามรอ้ ยยอด อ.กยุ บรุ ี อ.เมือง สมทุ รสงคราม 1 อ.ทบั สะแก อ.บางสะพาน อ.บางสะพานนอ้ ย สมุทรปราการ 3 อ.ปะทิว อ.เมอื ง อ.สวี อ.ทุง่ ตะโก อ.หลงั สวน อ.ละแม เพชรบรุ ี 4 อ.ท่าชนะ อ.ไชยา อ.ทา่ ฉาง อ.เมือง อ.กาญจนดิษฐ์ อ.ดอนสัก ประจวบคีรีขนั ธ์ 8 อ.พุนพนิ อ.เกาะสมัย อ.เกาะพะงนั อ.ขนอม อ.สชิ ล อ.ท่าศาลา อ.เมือง อ.ปากพนงั อ.หวั ไทร ชุมพร 6 อ.ระโนด อ.สทงิ พระ อ.สงิ หนคร อ.เมอื ง อ.จะนะ อ.เทพา สรุ าษฎรธ์ านี 9 อ.หนองจกิ อ.เมอื ง อ.ยะหรง่ิ อ.ปานาเระ อ.สายบรุ ี อ.ไมแ้ กน่ อ.เมือง อ.ตากใบ นครศรีธรรมราช 6 อ.เมอื ง อ.กระเปอร์ อ.สขุ สา� ราญ สงขลา 6 อ.ครุ ะบุรี อ.ตะก่วั ปา่ อ.ท้ายเหมือง อ.ตะกัว่ ทุ่ง อ.เกาะยาว ปตั ตานี 6 อ.ถลาง อ.กระทู้ อ.เมอื ง นราธิวาส 2 อ.อ่าวลึก อ.เมอื ง อ.เหนือคลอง อ.คลองท่อม อ.เกาะลันตา 3 อ.สเิ กา อ.กนั ตัง อ.หาดส�าราญ อ.ปะเหลียน ฝง่ั ตะวนั ตกของประเทศไทย 5 อ.ท่งุ หว้า อ.ละงู อ.ท่าแพ อ.เมอื งสตลู 3 ระนอง 5 พงั งา 4 ภูเก็ต 4 กระบี่ ตรงั สตลู เรามาดรู ายชือ่ อ�าเภอ ขในอสงจว่ งันหทวีม่ ัดีอชาาณยาทเะขเตล ตดิ กบั ทะเล กันเถอะ 68

สมทุ รสงสคมรทุามรกสราุงคเทรพมหานฉคะรเชงิ เทรา แผนทแ่ี สดงเขตจังหวัดทางทะเล สมทุ รปราการ ชลบุรี เขตทางทะเล เพชรบุรี ระยอง จันทบรุ ี เสันฐานตรง ทะเลอาณาเขต ประจวบคีรขี ันธ ตราด เขตตอ เนื่อง ไหลท วีป/EEZ ชมุ พร เขตระหวางจังหวดั ทางทะเล ระนอง เขตแดนทะเล เสน มธั ยะไทย-เมียนมาร โดยประมาณ นานนำ้ ภายใน ทะเลอาณาเขต MT-JDA สรุ าษฎรธ านี พังงา กระบ่ี นครศรีธรรมราช ภูเกต็ ตรัง พทั ลุง สตลู สงขลา ปต ตานี ยะลา นราธวิ าส แผนที่ เขแตสจดงงั ภหาพวรัดวทมกาางรทแบะ่งเล ท้ังช2า3ยทจะังเหลวัด 69

70

บทท่ี 4 ประทโยะชเนลข์ อง 71

ประโยชนข์ องทะเล ทะเลไทย ถอื เปน็ แหลง่ ทรพั ยากรทมี่ คี วามอดุ มสมบรู ณอ์ ยา่ งยงิ่ ทงั้ ทรพั ยากรทมี่ ชี วี ติ และไม่มชี วี ติ ด้วยความอุดมสมบรู ณน์ ้เี อง ท�าใหท้ ะเลไทยเปน็ ทงั้ แหลง่ อาหารทสี่ า� คญั ของ คนไทยและคนทั่วโลก เพราะมากด้วยคุณภาพและปริมาณ อีกทั้งยังเป็นแหล่งท่องเที่ยว ทีม่ ีความสวยงามระดบั โลก ทา� ให้เป็นหน่ึงในจุดหมายทีน่ ักท่องเท่ียวทั่วโลกหมายตาจะมา สัมผัสความงดงามของทะเลไทย โดยทะเลทั้งฝั่งอ่าวไทยและฝั่งอันดามันเป็นที่เล่ืองลือ ในหมู่นักท่องเที่ยวเสมอมา จึงไม่แปลกนักที่ภาพนักท่องเท่ียวชาวต่างชาติจ�านวนมากกับ ทะเลไทยกลายเป็นเร่ืองที่คุ้นตา รวมถึงสร้างรายได้ให้ประเทศอย่างมหาศาล นอกจากน้ี ประเทศไทยมีจุดแข็ง โดยเป็นฐานการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและสินค้าเกษตรรายใหญ่ ของโลก จากสภาพที่ต้ังของประเทศไทยซ่ึงมีแผ่นดินติดกับทั้งทะเลอันดามัน ช่องแคบ มะละกา และอ่าวไทย ซึ่งเป็นเส้นทางเดินเรือท่ีส�าคัญระหว่างมหาสมุทรอินเดียและ มหาสมุทรแปซิฟิก จึงเป็นพ้ืนที่ซึ่งมีความส�าคัญทางภูมิรัฐศาสตร์ จากการส�ารวจพบว่า ใต้ท้องทะเลบริเวณอ่าวไทยมีแหล่งปิโตรเลียมกระจายอยู่ท่ัวไปที่สามารถจะน�ามาใช้ในเชิง พาณิชย์ และเปน็ แหล่งพลงั งานของประเทศได้ การใชป้ ระโยชน์จากทะเล 1.ดา้ นการประมง 1. การประมงชายฝั่ง (Inshore Fisheries) หรือประมงพื้นบ้าน (Artisanal Fisheries) การท�าประมงด้วยการจับและเล้ียง สัตว์น�้าในแหล่งน้�ากร่อยและน้�าเค็ม ตามบริเวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลปากแม่น�้าการประมง เพื่อยังชีพ หาอาหาร สร้างรายได้ และก่อให้เกิด การสร้างงานในท้องถิ่น โดยใช้เรือหรือเครื่องมือ ประมงขนาดเล็ก อาทิ เรือพ้ืนบ้าน แหหรือ เบ็ดแบบง่าย ๆ ปัจจุบันเรือส่วนใหญ่จะติด เคร่ืองยนต์เข้าไปด้วย รวมถึงการใช้ประโยชน์ จากพ้ืนที่ชายทะเลท่ีมีน�้าท่วมถึง บริเวณที่ดอน ชายน้�า และ ป่าชายเลน ตลอดจนย่านน้�าต้นื ชายฝั่งเพอื่ การเพาะเลย้ี งสัตว์นา้� ซึง่ ปจั จบุ ันสตั ว์น�้าชายฝั่ง ส้างรายได้ให้แก่ประเทศเป็นจ�านวนมาก โดยจ�าหน่ายทั้งในรูปของสดและแปรรูปเป็น ผลติ ภณั ฑอ์ ย่างอืน่ 72

การเพาะเลยี้ งสัตว์นา�้ ชายฝ่งั ได้มีการ พัฒนาเทคโนโลยีการเล้ียงอย่างต่อเน่ือง เพื่อทดแทนสัตว์น้�าทะเลท่ีได้จากการจับ ซ่ึงมีแนวโน้มลดลงแต่ยังคงมีความต้องการ สงู ชนดิ สตั วน์ า�้ ทเี่ พาะเลย้ี งกนั อยา่ งแพรห่ ลาย ไดแ้ ก่ กุ้งทะเล ปลาน้�ากรอ่ ย และหอยทะเล โดยจังหวัดท่ีมีการเพาะเลี้ยงชายฝั่งมาก ทีส่ ดุ 5 อันดบั ได้แก่ จงั หวัดสมทุ รปราการ จังหวัดสมุทรสาคร จังหวัดจันทบุรี จังหวัด สรุ าษฎรธ์ านี และจงั หวดั สมทุ รสงคราม 2. การประมงพาณิชย์ (Commercial Fisheries) ไม่ใช่การประมงเพ่ือยังชีพ แต่เป็นการประมงในเขตทะเลเพ่ือแสวงหาก�าไร ส่วนใหญ่ธุรกิจประมงแบบน้ี จะผูกพัน กับเรือประมงท่ีจับปลาโดยใช้เรือและเครื่องมือประมงขนาดกลางหรือใหญ่ มีอุปกรณ์ ที่ทันสมัย เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพในการจับสัตว์น้�า และจะใช้เวลาท�าการประมงหลายวัน อาทิ อวนลาก อวนล้อม เบ็ดราวทะเลลึก หรืออวนลอย โดยทั่วไปเจ้าของเรือจะเป็น ผู้ด�าเนินการเอง สัตว์น้�าที่ได้จะขายท้ังในท้องถ่ินหรือตลาดค้าสัตว์น้�าที่อยู่ในภาคกลาง อาทิ กรุงเทพมหานคร สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม ประมงพาณิชย์ ประกอบด้วย “ประมงน�้าลกึ ” (Deep Sea Fisheries) หรือ “ประมงนอกฝง่ั ” (Offshore Fisheries) คือ การจับปลาในระยะห่างจากฝง่ั แตไ่ ม่เกินระยะ 200 ไมล์ทะเล จากชายฝ่ัง ซง่ึ ส่วนใหญ่ จะทา� ในเขตนา่ นนา้� ไทย และ “ประมงสากล” หรอื “ประมงไกลบ้าน” (Distant Water Fisheries) คือการจับปลาในน่านน้�าอื่น อาทิ เขตทะเลของรัฐชายฝั่งอ่ืน และมหาสมุทร ที่อยเู่ ป็นระยะทางไกลจากท่าเรือของประเทศน้นั ๆ หรืออีกนยั หน่ึงเรยี กว่า “ประมงนอก น่านนา�้ ” (Overseas Fisheries) นอกจากจะจบั สตั ว์น�า้ แลว้ ยังอาจมกี ารแปรรปู สัตว์นา�้ แบบครบวงจรดว้ ย เพื่อเตรยี มส่งผลผลติ สตู่ ลาดหรือส่งไปจา� หน่ายยังต่างประเทศ 73

2. ดา้ นการขนส่งและพาณชิ ยน์ าวี พระราชบัญญัติส่งเสริมการพาณิชย์นาวี พ.ศ. 2521 ได้ให้ความหมายเกี่ยวกับ พาณชิ ย์นาวี ไวใ้ นมาตรา 4 ดงั นี้ 2.1 การพาณิชย์นาวี หมายความว่า “การขนส่งทางทะเล การประกันภัยทางทะเล การเดินเรือ กิจการอู่เรือ และกิจการท่าเรือ และหมายความรวมถึงกิจการอย่างอื่นที่เก่ียวเนื่อง โดยตรงหรือเป็นส่วนประกอบกับกิจการดังกล่าวตามท่ีก�าหนดในกฎกระทรวง” จาก คา� จ�ากดั ความดังกล่าว จะเห็นไดว้ ่า กจิ การพาณชิ ยน์ าวีเปน็ กิจการท่ีเกี่ยวขอ้ งกับกิจกรรม มากมาย ทงั้ ท่เี กิดข้ึนในทะเลและบนฝงั่ 2.2 การขนสง่ ทางทะเล หมายความว่า “การขนส่งของหรือคนโดยสาร โดยเรือจากประเทศไทยไปยัง ต่างประเทศ หรือจากต่างประเทศมายังประเทศไทย หรือจากท่ีหนึ่งไปยังอีกที่หน่ึง นอกราชอาณาจกั ร และให้หมายความรวมถึงการขนส่งของ หรอื คนโดยสารทางทะเล ชายฝ่งั ในราชอาณาจักร โดยเรอื ท่มี ีขนาดตง้ั แต ่ 250 ตันกรอสข้ึนไปด้วย” ซ่งึ การขนสง่ ทางทะเลประกอบด้วย 1. ท่าเรือ หมายความว่า สถานที่ส�าหรับให้บริการแก่เรือ ในการจอด เทียบ บรรทกุ หรอื ขนถา่ ยของ ประกอบดว้ ย ทา่ เรอื สนิ คา้ ทา่ เรอื ประมง ทา่ เรอื โดยสาร และทา่ เรอื ทอ่ งเทยี่ ว 2. เรือ หมายความว่า เรือเดินทะเลที่ใช้ในการขนส่งทางทะเล ประกอบด้วย เรือค้าระหว่างประเทศ หมายถึง เรือท่ีขนส่งสินค้าน�าเข้าและส่งออกของประเทศ และ เรือคา้ ชายฝงั่ หมายถึง เรอื ท่ีขนส่งสินค้าในประเทศ 74

3. สนิ คา้ ประกอบดว้ ยสนิ คา้ ทขี่ นสง่ โดยเรอื คา้ ระหวา่ งประเทศหรอื สนิ คา้ นา� เขา้ และสนิ คา้ ส่งออก และสินค้าทีข่ นสง่ โดยเรือคา้ ชายฝั่งหรอื สินคา้ ในประเทศ จากรายงานสถิติการขนส่งสินค้าทางน�้าบริเวณเมืองท่าชายทะเล พ.ศ. 2559 ปีงบประมาณ 2560 ของกรมเจ้าท่า พบว่าจ�านวนเรือท่ีท�าการขนส่งสินค้าท่ีมีการแจ้ง เข้า-ออก ตามด่านศุลกากรบริเวณเมืองท่าชายทะเล ในปี 2559 มีจ�านวนท้ังสิ้น 161,281 เท่ียวล�า โดยแยกเป็นเรือค้าต่างประเทศ 92,531 เที่ยวล�า และเป็นเรือค้า ชายฝั่งทั้งหมด 68,750 เที่ยวล�า ในส่วนปริมาณสินค้าที่ท�าการขนส่งบริเวณเมืองท่า ชายทะเลที่มีการแจ้ง เข้า-ออก มีปริมาณรวมทั้งส้ินประมาณ 262,788,945.902 ตัน เป็นเรือค้าต่างประเทศประมาณ 211,894,489.738 ตัน เรือค้าชายฝั่งประมาณ 50,894,456.164 ตนั โดยสนิ ค้าท่มี กี ารขนสง่ มากทส่ี ุด ได้แก่ ปิโตรเลียม 3. ด้านการทอ่ งเทยี่ วและนนั ทนาการทางทะเล 3.1 กิจกรรมด�าน้�าดูปะการัง เป็นการท่องเที่ยวท่ีให้นักท่องเที่ยวได้ลงไปสัมผัสกับ โลกใตท้ ะเล ทมี่ คี วามสวยงาม ตระการตา จดุ ดา� นา้� มหี ลายแหง่ ในทะเล แถบภาคตะวนั ออก เป็นศูนย์รวมคนรักธรรมชาติทางทะเล สามารถพบปะแลกเปล่ียนประสบการณ์ใหม่ ๆ ใต้ท้องทะเล และสนุกเพลิดเพลินกับกิจกรรมด�าน้�า พบฝูงปลามากมายหลากหลายชนิด ใต้ท้องทะเลสคี ราม น้า� ทะเลใส ทอ่ี ดุ มสมบรู ณ์ 3.2 กจิ กรรมการแขง่ ขันกฬี าทางทะเล 3.2.1 การแขง่ ขนั ตกปลา 3.2.2 การแล่นเรือใบ-เรือยอชท์ 3.2.3 การแขง่ ขนั เจต็ สกี 3.2.4 การแขง่ ขันเรอื เร็ว 3.3 กจิ กรรมพักผ่อนและการชมทวิ ทศั น์ชายหาด 3.4 กจิ กรรมทางทะเลอื่น ๆ 75

4. ดา้ นพลงั งาน แหล่งปิโตรเลียม ปิโตรเลียมเปน็ สารประกอบไฮโดรคาร์บอนท่เี กิดจากซากสง่ิ มีชวี ติ ทงั้ พชื และสตั วท์ สี่ ะสมทบั ถมปนอยกู่ บั ตะกอนดนิ ทงั้ บนบกและในทะเล โดยจะถกู แบคทเี รยี และเชอื้ ราเปลย่ี นสภาพเปน็ อนิ ทรยี วตั ถุ เมอ่ื เวลาผา่ นไป บรเิ วณดงั กลา่ วจะคอ่ ย ๆ ทรดุ ตวั หรอื จมลงภายใตผ้ วิ โลกลกึ มากขนึ้ และจากแรงกดทเ่ี พมิ่ มากขนึ้ จากนา้� หนกั ของชนั้ ตะกอน ที่ทับถมอยู่ด้านบน ตลอดจนอุณหภูมิท่ีสูงขึ้น มีผลท�าให้อินทรียวัตถุแปรสภาพ และ สลายตัวเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนท่ีเรียกว่า ปิโตรเลียม ซ่ึงปิโตรเลียมแบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ 1. นา้� มนั ดบิ (Crude Oil) ซง่ึ มผี ลติ ภณั ฑท์ ไ่ี ดจ้ ากนา�้ มนั ดบิ อาทิ กา๊ ซปโิ ตรเลยี ม เหลวหรือก๊าซหุงต้ม น้�ามันเชื้อเพลิงรถยนต์ (เบนซินและดีเซล) น�้ามันเช้ือเพลิงเครื่องบิน นา้� มนั ก๊าด นา�้ มนั เตา และยางมะตอย 2. ก๊าซธรรมชาติ (Natural Gas) ซึ่งมผี ลติ ภัณฑท์ ี่ได้จากก๊าซธรรมชาติ อาทิ กา๊ ซส�าหรบั รถยนต์ (NGV และ LPG) เชอ้ื เพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้า อุตสาหกรรมถนอม อาหาร และอตุ สาหกรรมนา้� อัดลมและเบยี ร์ 3. กา๊ ซธรรมชาตเิ หลว (Condensate) ซึ่งมีผลติ ภณั ฑ์ทไ่ี ด้จากก๊าซธรรมชาติ เหลว อาทิ เชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้า เช้ือเพลิงส�าหรับยานยนต์ (NGV) และ เช้ือเพลงิ ในโรงงานอตุ สาหกรรม 76

5. ด้านอนื่ ๆ 5.1 อุตสาหกรรมการตอ่ เรอื และซ่อมเรอื ประเทศไทยพึ่งพาการค้าระหว่าง ประเทศเป็นหลัก โดยร้อยละ 90 ของ ปริมาณการค้าระหว่างประเทศ อาศัย การขนสง่ ทางนา�้ เนอ่ื งจากสามารถบรรทกุ สินค้าได้ในปริมาณมาก และมีต้นทุนการ ขนส่งที่ราคาถูกกว่าการขนส่งด้านอ่ืน ๆ ดังนั้น อุตสาหกรรมต่อเรือและซ่อมเรือ จึงเป็นอุตสาหกรรมท่ีช่วยสนับสนุนกิจการเดินเรือขนส่งและกิจการค้าระหว่างประเทศ ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งทุกประเทศทั่วโลกยอมรับว่าอุตสาหกรรมต่อเรือ และซอ่ มเรือนน้ั เป็นอตุ สาหกรรมที่เกีย่ วเน่อื งกบั การป้องกนั ประเทศ (Defense Related Industry) เพราะจะให้การสนับสนุนประเทศด้านความม่ันคงและเศรษฐกิจในยาม สงครามดว้ ย ซ่ึงหากอุตสาหกรรมนีไ้ ดร้ ับการพฒั นาอยา่ งต่อเน่อื ง จะท�าใหก้ ารขนสง่ สินคา้ ท้ังขาเข้าและขาออกไม่จ�าเป็นต้องพึ่งพากองเรือของประเทศอื่น และยังสามารถเพ่ิมขีด ความสามารถในการแข่งขนั กับตา่ งประเทศไดอ้ กี ดว้ ย 5.2 การผลิตน�า้ จดื จากทะเล โดยใช้เทคโนโลยีการผลิตน�้าประปา จ า ก น้� า ท ะ เ ล ร ะ บ บ รี เ ว อ ร ์ ส อ อ ส โ ม ซี ส (Reverse Osmosis: RO) ทใี่ ช้แรงดนั สูงดัน น�้าทะเลผ่านเย่ือกรองท่ีมีรูขนาดเล็ก เพื่อ กรองแร่ธาตุเกลือ และสารตกตะกอนต่าง ๆ ออกจากน�้าทะเล ท�าให้น้�าจืดออกมาและ พร้อมป้อนเข้าสู่ระบบจ่ายน�้าประปา ส่วนเกลือท่ีได้นั้นน�ากลับไปท้ิงในทะเล เทคโนโลยีน้ี จะใช้กับพ้ืนที่ที่มีสภาพเป็นเกาะ ท่ีไม่มีแหล่งน้�าจืดส�าหรับอุปโภคและบริโภค เพ่ือช่วย แก้ปัญหาการขาดแคลนน้�า โดยจ�าเป็นต้องมีการบริหารจัดการน�้าร่วมระหว่างน้�าจืด จากธรรมชาติและน้�าจดื ท่สี กัดจากนา้� ทะเล ซึ่งปจั จบุ นั ประเทศไทยได้มีการน�าเทคโนโลยนี ี้ มาใชใ้ นพื้นทเ่ี กาะสชี งั เกาะสมยุ และเกาะลา้ น 77

5.3 การทา� นาเกลือ ทรพั ยากรทางทะเล การทา� เกลอื ทะเลตอ้ งใชน้ า้� ทะเลเปน็ และชายฝัง่ มอี ะไรบา้ งนะ วตั ถดุ บิ โดยการนา� นา�้ ทะเลขน้ึ มาตากแดด ให้น�้าระเหยไป เหลือแต่ผลึกเกลือตกอยู่ (Solar Evaporation System) เกลือ ประเภทน้ีมีการผลิตและการใช้มาต้ังแต่ สมัยโบราณ และถือเป็นอาชีพเก่าแก่ อาชีพหนึ่งของโลกและของคนไทย โดยได้ มกี ารกา� หนดเปน็ สนิ คา้ เกษตรกรรมขนั้ ตน้ ตามพระราชบญั ญตั ธิ นาคารเพอ่ื การเกษตร และสหกรณ์การเกษตร พ.ศ. 2509 ดังนั้น แหล่งผลิตจึงต้องอยู่บริเวณ ใกล้ชายฝั่งทะเล ถึงแม้ประเทศไทยจะมี ชายฝง่ั ทะเลยาวถงึ 3,193.44 กโิ ลเมตร แต่ แหล่งที่เหมาะสมส�าหรับการผลิตเกลือ ทะเลมีค่อนข้างจ�ากัด คือ ต้องมีลักษณะ ทางภูมิประเทศเป็นที่ราบ สภาพดินต้อง เปน็ ดินเหนยี ว สามารถอ้มุ นา้� ไดด้ ี ป้องกนั ไม่ให้น�้าเค็มซึมลงไปใต้ดิน และป้องกัน ไม่ให้น�้าจืดซึมข้ึนมาบนดิน มีกระแสลม และแสงแดดช่วยในการตกผลึกเกลือ ซึ่งแหล่งที่เหมาะสมต่อการท�านาเกลือ ของประเทศไทยในปจั จบุ ัน ได้แก่ จงั หวัด สมุทรสาคร สมทุ รสงคราม และเพชรบรุ ี 78

“ทรแัพลยะาชการยทฝาั่งง”ทะเล กค็ ือส่งิ ทม่ี อี ยหู่ รือเกิดขึ้นตามธรรมชาติ ในบรเิ วณทะเลและชายฝ่งั รวมถงึ พรุชายฝัง่ พ้ืนท่ชี ่มุ น้�าชายฝงั่ คลอง คแู พรก ทะเลสาบ และบรเิ วณพ้ืนทป่ี ากแมน่ �้า ท่ีมพี ้ืนท่ีติดตอ่ กบั ทะเลหรอื อทิ ธพิ ลของน�า้ ทะเลเขา้ ถงึ เช่น ป่าชายเลน ปา่ ชายหาด หาด ทีช่ ายทะเล เกาะ หญา้ ทะเล ปะการงั ดอนหอย พชื และสัตว์ทะเล หรือสิ่งทมี่ นุษยส์ ร้างขนึ้ เพื่อประโยชน์แก่ระบบนิเวศ ทางทะเลและชายฝ่งั เช่น ปะการังเทียม แนวลดแรงคลนื่ และการป้องกนั การกดั เซาะชายฝั่ง 79

แชล้วาแยหฝลง่ ง่ั ททรัพะยเาลกร มีอะไรบ้าง ปา่ ชายเลน ปา่ ไม้บนพ้ืนทีบ่ ก ในอดีตป่าชายเลนมีกระจายอยู่ เป็นสังคมพืชหลากหลายชนิดที่ ทั่วไปตามแนวฝั่งทะเล แต่จากกระแส กระจายอยู่ในพื้นท่ีชายฝั่งทะเล ได้แก่ การพัฒนาพื้นที่ชายฝั่ง ท�าให้ป่าชายเลน ป่าดบิ ชืน้ (Tropical Evergreen forest) ถกู บกุ รุกท�าลายเป็นจา� นวนมาก ท่ีอยู่บนพ้ืนท่ีสูง หรือต้นน�้าป่าชายหาด (Beach forest) ที่พบตามแนวฝั่งทะเล คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันท่ี 23 และป่าบึงหรือป่าพรุ (Fresh Water กรกฎาคม พ.ศ. 2534 ให้ระงับการใช้ Swamp forest) ทอ่ี ยตู่ ามบงึ นา�้ และทล่ี มุ่ ประโยชน์ในพ้ืนที่ป่าชายเลนโดยเด็ดขาด น�้าขัง ซึ่งมีเนื้อที่รวมกันในจังหวัดชายฝั่ง แต่มตดิ ังกล่าวยงั ไม่ชดั เจนในการปฏิบตั ิ ทะเลประมาณ 12.35 ลา้ นไร่ ในจา� นวนน้ี ร้อยละ 61.36 อยู่ในภาคใต้ ที่เหลือ ต่อมาวันท่ี 22 สิงหาคม พ.ศ. 2543 เป็นภาคตะวันออกร้อยละ 21.39 และ และวนั ท่ี17ตลุ าคมพ.ศ.2543คณะรฐั มนตรี ภาคกลางรอ้ ยละ 17.23 ปญั หาทสี่ า� คญั คอื ได้มีมติเห็นชอบการแก้ไขปัญหาการ การลกั ลอบตดั ไมท้ า� ลายปา่ และการบกุ รกุ จดั การปา่ ชายเลน โดยไมอ่ นมุ ตั ใิ หม้ กี ารทา� พน้ื ทป่ี า่ อยา่ งต่อเน่อื ง สัมปทานท�าไม้ปา่ ชายเลน 80

แหลง่ หญ้าทะเล เป็นพืชน�้าที่เป็นทรัพยากรที่ส�าคัญ ต่อระบบนิเวศทางทะเล ผลผลิตจาก กระบวนสังเคราะห์แสงของหญ้าทะเลให้ ทั้งอาหารและออกซิเจนแก่สิ่งมีชีวิตใน ทะเลบริเวณท่ีมีหญ้าทะเลขึ้นอยู่ จึงเป็น แหล่งอาหาร เป็นท่ีวางไข่ และหลบซ่อน ศตั รขู องสัตวน์ า้� วัยออ่ น โดยเฉพาะสตั วท์ ะเลหายาก เชน่ เตา่ ทะเล พะยูน รวมทงั้ ยังช่วย ชะลอคลื่นป้องกันการพังทลายของชายฝั่ง ช่วยกรองและปรับปรุงคุณภาพน�้าให้ดีข้ึน ปัญหาการเส่ือมโทรมของหญ้าทะเลเกิดได้ท้ังการเสื่อมโทรมของพื้นที่ตามธรรมชาติ และ จากกจิ กรรมการพฒั นาบรเิ วณชายฝ่ังทะเล แหลง่ ปะการงั ทรัพยากรที่มีความหลากหลายบริเวณชายฝั่งทะเล เป็นที่อยู่อาศัยและเป็นแหล่งโซ่ อาหารของสัตว์ทะเล ปะการังเป็นสัตว์ที่มีโครงสร้างหินปูนห่อหุ้มตัวไว้ โดยพ้ืนท่ีที่พบจะ ตอ้ งเหมาะสม คอื มคี ณุ ภาพนา�้ ทดี่ ี ใส ระดบั ความเคม็ และอณุ หภมู ขิ องนา�้ ทะเลทเ่ี หมาะสม และดว้ ยความสวยงามของแนวปะการงั จงึ ทา� ใหป้ ะการงั เปน็ ทต่ี อ้ งการมาเยย่ี มชม เกดิ เปน็ แหล่งท่องเที่ยวท่ีส�าคัญ ซึ่งก็มีผลกระทบต่อปะการังตามมาด้วยเช่นกัน ปัญหาส�าคัญต่อ ปะการังคือ การเปลี่ยนแปลงของกระบวนการธรรมชาติ เช่น คลื่นลมรุนแรง การระบาด ของดาวมงกฎุ หนาม โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ปรากฏการณป์ ะการงั ฟอกขาว (coral bleaching) ทา� ใหป้ ะการงั ตายเปน็ จา� นวนมาก นอกจากนยี้ งั เกดิ จากกจิ กรรมของมนษุ ยใ์ นการทอ่ งเทย่ี ว การทา� ประมง และการพฒั นาพนื้ ทช่ี ายฝง่ั ทง้ั นา้� เสยี ตะกอน ขยะ และของเสยี อนื่ ๆ ระบาย ลงสู่ทะเลมากขนึ้ 81

82

บทท่ี 5 กฏหมาย และ หน่วยงานทางทะเล 83

กฎหมายทะเลระหวา่ งประเทศ กฎหมายเป็นเครื่องมือในการควบคุมความประพฤติของบุคคลให้ต้องปฏิบัติตาม รวมท้งั สง่ เสรมิ ใหส้ ภาพความเปน็ อยใู่ นสงั คมมคี วามผาสกุ และประเทศชาตมิ คี วามเจรญิ รงุ่ เรอื ง มั่นคง ม่ังค่ัง และย่ังยืน โดยในส่วนของการใช้ทะเลและมหาสมุทร กฎหมายจะท�าหน้าที่ ในการควบคุมพฤติกรรมของผู้ใช้ทะเล และสนับสนุนให้มีการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ จากมหาสมุทรและทรัพยากรทางทะเลอย่างย่ังยืน ดงั นนั้ เพื่อใหผ้ ู้ใช้ทะเลไดม้ คี วามรู ้ ความเข้าใจ เคารพ และปฏบิ ัตติ ามกฎหมายทางทะเล จะไดก้ ลา่ วถงึ สภาพความมอี ยขู่ องกฎหมายทะเลทเี่ ปน็ หลกั สากล หรอื กฎหมายระหวา่ งประเทศ วา่ ดว้ ยทะเล ท่ีถือว่าเป็นแม่บทของบรรดากฎหมายทางทะเลอนื่ ๆ ท้งั หมด กฎหมายทางทะเล ที่มีลักษณะควบคุมกิจกรรมหรือเหตุการณ์ทางทะเลเป็นการเฉพาะเรื่อง ท่ีมีผลกระทบต่อการ ควบคมุ การใชป้ ระโยชน์จากทะเลของประเทศไทยทีส่ �าคญั รวมท้ังสถานะของประเทศไทย ดังน้ี 1.วา่ ดว้ ยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 (1958 Geneva Conventions on the Law of the Sea) แนวความคิดที่จะมีบทบัญญัติสากลหรืออนุสัญญาระหว่างประเทศเก่ียวกับทะเล เพิ่งมาเร่ิมเม่ือหลังสงครามโลกคร้ังท่ี 1 โดยองค์การสันนิบาตชาติได้มองเห็นความส�าคัญว่า จะต้องมีอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยทะเล ที่จะเป็นบทบัญญัติและแม่บทท่ีประเทศ ทั้งหลายในโลกจะได้ถือปฏิบัติ จึงได้จัดให้มีการประชุมสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ครงั้ ท ่ี 1 ณ กรงุ เจนวี า ค.ศ. 1958 (พ.ศ. 2501) โดยมปี ระเทศสมาชกิ เขา้ รว่ มประชมุ 86 ประเทศ และมหี ัวหน้าคณะผู้แทนของประเทศไทย คอื พระเจ้าวรวงศเ์ ธอ กรมหม่ืนนราธิปพงศป์ ระพนั ธ์ ไดร้ ับเลือกใหเ้ ปน็ ประธานการประชมุ ซง่ึ นับว่าเป็นเกียรตยิ ศอยา่ งยง่ิ สา� หรบั ประเทศไทย การประชุมครั้งน้ปี รากฏผลเปน็ อนุสัญญา 4 ฉบับ คอื • อนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตและเขตตอ่ เนื่อง • อนสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยทะเลหลวง • อนุสญั ญาว่าดว้ ยการประมงและการอนรุ ักษ์ส่ิงทีม่ ีชีวติ ในทะเลหลวง • อนสุ ัญญาว่าดว้ ยไหล่ทวปี โดยมากมกั เรยี กอนุสญั ญาทง้ั 4 ฉบับนสี้ ้ัน ๆ ว่า “อนุสัญญากรุงเจนวี า 1958” (1958 Geneva Conventions on the Law of the Sea) นบั เปน็ ความกา้ วหนา้ อยา่ งมากของกฎหมาย ทะเล ที่มีบทบัญญัติของกฎหมายระหว่างประเทศในประเด็นต่าง ๆ อย่างมากมายและไม่เคย มีมาก่อน 84

2. อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (1982 United Nations Convention on the Law of the Sea: 1982 UNCLOS) อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 (1982 United Nations Convention on the Law of the Sea: 1982 UNCLOS) ทา� ใหม้ หี ลกั กฎหมายในการจดั ระเบยี บ กิจกรรมทางทะเลในทกุ ด้านท่สี มบรู ณ์มากย่งิ ขึน้ ประกอบดว้ ย 320 ข้อบท กับอีก 9 ภาคผนวก โดยมีบทบัญญัติที่ส�าคัญ ๆ ได้แก่ บทบัญญัติเก่ียวกับการก�าหนดเขตและระบอบทางทะเล อา� นาจอธปิ ไตย (Sovereignty) สทิ ธิอธิปไตย (Sovereign Rights) เขตอา� นาจ (Jurisdiction) หรือสิทธิหน้าท่ีใด ๆ ของรัฐในแต่ละเขตพ้ืนที่ ครอบคลุมไปถึงการเดินเรือผ่านช่องแคบ ท่ีใช้ ส�าหรับการเดินเรือระหว่างประเทศ รัฐหมู่เกาะ สิทธิของเรือรบในการข้ึนตรวจตรา (Right of Visit) และสิทธไิ ล่ตามตดิ พนั (Right of Hot Pursuit) หนา้ ท่ีในการใหค้ วามช่วยเหลอื (Duty to Render Assistance) การคุ้มครองและการอนุรักษ์ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมทางทะเล การทดลองวิจยั วิทยาศาสตรท์ างทะเลและการพัฒนา และการถ่ายทอดเทคโนโลยที างทะเล การส�ารวจและการใช้ทรัพยากรในส่วนพื้นดินท้องทะเลและมหาสมุทรและบริเวณ ใต้พ้ืนท่ีเหล่านั้น ท่ีอยู่นอกเขตอ�านาจแห่งรัฐ (Area Beyond National Jurisdiction) ท้ังนี้ อนุสัญญาฯ ได้ก�าหนดให้องค์กรพ้ืนดินท้องทะเลระหว่างประเทศ มีหน้าที่ดูแลจัดการ ทรัพยากรในเขตดังกล่าว นอกจากน้ี ในภาค 15 ของอนุสัญญาฯ ยังได้ก�าหนดกระบวนการ ระงับข้อพิพาทระหว่างรัฐภาคี อันเกิดจากการตีความและการใช้บังคับอนุสัญญาฯอีกด้วย ซงึ่ ถอื ไดว้ า่ อนสุ ญั ญาฉบับนี้เปรียบเสมือนเป็นธรรมนญู ทางทะเล ต่อมาเม่ือวันที่ 26 เมษายน ค.ศ. 2011 (พ.ศ.2554) รัฐสภาได้ให้ความเห็นชอบ ให้ไทยเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 และความตกลง เกี่ยวกับการอนุวัติภาค 11 ของอนุสัญญาฯ เพื่อให้ไทยสามารถใช้สิทธิตามท่ีกฎหมายระหว่าง ประเทศว่าด้วยทะเลก�าหนดไว้อย่างเต็มท่ี รวมถึงได้รับการคุ้มครองผลประโยชน์ทางทะเล อย่างสมบูรณ์ เช่น การใช้สิทธิในการแสวง และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งที่มี ชวี ิตและไมม่ ีชวี ิตในเขตเศรษฐกิจจ�าเพาะ และไหลท่ วปี การได้รบั สว่ นแบง่ จากบรรดาทรัพยากร ก้นทะเลท่ีอยู่นอกเขตอธิปไตยของรัฐใด ๆ ซึ่งถือเป็นสมบัติร่วมกันของมนุษยชาติ (Common Heritage of Mankind) 85

3. กฎหมายและความตกลงระหว่างประเทศ กลุ่มการเดินเรือและความปลอดภัย ทางทะเล องค์กรหลักที่มีบทบาทในการสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศในการก�าหนดมาตรฐาน และแนวปฏบิ ตั เิ พอ่ื ความปลอดภยั ในการเดนิ เรอื รวมถงึ การคมุ้ ครองสงิ่ แวดลอ้ มทางทะเล ไดแ้ ก ่ องคก์ ารทางทะเลระหวา่ งประเทศ (International Organization: IMO) ซง่ึ เปน็ ทบวงการชา� นาญ การพเิ ศษ ของสหประชาชาติ และจดั ตงั้ ขึ้นต้งั แต่ ค.ศ. 1959 (พ.ศ. 2502) มปี ระเทศสมาชิกรวม ท้ังส้นิ 174 ประเทศ และ 3 สมาชิกสมทบ ได้แก ่ หมเู่ กาะฟาโร มาเกา๊ และฮอ่ งกง สา� นักงาน ใหญ่ต้ังอยู่ ณ กรุงลอนดอน สหราชอาณาจักร อนุสัญญาระหว่างประเทศที่ตราข้ึนโดย IMO แบ่งไดเ้ ปน็ ด้าน ดังน้ี 3.1 ด้านความปลอดภยั ทางทะเล (Maritime Safety) เป็นการก�าหนดมาตรฐานขั้นต�่าในการคุ้มครองความปลอดภัยในชีวิตในทะเล อาทิ การต่อเรือ คนเรือ อุปกรณ์ท่ีติดตั้งบนเรือ การเดินเรือ การบรรทุกสินค้า รวมไปถึงการ ค้นหาชว่ ยเหลอื ผ้ปู ระสบภัยทางทะเล อาทิ • อนสุ ญั ญาระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยความปลอดภยั แหง่ ชวี ติ ในทะเล ค.ศ. 1974 (1974 International Convention for the Safety of Life at Sea: 1974 SOLAS) เพื่อให้ เกิดความปลอดภัยในการเดินเรือ โดยก�าหนดมาตรฐานข้ันต่�าในเร่ืองโครงสร้าง ประเภท และวิธีการติดตั้งอุปกรณ์และการใช้งานบนเรือ ทั้งนี้ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันเมื่อวันท่ี 18 ธันวาคม ค.ศ. 1974 (พ.ศ. 2517) • อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยกฎข้อบังคับระหว่างประเทศเพื่อป้องกัน เรือโดนกันในทะเล ค.ศ. 1972 (1972 Convention on the International Regulations for Preventing Collisions at Sea: 1972 COLREG) เพื่อให้มีกฎข้อบังคับเป็นแบบอย่าง สากลวา่ ดว้ ยการเดนิ เรอื ในเวลาเรอื เขา้ ใกลก้ นั หรอื ในขณะทท่ี ศั นวสิ ยั ไมด่ ี ตลอดจนวางกฎเกณฑ์ เก่ียวกับสัญญาณแสง เสียง และเครื่องหมายสัญญาณรูปทรงต่าง ๆ เพ่ือป้องกันการโดนกัน ของเรือ ทัง้ น ้ี ประเทศไทยไดใ้ ห้สัตยาบนั เมือ่ วันท ่ี 6 สงิ หาคม ค.ศ. 1979 (พ.ศ. 2522) 86

3.2 ด้านมลพษิ ทางทะเล (Marine Pollution) เป็นการก�าหนดมาตรการควบคุมหรือป้องกันมลพิษ/ท่ีเกิดจากเรือ ควบคุมการทิ้งวัสดุจากเรือหรืออากาศยาน ท่ีเป็นภัยต่อส่ิงแวดล้อมทางทะเล รวมไปถึง การป้องกันหรือยุติการกระจายของสัตว์น�้าที่มีอันตรายต่อระบบนิเวศหรือก่อให้เกิดโรค ที่ตดิ มากับน�้าอบั เฉาเรือ อาทิ • อนุสัญญาระหวา่ งประเทศวา่ ด้วยการเตรียมการ การปฏบิ ัติการ และความ ร่วมมอื ในการปอ้ งกนั และขจดั มลพษิ นา้� มัน ค.ศ. 1990 (1990 International Convention on Oil Pollution Preparedness, Response and Co-operation: 1990 OPRC) เพ่อื เสริมสร้าง ความร่วมมือระหว่างประเทศในการขจัดคราบน้�ามัน ท้ังน้ี ประเทศไทยได้ให้สัตยาบัน เม่ือวันท ี่ 20 เมษายน ค.ศ. 2000 (พ.ศ. 2543) • อนสุ ญั ญาระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั มลพษิ จากเรอื ค.ศ. 1973 และ พิธสี าร ค.ศ. 1978 (1973 International Convention for the Prevention of Pollution from Ships as modified by the Protocol of 1978: 73/78 MARPOL) Annex I – IV เพื่อป้องกันมลพิษทางทะเลที่เกิดจากการปฏิบัติการของเรือ หรืออุบัติเหตุท่ีเกิดขึ้นในทะเล โดยอนุสัญญาครอบคลุมกฎระเบียบที่มุ่งป้องกันและลดมลพิษจากเรือ มีภาคผนวก 6 ด้าน คือ ป้องกันมลพิษจากน้�ามัน ควบคุมมลพิษจากสารเคมีในถังระวางเรือ ป้องกันอันตราย จากการขนส่งวัตถุเคมีในรูปแบบหีบห่อ ป้องกันมลพิษจากของเสียในเรือ ป้องกันมลพิษ จากขยะบนเรือ และป้องกันมลพิษทางอากาศจากเครื่องยนต์เรือ ทั้งน้ี ประเทศไทยได้เข้า เป็นภาคเี มอ่ื วันท ่ี 15 ตลุ าคม ค.ศ. 2007 (พ.ศ. 2550) โดยครอบคลมุ เฉพาะขอ้ บงั คับวา่ ดว้ ย การปอ้ งกันและลดมลพษิ จากเรือ ภาคผนวกท่ี 1 (Annex I) และ 2 (Annex II) 87

3.3 ดา้ นความรบั ผดิ และการชดเชยความเสยี หาย (Liability and Compensation) เป็นการก�าหนดมาตรการและหลักเกณฑ์ในการชดเชยค่าเสียหายให้กับผู้ที่ ไดร้ บั ความเสียหายจากมลพิษน้�ามันท่เี กดิ จากอุบัตเิ หตทุ างทะเล อาทิ • อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการจัดตั้งกองทุนระหว่างประเทศเพื่อ ชดใช้ความเสียหายอันเน่ืองมาจากมลพิษของน้�ามัน ค.ศ. 1971 (1971 International Convention on the Establishment of an International Fund for Compensation for Oil Pollution Damage: 1971 FUND) เพ่ือให้บุคคลผู้ท่ีได้รับความเสียหายจากมลพิษ อาจใช้สิทธิเรียกร้องต่อกองทุนได้ และให้กองทุนจ่ายค่าสินไหมทดแทนจากมลพิษให้แก่บุคคล ผู้ได้รับความเสียหายจากมลพิษ หากบุคคลน้ันไม่ได้รับค่าสินไหมทดแทนท่ีเต็มจ�านวน และ เพียงพอตามกฎหมายว่าด้วยความรับผิดทางแพ่งฯ ซึ่งไทยได้ออกกฎหมายรองรับแล้ว และ จะเข้าเป็นภาคีเพื่อเป็นการอนุวัติการให้เป็นไปตามอนุสัญญาดังกล่าว ทั้งนี้ ประเทศไทยอยู่ ระหว่างการดา� เนินการเข้าเป็นภาคี • อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความรับผิดทางแพ่งส�าหรับความเสียหาย อันเกิดจากมลพิษของน�้ามัน ค.ศ. 1969 (1969 International Convention on Civil Liability for Oil Pollution Damage: 1969 CLC) เพ่ือให้มกี ารชดใช้ความเสียหายจากมลพษิ น�้ามัน ไม่วา่ จะเปน็ การปล่อยทง้ิ น้�ามันลงในทะเล การร่ัวไหลของน้า� มัน หรอื การประสบอบุ ัตภิ ยั ของเรือบรรทกุ น้า� มนั โดยกา� หนดให้เจา้ ของเรอื ตอ้ งรับผิดอย่างเคร่งครัด และต้องเอาประกันภยั หรือจัดหาหลักประกันทางการเงินอื่นใดเพื่อชดใช้ความเสียหาย และประเทศไทยจะเข้าเป็น ภาคี อนุสัญญาดังกล่าว แม้ไทยก�าลังเข้าเป็นภาคี แต่ไทยได้ออกกฎหมายรองรับแล้ว ท้ังน้ี ประเทศไทยอย่รู ะหว่างการดา� เนินการเขา้ เป็นภาคี 88

4. กฎหมาย/ความตกลงระหว่างประเทศ และความร่วมมือระหว่างประเทศ ด้านความม่ันคงทางทะเล (Security Law) กฎหมายและความตกลงระหว่างประเทศด้านความมั่นคงทางทะเลเป็นมาตรการ เพ่อื ป้องกนั หรอื รับมือกบั ภัยคุกคาม ท้ังรูปแบบเดิมและรปู แบบใหม ่ จดั ท�าข้ึนโดยหลายองคก์ ร อาท ิ องคก์ ารสหประชาชาต ิ องคก์ ารทางทะเลระหวา่ งประเทศ องคก์ ารการบนิ พลเรอื นระหวา่ ง ประเทศ ซึง่ มีสภาพบังคับเป็นกฎหมายระหวา่ งรฐั ทเ่ี ป็นภาคคี วามตกลงฯ อาทิ 4.1 อนสุ ญั ญาสหประชาชาตวิ า่ ดว้ ยการตอ่ ตา้ นอาชญากรรมขา้ มชาต ิ ทจี่ ดั ตง้ั ใน ลักษณะองคก์ ร ค.ศ. 2000 (2000 United Nations Convention against Transnational Organized Crime: 2000 UNTOC) เป็นกรอบความร่วมมือทางกฎหมายท่ีก�าหนดมาตรฐาน ระดับสากลเกี่ยวกับการต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่กระท�าโดยองค์กรอาชญากรรม โดยมี ขอบเขตการบังคับใช้ในด้านการป้องกัน การสืบสวน และการด�าเนินคดีเก่ียวกับฐานความผิด ที่ก�าหนดไว้ในอนุสัญญาฯ 4 ฐาน ได้แก่ การมีส่วนร่วมในกลุ่มองค์กรอาชญากรรม การฟอก ทรัพยส์ นิ ท่ีไดม้ าจากการกระท�าผิด การทจุ รติ คอรร์ ัปชัน และการขัดขวางกระบวนการยุติธรรม รวมท้ังฐานความผิดร้ายแรง ท่ีอนุสัญญาฯ ได้ก�าหนดนิยามว่าเป็นความผิดท่ีมีโทษจ�าคุก อย่างสูงตั้งแต่ 4 ปีข้ึนไป เมื่อความผิดดังกล่าวมีลักษณะข้ามชาติและเกี่ยวข้องกับกลุ่มองค์กร อาชญากรรม ทง้ั น ้ี อนุสัญญาฯ ไดร้ ะบุถึงการใหค้ วามร่วมมอื ระหว่างรฐั ภาค ี อาทิ การส่งผู้ร้าย ข้ามแดน เรื่องโอนตัวนักโทษ การช่วยเหลือซ่ึงกันและกันทางอาญา ทังนี้ ประเทศไทยได้ให้ สตั ยาบนั เมอ่ื วันที ่ 17 ตลุ าคม ค.ศ. 2013 (พ.ศ. 2556) 4.2 อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการปราบปรามการกระท�าอันมิชอบ ดว้ ยกฎหมาย ต่อความปลอดภัยของการเดนิ เรือ ค.ศ. 1988 (1988 Convention for the Suppression of Unlawful Acts Against the Safety of Maritime Navigation) มีวัตถุประสงค์เพ่ือก�าหนดมาตรการลงโทษ ที่เหมาะสมต่อบุคคลท่ีกระท�าการอันมิชอบด้วย กฎหมายแกเ่ รือ ซึ่งรวมถึงกรณดี ังตอ่ ไปน้ี 1) การยึดเรือโดยใช้กา� ลงั ประทุษร้าย 2) การกระท�า ที่รุนแรงต่อบุคคลท่ีอยู่บนเรือ และ 3) การจัดวางหรือติดตั้งอุปกรณ์บนเรือ ซึ่งอาจท�าลาย หรือทา� ให้เรือเกิดความเสียหาย ทงั้ น ี้ ประเทศไทยมีแผนเข้าเปน็ ภาค 89

5. กฎหมาย/ความตกลงและความร่วมมือระหว่างประเทศท่ีเกี่ยวกับการท�าประมง (International Fisheries Law and Regulation) แม้ตามหลักการใช้ทะเลหลวงตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 จะระบุว่าทุกรัฐมีเสรีภาพในการประมง (Freedom of fishing) แต่ก็มิใช่ เสรีภาพอย่างสมบูรณ์ มีการก�าหนดเง่ือนไข ข้อบังคับก�ากับไว้ด้วย ดังนั้น ในปัจจุบันประเทศ ต่าง ๆ มิได้มีสิทธิในการท�าการประมงอย่างไม่จ�ากัดอีกต่อไป แต่การท�าประมงในทะเลหลวง จะถูกจ�ากัดหรือควบคุมโดยกฎหมายหรือความตกลงระหว่างประเทศ หรือภายใต้การควบคุม กา� กบั ดแู ลโดยองคก์ ารบรหิ ารจดั การประมงระดบั ภมู ภิ าค (Regional Fisheries Management Organizations: RFMOs) ซึ่งความตกลงระหว่างประเทศทส่ี �าคญั อาทิ 5.1 ความตกลงวา่ ดว้ ยการปฏบิ ตั ติ ามบทบญั ญตั ขิ องอนสุ ญั ญาสหประชาชาตวิ า่ ด้วยกฎหมายทะเล พ.ศ. 2525 ในส่วนที่เก่ียวกับการอนุรักษ์และจัดการประชากรสัตว์น้�า ท่ีอาศยั อยู่ระหวา่ งเขตทางทะเล และประชากรสตั ว์นา้� ชนดิ พนั ธุ์ทอี่ พยพย้ายถิน่ ไกล ค.ศ. 1995 (1995 UN Fish Stock Agreement: 1995 UNFSA) เปน็ ความตกลงระหวา่ งประเทศทีส่ า� คัญ ตอ่ การรว่ มกนั จดั การทรพั ยากรสตั วน์ า้� และการตอ่ ตา้ นการทา� การประมงผดิ กฎหมาย โดยอาศยั ความร่วมมือระหว่างนานาประเทศและองค์กรจัดการประมง ท้ังในระดับอนุภูมิภาคและ ภูมภิ าค ทงั้ น้ ี ประเทศไทยไดใ้ หส้ ตั ยาบันเมอ่ื วันที ่ 28 เมษายน ค.ศ. 2017 (พ.ศ. 2560) 5.2 ความตกลงว่าด้วยมาตรการของรัฐเจ้าของท่า เพื่อป้องกัน ยับยั้ง และขจัด การท�าการประมงท่ีผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (Agreement on Port State Measures to Prevent, Deter and Eliminate Illegal, Unreported and Unregulated Fishing หรอื Port State Measures Agreement: PSMA) ถือเปน็ ความตกลง ระหว่างประเทศท่ีส�าคัญในการต่อต้านการท�าประมงผิดกฎหมาย เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพ ในการตรวจสอบ ควบคุมเรือประมงต่างประเทศ และการป้องกันการน�าเข้าสินค้าประมง IUU โดยจะสามารถเพม่ิ ความรว่ มมอื ในการแลกเปลยี่ นขอ้ มลู ขา่ วสารในการตอ่ ตา้ นการทา� การประมง IUU กบั ประเทศภาคีสมาชิกความตกลงได้อยา่ งกวา้ งขวางขน้ึ โดยมีพระราชกา� หนดการประมง พ.ศ. 2558 และพระราชก�าหนดการประมง (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2560 เปน็ กฎหมายหลกั ของไทย ท่ีก�าหนดมาตรการอนุรักษ์การควบคุมการท�าการประมง และการต่อต้านการท�าประมง ผิดกฎหมาย โดยก�าหนดกฎเกณฑ์เก่ียวกับการอนุญาตและการควบคุมเรือประมงท้ังระบบ ทั้งเรือท่ีชักธงไทยซ่ึงท�าการประมงในน่านน�้าและนอกน่านน้�าไทย และเรือประมงต่างชาติ ทไ่ี ดร้ บั อนญุ าตเขา้ มาทา� การประมงในเขตเศรษฐกจิ จา� เพาะหรอื นา่ นนา�้ ไทย ตลอดจนการควบคมุ การน�าเข้าสัตว์น�้า ท้ังนี้ ประเทศไทยได้เข้าเป็นภาคีเม่ือวันที่ 10 พฤษภาคม ค.ศ. 2016 (พ.ศ. 2559) 90

6. กฎหมายและความตกลงระหว่างประเทศท่ีเก่ียวกับทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม (Environmental Law) 6.1 อนสุ ญั ญาวา่ ดว้ ยการคา้ ระหวา่ งประเทศซง่ึ ชนดิ ของสตั วป์ า่ และพชื ปา่ ทใี่ กล้ สูญพนั ธ ุ์ ค.ศ. 1973 (1973 Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora: 1973 CITES) เพ่ือการอนุรกั ษท์ รัพยากรสัตว์ปา่ และพืชป่าในโลก เพ่ือประโยชน์แห่งมวลมนุษยชาติ โดยเน้นทรัพยากรสัตว์ป่าและพืชป่าท่ีใกล้สูญพันธุ์ หรือ ที่มีการคุกคาม ท�าให้ปริมาณลดลงจนอาจจะสูญพันธุ์ไป วิธีการของการอนุรักษ์ท่ีได้กล่าวไว้ ในอนุสัญญาไซเตสนั้น ท�าโดยสร้างเครือข่ายข้ึนท่ัวโลก เพ่ือควบคุมการค้าระหว่างประเทศ ทงั้ สตั วป์ า่ พชื ป่า และผลติ ภัณฑ ์ ท้งั นี้ ประเทศไทยไดใ้ ห้สตั ยาบันเม่อื วันที ่ 21 มกราคม ค.ศ. 1983 (พ.ศ. 2526) 6.2 อนสุ ญั ญาความหลากหลายทางชวี ภาพ ค.ศ. 1992 (1992 The Convention on Biological Diversity: 1992 CBD) เป็นความตกลงด้านส่ิงแวดล้อมระหว่างประเทศ โดยการให้ความร่วมมือในการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ และการใช้ประโยชน์ ระบบนิเวศ ชนิดพันธุ์ และพันธุกรรมอย่างยั่งยืน ด้วยการหยุดย้ังการสูญเสียความหลากหลาย ทางชีวภาพท่ีก�าลังเกิดข้ึนอย่างต่อเนื่องทั่วโลก โดยให้รัฐบาลทุกประเทศเคร่งครัดต่อการรักษา วินัยสิ่งแวดล้อม ซ่ึงแม้มีความต้องการอย่างมากท่ีจะพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ แต่ก็ต้อง ไม่ละเลยการอนุรักษ์ธรรมชาติด้วย ท้ังนี้ ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันเม่ือวันที่ 31 ตุลาคม ค.ศ. 2003 (พ.ศ. 2546) 7. กฎหมายและความตกลงระหว่างประเทศเก่ียวกับแรงงานทางทะเล (Maritime Labour) 7.1 อนสุ ญั ญาแรงงานทางทะเล ค.ศ. 2006 แกไ้ ข ค.ศ. 2014 (2006 Maritime Labour Convention) เพอื่ รวบรวมอนสุ ญั ญาทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การคมุ้ ครองแรงงานทางทะเล ทง้ั น ้ี ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันเมือ่ วันท่ี 7 มิถุนายน ค.ศ. 2016 (พ.ศ. 2559) 7.2 อนสุ ญั ญา ฉบบั ที่ 188 ว่าดว้ ยงานในภาคการประมง (Work in Fishing) ค.ศ. 2007 (2007 International Labour Organization, Work in Fishing Convention (No. 188) เพ่ือประกันสิทธิและผลประโยชน์ท่ีผู้ใช้แรงงานควรจะได้รับ ทั้งน้ี ประเทศไทย ยงั ไม่ได้ใหส้ ัตยาบนั 91

กฎหมายไทย ทเี่ กีย่ วขอ้ งกับทะเล ในทอ้ งถ่ินตนเอง “กฎหมายไทยทเ่ี กย่ี วกับทะเล” เพอ่ื ให้การควบคมุ พฤติกรรมของผใู้ ช้ทะเล และสนบั สนุนให้มีการอนุรกั ษ์ และใชป้ ระโยชน์จากมหาสมุทรและทรพั ยากรทางทะเลอย่างย่งั ยืน และเปน็ พันธกรณีทีร่ ฐั ตอ้ งออกกฎหมายภายในของตนรองรบั (อนวุ ัติการ) กฎหมายระหวา่ งประเทศตามทีไ่ ด้กล่าวข้างต้น ทงั้ น้ี เพ่อื ให้มีสภาพบังคบั แก่ประชาชนภายในรฐั นั้น ๆ และทั้งบคุ คลที่ตกอยู่ในเขตอ�านาจประเทศไทย จงึ มกี ารตรากฎหมาย ทเี่ กย่ี วข้อง ทง้ั ทีเ่ กีย่ วขอ้ งโดยตรงและเก่ียวขอ้ งเพียงบางสว่ น จ�านวนประมาณ 73 ฉบบั โดยมกี ฎหมายทีส่ า� คญั คอื 1. ดา้ นประมงและทรัพยากร • พระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ การบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝ่ัง พ.ศ. 2558 • พระราชก�าหนดการประมง พ.ศ. 2558 และพระราชกา� หนดการประมง (ฉบบั ท ี่ 2) พ.ศ. 2560 • พระราชบญั ญตั สิ ิทธกิ ารประมงในเขตการประมงไทย พ.ศ. 2482 • พระราชบญั ญัตคิ ้มุ ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 • พระราชบัญญตั จิ ดั ระเบยี บกจิ การแพปลา พ.ศ. 2496 • พระราชบัญญัตโิ รคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2499 • พระราชบัญญตั กิ กั พืช พ.ศ. 2507 2. ด้านการขนสง่ และพาณิชย์นาวี • พระราชบัญญัตกิ ารเดินเรอื ในน่านนา้� ไทย พ.ศ. 2456 และพระราชบัญญตั ิการเดินเรือ ในนา่ นน้า� ไทย (ฉบับท ่ี 17) พ.ศ. 2560 92

• พระราชบัญญัติการเรียกเงินสมทบเข้ากองทุนระหว่างประเทศเพ่ือชดใช้ความเสียหาย จากมลพษิ น้า� มันอนั เกิดจากเรอื พ.ศ. 2560 • พระราชบัญญัติความรับผิดทางแพ่งต่อความเสียหายจากมลพิษน้�ามันอันเกิดจากเรือ พ.ศ. 2560 • พระราชบญั ญตั ิกกั เรือ พ.ศ. 2534 • พระราชบัญญตั ิปอ้ งกันเรือโดนกนั พ.ศ. 2522 • พระราชบญั ญตั ิปอ้ งกันการกระทา� บางอยา่ งในการขนส่งสนิ ค้าออกทางเรือ พ.ศ. 2511 • พระราชบัญญัติเพ่ิมอ�านาจต�ารวจในการป้องกันและปราบปรามการกระท�าผิดทางน�้า พ.ศ. 2496 • พระราชบัญญัติให้อ�านาจทหารเรือปราบปรามการกระท�าผิดบางอย่างทางทะเล พ.ศ. 2490 • พระราชบัญญัติว่าด้วยการส่งออกและนา� เขา้ มาในราชอาณาจักรซง่ึ สินค้า พ.ศ. 2522 • พระราชบญั ญตั ศิ ลุ กากร พ.ศ. 2560 • พระราชบญั ญัตภิ าษีสรรพสามิต พ.ศ. 2527 • พระราชก�าหนดควบคมุ สนิ คา้ ตามชายแดน พ.ศ. 2534 • พระราชบญั ญตั กิ ารขนสง่ ต่อเน่ืองหลายรูปแบบ พ.ศ. 2548 • พระราชบัญญตั ิเรือไทย พ.ศ. 2481 และพระราชก�าหนดแกไ้ ขเพ่มิ เติมพระราชบญั ญัติ เรือไทย พ.ศ. 2481 พ.ศ. 2561 3. ดา้ นการทอ่ งเทีย่ วและนนั ทนาการทางทะเล • พระราชบญั ญัตสิ ่งเสริมและรักษาคุณภาพสง่ิ แวดล้อม พ.ศ. 2535 • พระราชบัญญัติรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 • พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 4. ด้านพลังงาน • พระราชบญั ญตั ิการปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 • พระราชบญั ญัตคิ วามผิดเกย่ี วกบั สถานทผ่ี ลติ ปโิ ตรเลยี ม พ.ศ. 2530 5. ดา้ นอ่นื ๆ • พระราชบญั ญัตวิ ตั ถอุ นั ตราย พ.ศ. 2535 • พระราชบญั ญัตโิ รงงาน พ.ศ. 2512 • พระราชบญั ญตั ิการนิคมอุตสาหกรรม พ.ศ. 2522 • พระราชบัญญัติควบคมุ โภคภัณฑ์ พ.ศ. 2495 • พระราชบญั ญตั คิ วบคุมยุทธภณั ฑ์ พ.ศ. 2530 93

องคก์ รและหนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบในการรกั ษาผลประโยชน์ ของชาติทางทะเล 1. หนว่ ยงานหลัก หน่วยงานท่ีมีการปฏิบัติการหลักในการรักษาผลประโยชนข์ องชาตทิ างทะเล ไดแ้ ก่ กองทัพเรือ (ทร.) กองบังคับการต�ารวจนา้� (บก.รน.) กรมศลุ กากร (ศก.) กรมเจา้ ท่า (จท.) กรมประมง (กปม.) กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ (ทช.) ศนู ยอ์ า� นวยการรกั ษาผลประโยชนข์ องชาตทิ างทะเล (ศรชล.) ซงึ่ ตง้ั ขนึ้ ตามพระราชบญั ญตั ิ การรักษาผลประโยชนข์ องชาติทางทะเล พ.ศ. 2562 2. หนว่ ยงานรว่ ม ประกอบดว้ ยหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งดา้ นทะเล ในการรว่ มกนั กา� หนดนโยบายและยทุ ธศาสตร์ ทางทะเล เพื่อน�าไปสู่การบริหารจัดการผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ท้ังหน่วยงานราชการ รัฐวสิ าหกิจ และภาคเอกชน ประมาณ 36 หนว่ ยงาน อาทิ 2.1 ส�านักนายกรัฐมนตรี มีหน่วยงานย่อยท�าหน้าที่ก�าหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ การจดั การผลประโยชนข์ องชาตทิ างทะเล รว่ มกบั หนว่ ยงานอน่ื ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เพอื่ บรหิ ารจดั การ ผลประโยชน์จากการใช้ทรพั ยากรธรรมชาติทางทะเลอย่างคุ้มคา่ และเหมาะสม อาท ิ ส�านักงาน สภาความมั่นคงแห่งชาต ิ และสา� นักขา่ วกรองแหง่ ชาติ 2.2 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องโดยตรง ในการจัดการทรัพยากรมีชีวิตและทรัพยากรไม่มีชีวิตทางทะเล มีหน้าที่ก�ากับดูแลการอนุรักษ ์ ฟื้นฟู ศึกษาวิจัย และบริหารจัดการการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง อาทิ กรมควบคุมมลพษิ กรมทรัพยากรธรณี 2.3 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการจัดการทรัพยากร ทางทะเล ได้แก ่ กรมประมง ท�าหน้าทจ่ี ัดการทรพั ยากรประมง ควบคมุ ปอ้ งกัน และปราบปราม การทา� ประมงที่ผดิ กฎหมาย และผลติ สตั ว์นา�้ ให้มีมาตรฐานท่ที ว่ั โลกยอมรบั 2.4 กระทรวงคมนาคม มีหน่วยงานย่อยที่เก่ียวข้องกับการขนส่งทางน้�า การจัดการ ทา่ เรอื มหี นา้ ทดี่ า� เนนิ การตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการเดนิ เรอื ในนา่ นนา้� ไทย บรหิ ารและพฒั นาทา่ เรอื ให้เป็นโครงสร้างพ้ืนฐานเพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศได้อย่างย่ังยืน อาท ิ กรมเจา้ ท่า 94

2.5 กระทรวงอุตสาหกรรม มีหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการและดูแลธุรกิจ อุตสาหกรรม ด้านวัตถุอันตราย การผลิตและความปลอดภัย เพ่ือให้เป็นไปตามกฎหมายและ ข้อตกลงระหวา่ งประเทศ อาท ิ กรมสง่ เสรมิ อุตสาหกรรม 2.6 กระทรวงพลังงาน มีหน่วยงานที่ท�าหน้าท่ีวิจัยและพัฒนาด้านพลังงาน การจัดหา พลงั งาน การอนรุ ักษ์พลงั งาน และบริหารจัดการการใช้พลงั งานอยา่ งย่ังยนื อาท ิ กรมเช้อื เพลงิ ธรรมชาต ิ การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแหง่ ประเทศไทย 2.7 กระทรวงกลาโหม ซง่ึ ประกอบด้วยหน่วยเฉพาะกิจ และหนว่ ยขนึ้ ตรงกบั กองทัพเรือ ทา� หนา้ ทร่ี กั ษาและคมุ้ ครองผลประโยชนจ์ ากการใชท้ รพั ยากรในทะเล ตดิ ตามและตรวจวดั ปจั จยั ทางสมทุ รศาสตร์ อุทกศาสตร ์ และอตุ นุ ิยมวทิ ยาทางทะเล 2.8 กระทรวงมหาดไทย มีหน่วยงานย่อยที่ท�าหน้าท่ีในการรักษาความสงบเรียบร้อย ป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมตามประมวลกฎหมายอันเกี่ยวกับความผิดทางอาญาทั้ง หลายในน่านน้�าไทย อาท ิ กรมป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั กรมโยธาธกิ ารและผงั เมือง 2.9 กระทรวงอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร ์ วจิ ยั และนวตั กรรม มหี นว่ ยงานยอ่ ยทด่ี า� เนนิ การ เกี่ยวกับการบูรณาการองค์ความรู้ทางทะเล ศึกษาวิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล เพื่อน�ามาประยุกต์สู่การจัดการทรัพยากรได้อย่างถูกต้องและ เหมาะสม อาท ิ ส�านกั งานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภมู ิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) 2.10 กระทรวงการทอ่ งเทยี่ วและกฬี า ทา� หนา้ ทค่ี วบคมุ ดแู ล สา� รวจ วางแผน ดา� เนนิ การ สง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วทางทะเล ตลอดจนสง่ เสรมิ การอนรุ กั ษ ์ ฟน้ื ฟ ู และพฒั นาสถานทที่ อ่ งเทย่ี ว ทางทะเล ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มท่เี ก่ยี วข้อง อาทิ การทอ่ งเที่ยวแหง่ ประเทศไทย สภาอตุ สาหกรรมการทอ่ งเที่ยวแห่งประเทศไทย 2.11 กระทรวงการตา่ งประเทศ เปน็ หน่วยงานที่มภี ารกิจด้านการต่างประเทศ สง่ เสรมิ ความสมั พนั ธ ์ ความเขา้ ใจและความรว่ มมอื ระหวา่ งประเทศ และอา� นวยความสะดวกในการตดิ ตอ่ ประสานกบั ต่างประเทศและคมุ้ ครองผลประโยชน์ของไทยในต่างประเทศ รวมไปถงึ การดา� เนิน การเพ่อื เข้าเป็นภาคอี นสุ ญั ญาหรือความตกลงระหว่างประเทศตา่ ง ๆ ซ่งึ มหี นว่ ยงานระดับกรม ทด่ี า� เนนิ ภารกจิ ดงั กลา่ ว อาท ิ กรมภมู ภิ าคทเ่ี กยี่ วขอ้ ง กรมองคก์ ารระหวา่ งประเทศ กรมอาเซยี น กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กฎหมายและหน่วยงานทางทะเลดังกล่าวข้างต้น จะเป็นเคร่ืองมือในการควบคุมความ ประพฤตขิ องบคุ คลใหต้ อ้ งปฏบิ ตั ติ าม รวมทง้ั สง่ เสรมิ ใหส้ ภาพความเปน็ อยใู่ นสงั คมมคี วามผาสกุ และประเทศชาติมคี วามเจริญ ร่งุ เรอื ง มนั่ คง มง่ั ค่ัง และยง่ั ยนื ทั้งในระดบั ชาตแิ ละภูมิภาค ทั้งนี ้ เพื่อให้ผู้ใช้ทะเลได้มีความรู้ ความเข้าใจ เคารพ และปฏิบัติตามกฎหมายทางทะเล ท้ังท่ีเป็น กฎหมายระหว่างประเทศและกฎหมายภายในประเทศ ได้ทราบและน�าไปใช้ในการปฏิบัติและ เผยแพร่ความรูใ้ หก้ บั ผ้ทู ่เี ก่ยี วข้องต่อไป 95

ความรว่ มมอื ระหว่างประเทศ ความร่วมมือระหว่างประเทศ ปัจจุบันมีความร่วมมือระหว่างประเทศท่ีเก่ียวข้อง กบั ทะเลในระดับโลกและระดับภมู ิภาคท่สี �าคัญ อาทิ 1. องค์การสหประชาชาติ (United Nation: UN) ในสว่ นทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั ทะเลนนั้ กรอบการประชมุ ขององคก์ าร สหประชาชาตมิ กี ารหารอื กนั ใน 2 หวั ข้อใหญ่ ไดแ้ ก ่ 1. การจัดต้ังกรอบกฎหมายระหว่างประเทศ การส่งเสริมให้ประเทศต่าง ๆ เข้าเป็น ภาคี และน�ากฎหมายไปบังคับใช้ รวมท้ังการจัดระเบียบ/วางกฎเกณฑ์/พัฒนามาตรฐาน และมาตรการระหวา่ งประเทศในการรักษาความม่ันคงและความปลอดภัยทางทะเล 2. การส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศในการจัดการภัยคุกคามต่าง ๆ ในทะเล อาท ิ โจรสลดั อาชญากรรมขา้ มชาต ิ สิง่ แวดลอ้ ม ภัยพิบัติทางธรรมชาติ 2. องค์การทางทะเลระหว่างประเทศ (International Maritime Organization: IMO) ได้ออกนโยบายและมาตรการความปลอดภัยทางทะเลเพิ่มข้ึน เพื่อป้องกันเหตุร้าย ต่าง ๆ อาทิ มาตรการการรักษาความปลอดภัยของเรือและท่าเรือ (International Ship and Port Facility Security: ISPS Code) - อนสุ ญั ญาระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยความปลอดภยั แหง่ ชวี ติ ในทะเล ค.ศ. 1974 (1974 International Convention for the Safety of Life at Sea 1974: 1974 SOLAS) - อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการอ�านวยความสะดวกในการเดินเรือระหว่าง ประเทศ ค.ศ. 1965 (Convention on the Facilitation of International Maritime Traffic : 1965 FAL) - อนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยการค้นหาและช่วยเหลือผู้ประสบภัยทางทะเล ค.ศ. 1979 (1979 International Convention on Maritime Search and Rescue: 1979 SAR) - อนสุ ญั ญาระหวา่ งประเทศวา่ ดว้ ยการปราบปรามการกระทา� ทผ่ี ดิ กฎหมายตอ่ ความ ปลอดภยั ของการเดินเรือ ค.ศ. 1988 (Convention for the Suppression of Unlawful Acts against the Safety of Maritime Navigation: 1988 SUA) 96

3.องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations: FAO) เปน็ องค์การช�านาญการพเิ ศษ (Specialize agency) ในเครอื ขององคก์ ารสหประชาชาติ ซึ่งได้รับการจัดต้ังข้ึนตามค�าเสนอแนะของ United Nations Conference on Food and Agriculture ใน ค.ศ. 1943 ในสหรัฐอเมริกา โดยสนับสนุนให้ประเทศสมาชิกพร้อมใจกัน ในการด�าเนนิ งานขจดั ความหวิ โหย และยากจน ภายหลังการยตุ ิของสงครามโลกคร้ังท ี่ 2 ตอ่ มา FAO ได้เล็งเห็นถึงบทบาทของการประมงในการเพิ่มพูนอาหารโปรตีนให้กับประชากรโลก จึงได้มีการจัดตั้งองค์กรประมงระดับภูมิภาคข้ึนในหลายภูมิภาคของโลก เช่น ในภูมิภาคอินโด แปซิฟิก มีสภาการประมงแหง่ ภูมิภาคอนิ โดแปซฟิ ิก (The Indo Pacific Fisheries Council) ใน ค.ศ. 1948 ซง่ึ ในปัจจบุ นั เป็น The Asia Pacific Fisheries Commission ใน ค.ศ. 1982 4. สหภาพยุโรป (European Union : EU) เป็นการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจและการเมืองของประเทศในยุโรป ประกอบด้วยประเทศ สมาชิก 28 ประเทศ ปัจจุบันสหภาพยุโรปได้ให้ความส�าคัญกับการรักษาความม่ันคงและ ความปลอดภัยของเส้นทางเดินเรือเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะเส้นทางในมหาสมุทรอินเดียและ ทะเลเมดิเตอรเ์ รเนียน ซง่ึ เป็นเส้นทางเดนิ เรือส่ยู ุโรปท่ีมีความส�าคญั ตอ่ EU ทังดา้ นความม่นั คง และเศรษฐกจิ และเมอ่ื เกดิ ปญั หาความไรเ้ สถยี รภาพทางการเมอื งในโซมาเลยี และปญั หาโจรสลดั สหภาพยุโรปจึงสนับสนุนข้อมติของคณะมนตรีความม่ันคงแห่งสหประชาชาติ ท่ี 1838 (ค.ศ. 2009) และ 1846 (ค.ศ. 2009) อย่างเต็มท ี่ โดยได้จดั ตงั้ กองกา� ลงั ทางทะเล European Union Naval Force Somalia (EU NAVFOR) ขน้ึ ภายใตก้ รอบนโยบายรว่ มด้านความมัน่ คง และการป้องกันยโุ รป (European Security and Defence Policy: ESDP) โดย EU NAVFOR มภี ารกิจสา� คญั ได้แก่ 1. คุ้มกันกองเรือของโครงการอาหารโลกท่ีปฏิบัติภารกิจเกี่ยวกับความช่วยเหลือด้าน มนษุ ยธรรมไปยังโซมาเลยี 2. คมุ้ กนั และรกั ษาความปลอดภยั เสน้ ทางเดนิ เรอื บรเิ วณอา่ วเอเดนและชายฝง่ั โซมาเลยี 3. ปราบปรามขบวนการโจรสลดั โดยอาณตั ขิ อง EU NAVFOR ครอบคลมุ ถงึ การจบั กมุ โจรสลดั /ผ้ตู อ้ งสงสยั การยึดเรอื โจรสลัด/เรือท่ีถูกโจรสลดั ยึดครอง รวมท้งั สินคา้ บนเรอื โดยจะ ส่งตัวบุคคลที่ถูกจับกุมไปด�าเนินคดีในประเทศสมาชิกหรือท่ีประเทศเคนยา ซ่ึงสหภาพยุโรป มีข้อตกลงอยู่ มีพ้ืนท่ีปฏิบัติการครอบคลุมบริเวณอ่าวเอเดน แนวชายฝั่งโซมาเลีย ตอนใต้ ของทะเลแดง พื้นที่บางส่วนของทะเลแดงและหมู่เกาะเซเชลส์ นอกจากน้ัน ยังปฏิบัติภารกิจ ลาดตระเวนรว่ มกบั ประเทศ/กลมุ่ อนื่ ไดแ้ ก ่ กองเรอื เฉพาะกจิ ผสม 151 (กองกา� ลงั เฉพาะกจิ ของ UN) NATO รัสเซีย อนิ เดยี ญี่ปุ่น และจีน 97

5. สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรืออาเซียน (Association of South East Asian Nations: ASEAN) เปน็ กรอบความรว่ มมอื ทส่ี า� คญั ในระดบั ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต ้ ประกอบดว้ ย 3 เสาหลัก ดงั น้ี 1. ประชาคมการเมอื งและความมนั่ คง (ASEAN Political Security Community: APSC) 2. ประชาคมเศรษฐกจิ (ASEAN Economic Community: AEC) 3. ประชาคมสงั คมและวัฒนธรรม (ASEAN Socio-Cultural Community: ASCC) ประเทศไทยได้ด�าเนินนโยบายเพ่ือรักษาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากทะเล ให้มากยิ่งข้ึน ผ่านการขับเคล่ือนจากหน่วยงานที่เก่ียวข้องภายในประเทศ และด�าเนินนโยบาย ส่งเสรมิ ความรว่ มมอื ทางทะเลในอาเซียนผา่ นกรอบและกลไกตา่ ง ๆ 6. อาเซม (Asia-Europe Meeting: ASEM) เป็นขอ้ ริเร่มิ ของสิงคโปรแ์ ละฝรัง่ เศส เพือ่ ให ้ ASEM เป็นเวทสี รา้ งความคุน้ เคย และ ให้มีการหารือแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นอย่างกว้าง ๆ ในเร่ืองท่ีสนใจร่วมกัน เพื่อปูทางให้เกิด ความร่วมมือระหว่างเอเชีย-ยุโรป ท้ังในด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ซ่ึงถือเป็น 3 เสาหลัก (pillar) ปจั จุบันมีสมาชิกทง้ั หมด 51 ประเทศ ประกอบด้วยทวปี ยุโรป 31 ประเทศ (ออสเตรีย เบลเยยี ม เดนมารก์ ฟนิ แลนด ์ ฝรงั่ เศส เยอรมน ี กรซี อติ าล ี ไอรแ์ ลนด ์ ลกั เซมเบริ ก์ เนเธอรแ์ ลนด์ โปรตุเกส สเปน สวเี ดน สหราชอาณาจกั ร ลตั เวีย ลิทัวเนยี มัลตา บลั แกเรยี โครเอเชยี ไซปรสั นอร์เวย์ สาธารณรัฐเชก็ เอสโตเนยี โปแลนด์ โรมาเนีย รสั เซีย สโลวาเกีย สโลวเี นีย ฮังการ ี และ สวิตเซอรแ์ ลนด์) ทวีปเอเชีย 18 ประเทศ (อาเซยี น 10 ประเทศ รวมทั้ง จีน ญ่ปี ุ่น อินเดยี เกาหลีใต้ บงั คลาเทศ มองโกเลีย ปากสี ถาน คาซคั สถาน) ทวปี ออสเตรเลยี 2 ประเทศ (ออสเตรเลีย และ นวิ ซแี ลนด)์ และ 2 องคก์ รระหวา่ งประเทศ ไดแ้ ก ่ สา� นกั เลขาธกิ ารอาเซยี น (ASEAN Secretariat) และสหภาพยุโรป (European Union) 98

7. ความริเร่ิมแห่งอ่าวเบงกอลส�าหรับความร่วมมือหลากหลายสาขาทางวิชาการ และเศรษฐกิจ (Bay of Bengal Initiative for Multi-Sectoral Technical and Economic Cooperation หรอื BIMSTEC) กรอบความร่วมมือทางวิชาการและเศรษฐกิจระหว่าง 7 ประเทศ ในอ่าวเบงกอล ได้แก ่ บงั กลาเทศ อนิ เดีย เมียนมาร ์ ศรีลงั กา ไทย ภฏู าน และเนปาล เกดิ จากการรเิ ร่มิ ของไทย เม่ือปี 2540 ครอบคลุม พื้นท่ีซ่ึงมีประชากรรวมประมาณ 1,500 ล้านคน เป็นกรอบความ ร่วมมือท่ีเชื่อมเอเชียใต้เข้ากับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นกลไกท่ีไทยสามารถขยาย ความสัมพันธก์ บั ประเทศในภูมภิ าคเอเชยี ใต ้ ซึง่ เปน็ แหล่งวตั ถดุ บิ และทรัพยากรท่สี า� คญั 8. ความรว่ มมอื ในการลาดตระเวนในชอ่ งแคบมะละกา (Malacca Straits Patrol: MSP) เป็นความรว่ มมอื ของรัฐชายฝ่งั ช่องแคบมะละกา ประกอบด้วย ประเทศไทย มาเลเซยี อนิ โดนเี ซยี และสงิ คโปร ์ ในการรว่ มกนั สง่ เรอื และอากาศยานไปลาดตระเวนในชอ่ งแคบมะละกา เพื่อรักษาความปลอดภัยและความม่ันคง รวมทั้งเพ่ือแสดงถึงความเป็นเจ้าของและความ รับผิดชอบของรฐั ชายฝง่ั ช่องแคบมะละกา ในการดแู ลรักษาความปลอดภัยของช่องแคบ 9. ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือระดับภูมิภาคเพ่ือการต่อต้านการกระท�าอันเป็น โจรสลดั และการปลน้ เรอื โดยใช้อาวธุ ในเอเชยี (Regional Cooperation Agreement on Combating Piracy and Armed Robbery against Ships in Asia: ReCAAP) เป็นข้อตกลงที่ริเร่ิมโดยประเทศญ่ีปุ่น ซ่ึงมีเป้าหมายที่จะเพ่ิมพูนความร่วมมือระหว่าง ประเทศสมาชิก ซึ่งปัจจุบันมีท้ังประเทศสมาชิกในภูมิภาคเอเชียและนอกภูมิภาค เพื่อส่งเสริม การแบ่งปันข้อมูลเก่ียวกับโจรสลัดและก่อต้ังศูนย์แลกเปลี่ยนข้อมูล (Information Sharing Center: ISC) 10. ศนู ยพ์ ฒั นาการประมงแหง่ เอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต ้ (Southeast Asian Fisheries Development Center : SEAFDEC) เป็นองค์กรประมงระดับภูมิภาค ซ่ึงจัดต้ังขึ้นตามค�าเสนอแนะของที่ประชุมระดับ รัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซง่ึ มขี น้ึ ณ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1967 วัตถุประสงค์ของศูนย์ฯ เมื่อเร่ิมจัดตั้งขึ้นเพ่ือเพ่ิมผลผลิตให้เป็น ประโยชน์ต่อประเทศเหล่าน้ัน ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม SEAFDEC ได้ด�าเนินการและ ขยายขอบเขต ของแผนปฏิบัติการตามวิวัฒนาการของการประมงโลกมามากกว่า 50 ปี และ เม่ือเร็ว ๆ นี้ ได้มีการปรับ mandate ของศูนย์ฯ ให้สอดคล้องต่อความต้องการของประเทศ สมาชิก กลา่ วคือ การมคี วามพยายามรว่ มกนั ในการด�าเนนิ งาน เพื่อใหป้ ระเทศสมาชิกได้รบั ผล ประโยชนอ์ ย่างยง่ั ยืนจากการประมง การเพาะเลี้ยงสตั ว์น้า� เพือ่ ความอยดู่ กี นิ ดี และความมนั่ คง ทางอาหารของประเทศสมาชิกในภมู ิภาคเอเชยี ตะวันออกเฉียงใต้ 99


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook