Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ลูกเสือ กศน.ม.ต้น

ลูกเสือ กศน.ม.ต้น

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-06-24 22:34:21

Description: ลูกเสือ กศน.ม.ต้น

Search

Read the Text Version

37 การลูกเสือ เป็นการอาสาสมัครทางานให้การศึกษาพัฒนาเยาวชน โดยท่ัวไป ไม่มีการแบ่งแยกกีดกันในเรื่องเชื้อชาติ ผิวพรรณ วรรณะ ลัทธิทางศาสนาใด ๆ และไม่อยู่ ภายใต้อิทธิพลหรือเกี่ยวข้องกับการเมือง โดยยึดปฏิบัติตามอุดมการณ์ของผู้ให้กาเนิดลูกเสือ โลกอย่างมั่นคง วงการศึกษาทั่วโลกถือว่า การลูกเสือ เป็นขบวนการที่ให้การศึกษาแก่เยาวชน นอกระบบโรงเรยี น ภายใตพ้ ื้นฐาน ดังน้ี 1. มีหนา้ ทต่ี อ่ ศาสนาทตี่ นเคารพนบั ถอื 2. มีความจงรกั ภักดีตอ่ ชาตบิ า้ นเมอื ง 3. มีความรบั ผิดชอบในการพัฒนาตนเอง 4. เข้าร่วมในการพฒั นาสังคมดว้ ยการยกย่องและเคารพในเกยี รติของบคุ คลอืน่ 5. ช่วยเสริมสร้างสนั ตภิ าพความเขา้ ใจอนั ดี เพ่ือความม่ันคงเป็นอันหน่ึงอันเดียวกัน ทวั่ โลก กิจการของลูกเสือทุกประเทศ ยึดม่ันในวัตถุประสงค์ หลักการ และวิธีการของ ลูกเสือเหมอื นกนั ทว่ั โลก ทกุ ประเทศที่เขา้ มาเป็นสมาชิกโดยสมคั รใจ และเป็นอิสระจากอิทธิพล ทางการเมือง มุ่งพัฒนาเยาวชนด้วยรากฐานของอุดมการณ์ลูกเสือ ซ่ึงมีคาปฏิญาณ และกฎ ของลูกเสือเป็นสิ่งยึดเหน่ียวจิตใจ นาสู่การประพฤติปฏิบัติตนของความเป็นพลเมืองดี และมี ความเปน็ พ่นี อ้ งกนั ระหว่างลูกเสือทัว่ โลก การลกู เสอื ไทย โดยคณะลกู เสือแห่งชาติ ได้จดทะเบียนเป็นสมาชิกขององค์การ ลูกเสือโลก เมื่อปี พ.ศ. 2465 ใช้คติพจน์ว่า “เสียชีพอย่าเสียสัตย์” ท้ังนี้ คณะลูกเสือแห่งชาติ ต้องชาระเงินค่าบารงุ ลกู เสอื โลก ให้แกส่ านักงานลกู เสอื โลก และตอ้ งปฏบิ ัตติ ามธรรมนญู ลูกเสือโลก เพ่ือดารงไว้เพื่อความเป็นเอกภาพของขบวนการลูกเสือโลก นอกจากน้ันประเทศไทยยังเป็น 1 ใน จานวน 27 ประเทศ ของสานักงานภาคพื้นเอเชีย – แปซิฟิก (Asia – Pacific Region : APR) ซ่ึงมสี านักงานใหญ่ ตัง้ อยทู่ ีก่ รุงมาดาติ ประเทศฟลิ ิปปนิ ส์ กิจกรรมทา้ ยเร่อื งท่ี 3 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งลกู เสือไทยกบั ลกู เสือโลก (ใหผ้ เู้ รยี นไปทากจิ กรรมท้ายเรอ่ื งที่ 3 ทีส่ มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วชิ า)

38 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 4 คณุ ธรรม จรยิ ธรรมของลูกเสือ สาระสาคัญ คาปฏิญาณและกฎของลูกเสือ อาจเปรียบเสมือนศีลของลูกเสือ และเป็นหลัก สาคัญท่ีทาให้ลูกเสือประพฤติปฏิบัติตนให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ รู้จักบาเพ็ญประโยชน์ต่อผู้อื่นมีระเบียบวินัย อยู่ในกรอบประเพณี อันดงี าม และไมก่ อ่ ให้เกดิ ความยุ่งยากใด ๆ ในบ้านเมอื ง คาปฏญิ าณ คอื คามัน่ สัญญาทล่ี ูกเสอื ทุกคนต้องให้ไว้กับผู้บังคับบัญชา เพ่ือความเป็นพลเมืองดีของชาติ กฎของลูกเสือ คือ ข้อปฏิบัติ ที่ลูกเสือต้องยึดเป็นแนวทางการประพฤติตนในชีวิตประจาวัน และการนาคาปฏิญาณและกฎของ ลกู เสอื มาใช้ในชวี ิตประจาวนั เปน็ ทางหน่งึ ท่จี ะสร้างพลเมอื งดขี องชาติได้ ตวั ช้ีวดั 1. อธิบายคาปฏญิ าณ กฎ และคตพิ จน์ของลกู เสือ 2. ระบคุ ุณธรรม และจริยธรรมต่าง ๆ ที่เกิดจากคาปฏิญาณและกฎของลูกเสือ 3. ยกตัวอย่างการนาคาปฏญิ าณและกฎของลกู เสือในใชใ้ นชีวติ ประจาวัน ขอบข่ายเนอื้ หา เรอ่ื งท่ี 1 คาปฏญิ าณ กฎ และคตพิ จน์ของลกู เสอื เรอื่ งท่ี 2 คณุ ธรรมและจริยธรรมจากคาปฏิญาณและกฎของลูกเสอื เรอ่ื งท่ี 3 การนาคาปฏิญาณ และกฎของลูกเสอื มาใช้ในชีวิตประจาวัน เวลาที่ใชใ้ นการศกึ ษา 6 ช่วั โมง สื่อการเรยี นรู้ 1. ชดุ วชิ าลกู เสอื กศน. รหสั รายวชิ า สค22021 2. สมดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นร้ปู ระกอบชุดวิชา 3. ส่อื เสริมการเรียนรอู้ ื่น ๆ

39 เรอื่ งท่ี 1 คาปฏิญาณ กฎ และคตพิ จนข์ องลูกเสือ การอยู่ร่วมกันในสังคม จาเป็นต้องอาศัย กฎ ระเบียบ เพื่อเป็นรากฐานในการ ดาเนนิ ชีวิตใหเ้ ป็นปกตสิ ขุ ของครอบครัว ชมุ ชน สังคม และประเทศ ท่ีจะอยู่ร่วมกันด้วยความผาสุก และยั่งยืน ความหมายคาปฏิญาณของลกู เสือ คาปฏิญาณของลูกเสือ คือ คาม่ันสัญญาท่ีลูกเสือทุกคนต้องให้ไว้แก่ผู้บังคับบัญชา เป็นถ้อยคาท่ีกล่าวออกมาด้วยความจริงใจและสมัครใจ คากล่าวนี้สาคัญอย่างยิ่งในชีวิตการเป็น ลูกเสือ เม่ือกล่าวแล้วต้องปฏิบัติตามให้ได้ เป็นการส่งเสริมให้ลูกเสือรักเกียรติของตน เพื่อความ เป็นพลเมืองดีของชาติ โดยอาศัยคาปฏิญาณเป็นอุดมการณ์นาไปปฏิบตั ใิ นชวี ิตได้ คาปฏิญาณของลูกเสือ ด้วยเกยี รติของข้า ขา้ สญั ญาวา่ ข้อ 1 ขา้ จะจงรกั ภักดตี ่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ขอ้ 2 ขา้ จะช่วยเหลือผู้อืน่ ทุกเม่ือ ขอ้ 3 ข้าจะปฏิบัตติ ามกฎของลูกเสอื ข้อ 1 ขา้ จะจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์ ชาติ ประกอบด้วย แผ่นดินน่านน้าและประชาชนพลเมืองที่อยู่รวมกันโดยมี กฎหมาย ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมเป็นหลักปฏิบัติ ลูกเสือทุกคนต้องประพฤติ ปฏบิ ัตติ นให้เป็นพลเมอื งดขี องชาติ ศาสนา ทุกศาสนามีความมุ่งหมายเดียวกัน คือ สอนให้ทุกคนเป็นคนดี ละเว้น ความชั่ว ใหก้ ระทาแตค่ วามดี ลกู เสือทุกคนตอ้ งมศี าสนา ลกู เสอื จะนบั ถอื ศาสนาใด ๆ ก็ได้ พระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ ลูกเสือทุกคนต้อง ปฏบิ ัติตนตามรอยพระยุคลบาท ขอ้ 2 ขา้ จะชว่ ยเหลือผู้อ่นื ทุกเม่อื ลูกเสือทุกคนเป็นผู้มีจิตอาสา ไม่นิ่งดูดาย เอาใจใส่ผู้อื่น มีความพร้อมท่ีจะ เสียสละเพ่ือส่วนรวมทุกโอกาสท่ีพึงกระทาได้ ซึ่งเป็นส่ิงหน่ึงที่ทาให้ลูกเสือเป็นผู้มีเกียรติ และได้รบั การยกย่องชน่ื ชมจากประชาชนทัว่ ไป

40 ข้อ 3 ขา้ จะปฏบิ ตั ติ ามกฎของลูกเสือ กฎของลูกเสือเปรียบเสมือนศีลของลูกเสือที่เป็นหลักยึดเหน่ียวให้ประพฤติ ปฏิบตั ใิ นส่งิ ดงี าม ความหมายกฎของลูกเสอื กฎของลูกเสือ หมายถึง ข้อปฏิบัติท่ีลูกเสือต้องยึดเป็นแนวทางการประพฤติ ปฏิบัตติ น ในชีวิตประจาวัน กฎของลกู เสอื มี 10 ข้อ ดงั น้ี กฎของลกู เสือ ขอ้ 1 ลูกเสือมีเกยี รติเช่ือถือได้ ข้อ 2 ลูกเสอื มคี วามจงรกั ภักดตี ่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และซื่อตรง ต่อผ้มู พี ระคุณ ข้อ 3 ลูกเสอื มีหน้าที่กระทาตนให้เป็นประโยชนแ์ ละชว่ ยเหลอื ผูอ้ ่นื ข้อ 4 ลกู เสอื เป็นมิตรของคนทุกคน และเปน็ พน่ี ้องกบั ลกู เสืออืน่ ทว่ั โลก ขอ้ 5 ลกู เสือเป็นผูส้ ุภาพเรยี บร้อย ขอ้ 6 ลูกเสือมีความเมตตากรุณาต่อสตั ว์ ขอ้ 7 ลกู เสือเชื่อฟงั คาส่ังของบดิ ามารดา และผบู้ งั คับบัญชาดว้ ยความเคารพ ข้อ 8 ลูกเสือมใี จรา่ เริง และไม่ยอ่ ท้อตอ่ ความยากลาบาก ข้อ 9 ลกู เสอื เปน็ ผมู้ ธั ยัสถ์ ขอ้ 10 ลกู เสือประพฤติชอบดว้ ยกาย วาจา ใจ เพอ่ื ความชดั เจนในกฎของลูกเสือท้ัง 10 ข้อ จึงมคี าอธิบายเพ่ิมเติม ดังนี้ ข้อ 1 ลูกเสอื มีเกยี รติเชอื่ ถอื ได้ ลูกเสือต้องประพฤติตนเป็นคนดี เป็นผู้มีระเบียบวินัย ผู้อื่นย่อมจะช่ืนชม เช่ือถือ จะเป็นท่ีไว้วางใจแก่คนทั้งหลาย โดยเฉพาะในขณะท่ีลูกเสือสวมเครื่องแบบอันทรงเกียรติ ย่อมจะไม่ทาสิ่งใด ๆ ทกี่ อ่ ให้เกดิ ความเสื่อมเสยี เกยี รติของลกู เสือ

41 ข้อ 2 ลูกเสือมีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และซ่ือตรง ต่อผมู้ ีพระคุณ ลูกเสือต้องเทิดทูน สถาบันท้ัง 3 ได้แก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ บรรพบรุ ุษของเรายอมพลีชีพเพ่ือชาติมาแล้ว เพ่ือรักษาสถาบันน้ีไว้ เพ่ือให้ประเทศชาติของเรา มัน่ คงอยูต่ ่อไป จงทาหนา้ ทข่ี องเราให้ดีที่สุดในฐานะท่เี ราเปน็ ลกู เสือ ขอ้ 3 ลกู เสือมหี นา้ ทก่ี ระทาตนใหเ้ ปน็ ประโยชน์ และชว่ ยเหลอื ผ้อู น่ื ลกู เสอื ตอ้ งเปน็ ผรู้ จู้ ักการเสียสละ ไม่เห็นแก่ตัว พร้อมที่จะบาเพ็ญประโยชน์ ใหก้ ับบ้าน สถานศกึ ษา สังคม ชุมชน ตลอดจนประเทศชาติ ด้วยการเข้าไปมีส่วนร่วมในการทา กิจกรรมต่าง ๆ ตามความสามารถและโอกาส และพัฒนาตนเองให้มีความรู้ความสามารถ ให้พงึ่ ตนเองได้ และสามารถช่วยเหลือผอู้ ืน่ ได้ ขอ้ 4 ลกู เสือเป็นมิตรของคนทกุ คน และเป็นพน่ี ้องกบั ลกู เสืออ่ืนทวั่ โลก ลูกเสือจะต้องเป็นผู้มี จิตใจโอบอ้อมอารี รู้จักเอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่แก่ทุก ๆ คน โดยไม่เลือกว่าเป็นเช้ือชาติ ศาสนาใด ๆ รวมท้ังมีความรู้สึกเสมือนหน่ึงว่าเป็นพ่ีน้องกับลูกเสืออื่น ทั่วโลก ต้องมีการทางานร่วมกัน ต้องอยู่ร่วมกัน ต้องประพฤติปฏิบัติดี ท้ังกาย วาจา ใจ คือ ต้องรู้จักแสดงน้าใจกับผู้อื่น ช่วยเหลือผู้อื่นอย่างเต็มใจ เอื้อเฟ้ือ เผื่อแผ่ เสียสละ มีอัธยาศัย ไมตรกี ับคนท่วั ไป ยม้ิ แยม้ แจม่ ใส ข้อ 5 ลกู เสอื เป็นผสู้ ภุ าพเรยี บรอ้ ย ลกู เสือต้องเปน็ ผู้ที่มีกิริยาและวาจาสุภาพ อ่อนโยน ออ่ นน้อม มีสัมมาคารวะ ท้ังทางกาย วาจา และใจ ไม่ยกตนข่มท่าน แต่งกายสะอาดเรียบร้อย แสดงวาจาไพเราะ นุ่มนวล ไมก่ ล่าวร้ายลว่ งเกนิ เตือนตนใหป้ ระพฤตดิ ปี ระพฤติชอบ และมคี วามอ่อนน้อมถ่อมตน ข้อ 6 ลกู เสอื มคี วามเมตตา กรุณาต่อสตั ว์ ลูกเสือต้องเป็นคนที่มีใจเมตตา กรุณา ต่อสัตว์ ไม่รังแกสัตว์ หรือทรมาน ทารณุ สัตว์ให้รบั ความเจ็บปวดหรอื กักขงั สตั ว์ มีใจปรารถนาใหผ้ ้อู น่ื พ้นทุกข์ ข้อ 7 ลกู เสือเชื่อฟังคาส่ังของบดิ า มารดา และผบู้ งั คบั บัญชาดว้ ยความเคารพ ลกู เสือต้องเคารพและเชื่อฟงั คาสัง่ บดิ ามารดาซง่ึ เป็นผใู้ ห้กาเนิด เป็นผู้เลี้ยงดู เราจนเติบใหญ่ มีพระคุณอย่างใหญ่หลวง และต้องเชื่อฟังคาส่ังของครู อาจารย์ และผู้บังคับบัญชา ที่ล้วนมีประสบการณ์ในชีวิตท่ีสามารถช้ีแนะแนวทาง ให้สิ่งท่ีดีแก่เรา ลูกเสือจึงต้องเคารพ และเชอ่ื ฟงั

42 ข้อ 8 ลูกเสอื มใี จร่าเริง และไมย่ ่อทอ้ ต่อความยากลาบาก ลกู เสอื ตอ้ งเปน็ ผ้ทู ย่ี ้ิมแยม้ แจม่ ใส ร่าเริงอย่เู สมอ ไม่ย่อท้อต่อความยากลาบาก แสดงถึงมติ รภาพ มีไมตรจี ิตที่ดีตอ่ กันดว้ ยความเตม็ ใจ ขอ้ 9 ลกู เสอื เปน็ ผมู้ ัธยัสถ์ ลูกเสือต้องเป็นผู้รู้จักเก็บหอมรอมริบ ประหยัด ใช้จ่ายเฉพาะท่ีจาเป็น ตามฐานะของตน ต้องประหยัดทรัพย์สินทั้งของตนเองและผู้อ่ืนด้วย รวมท้ังต้องไม่รบกวน เบยี ดเบียนผอู้ ่ืน ขอ้ 10 ลูกเสือประพฤติชอบดว้ ยกาย วาจา ใจ ลกู เสือตอ้ งรู้จกั สารวมกาย วาจา และใจ คือ \"ทาดี คิดดี พูดดี” ไม่ทาให้ ตนเองและผู้อนื่ เดือดรอ้ น ตอ้ งรู้จกั เหนี่ยวรัง้ ควบคมุ สติ บังคับ ข่มใจตนเอง ละอายตนเอง คานึงถึง มรรยาทของตนเองตลอด จนไม่คิดเบียดเบียนทาร้ายผู้อ่ืน เป็นผู้ท่ีสุภาพอ่อนโยนปฏิบัติตน ใหเ้ หมาะกบั กาลเทศะและสงั คม ความหมายคติพจน์ของลกู เสอื คตพิ จน์ทัว่ ไปของลูกเสอื เสียชีพอยา่ เสยี สตั ย์ หมายความว่า ให้ลกู เสอื รกั ษาความซ่ือสัตย์ มีสัจจะยิ่งชีวิต จะไม่ละความสัตย์ถึงแม้จะถูกบีบบังคับจนเป็นอันตรายถึงกับชีวิตก็ตาม ก็ไม่ยอมเสียสัจจะ เพื่อเกยี รติภมู ิ คาปฏิญาณและคามั่นของลกู เสอื คติพจนข์ องลูกเสอื แตล่ ะประเภท ลูกเสือสารอง “ทาดที ีส่ ดุ ” ลกู เสอื สามญั “จงเตรียมพร้อม” ลูกเสือสามญั รนุ่ ใหญ่ “มองไกล” ลูกเสือวิสามัญ “บริการ” ทาดีทส่ี ุด หมายความวา่ ปฏบิ ัตหิ นา้ ทข่ี องตนท่มี อี ยูใ่ หด้ ที ส่ี ุด จงเตรียมพร้อม หมายความว่า เตรียมความพร้อมทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ในการปฏบิ ัติหน้าทีท่ ีร่ บั ผดิ ชอบ มองไกล หมายความว่า การมองให้กว้างและไกล ฉลาดท่ีจะมองเห็นความจริง ของสิ่งต่าง ๆ วา่ ผลจากการกระทาภารกิจของตน อาจส่งผลกระทบถงึ ภารกิจอืน่ บคุ คลอืน่

43 บรกิ าร หมายความว่า การกระทาด้วยความต้ังใจที่จะให้ผู้อ่ืนมีความสะดวกหรือ ลดปัญหา หรือความทุกข์หวังเพียงให้ผู้รับบริการได้รับสิ่งท่ีเหมาะสมที่สุดเสมอ โดยไม่หวังรางวัล หรอื สิง่ ตอบแทนใด ๆ กิจกรรมทา้ ยเร่ืองท่ี 1 คาปฏญิ าณ กฎ และคตพิ จน์ของลูกเสอื (ใหผ้ ้เู รยี นไปทากิจกรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 1 ที่สมดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วชิ า) เรอื่ งท่ี 2 คณุ ธรรมและจริยธรรมจากคาปฏิญาณและกฎของลกู เสือ คณุ ธรรม จริยธรรมจากคาปฏิญาณและกฎของลูกเสือเน้นการประพฤติ ปฏิบัติตน ใหเ้ ปน็ พลเมอื งดี พรอ้ มทจ่ี ะนาความสุข ความเจริญ ความม่ันคงมาสู่บุคคลสังคม และประเทศชาติ ดงั นี้ 1. ความจงรักภกั ดตี ่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ บุคคลสามารถปฏิบตั ิตน ให้มีความซื่อสัตย์ต่อชาติ รักและหวงแหน ยอมเสียสละเลือดเน้ือและชีวิตเพ่ือให้ชาติเป็น เอกราชสืบไป อีกทั้งทานุบารุงศาสนาให้ม่ันคงสถาพรสืบไป และปฏิบัติตนตามรอยพระยุคลบาท แหง่ องคพ์ ระมหากษตั รยิ ์ ผู้ทรงบาบดั ทกุ ข์บารุงสขุ ใหแ้ ก่ราษฎรด้วยความเสียสละ 2. ความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี บุคคลสามารถปฏิบัติกิจการงานของตนเอง และ ท่ีได้รับมอบหมายด้วยความมานะพยายาม อุทิศกาลังกาย กาลังใจอย่างเต็มความสามารถ ไม่เห็นแก่ความเหน็ดเหนือ่ ย 3. ความมีระเบียบวินัย บุคคลสามารถเป็นท้ังผู้รู้และปฏิบัติตามแบบแผน ท่ีตนเอง ครอบครัว และสังคม กาหนดไว้ โดยจะปฏิเสธกฎเกณฑ์หรือกติกาต่าง ๆ ของสังคม ไม่ได้ คณุ ธรรมนีต้ ้องใชเ้ วลาปลูกฝงั เป็นเวลานาน และต้องปฏิบัติสม่าเสมอจนกว่าจะปฏิบัติเอง ได้และเกดิ ความเคยชนิ 4. ความซื่อสัตย์ บุคคลสามารถปฏิบัติตนทางกาย วาจา จิตใจ ที่ตรงไปตรงมา ไม่แสดงความคดโกง ไม่หลอกลวง ไม่เอาเปรียบผู้อ่ืน ลั่นวาจาว่าจะทางานสิ่งใดก็ต้องทาให้ สาเรจ็ ไมก่ ลบั กลอก มีความจริงใจตอ่ ทุกคน จนเป็นท่ไี ว้วางใจของคนทกุ คน 5. ความเสียสละ บุคคลสามารถปฏิบัติตนโดยการอุทิศกาลังกาย กาลังทรัพย์ กาลังปัญญา เพื่อช่วยเหลือผู้อ่ืนและสังคมด้วยความต้ังใจจริง มีเจตนาท่ีบริสุทธ์ิ เป็นท่ีรักใคร่ ไว้วางใจ เปน็ ที่ยกยอ่ งของสงั คม ผู้คนเคารพนับถือ นาพาซ่งึ ความสขุ สมบูรณใ์ นชวี ติ

44 6. ความอดทน บุคคลสามารถปฏิบัติตนเป็นผู้ที่มีจิตใจเข้มแข็ง ไม่ท้อถอยต่อ อุปสรรคใด ๆ มุ่งม่ันที่จะทางานให้บังเกิดผลดีโดยไม่ให้ผู้อ่ืนเดือดร้อน มีความอดทนต่อความ ยากลาบาก อดทนต่อการตรากตราทางาน อดทนต่อความเจ็บใจ อดทนตอ่ กิเลส 7. การไม่ทาบาป บุคคลสามารถละเว้นพฤติกรรมที่ชั่วร้ายและไม่สร้างความ เดอื ดร้อนให้ท้งั ทางกาย วาจา ใจ 8. ความสามัคคี บุคคลสร้างความสามัคคี รักใคร่ กลมเกลียวซ่ึงนาไปสู่ความ สงบรม่ เยน็ ของครอบครัว สังคม ชมุ ชน และประเทศชาติ กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 2 คุณธรรม จริยธรรมจากคาปฏญิ าณและกฎของลกู เสอื (ใหผ้ ู้เรียนไปทากจิ กรรมทา้ ยเรอื่ งที่ 2 ท่สี มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ประกอบชดุ วชิ า) เรือ่ งที่ 3 การนาคาปฏิญาณ และกฎของลูกเสอื มาใช้ในชวี ิตประจาวัน ปั จ จั ย ส า คั ญ อ ย่ า ง ห นึ่ ง ท่ี ท า ใ ห้ ข บ ว น ก า ร ลู ก เ สื อ วั ฒ น า ถ า ว ร ก้ า ว ห น้ า ก ว่ า ขบวนการอ่ืน ๆ ก็คือ คาปฏิญาณและกฎ ซึ่งผู้เป็นลูกเสือต้องยอมรับและนาไปปฏิบัติ ในชวี ิตประจาวันดว้ ยความเคยชิน เชน่ เมื่อผู้เรียนได้เรียนเกี่ยวกับคาปฏิญาณและกฎของลูกเสือแล้ว ผู้เรียนจะต้อง ทบทวนทาความเข้าใจให้ถอ่ งแทแ้ ละนาไปสู่การปฏิบตั ิในชีวิตประจาวันได้ ตัวอยา่ งคาปฏิญาณของลกู เสือ ตวั อยา่ งกฎของลูกเสือ 1. ปฏบิ ตั ติ นให้ถูกต้องตามขนบธรรมเนียม 1. การกระทาใด ๆ จะตอ้ งไม่กระทาใหเ้ สียเกยี รติ ประเพณีและวฒั นธรรม เชน่ การแต่งกาย การแสดงความเคารพโดยการไหว้ 2. ปฏิบตั ิตนตามกฎหมาย ขอ้ บงั คบั ของสังคม 2. มีใจโอบอ้อมอารี เอ้อื เฟอื้ เผือ่ แผแ่ กค่ น และประเทศชาติ เชน่ กฎจราจร การเลือกตัง้ ทุกเชื้อชาติ ทุกศาสนา 3. เข้ารว่ มพธิ ีทางศาสนาตามแต่โอกาสที่ 3. มกี ิรยิ า วาจา สภุ าพออ่ นโยน ออ่ นน้อม เหมาะสม เช่น การไปวดั ทาบุญ ตักบาตร กับทกุ เพศ ทุกวยั 4. รักและหวงแหนแผ่นดนิ เกดิ ของตนเอง เชน่ 4. คอยช่วยเหลอื ผอู้ ่ืน มีจิตใจเมตตา กรณุ า ตอ้ งไมท่ าให้ชื่อเสียงประเทศเสียหาย ต่อสง่ิ มีชีวิต ไม่ฆ่า ไม่ทรมานหรือไมร่ ังแกผูอ้ ืน่ ใหไ้ ด้รับความเจบ็ ปวด

45 ตวั อยา่ งคาปฏิญาณของลกู เสอื ตัวอย่างกฎของลกู เสือ 5. เชื่อฟังคาสัง่ สอนของพ่อแม่ ครู อาจารย์ 5. ชว่ ยเหลอื ผอู้ ่ืน เมื่อมโี อกาส เชน่ การใช้ เวลาวา่ งในการอา่ นหนังสือใหค้ นตาบอดฟงั 6. รจู้ กั ประหยดั อดออม ไมใช้จ่ายสรุ ุ่ยสรุ ่าย การชว่ ยผู้สูงอายุเดนิ ข้ามถนน 7. มหี นา้ ตาย้ิมแย้มแจ่มใสเสมอ ไมย่ ่อท้อ ตอ่ ความทุกขย์ าก กิจกรรมทา้ ยเร่ืองที่ 3 การนาคาปฏิญาณ และกฎของลูกเสอื มาใช้ในชีวิตประจาวนั (ใหผ้ เู้ รยี นไปทากิจกรรมทา้ ยเร่ืองที่ 3 ที่สมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้ประกอบชดุ วิชา)

46 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 วินัย และความเปน็ ระเบยี บเรียบร้อย สาระสาคญั วนิ ยั และความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย หมายถงึ การกระทาหรืองดเว้นการกระทา ตามระเบยี บ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ สาหรับควบคุมความประพฤติทางกาย วาจา ของคนในสังคม ให้เรียบร้อย เป็นแบบแผนอันหนึ่งอันเดียวกัน เยาวชนท่ีมีวินัยและความเป็นระเบียบเรียบร้อย เมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่จะมีความสมบูรณ์ท้ังร่างกายและจิตใจ มีความรู้คู่คุณธรรม เป็นกาลังของ การพัฒนาสงั คมในอนาคต การมีวนิ ยั ในตนเองจึงเป็นพ้นื ฐานการนาไปสู่การสร้างวินัยทางสังคม และอยู่รวมกันของกลุ่ม ดังน้ัน วินัยและความเป็นระเบียบเรียบร้อยจึงเป็นข้อตกลงในการ อยู่ร่วมกันของทุกคนในชาติ เป็นวัฒนธรรมทางสังคม ท่ีมีความสาคัญต่อการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติเป็นอย่างย่ิง และหากเยาวชน บุคคลขาดวินัยและ ความเป็นระเบียบเรียบร้อยในตนเอง จะส่งผลทาให้สังคมขาดวินัยและความเป็นระเบียบ เรียบร้อยไปด้วย การพัฒนาวินัยในตนเองจะต้องเร่ิมตนต้ังแต่เด็ก โดยการให้แรงจูงใจทาง จริยธรรม การพัฒนาวินัยในตนเองจะต้องอาศัยความร่วมมือจากสถาบันต่าง ๆ ที่แวดล้อม ตัวเด็ก และต้องใช้วิธีการกระตุ้นหรือพัฒนาวินัยในตนเองของเด็ก วิธีการพัฒนาวินัยในตนเอง ไดแ้ ก่การสรา้ งวนิ ัยด้วยการทาให้เปน็ พฤติกรรมเคยชนิ สร้างวินัย โดยใช้ปัจจัยอ่ืนช่วยเสริมสร้าง วนิ ัยโดยใชก้ ฎเกณฑบ์ ังคบั และเสรมิ สร้างวินยั ในตนเอง การส่งเสริมและพัฒนาวินัยในตนทาได้ด้วยอาศัยกระบวนการลูกเสือ โดยเริ่มต้นที่ระบบหมู่ลูกเสือ ระบบหมู่ลูกเสือ คือ การเสริมสร้างวินัยและความเป็นระเบียบ เรียบร้อยในการทางาน และการปฏิบัติภารกิจของสมาชิกภายในหมู่ กอง กลุ่ม เพื่อความก้าวหน้า ของส่วนรวม อีกท้ัง เป็นการกระจายอานาจ และแบ่งหน้าที่กันรับผิดชอบตามระบอบประชาธิปไตย ระบบหมู่เป็นการฝึกให้สมาชิกได้ร่วมกันทางานอย่างเป็นระบบ สร้างวินัย และความเป็นระเบียบ เรยี บร้อย โดยยดึ หลักประชาธปิ ไตยและเสริมสรา้ งการพัฒนาภาวะผู้นาและผ้ตู ามได้เป็นอย่างดี ผู้นาและภาวะผู้นา หมายถึง บุคคลท่ีได้รับการแต่งตั้ง หรือได้รับการยกย่อง ให้เป็นผู้ตัดสินใจและสามารถนาพาสมาชิกในกลุ่มร่วมมือกันปฏิบัติภารกิจด้วยความเต็ม ใจ เพ่ือให้ภาระงานลลุ ่วงด้วยดี

47 ผูต้ ามและภาวะผู้ตาม หมายถงึ ผู้ปฏิบตั ิงานในองค์กรที่มีหน้าท่ีและความรับผิดชอบ ท่ีจะต้องรับคาสั่งจากผู้บงั คับบญั ชามาปฏิบัตใิ หส้ าเร็จบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ ดังนัน้ บุคคลจะเป็นผนู้ า ผูต้ ามทดี่ ีของสังคมจะต้องได้รับการพัฒนาทักษะภาวะ ผู้นา – ผู้ตามให้เป็นผู้นา ผู้ตามท่ีมีคุณภาพ มีความสามารถ เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการทางาน ด้วยการรูจ้ ักพัฒนาตนเอง พัฒนาคนและพฒั นาผลงานให้บรรลุตามเป้าหมายทตี่ ้องการ ตัวชีว้ ดั 1. อธบิ ายความหมาย และความสาคัญของวนิ ยั 2. อธบิ ายผลกระทบจากการขาดวนิ ัย 3. ยกตัวอย่างแนวทางการเสริมสร้างวินยั และความเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย 4. อธบิ ายระบบหมู่ลกู เสอื 5. อธบิ ายการพัฒนาภาวะผ้นู า – ผ้ตู าม ขอบขา่ ยเนื้อหา เรอ่ื งท่ี 1 วินยั และความเปน็ ระเบียบเรียบรอ้ ย 1.1 ความหมายของวินัย และความเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย 1.2 ความสาคญั ของวินยั และความเป็นระเบยี บเรยี บร้อย เรอ่ื งที่ 2 ผลกระทบจากการขาดวนิ ยั เร่อื งท่ี 3 แนวทางการเสรมิ สรา้ งวินยั และความเป็นระเบียบเรียบร้อย เรอ่ื งที่ 4 ระบบหมูล่ ูกเสือ เร่ืองที่ 5 การพัฒนาภาวะผูน้ า – ผู้ตาม เวลาทใี่ ช้ในการศกึ ษา 6 ชว่ั โมง ส่อื การเรยี นรู้ 1. ชุดวิชาลกู เสือ กศน. รหสั รายวชิ า สค22021 2. สมดุ บันทึกกจิ กรรมการเรียนรูป้ ระกอบชุดวชิ า 3. สือ่ เสริมการเรยี นรอู้ นื่ ๆ

48 เรอื่ งที่ 1 วินัย และความเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย 1.1 ความหมายของวนิ ยั และความเปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ย วินัย และความเป็นระเบียบเรียบร้อย หมายถึง การกระทาหรืองดเว้นการกระทา ตามระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ สาหรับควบคุมความประพฤติทางกาย วาจา ของคนในสังคม ให้เรียบร้อยดีงาม เป็นแบบแผนอันหนึ่งอันเดียวกัน เพ่ือการอยู่ร่วมกันด้วยความสุขสบาย ไม่กระทบกระทง่ั ซ่ึงกันและกัน วินยั และความเปน็ ระเบยี บเรียบร้อยช่วยให้คนในสังคมห่างไกล ความช่ัวทง้ั หลาย สามารถอยู่ร่วมกันเป็นหมู่เหล่า ถ้าขาดวินัย และความเป็นระเบียบเรียบร้อย ต่างคนต่างทาตามอาเภอใจ ความขัดแย้งและลักล่ันก็จะเกิดข้ึน ยิ่งมากคนก็ยิ่งมากเร่ือง ไม่มี ความสงบสขุ การงานท่ที าก็จะเสียผล 1.2 ความสาคญั ของวินัย และความเป็นระเบียบเรียบร้อย เยาวชนท่ีมีคุณภาพที่จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่สมบูรณ์ท้ังร่างกายและจิตใจ มีความรู้ คู่คุณธรรม เป็นกาลังของการพัฒนาสังคมในอนาคตได้ จะต้องเป็นผู้ที่ได้รับการจัดประสบการณ์ ทางการศกึ ษา เช่น อา่ นออกเขยี นได้ มีความรใู้ นด้านตา่ ง ๆ มรี ะเบียบวินัยท่ีดี รู้จักการแต่งกาย ที่สุภาพเหมาะสมกับโอกาส มีกิริยามารยาทเรียบร้อย มีคุณธรรมและศีลธรรม เป็นรากแก้ว ทางการพฒั นาสังคมต่อไป ปัจจัยท่ีจะส่งเสริมให้บุคคลมีคุณลักษณะดังกล่าวข้างต้น ต้องเป็นผู้มีวินัย ในตนเอง ซึ่งมีความสาคญั ดังน้ี 1. รจู้ กั แสวงหาความรเู้ พมิ่ เตมิ ด้วยตนเอง นอกเหนือจากการเรียนรู้ในห้องเรียน เพราะหลักสตู รไม่สามารถบรรจุเนอ้ื หาไว้ได้ครบถ้วน 2. ชุมชนจะเจริญและมีความมั่นคงยั่งยืนต่อไปได้ จะต้องอาศัยพลเมืองแต่ละคน ทาความดี และเสยี สละให้แกช่ ุมชน ไม่แสวงหาประโยชนส์ ่วนตัวเอง ลกั ษณะของผมู้ ีวินัยในตนเอง พฤตกิ รรมของผูม้ วี นิ ยั ในตนเอง มดี งั นี้ 1. มคี วามเช่ืออานาจภายในตนเอง 2. มคี วามเป็นผูน้ า 3. มีความรับผิดชอบ 4. ตรงต่อเวลา 5. เคารพตอ่ ระเบียบ กฎเกณฑ์ทัง้ ต่อหน้าและรับหลังผอู้ ่นื 6. มีความซ่อื สตั ยส์ ุจริต

49 7. รู้จกั หนา้ ทแี่ ละกระทาตามหน้าท่ีเป็นอย่างดี 8. รู้จกั เสยี สละ 9. มคี วามอดทน 10. มีความตั้งใจเพียรพยายาม 11. ยอมรับผลการกระทาของตน กิจกรรมท้ายเร่ืองที่ 1 วินัยและความเป็นระเบยี บเรียบร้อย (ใหผ้ ู้เรียนไปทากิจกรรมท้ายเรือ่ งท่ี 1 ท่สี มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้ประกอบชดุ วชิ า) เร่อื งท่ี 2 ผลกระทบจากการขาดวนิ ัย การท่ีบุคคลขาดวินัยและความเป็นระเบียบเรียบร้อยในตนเอง มีผลทาให้ขาดวินัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อยทางสังคมไปด้วย วินัยในตนเองเป็นพื้นฐานของการควบคุมตัวเอง ให้มีวินัยทางสังคม การมีวินัยในตนเองจึงเป็นส่ิงท่ีควรได้รับการส่งเสริม เพื่อเป็นพ้ืนฐานของ การควบคุมตนเอง ซ่ึงจะนาไปสู่การสร้างวินัยทางสังคม การมีวินัยจึงถือเป็นพ้ืนฐานในการ ดาเนินกิจกรรมในสังคม และการรวมกันอยู่ของกลุ่ม การปลูกฝังวินัยจะทาให้บุคคลยอมรับ กฎเกณฑ์ที่สังคมกาหนด และวินัยยังเป็นวัฒนธรรมทางสังคม ซึ่งจะทาให้เด็กเรียนรู้พฤติกรรม ทส่ี ังคมยอมรับ ทาให้พัฒนาตนเองสู่ความเป็นผู้ใหญ่ที่สามารถควบคุมตนเองได้ มีมโนธรรมท่ีดี และมีความมั่นคงทางอารมณ์ ด้วยเหตุนี้การปลูกฝังความมีวินัยในตนเองให้แก่คนในชาติ เพ่ือสร้างความเจริญรุ่งเรืองแก่บ้านเมืองนั้น ควรเริ่มต้นที่เยาวชน โดยให้ประพฤติและฝึกฝน จนเป็นนิสัย เพ่อื จะได้เป็นผ้ใู หญ่ทมี่ ีวินัยในอนาคต กิจกรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 2 ผลกระทบจากการขาดวนิ ัย (ให้ผเู้ รียนไปทากจิ กรรมทา้ ยเรื่องท่ี 2 ทีส่ มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ประกอบชุดวชิ า) เรอื่ งท่ี 3 แนวทางการเสรมิ สร้างวินัย และความเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย การจะพัฒนาวินัยในตนเองจะต้องเริ่มต้นต้ังแต่เด็กในวัยทารกและให้แรงจูงใจ ทางจริยธรรมแก่เด็กท่ีโตแล้ว การพัฒนาวินัยในตนเองจะต้องอาศัยความร่วมมือจากสถาบัน ต่าง ๆ ที่แวดล้อมตัวเด็กและต้องใช้วิธีการกระตุ้นหรือพัฒนาวินัยในตนเองของเด็กอย่าง เหมาะสมดว้ ย

50 วธิ ีการพัฒนาวินยั ในตนเอง 1. สร้างวินยั ด้วยการทาให้เปน็ พฤตกิ รรมเคยชนิ สร้างวินัยด้วยการทาให้เป็นพฤติกรรมเคยชิน วิธีฝึกวินัยท่ีดีท่ีสุดต้องอาศัย ธรรมชาติของมนษุ ยท์ ่ีดาเนนิ ชีวติ กันดว้ ยความเคยชนิ เปน็ ส่วนใหญ่ แลว้ ก็ยดึ มน่ั ในความพึงพอใจ ในพฤติกรรมที่เคยชินนั้น การฝึกคนต้องใช้ความสามารถและต้องมีระบบที่สอดคล้องกับ ธรรมชาติให้เกดิ พฤตกิ รรมเคยชนิ ถอื วา่ ตอ้ งสรา้ งวินัยให้เปน็ พฤตกิ รรมเคยชิน 2. สรา้ งวนิ ยั โดยใชป้ จั จยั อ่นื ช่วยเสริม วินัยจะทาให้เกิดความสุขและประพฤติปฏิบัติด้วยความพึงพอใจ โดยใช้ ปัจจัยอย่างอื่นมาช่วยอีกก็ได้ เช่น มีกัลยาณมิตร วินัยก็เกิดได้ง่าย มีศรัทธาและความรัก เปน็ องคป์ ระกอบเสรมิ ในการสรา้ งวนิ ยั จากพฤติกรรมทีเ่ คยชิน คอื 2.1 เป็นต้นแบบท่ีดีของพฤติกรรม 2.2 มคี วามรัก ทาให้เกดิ ความอบอ่นุ มีความเปน็ กนั เองพร้อมศรทั ธาและความสุข 2.3 มีเหตุมผี ล เข้าใจเหตุผลและเหน็ คณุ คา่ ในสิง่ ทท่ี า 2.4 สร้างวินัยดว้ ยแรงหนนุ ของสภาพจิตใจ คอื การตั้งเป็นอดุ มคตใิ นจิตใจ ทาให้ใจมคี วามฝักใฝ่มุง่ มั่น มเี ป้าหมายอย่างแรง แลว้ เปน็ อุดมคติ ใฝ่ต้งั ใจจรงิ ปฏิบัตติ ามวินัย มีความภูมิใจ รักษาวนิ ัย 3. สร้างวินัยโดยใชก้ ฎเกณฑบ์ งั คับ การสร้างวินัยโดยใช้กฎหมาย หรือกฎเกณฑ์บังคับควบคุม โดยมีการลงโทษ วิธีน้ีก็สร้างวินัยได้ บางคร้ังได้ผลแต่เม่ือกฎเกณฑ์นั้นไม่บีบบังคับรุนแรงเกินไป และมีช่วงเวลา ยาวพอที่จะให้คนผ่านเข้าสู่ความเคยชินจนเขาไม่รู้ตัว พอกลายเป็นความเคยชินไปแล้วก็เข้าสู่ กฎธรรมชาติตามวิธีแรก คือเป็นวินัยพ้ืนฐานที่เกิดข้ึนโดยการสร้างพฤติกรรมเคยชิน กลายเป็น เรือ่ งของความเคยชนิ ตามธรรมชาตทิ ีม่ ารบั ทอดจากการใชอ้ านาจบีบบังคับ อนั นั้นต่างหากทีไ่ ด้ผล 4. เสรมิ สร้างวินยั ในตนเอง วินยั นน้ั เกี่ยวขอ้ งกบั ความสัมพันธร์ ะหวา่ งมนษุ ย์กบั มนุษย์ และความสัมพันธ์ ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ สังคมมนุษย์จาเป็นต้องมีวินัยเพ่ือทาให้เกิดระบบระเบียบ ซึ่งเป็น ปัจจัยสาคัญในการสร้างความสงบสุข และความเจริญก้าวหน้าแก่ชีวิตและสังคม วินัยน้ันก่อน อ่ืนต้องเรม่ิ จากตนเองก่อนเปน็ อนั ดับแรก

51 กิจกรรมท้ายเรือ่ งที่ 3 แนวทางการเสรมิ สรา้ งวินัย และความเปน็ ระเบียบเรียบรอ้ ย (ใหผ้ ูเ้ รียนไปทากิจกรรมทา้ ยเร่ืองท่ี 3 ทส่ี มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วชิ า) เร่ืองที่ 4 ระบบหมลู่ กู เสอื ระบบหมู่ลูกเสือ เป็นการเสริมสร้างวินัย และความเป็นระเบียบเรียบร้อย ในการทางาน และการปฏิบัติภารกิจของสมาชิกภายในหมู่ กอง กลุ่ม เพ่ือความก้าวหน้าของ ส่วนรวม ด้วยความเต็มใจและพอใจของสมาชิกทุกคน นายหมู่ลูกเสือทุกคนจะดูแลสมาชิก ภายในหมู่ของตนเอง เป็นการกระจายอานาจ และแบ่งหน้าที่กันรับผิดชอบ ตามระบอบ ประชาธิปไตย การจดั หนา้ ท่ภี ายในหมู่ลกู เสือ 1. นายหม่ลู กู เสอื ทาหนา้ ทเ่ี ป็นผนู้ าของหมู่ ดูแลสมาชิกภายในหมู่ 2. รองนายหม่ลู ูกเสือ ทาหน้าทช่ี ว่ ยนายหมู่ ชว่ ยดูแลสมาชกิ ภายในหมู่ 3. พลาธิการ ทาหน้าทดี่ แู ลวัสดุ อปุ กรณ์ บญั ชีต่าง ๆ และความเป็นระเบียบ เรียบรอ้ ย 4. คนครัว ทาหนา้ ทีแ่ ม่ครัว จัดทาเตา หลุมเปียก หลุมแห้ง ทีล่ า้ งและคว่าจาน 5. ผชู้ ่วยคนครวั ทาหน้าที่ช่วยแมค่ รัวทกุ ประการ 6. คนหาฟืน ทาหนา้ ที่จดั หาเช้อื เพลิง หาฟืน เกบ็ ฟนื ไมใ่ หเ้ ปียกฝน 7. คนหานา้ ทาหน้าท่ีจดั หาน้า สาหรับประกอบอาหาร นา้ ดื่ม น้าใช้ 8. ผูช้ ่วยเหลอื ทัว่ ไป ทาหน้าที่ชว่ ยงานคนอื่น ๆ พัฒนาท่ีพัก กาจดั ขยะ ทาราว ตากผา้ (ถ้ามี 8 คนขึ้นไป ให้เพม่ิ ผู้ช่วยคนหาฟนื หาน้าหรอื ตาแหนง่ อ่ืน ๆ ตามความ เหมาะสม) ใหแ้ ต่ละคนรบั รบู้ ทบาทในการทางานภายในหมู่ ใช้ระบบหมู่ ฝึกและพัฒนาการ เปน็ ผู้นา - ผ้ตู าม รับฟงั ความคดิ เห็น และการยอมรบั ซ่งึ กันและกนั กิจกรรมลูกเสือ มีหลักการส่งเสริมประชาธิปไตย โดยสมาชิกทุกคนสามารถพูด สามารถแสดงออกได้เสมอ เช่น การเลือกเล่นเกม เพลง การทาความดี การทากิจกรรมที่น่าสนใจ เปน็ ต้น การประชุมนายหมู่ หมายถึง การประชุมนายหมู่ทุกหมู่ โดยมีหัวหน้านายหมู่ เปน็ ประธานในทป่ี ระชมุ ใหน้ ายหมู่ นามตหิ รอื ข้อตกลงจากทป่ี ระชุมไปแจ้งแก่ลกู หมู่

52 การประชุมลูกหมู่ หมายถึง การประชุมภายในหมู่ โดยมีนายหมู่เป็นประธาน ในที่ประชุม นายหมู่จะเป็นผู้กระตุ้นให้ทุกคนพูดคุย เสนอความคิด แสดงเหตุผลในเรื่องต่าง ๆ เชน่ เสนอวา่ จะทากจิ กรรมอะไร ไปทากจิ กรรมทไ่ี หน ใครมีหน้าทีอ่ ะไร เปน็ ตน้ การพบหมู่ แตกต่างจากการประชุมหมู่ เพราะจะนัดพบเฉพาะหมู่ของตนเอง เพื่อนัดหมายไปทากิจกรรมเพื่อแสดงความสามารถ การพบกันของสมาชิก จะประสบความสาเร็จ คอื การใหโ้ อกาสทกุ คนเปน็ ผู้นา บทบาทหน้าท่ขี องนายหมแู่ ละรองนายหมู่ บทบาทหน้าท่ีของนายหมู่และรองนายหมู่ แต่ละหมู่จะมีการเลือกนายหมู่และ รองนายหมู่ ตามระบอบประชาธิปไตย การเลือกต้ังนายหมู่ควรมีการสับเปล่ียนให้สมาชิกคนอ่ืน มีโอกาสเป็นนายหมู่และรองนายหมู่ เพื่อเป็นการเปลี่ยนกันทางาน และฝึกความรับผิดชอบ ในฐานะผู้นา บทบาทของนายหม่แู ละรองนายหมู่ มดี งั นี้ 1. บริหารงานในหมู่ 2. ใหค้ าปรกึ ษาแก่สมาชกิ 3. เปน็ ผู้นาในการประชุม 4. แบ่งงานให้สมาชกิ ทา 5. เป็นตัวแทนในการประชุมกับหมอู่ ื่นๆ 6. แจ้งผลการประชมุ 7. ชว่ ยเหลือสมาชกิ 8. จดบันทึกเหตุการณ์ท่ีสาคญั ๆของหมู่ ศึกษาบทบาทการทาหน้าที่ของนายหมู่ ช่วยเหลอื นายหมู่ในการดูแลสมาชิก และปฏบิ ตั ิหนา้ ที่เม่อื นายหมไู่ ม่อยู่ ระบบหมู่ เป็นการฝึกให้สมาชิกได้ร่วมกันทางานอย่างเป็นระบบ สร้างวินัยและ ความเป็นระเบียบเรียบร้อยโดยยึดหลักประชาธิปไตย มีนายหมู่และรองนายหมู่เป็นผู้นา มีการ ประสานงานกนั เปน็ อยา่ งดที งั้ ในหมขู่ องตนเองและหมูอ่ นื่ ๆ มีการร่วมแสดงความคิดเห็น การมี สว่ นรว่ มในการบรหิ ารงานหมตู่ ลอดจนการช่วยเหลอื เกอื้ กูลกัน กิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 4 ระบบหมู่ลูกเสอื (ใหผ้ เู้ รยี นไปทากจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 4 ท่สี มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วชิ า)

53 เรอื่ งท่ี 5 การพัฒนาภาวะผู้นา - ผู้ตาม ผู้นาและภาวะผู้นา หมายถึง บุคคลที่ได้รับการแต่งต้ัง หรือได้รับการยกย่อง ให้เป็นผู้ตัดสินใจ และสามารถนาพาสมาชิกในกลุ่มร่วมมือกันปฏิบัติภารกิจด้วยความเต็มใจ จริงใจ เพือ่ ให้ภาระงานลลุ ว่ งไปดว้ ยดี ลักษณะของผู้นาทด่ี ี ประกอบดว้ ย 1. มีนา้ ใจจะพัฒนา มุง่ เปล่ยี นแปลงคณุ ภาพชีวติ ให้ดีขึ้น 2. มีความเช่อื มั่นในตนเอง 3. เป็นผทู้ ร่ี ักการทางานร่วมกับสมาชกิ ภายในหม่แู ละกอง 4. เป็นผู้ท่ีเรียนรู้ส่ิงใหม่ ๆ และยอมรับเอาแนวความคิดและเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ 5. มีบุคลกิ ลักษณะของการเป็นผ้นู า 6. มีความคิดรเิ ริม่ สรา้ งสรรค์ มองเห็นความต้องการของกลุม่ 7. เปน็ ผู้เสียสละมงุ่ ทาประโยชนต์ ่อสว่ นรวม 8. เปน็ ผทู้ ่มี คี วามสามารถในการรวมกลมุ่ 9. เปน็ ผทู้ ่มี ีความสามารถในการประสานงานกับหม่อู ื่น ๆ 10. เปน็ ผู้ที่มคี วามสนใจต่องาน 11. เปน็ ผูเ้ ขา้ ใจในขบวนการเปลี่ยนแปลง 12. เป็นผทู้ ม่ี มี นุษยสัมพันธท์ ีด่ ี คุณสมบัติของผู้นาท่ดี ี ผู้นาทดี่ คี วรจะประกอบดว้ ยคุณสมบตั ิที่สาคญั ดงั น้ี 1. มีความรู้ การเป็นผู้นาน้ัน ความรู้เป็นสิ่งจาเป็นท่ีสุด เพราะจะเป็นเครื่องมือ ช่วยรกั ษาสถานการณต์ า่ ง ๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี 2. มีความคิดริเริ่ม ความคิดริเริ่มคือความต้องการที่จะปฏิบัติส่ิงใดสิ่งหน่ึงโดย ไมต่ ้องมีคาส่ังและแสดงขอ้ คิดเห็นที่จะแกไ้ ขส่งิ ใดสิ่งหนึง่ ให้ดขี ้ึนหรือเจริญขนึ้ 3. มีความกล้าหาญ ความกล้าหาญ คือ ลักษณะอาการที่ไม่กลัวต่ออันตราย ความลาบากหรือความเจ็บปวดใด ๆ โดยสามารถควบคุมความกลัวไว้ได้ ความกล้าหาญน้ี จะต้องมที งั้ ทางกาย วาจา และจติ ใจจึงจะปฏิบตั ิเปน็ ผนู้ าทด่ี ไี ด้

54 4. มีความเด็ดขาด ความเด็ดขาดหรือความสามารถที่จะตัดสินใจหรือตกลงใจ ไดท้ ันทเี ม่อื ตกลงส่งั การใด ๆ แลว้ จะสั่งได้อยา่ งเด็ดขาด ส้ันและชดั เจน 5. มคี วามแนบเนยี น ความแนบเนียน คือ ความสามารถท่ีจะต้องติดต่อเกี่ยวข้อง หรือมีความสัมพันธ์กับผู้อ่ืน ด้วยกิริยาอาการและวาจาท่ีถูกต้องเหมาะสม โดยไม่ทาให้ผู้ท่ีเรา ตดิ ตอ่ ด้วยเกิดความกระด้างกระเด่อื งหรอื ไม่พอใจแกต่ นได้ 6. มคี วามยุติธรรม ความยุติธรรม คือ การปฏิบัติตนให้ถูกต้องตามความยุติธรรม และศลี ธรรม วางตนเป็นกลางไมเ่ อนเอียง ในการท่ีจะก่อให้เกิดประโยชน์หรือโทษต่อผู้หนึ่งผู้ใด ความยตุ ธิ รรมนค้ี ือความเทยี่ งตรงน่นั เองและไมเ่ กีย่ วกับความยตุ ธิ รรมทางกฎหมาย 7. ท่าทาง ท่าทาง คือ การแสดงออก ซ่ึงรูปร่างลักษณะของร่างกายท่ีต้อง ประสงคม์ กี ริ ิยาอาการและเคร่อื งแตง่ กายท่ีถูกตอ้ งเหมาะสม 8. มีความอดทน ความอดทน คือ ความสามารถของร่างกายและความคิดจิตใจ ที่อดทนต่อการปฏิบัติกิจการหรือหน้าท่ีอย่างใดอย่างหน่ึงท่ีสมเหตุสมผลให้ต่อเน่ืองและ บรรลุผลสาเรจ็ ความอดทนนีเ้ ปน็ พลงั อันหนึ่งทีจ่ ะผลักดันงานของเราไปสู่จุดหมายปลายทางได้ อย่างแทจ้ ริง 9. มคี วามกระตอื รอื ร้น ความกระตือรอื รน้ คือ การมีจิตใจจดจ่อท่ีดีและมีความ เอาใจใส่ต่อหน้าท่ีหรือกิจการท่ีจะต้องปฏิบัติอยู่เสมอ ซ่ึงเป็นคุณสมบัติที่จะให้เราติดต่อกับ บุคคลอื่นได้ง่าย นอกจากน้ีความกระตือรือร้นยังช่วยให้กิจการต่าง ๆ ของหน่วยสาเร็จลุล่วงไป ด้วยดี 10. มีความไม่เห็นแก่ตัว ความไม่เห็นแก่ตัว คือ การขจัดเสีย ซึ่งความสุขหรือ ผลประโยชน์แห่งตน โดยที่คนอ่ืนกลับเสียประโยชน์ ซึ่งก็หมายความว่าเป็นการข่มขืนหรือ บังคับ ความโลภ ความหลงและความอยากได้ของตนเอง คนท่ีไม่เห็นแก่ตัวนั้นย่อมเป็นคนท่ีมี ความซื่อสัตย์ สุจริต ตรงไปตรงมาและไม่ทาลายผอู้ นื่ 11. มคี วามตื่นตวั ความตน่ื ตวั คือ ความระมัดระวัง ความสุขุมรอบคอบ ความ ไมป่ ระมาท ไมย่ ดื ยาด ทาอะไรทันทที ันควันและมคี วามวอ่ งไวปราดเปรยี วอยเู่ สมอ 12. มีความชั่งใจ (ดุลพินิจ) คือ อานาจแห่งความคิดที่สามารถพิจารณาสิ่งต่าง ๆ หรือเหตุต่าง ๆ อย่างถูกต้อง โดยช่ังน้าหนักเหตุผลนั้น ๆ และสรุปเป็นข้อ ๆ ลงความเห็นหรือ ข้อตกลงใจอันเฉยี บแหลม 13. มีความสงบเสงี่ยม ความสงบเสงย่ี ม คือ ความไม่หย่ิงยโส จองหองและไม่มี ความภมู ใิ จในสิ่งทไ่ี รเ้ หตผุ ล

55 14. มีความเห็นอกเห็นใจ ความเห็นอกเห็นใจ คือ คุณสมบัติประจาตัวอันเป็น แบบอย่างของมนุษย์ คือต้องประกอบด้วยความเมตตาปราณี ความกรุณา ความสงสาร ความเห็นอกเห็นใจผู้อื่นในลักษณะท่ีไม่เสียผลประโยชน์ของส่วนรวม อันเป็นการแบ่งเบา ความรู้สึกของผ้ทู ีอ่ ยรู่ ่วมกนั 15. มีความจงรักภักดี ความจงรักภักดี คือ สภาพหรือคุณสมบัติประจาตัวของ การเป็นบุคคลที่ซ่ือสัตย์สุจริตและซื่อตรงต่อผู้อื่น ต่อหน้าท่ี ต่อรัฐนั่นเอง การเป็นผู้นานั้น จาเป็นต้องมคี วามจงรกั ภกั ดตี อ่ หมู่คณะหรือส่วนรวม ทัง้ น้ีเพ่ือความไว้วางใจ 16. มีการสังคมท่ีดี การสังคมที่ดี คือ การมีบุคลิกภาพที่จะเข้าสังคมได้อย่าง ถูกต้อง หมายความว่า การที่เราเป็นผู้นาที่ดีนั้นจะต้องปรับตัวเองให้คบค้าสมาคมกับเพ่ือน มนุษย์ด้วยกันอย่างถูกต้องแนบเนียน และต้องพยายามศึกษาปรับตนให้เข้ากับสังคมต่าง ๆ ท่ีเราจะไปตดิ ตอ่ ให้ไดแ้ ละถูกตอ้ งอกี ด้วย 17. มีการบงั คบั ตนเอง การบงั คบั ตนเอง คือ การบังคับจิตใจโดยผ่านทางอารมณ์ ซ่ึงรับมาจากประสาททั้ง 5 เพื่อมิให้แสดงออกซ่ึงกิริยาอาการต่าง ๆ ท่ีไม่เหมาะสมแก่ผู้อื่นได้ การบังคบั ตนเองนั้นนับวา่ เปน็ สิ่งสาคัญมากของผู้นา เพราะตลอดเวลาผู้นามักจะเป็นเป้าสายตา ของผรู้ ่วมงานอยูเ่ สมอ ผ้ตู าม และภาวะผตู้ าม ผู้ตาม หมายถึง ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานในองค์การท่ีมีหน้าที่และความรับผิดชอบท่ีจะต้อง รบั คาสัง่ จากผู้บงั คบั บัญชามาปฏิบัตใิ ห้สาเร็จบรรลุวัตถปุ ระสงค์ คุณลกั ษณะพฤตกิ รรมของผู้ตาม 5 แบบมดี งั นี้ 1) ผู้ตามแบบห่างเหิน ผู้ตามแบบนี้เป็นคนเฉื่อยชาแต่มีความเป็นอิสระและมี ความคิดสร้างสรรค์สูง ผู้ตามแบบห่างเหินส่วนมากเป็นผู้ตามที่มีประสิทธิผล มีประสบการณ์ และผา่ นอุปสรรคมาก่อน 2) ผู้ตามแบบปรับตาม ผู้ตามแบบน้ี เรียกว่า ผู้ตามแบบครับผม เป็นผู้ที่มี ความกระตือรอื รน้ ในการทางาน แตข่ าดความคดิ สร้างสรรค์ 3) ผู้ตามแบบเอาตัวรอด ผู้ตามแบบนี้จะเลือกใช้ลักษณะผู้ตามแบบใดข้ึนอยู่ กับสถานการณท์ ี่จะเออื้ ประโยชน์กับตัวเองใหม้ ากท่สี ดุ และมคี วามเสยี่ งน้อยทีส่ ดุ 4) ผู้ตามแบบเฉื่อยชา ผู้ตามแบบนี้ชอบพึ่งพาผู้อ่ืนขาดความอิสระ ไม่มีความคิด ริเร่มิ สรา้ งสรรค์

56 5) ผตู้ ามแบบมปี ระสทิ ธผิ ล ผตู้ ามแบบนี้เป็นผู้ท่ีมีความตั้งใจในการปฏิบัติงานสูง มคี วามสามารถในการบรหิ ารจัดการงานไดด้ ้วยตนเอง กิจกรรมท้ายเรอื่ งที่ 5 การพฒั นาภาวะผู้นา – ผู้ตาม (ใหผ้ เู้ รยี นไปทากจิ กรรมท้ายเรอื่ งที่ 5 ทีส่ มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วชิ า)

57 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 ลกู เสอื กศน. กบั การพัฒนา สาระสาคัญ การลูกเสือไทย ได้ถือกาเนิดโดยองค์พระมหากษัตริย์ไทย ในรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 6 ซ่ึงมี ความเจริญรุดหน้าสืบมากว่า 107 ปี อย่างมีคุณค่า และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 มีพระบรมราโชบายด้านการศึกษากับความมั่นคง มีพระราช ประสงค์เห็นคนไทยมีวินัย รู้หน้าท่ี มีความรับผิดชอบ สร้างวินัยโดยกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ดังน้ัน สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ โดยสานักงาน กศน. ซ่ึงเป็นหน่วยงานหลักในการส่งเสริม การศึกษาตลอดชีวิตสาหรับประชาชน มีความตระหนักและเห็นคุณค่าของกิจการลูกเสือ ซึ่งเป็น พระราชมรดกอันล้าค่ายิ่งที่พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้พระราชทานไว้ให้แก่ปวงชนชาวไทย จึงได้น้อมนากิจการลูกเสือ กระบวนการลูกเสือ รวมทั้งเนือ้ หาความรู้ต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องกับการลูกเสือมาเป็นหลักในการจัด กิจกรรม ส่งเสริมประสบการณ์ให้ผู้เรียน กศน. ในฐานะท่ีเป็นลูกเสือ กศน. ให้มีทักษะชีวิต สามารถดารงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข สามารถนาอุดมการณ์ คาปฏิญาณและกฎของ ลูกเสือมาใช้ในชีวิตประจาวัน มีระเบียบวินัย มีคุณธรรมจริยธรรม และมีความสง่างามในการ ดารงตนให้เป็นพลเมืองดี มีจิตสาธารณะการให้บริการ และบาเพ็ญประโยชน์ต่อชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตวั ชวี้ ดั 1. อธิบายความเป็นมา และความสาคญั ของลูกเสอื กศน. 2. อธบิ ายลูกเสอื กศน. กับการพัฒนา 3. อธิบายบทบาทหน้าท่ีของลูกเสอื กศน. ทม่ี ตี ่อตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน และสังคม 4. ระบบุ ทบาทหน้าท่ีของลูกเสือ กศน. ที่มตี ่อสถาบันหลกั ของชาติ

58 ขอบข่ายเนื้อหา เรื่องที่ 1 ลูกเสือ กศน. 1.1 ความเป็นมาของลกู เสือ กศน. 1.2 ความสาคัญของลูกเสือ กศน. เรือ่ งท่ี 2 ลกู เสือ กศน. กบั การพฒั นา เร่อื งท่ี 3 บทบาทหน้าท่ีของลูกเสือ กศน. ท่ีมีต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม เร่ืองท่ี 4 บทบาทหน้าทข่ี องลกู เสือ กศน. ท่มี ีตอ่ สถาบนั หลักของชาติ เวลาท่ีใชใ้ นการศึกษา 6 ชั่วโมง สื่อการเรยี นรู้ 1. ชุดวชิ าลกู เสือ กศน. รหสั รายวชิ า สค22021 2. สมดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วิชา 3. สือ่ เสริมการเรียนรู้อื่น ๆ

59 เรอ่ื งที่ 1 ลกู เสอื กศน. การลูกเสือไทย ได้ถือกาเนิดข้ึนโดยองค์พระมหากษัตริย์ไทย และมีความเจริญ รุดหน้าสืบมากว่า 107 ปี อย่างทรงคุณค่า ซึ่งเป็นพระราชมรดกอันล้าค่าย่ิง ท่ีพระบาทสมเด็จ พระรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราวุธ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 6 ได้พระราชทานไว้ ให้แก่ปวงชนชาวไทย ต่อมาสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลที่ 10 มีพระบรมราโชบายด้านการศึกษากับความมั่นคง มีพระราชประสงค์เห็นคนไทย มีวนิ ยั รู้หน้าที่ มีความรบั ผดิ ชอบ สรา้ งวนิ ยั โดยกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี สานักงาน กศน. ได้ตระหนักและเห็นคุณค่าของกิจการลูกเสือ จึงได้น้อมนา พระบรมราโชบายดังกล่าว มากาหนดเป็นนโยบายหลักสูตรและแนวทางการปฏิบัติ พร้อมท้ัง สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน กศน. โดยนากระบวนการลูกเสือ เน้ือหาความรู้ต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการลูกเสือเป็นหลัก ในการจัดกิจกรรมส่งเสริมประสบการณ์ให้ผู้เรียน กศน. มีทักษะชีวิต สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข สามารถนาอุดมการณ์ คาปฏิญาณ และกฎของลูกเสือมาปรับใช้ในชีวิตประจาวัน เพื่อให้เป็นบุคคลที่มีระเบียบวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม และมีความสง่างามในการดารงตนให้เป็นพลเมืองดี บาเพ็ญประโยชน์ต่อ ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ลูกเสือ กศน. เป็นลูกเสือที่อยู่ในกองลูกเสือวิสามัญของสถานศึกษา สังกัด สานักงาน กศน. จึงต้องมีความพร้อมในการประพฤติปฏิบัติตนตามคติพจน์ของลูกเสือวิสามัญ คือ “บรกิ าร” ลูกเสอื กศน. ต้องพร้อมและพัฒนาตนเอง ท้ังด้านร่างกาย ด้านสติปัญญา ด้านจิตใจ ดา้ นศีลธรรม และมีความพรอ้ มในการเป็นผู้นาในการพัฒนาครอบครวั ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ กิจกรรมท้ายเรอื่ งท่ี 1 ลูกเสอื กศน. (ใหผ้ ูเ้ รียนไปทากิจกรรมทา้ ยเรื่องท่ี 1 ทสี่ มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้ประกอบชุดวชิ า) เรื่องท่ี 2 ลกู เสอื กศน. กบั การพฒั นา ลูกเสือ กศน. เป็นลูกเสือวิสามัญ จึงต้องมีความพร้อมในการประพฤติปฏิบัติตน ตามคติพจน์ของลูกเสือวิสามัญ คือ “บริการ” หากมีความพร้อมจึงจะได้รับโอกาสในการ พัฒนาตนเอง ทั้งทางด้านร่างกาย ด้านสติปัญญา ด้านจิตใจ และด้านศีลธรรม และพร้อมท่ีจะ พฒั นาครอบครัว ชุมชน สงั คม และประเทศชาติ

60 ลูกเสือ กศน. มีบทบาทหน้าท่ีในการพัฒนาตนเอง ซ่ึงเน้นการพัฒนาความสามารถ ศักยภาพ และสมรรถนะท่ีทันต่อสภาพความจาเป็น ตามความก้าวหน้า และการเปลี่ยนแปลง ของสังคม เพ่ือให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ดังนั้น การพัฒนาตนเอง จะต้องมีความรู้ ความเข้าใจ ถึงความสาคัญของการพัฒนาในด้านต่าง ๆ รู้วิธีการวางแผนพัฒนาตนเอง ในบทบาทของผู้นา และผู้ตาม ลูกเสือ กศน. พึงนาคาปฏิญาณ กฎของลูกเสือ และคติพจน์ของลูกเสือ มาเป็น หลักการพัฒนาตนเอง ในดา้ นต่าง ๆ ดงั นี้ 1. พัฒนาทางด้านความคิดเร่ืองศาสนา ซ่ึงมีวิธีการแตกต่างกันไปตามศาสนา ทตี่ นนับถอื มุ่งเนน้ ยดึ มนั่ ในหลักการของศาสนา เพอ่ื ใหบ้ รรลุผลแหง่ ความจงรักภักดีต่อศาสนา 2. พัฒนาทางด้านความรู้สึกด้านค่านิยม มุ่งเน้นการเอาใจใส่ ระมัดระวังในการ เผชิญปญั หา สถานการณ์ปัจจุบนั เป็นพเิ ศษ 3. พัฒนาทางดา้ นร่างกาย มุง่ เนน้ การเข้าร่วมกจิ กรรมลูกเสือเพอ่ื ใหม้ ีสุขภาพแข็งแรง 4. พัฒนาทางด้านสติปัญญา ม่งุ เนน้ การทางานอดิเรก การฝีมือ การรู้จักใช้เวลา ให้เป็นประโยชน์ 5. พัฒนาทางด้านสังคม มุ่งเนน้ การปฏบิ ตั ติ นใหอ้ ยใู่ นสังคมได้อย่างมีความสุข 6. พัฒนาทางดา้ นการสร้างสัมพันธภาพทางสังคม มุ่งเน้นการทางานเป็นระบบหมู่ ในบทบาทของผ้นู า และผู้ตาม 7. พฒั นาทางด้านความรับผิดชอบต่อชุมชน มุ่งเน้นความสาคัญของความรับผิดชอบ ของตนเองท่ีมตี ่อผูอ้ น่ื ด้วยการบาเพญ็ ประโยชน์ 8. พัฒนาทางด้านความรับผิดชอบต่อส่ิงแวดล้อม มุ่งเน้นความสนใจในส่ิงแวดล้อม และอนุรกั ษธ์ รรมชาติ กิจกรรมทา้ ยเรื่องท่ี 2 ลกู เสือ กศน. กบั การพฒั นา (ให้ผู้เรยี นไปทากิจกรรมทา้ ยเรื่องที่ 2 ที่สมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วชิ า) เรื่องที่ 3 บทบาทหนา้ ทีข่ องลกู เสือ กศน. ทมี่ ีต่อตนเอง ครอบครวั ชุมชนและสังคม ลกู เสือ กศน. พึงตระหนักถึงการช่วยเหลือชุมชน และสังคม โดยทากิจกรรมท่ีเป็น ประโยชน์ต่อผู้อ่ืน และไม่หวังผลตอบแทน ซึ่งก่อให้เกิดความภาคภูมิใจท่ีได้มีโอกาสพัฒนาชุมชน และสังคม ในเรื่องต่าง ๆ ดงั นี้

61 1. การเป็นพลเมอื งดี และการใชส้ ิทธเิ ลือกต้ัง (ลกู เสือ กกต.) 2. การดแู ลรกั ษาและอนุรักษ์ส่งิ แวดล้อม (ลูกเสืออนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม) 3. การสร้างความตระหนักถงึ โทษและพษิ ภยั ของยาเสพตดิ (ลกู เสอื ยาเสพตดิ ) 4. การป้องกนั และชว่ ยเหลอื เมอ่ื ประสบเหตุ (ลกู เสือบรรเทาสาธารณภยั ) 5. การช่วยอานวยความสะดวกดา้ นการจราจร (ลูกเสอื จราจร) 6. การรว่ มเฝา้ ระวงั ปอ้ งกัน ขอ้ มูลข่าวสารทีเ่ ปน็ ภยั ออนไลน์ (ลกู เสอื ไซเบอร์) 7. การเสริมสร้างทัศนคติ คา่ นิยม ความซอ่ื สัตย์สจุ ริต (ลูกเสอื ชอ่ สะอาด) 8. การอนรุ ักษ์ขนบธรรมเนยี มประเพณไี ทย ให้ความรูส้ บื ไป (ลูกเสอื วัฒนธรรม) 9. การปอ้ งกนั การทารณุ กรรมต่อสัตว์ (ลกู เสือสวัสดภิ าพสัตว์) 10. การชว่ ยดแู ล ป้องกันอนรุ กั ษป์ ่าไม้ (ลกู เสอื ป่าไม้) 11. การสร้างความมีระเบยี บวนิ ยั ต่อตนเอง รู้จักสามคั คใี นหมู่คณะและสว่ นรวม (ลูกเสอื รฐั สภา) 12. การป้องกันไมใ่ ห้เกดิ ความรนุ แรง ลดความเหลือ่ มล้า (ลกู เสอื สันติภาพ) 13. การสร้างโอกาสทางเลือกใหก้ บั ชีวิต (ลกู เสือสาหรบั ผูด้ ้อยโอกาส) ผ้เู รียน กศน. ที่สมัครเข้าเป็นลูกเสือ กศน. เริ่มต้นด้วยการแสวงหาความรู้ทั่วไป ที่เกี่ยวกับทักษะการดารงชีวิต โดยใช้กระบวนการคิดเป็น ความรู้ท่ัวไปท่ีเกี่ยวกับทักษะลูกเสือ กิจกรรมกลางแจ้ง การคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจแก้ปัญหา และเข้าพิธีประจากองลูกเสือวิสามัญ โดยผู้กากับกองลูกเสือวิสามัญ จะเป็นผู้ประกอบพิธีประจากองให้แก่ลูกเสือ กศน. ให้ลูกเสือ กศน. แต่งเครอ่ื งแบบลูกเสือวิสามัญ มาพร้อมกันที่คูหาลูกเสือวิสามัญ (Rover Den) หรือสถานท่ี นัดหมายอื่นท่ีเหมาะสม เพื่อทบทวนหลักการ การเป็นพลเมืองดีในทัศนของลูกเสือ พิจารณา คติพจน์ คาปฏิญาณ และกฎของลูกเสือท้ัง 10 ข้อ ที่จะนาสู่การปฏิบัติตนเป็นคนดี สารวจตัวเอง และเข้าพธิ ีประจากองตามลาดบั การปฏิบัติตนตามคติพจน์ของลูกเสือ กศน. คือ “บริการ” ซึ่งเป็นเสมือนหัวใจ ของลูกเสือ กศน. ท่ีจะต้องยึดมั่นในการเสียสละด้วยการบริการ แต่การบริการนี้มิได้หมายถึง เปน็ ผ้รู ับใชห้ รอื คนงาน การบรกิ ารในความหมายของการลูกเสือนี้ เรามุ่งที่จะอบรมบ่มนิสัยและ จิตใจใหร้ ูจ้ ักเสียสละ ร้จู กั วิธหี าความร้แู ละประสบการณ์ ทเี่ ปน็ ประโยชน์ในอนาคต และในที่สุด กจ็ ะทาให้สามารถประกอบอาชีพโดยปกตสิ ขุ ในสังคม

62 การบริการ หมายถึง การประกอบคุณประโยชน์ให้แก่มนุษยชาติ ด้วยการถือว่า เปน็ เกยี รติประวัตสิ งู สดุ แห่งชีวติ ของเรา ในการที่รู้จักเสียสละความสุขส่วนตัวเพื่อบาเพ็ญประโยชน์ แกผ่ ูอ้ ่นื เพื่อจุดมุ่งหมายให้สังคมสามารถดารงอยู่ได้โดยปกติ เป็นการสอนให้ลูกเสือวิสามัญต้ังตน อยู่ในศีลธรรมไม่เอาเปรียบผู้ที่ยากจนหรือด้อยกว่า นอกจากน้ัน การบริการแก่ผู้อื่นเปรียบเสมือน เปน็ การชาระหนท้ี ีไ่ ดเ้ กิดมาแลว้ อาศยั อยู่ในโลกนก้ี ็ด้วยความมุ่งหวงั จะให้ทุกคนเข้าใจในการใช้ชีวิต อยู่ร่วมกันในสังคม มองเห็นความจาเป็นของสังคมว่าไม่มีใครสามารถดารงชีวิตอยู่ได้โดยลาพัง ทุกคนจาเป็นต้องพึ่งพาอาศัยกันไม่ว่าด้านอาหารการกิน ด้านเคร่ืองนุ่งห่ม ท่ีอยู่อาศัย ยารักษาโรค หรอื อนื่ ๆ กิจกรรมทา้ ยเร่ืองท่ี 3 บทบาทหน้าที่ของลูกเสอื กศน. ทมี่ ีต่อตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม (ใหผ้ ู้เรียนไปทากจิ กรรมทา้ ยเร่อื งที่ 3 ที่สมุดบนั ทึกกิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วิชา) เร่อื งท่ี 4 บทบาทหนา้ ทขี่ องลกู เสือ กศน. ท่มี ีตอ่ สถาบันหลักของชาติ ลูกเสือ กศน. พึงตระหนักการนาคาปฏิญาณและกฎของลูกเสือมาใช้ ในชีวิตประจาวัน เพ่ือความเป็นพลเมืองดี มีศีลธรรม มีระเบียบวินัย มีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนาพระมหากษัตริย์ และรักษาไว้ซึ่งเอกลักษณ์ของความเป็นไทย ขนบธรรมเนียมอันดี ของประเพณีท้องถิ่น เพื่อให้เกิดความรัก ความสามัคคีปรองดอง หลักการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยข้ันพื้นฐานการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็นซ่ึงกันและกัน โดยไม่เก่ียวข้องกับ ลัทธิทางการเมืองใด ๆ และพัฒนาเสริมสร้างทักษะการดาเนินชีวิตตามแบบวิถีชีวิตระบอบ การปกครองแบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เป็นวิถีทางให้เกิด ความสงบสุขในการดารงอยู่ของชาติตามเจตนารมณ์ของลูกเสือชาวบ้าน พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ ทรงเป็น องค์พระประมุขและทรงรับกิจการลูกเสือชาวบ้านไว้ในพระบรมราชานุเคราะห์ สมาชิกที่เกี่ยวข้อง ทุกคนจะตอ้ งชว่ ยกนั ดารงพระเกยี รติของพระองคไ์ ว้ กิจกรรมทา้ ยเรื่องที่ 4 บทบาทหนา้ ท่ขี องลูกเสือ กศน. ทม่ี ีตอ่ สถาบันหลักของชาติ (ให้ผเู้ รยี นไปทากิจกรรมทา้ ยเรื่องท่ี 4 ท่สี มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วชิ า)

63 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 7 ลกู เสอื กศน. กบั จติ อาสา และการบริการ สาระสาคัญ จากคาปฏิญาณของลูกเสือท่ีว่า “ข้าจะช่วยเหลือผู้อ่ืนทุกเมื่อ” และลูกเสือ กศน. ท่ีเป็นลูกเสือวิสามัญ ซึ่งถือคติพจน์ว่า “บริการ” จึงเป็นผู้ท่ีมีจิตอาสา คือ ผู้ท่ีไม่น่ิงดูดาย เป็นผู้เอาใจใส่ และเป็นผู้มีจิตสานึก มีความพร้อมที่จะเสียสละเพ่ือส่วนรวม โดยการประพฤติ ปฏิบัติตนมีความรับผิดชอบ มีวินัยในตนเอง รู้จักควบคุมอารมณ์และพฤติกรรม ยอมรับฟัง ความคิดเห็นของผู้อ่ืน เคารพสิทธิของผู้อ่ืน ตลอดจนเต็มใจท่ีช่วยเหลือและบริการผู้อื่น โดยไม่หวัง ผลตอบแทน ตัวช้วี ดั 1. อธิบายความหมาย และความสาคญั ของจิตอาสา และการบรกิ าร 2. อธิบายหลกั การของจติ อาสา และการบริการ 3. เสนอผลการปฏบิ ัตติ นในฐานะลกู เสือ กศน. เพือ่ เปน็ จติ อาสา และการใหบ้ รกิ าร อยา่ งนอ้ ย 2 กิจกรรม 4. ยกตวั อย่างกจิ กรรมจิตอาสา และการบรกิ ารของลูกเสือ กศน. อย่างนอ้ ย 2 กจิ กรรม ขอบข่ายเน้อื หา เรอ่ื งที่ 1 จติ อาสา และการบรกิ าร 1.1 ความหมายของจติ อาสา 1.2 ความสาคญั ของจติ อาสา 1.3 ความหมายของการบริการ 1.4 ความสาคญั ของการบรกิ าร เรื่องที่ 2 หลกั การของจิตอาสา และการบรกิ าร 2.1 หลักการของจติ อาสา 2.2 หลกั การของการบริการ

64 เร่อื งท่ี 3 การปฏิบัตติ นในฐานะลกู เสือ กศน. เพอ่ื เป็นจิตอาสา และใหก้ ารบริการ เร่อื งที่ 4 กิจกรรมจติ อาสา และการใหบ้ รกิ ารของลกู เสอื กศน. เวลาท่ีใชใ้ นการศึกษา 12 ชั่วโมง สอื่ การเรียนรู้ 1. ชดุ วชิ าลกู เสอื กศน. รหสั รายวชิ า สค22021 2. สมดุ บนั ทึกกจิ กรรมการเรียนรูป้ ระกอบชุดวิชา 3. ส่ือเสรมิ การเรียนรอู้ ่ืน ๆ

65 เรอื่ งท่ี 1 จติ อาสา และการบรกิ าร 1.1 ความหมายของจติ อาสา จิตอาสา หมายถึง จิตที่ไม่น่ิงดูดายต่อสังคม หรือความทุกข์ยากของผู้คน และ ปรารถนาเข้าไปช่วยด้วยจิตที่เป็นสุขท่ีได้ช่วยผู้อื่น เพื่อส่วนรวมของคนท่ีรู้จักความเสียสละ เอาใจใส่ เป็นธุระ ให้ความร่วมมือร่วมใจในการทาประโยชน์เพื่อส่วนรวม เพื่อช่วยกันพัฒนา คุณภาพชวี ิต และปรารถนาเข้าไปชว่ ยลดปัญหาท่ีเกิดข้ึนในสังคม ด้วยการสละเวลา การลงแรง และสรา้ งสรรค์ใหเ้ กิดประโยชนส์ ุขแกส่ ังคม และประเทศชาติ 1.2 ความสาคัญของจิตอาสา ความสาคัญของจิตอาสา เป็นการตระหนักรู้ การแสดงออก ทาประโยชน์ เพื่อสงั คม ตลอดจนช่วยกนั ดูแลรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม สาธารณะสมบัติ ให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า ให้ความชว่ ยเหลอื ผูต้ กทกุ ขไ์ ด้ยาก หรือผูท้ ี่รอ้ งขอความชว่ ยเหลอื โดยใช้คุณธรรมเป็นหลกั 1.3 ความหมายของการบริการ บริการ หมายถึง การให้ความช่วยเหลือหรือการบาเพ็ญประโยชน์ต่อตนเอง ต่อผู้อืน่ และตอ่ ชุมชน ลูกเสือวิสามัญจะต้องมีความเลอ่ื มใสศรัทธาในคาวา่ “บริการ” และลงมือ ปฏิบัติเร่ืองนี้อย่างจริงจัง ด้วยความจริงใจ และมีทักษะหรือความสามารถในการให้บริการนั้น ดว้ ยความชานาญ ว่องไว คอื ไวใ้ จได้ หรือเชอื่ ถอื ได้ 1.4 ความสาคัญของการบริการ ความสาคัญของการบริการ เป็นหัวใจสาคัญของลูกเสือ กศน. ซ่ึงต้องพัฒนาจิตใจ ให้อยู่ในศีลธรรม ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้ที่ยากจนหรือด้อยกว่า ให้รู้จักการเสียสละความสุขส่วนตัว เพ่ือบาเพ็ญประโยชน์แก่ผู้อื่น เพ่ือจุดมุ่งหมายให้สังคมสามารถดารงอยู่ได้โดยปกติ ถือว่าเป็น เกยี รติประวัตสิ งู สุดของชีวติ กิจกรรมทา้ ยเรอื่ งที่ 1 จิตอาสา และการบรกิ าร (ใหผ้ เู้ รยี นไปทากิจกรรมท้ายเรอื่ งที่ 1 ทีส่ มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้ประกอบชุดวชิ า)

66 เรือ่ งท่ี 2 หลกั การของจติ อาสา และการบรกิ าร 2.1 หลกั การของจิตอาสา หลักการของจิตอาสา มีที่มาจากการพัฒนาตนเองให้มีจิตสานึกท่ีดี มีน้าใจ การท่คี นมาอยรู่ ่วมกันเปน็ สังคม ย่อมตอ้ งการพ่งึ พากัน โดย 1. การกระทาของตนเอง ให้มีความรับผิดชอบต่อตนเอง เพื่อป้องกันไม่ให้ เกิดผลกระทบและความเสียหายต่อส่วนรวม เช่น การมีวินัยในตนเอง การควบคุมอารมณ์และ พฤติกรรม การเช่ือฟงั คาสั่ง เป็นตน้ 2. บทบาทของตนทีม่ ตี ่อสงั คมในการรกั ษาประโยชนข์ องส่วนรวม เพอื่ แก้ปญั หา สร้างสรรค์สังคม ซึ่งถือว่าเป็นความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เช่น การเคารพสิทธิผู้อื่น การรับฟงั ความคิดเหน็ ของผอู้ น่ื การช่วยเหลือผู้อืน่ เป็นตน้ 2.2 หลกั การของการบรกิ าร หลักการของการบริการ มีดังน้ี 1. ใหบ้ ริการดว้ ยความสมคั รใจ เต็มใจท่จี ะใหบ้ รกิ าร 2. ให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ คือ มีทักษะในการบริการ เช่น การปฐมพยาบาล เทคนิคในการช่วยชวี ติ เปน็ ต้น 3. ให้บริการแก่ผู้ท่ีต้องการรับบริการ เช่น คนท่ีกาลังจะจมน้า ผู้ท่ีถูกทอดทิ้ง คนชรา คนปว่ ยและผู้ไม่สามารถช่วยตนเองได้ เปน็ ตน้ 4. ให้บริการด้วยความองอาจ ต้ังใจทางานให้เสร็จด้วยความมั่นใจ ด้วยความ รับผิดชอบ โดยใช้ความรู้ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง อุทิศให้แก่งานอย่างจริงจัง ในขณะน้ัน รู้จักแบ่งเวลา แบ่งลักษณะงาน มีความมุมานะในการทางานให้เป็นผลสาเร็จตาม เป้าหมายทกี่ าหนดไว้ กิจกรรมทา้ ยเร่อื งที่ 2 หลกั การของจิตอาสา และการบรกิ าร (ใหผ้ ู้เรียนไปทากจิ กรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 2 ท่สี มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ประกอบชุดวชิ า)

67 เรอื่ งท่ี 3 การปฏิบัตติ นในฐานะลกู เสอื กศน. เพื่อเป็นจติ อาสา และการใหบ้ ริการ การปฏิบัติตนในฐานะลูกเสือ กศน. เพื่อเป็นจิตอาสาและการให้บริการ ต้องมี ความรับผดิ ชอบต่อตนเอง และความรับผิดชอบต่อสงั คม ดังน้ี ความรับผิดชอบต่อตนเอง เป็นผู้มีจิตสานึกในความรับผิดชอบต่อตนเอง ซ่งึ นับวา่ เป็นพนื้ ฐานของความรับผิดชอบต่อสังคม มดี งั นี้ 1. ตง้ั ใจศึกษาเลา่ เรียนหาความรู้ 2. รู้จกั การออกกาลงั กาย เพอ่ื ให้มีสขุ ภาพร่างกายท่ีแขง็ แรง 3. มีความประหยดั รจู้ กั ความพอดี 4. ประพฤติตัวใหเ้ หมาะสม ละเว้นการกระทาทก่ี อ่ ให้เกดิ ความเสื่อมเสีย 5. ทางานท่รี บั มอบหมายให้สาเร็จ 6. มคี วามรบั ผดิ ชอบ ตรงเวลา สามารถพ่ึงพาตนเองได้ ความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม เป็นการชว่ ยเหลอื สังคม ไมท่ าใหผ้ อู้ ืน่ หรอื สังคม เดอื ดร้อนไดร้ ับความเสยี หาย ไดแ้ ก่ 1. มีความรับผิดชอบต่อครอบครัว เช่น เชื่อฟังพ่อแม่ ช่วยเหลืองานบ้าน ไม่ทาให้ พ่อแมเ่ สยี ใจ 2. มีความรับผิดชอบต่อสถานศึกษา ครูอาจารย์ เช่น ตั้งใจเล่าเรียน เช่ือฟัง คาสั่งสอนของครูอาจารย์ ปฏิบัติตามกฎระเบียบวินัยของสถานศึกษา ช่วยรักษาทรัพย์สมบัติ สถานศึกษา 3. มีความรบั ผดิ ชอบต่อบุคคลอื่น เชน่ ให้ความช่วยเหลือ ใหค้ าแนะนา ไม่เอาเปรียบ ผ้อู น่ื เคารพสทิ ธิซ่ึงกนั และกัน 4. มีความรับผิดชอบในฐานะพลเมือง เช่น ปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคม ปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย รกั ษาสมบัติของสว่ นรวม ให้ความรว่ มมอื ต่อสงั คมในฐานะพลเมอื งดี การปฏิบัติตนในฐานะลูกเสอื กศน. เพอื่ การบรกิ าร ตอ้ งตระหนกั ในส่งิ ตอ่ ไปน้ี 1. บริการแก่ตนเองก่อน เป็นการเตรียมตนเองให้พร้อมที่จะให้บริการตนเองก่อน ทั้งในด้านการเงิน สุขภาพ เวลาว่าง สติปัญญา ฯลฯ หากยังไม่มีความพร้อม ก็ไม่อาจให้บริการ แก่ผู้อ่ืนได้ หรือได้ก็ไม่ดีเท่าท่ีควร เพราะตราบใดที่เรายังต้องขอความช่วยเหลือจากผู้อ่ืน หรือ ต้องอยู่ภายใต้การโอบอุ้มค้าชูของผู้อ่ืน ต้องขอให้ผู้อ่ืนช่วยเหลือเรา แสดงว่าเรายังไม่พร้อม ฉะนั้น ลูกเสือ กศน. ตอ้ งเตรียมตวั ให้พร้อมเพอ่ื การบริการ

68 2. บรกิ ารแก่หมู่คณะ เม่ือฝึกบริการตนเองแล้ว ต้องขยายการให้บริการแก่หมู่คณะ ในการหาประสบการณ์ หรือความชานาญ ด้วยการบริการเป็นรายบุคคล บริการแก่ครอบครัว บริการแก่บุคคลใกล้ชิด อันเป็นส่วนรวม ลูกเสือ กศน. ทุกคนควรมีประสบการณ์ภาคปฏิบัติ ในการเปน็ อาสาสมคั รช่วยเหลือหมู่คณะดว้ ยการปฏิบัติตนให้เป็นคนสนุกสนาน ร่าเริง เป็นมิตร กบั คนทกุ คน ซอื่ สตั ยส์ ุจรติ มกี ริยาสภุ าพ และใชว้ าจาสภุ าพไมห่ ยาบโลน 3. บรกิ ารแก่ชุมชน เมอ่ื ฝกึ บริการแก่ตนเอง และบริการแก่หมู่คณะแล้ว สมควร ที่จะไปบริการแก่ชุมชนตามสติปัญญา ประสบการณ์ และความสามารถแนวคิดในการบริการ แก่ชมุ ชน คอื การชาระหนี้แก่ชุมชนดว้ ยการรว่ มมือ เสียสละรว่ มกัน เพ่ือดาเนินการจัดกิจกรรม อันเป็นสาธารณประโยชน์ เช่น การพัฒนาอาคาร สถานท่ี บ้านเมืองในชุมชนน้ัน การสร้าง สาธารณสถาน เช่น ทาความสะอาด การช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ การควบคุมการจราจร การดับเพลิง การจัดงานรื่นเริง งานสังคม เพ่ือประโยชน์ของสังคมน้ัน ๆ ซ่ึงจะทาให้ลูกเสือ กศน. ไดป้ ระสบการณจ์ ากชีวติ จรงิ สามารถปรับตัวเข้ากับสังคมที่อาศัยอยู่ได้ สามารถประกอบอาชีพ ได้โดยปกติสุข เพราะได้รับการฝึกให้รู้จักเสียสละ เพ่ือบริการแก่ชุมชนหรือสังคม โดยไม่ได้ เอารดั เอาเปรยี บหรอื เหน็ แก่ได้ กิจกรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 3 การปฏบิ ัตติ นในฐานะลกู เสือ กศน. เพื่อเป็นจิตอาสาและการบริการ (ให้ผ้เู รียนไปทากิจกรรมทา้ ยเรอื่ งท่ี 3 ท่ีสมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วิชา) เรือ่ งท่ี 4 กจิ กรรมจิตอาสา และการใหบ้ รกิ ารของลกู เสอื กศน. จากอดีตจนถึงปัจจุบันประชาชนคนไทยมีการทางานจิตอาสาอย่างหลากหลาย รูปแบบ โดยไม่หวังผลตอบแทน เน้นแรงบันดาลใจให้คนทุกเพศทุกวัย คิดที่จะทาความดี เพ่ือสังคม ดังนั้น ลูกเสือ กศน. ก็สามารถที่จะคิดกิจกรรมจิตอาสาและการบริการได้เช่นกัน ดงั ตัวอยา่ งตอ่ ไปน้ี 1. จิตอาสารักสะอาด เช่น ทาความสะอาดวัด/สถานศึกษา โดยการกวาดใบไม้แห้ง แยกขยะ ฯลฯ 2. จิตอาสารกั ษ์โลก เช่น ชว่ ยเหลือสุนัขจรจัด เร่ียไรเงินช่วยสัตว์เร่ร่อน ปลูกป่า สรา้ งฝาย ฯลฯ 3. จิตอาสากอ่ สร้าง เช่น ซ่อม/สร้าง/ทาสีห้องเรียน สร้างศูนย์การเรียนรู้ภายใน ชุมชน ฯลฯ

69 4. จติ อาสาเป็นพเ่ี ล้ียง เช่น เลี้ยงอาหารผู้ป่วย เล่านิทานให้เด็กกาพร้า อ่านหนังสือ ใหค้ นตาบอด ฯลฯ 5. จิตอาสาบริการ เช่น ลูกเสือจราจร อาสาพาคนข้ามถนน อาสาบริการน้าด่ืม และอาหาร ฯลฯ กจิ กรรมท้ายเรื่องที่ 4 กจิ กรรมจิตอาสา และการให้บริการของลูกเสอื กศน. (ใหผ้ ู้เรียนไปทากจิ กรรมทา้ ยเร่อื งที่ 4 ที่สมดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ประกอบชดุ วิชา)

70 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 8 การเขยี นโครงการเพือ่ พฒั นาชุมชนและสงั คม สาระสาคญั ลกู เสือ กศน. ได้รับการพฒั นาตนเองใหเ้ ป็นผ้มู ีจติ อาสา มีความเสียสละ บาเพ็ญ ประโยชน์เพ่ือชุมชนและสังคมโดยไม่หวังผลตอบแทน มีความพร้อมในการให้ “บริการ” แก่ผอู้ ืน่ ด้วยความเตม็ ใจ งานบริการที่ลูกเสือ กศน. สามารถนามาเขียนในลักษณะของโครงการ เพ่ือพัฒนา ชุมชนและสังคม เช่น โครงการบริการชุมชน โครงการจิตอาสา โครงการพัฒนาส่ิงแวดล้อม โครงการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ โครงการพัฒนาอาชีพในชุมชน โครงการช่วยเหลือเด็ก ผู้สูงอายุ คนพกิ ารในชุมชน เป็นตน้ การเขียนโครงการเพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม ควรเริ่มต้นด้วยการสารวจสภาพ ชุมชน และนามาคิดวิเคราะห์ แยกแยะอย่างรอบคอบ มีเรื่องใดบ้างที่ลูกเสือ กศน. สามารถ ให้บริการ หรือมีส่วนร่วมในการปรับปรุง หรือพัฒนาให้ดีข้ึนตามขั้นตอน เป็นเหตุเป็นผล มคี วามน่าเช่ือถือ ควรมีการกาหนดองค์ประกอบของการเขียนโครงการท่ีชัดเจน ตั้งแต่ชื่อโครงการ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ เป้าหมาย วิธีการดาเนินงาน ระยะเวลาการดาเนินงานต้ังแต่ เริ่มต้นจนสิ้นสุดโครงการ งบประมาณ สถานท่ีดาเนินการ ผู้รับผิดชอบโครงการ ผลหรือ ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะไดร้ บั และการประเมนิ ผล ลูกเสือ กศน. ท่ีเขียนโครงการเพ่ือพัฒนาชุมชนและสังคมเสร็จเรียบร้อยแล้ว ตอ้ งไปดาเนินงานทุกข้ันตอนท่ไี ดก้ าหนดไว้ในโครงการ และสรปุ ผลการดาเนินงานตามโครงการ เพอื่ นาผลการดาเนนิ งานตามโครงการไปนาเสนอในกจิ กรรมเข้าค่ายพักแรม ตัวชว้ี ดั 1. อธิบายความหมาย ความสาคัญของโครงการ 2. จาแนกลักษณะของโครงการ 3. ระบุองค์ประกอบของโครงการ 4. อธิบายข้ันตอนของการเขียนโครงการ 5. บอกข้ันตอนการดาเนินงานตามโครงการ 6. อภิปรายผลการปฏิบตั ิงานตามโครงการและการเสนอผลการดาเนนิ งาน

71 ขอบข่ายเน้ือหา เรอ่ื งท่ี 1 การเขียนโครงการเพอื่ พัฒนาชมุ ชนและสงั คม 1.1 ความหมายของโครงการ 1.2 ความสาคัญของโครงการ เรอ่ื งที่ 2 ลกั ษณะของโครงการ เร่อื งที่ 3 องคป์ ระกอบของโครงการ เรื่องที่ 4 ขั้นตอนการเขียนโครงการ เรอ่ื งท่ี 5 การดาเนนิ การตามโครงการ เร่ืองที่ 6 การสรปุ รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการเพ่ือเสนอตอ่ ที่ประชุม เวลาท่ีใชใ้ นการศึกษา 12 ชัว่ โมง ส่อื การเรยี นรู้ 1. ชดุ วิชาลูกเสือ กศน. รหัสรายวชิ า สค22021 2. สมุดบันทึกกจิ กรรมการเรียนร้ปู ระกอบชดุ วิชา 3. ส่อื เสริมการเรียนรอู้ ่ืน ๆ

72 เร่ืองท่ี 1 การเขยี นโครงการเพ่อื พัฒนาชมุ ชนและสังคม 1.1 ความหมายของโครงการ โครงการ หมายถึง กระบวนการทางานท่ีประกอบไปด้วยหลาย ๆ กิจกรรม ซึ่งมี การทาโครงการเปน็ ข้นั ตอน ความจาเป็น มีการกาหนดวัตถุประสงค์ มีเป้าหมาย ระยะเวลา สถานท่ี วธิ ีดาเนินการ งบประมาณ ผลทคี่ าดวา่ จะได้รบั รวมทั้งการประเมนิ ผลการดาเนินงานตามโครงการ 1.2 ความสาคัญของโครงการ มดี ังน้ี 1. ช่วยให้การดาเนินงานสอดคล้องกับนโยบาย หรือความต้องการของผู้รับผิดชอบ หรอื หนว่ ยงานท่เี ก่ยี วขอ้ ง 2. ช่วยใหก้ ารดาเนินงานนนั้ มีทิศทางทชี่ ัดเจน และมีประสิทธภิ าพ 3. ชว่ ยช้ีให้เห็นถงึ สภาพปญั หาของชุมชนที่จาเปน็ ตอ้ งให้บริการ 4. ชว่ ยให้การปฏิบตั ิงาน สามารถดาเนนิ งานไดต้ ามแผนงาน 5. ช่วยให้แผนงานมีความชัดเจน โดยคณะกรรมการ หรือบุคคลท่ีเก่ียวข้อง มคี วามเข้าใจและรบั รสู้ ภาพปญั หารว่ มกนั 6. ช่วยให้แผนงานมีทรัพยากรใช้เพียงพอ เหมาะสาหรับการปฏิบัติงานจริง เพราะโครงการมีรายละเอยี ดเพียงพอ 7. ช่วยลดความขัดแย้ง และขจัดความซ้าซ้อนในหน้าท่ีรับผิดชอบของกลุ่มบุคคล หน่วยงาน เพราะโครงการจะมผี รู้ ับผิดชอบเปน็ การเฉพาะ 8. เสริมสรา้ งความเขา้ ใจอนั ดี และรบั ผิดชอบร่วมกัน ตามความรู้ ความสามารถ ของแตล่ ะบคุ คล 9. สร้างความม่ันคงให้กับแผนงาน และผู้รับผิดชอบมีความมั่นใจในการทางาน มากขน้ึ 10. ช่วยใหง้ านดาเนินการไปสู่เป้าหมายได้เรว็ ข้ึน กจิ กรรมทา้ ยเร่อื งที่ 1 การเขยี นโครงการเพ่อื พัฒนาชมุ ชนและสังคม (ให้ผเู้ รยี นไปทากิจกรรมทา้ ยเร่ืองท่ี 1 ทสี่ มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ประกอบชุดวิชา)

73 เรือ่ งที่ 2 ลกั ษณะของโครงการ โครงการ เป็นส่วนประกอบที่สาคัญของแผนพัฒนาทุกระดับ ลักษณะของ โครงการตอ้ งมีจุดมงุ่ หมาย มีเปา้ หมายการปฏิบัติงานทมี่ ีระยะเวลาดาเนินการชัดเจน ระบุความ ต้องการ งบประมาณ หรือผู้มีส่วนเก่ียวข้อง มีการคาดการณ์ผลท่ีจะเกิดข้ึนเมื่อการดาเนินงาน โครงการเสรจ็ ประเภทของโครงการ มดี ังนี้ 1. โครงการทม่ี รี ะยะเวลาเป็นตวั กาหนด ไดแ้ ก่ 1.1 โครงการระยะสน้ั หมายถงึ โครงการท่ีมีระยะเวลาการดาเนินงาน หรอื กาหนดเวลาดาเนนิ งาน ไม่เกิน 2 ปี 1.2 โครงการระยะปานกลาง หมายถงึ โครงการที่มรี ะยะเวลาการ ดาเนนิ งาน หรอื กาหนดเวลาดาเนินงาน ตงั้ แต่ 2 - 5 ปี 1.3 โครงการระยะยาว หมายถงึ โครงการที่มีระยะเวลาการดาเนนิ งาน หรือกาหนดเวลาดาเนินงาน ตงั้ แต่ 5 ปี ข้ึนไป 2. โครงการท่ีมลี กั ษณะงานเป็นตวั กาหนด ได้แก่ 2.1 โครงการเดิม หรือโครงการต่อเน่ือง คือ โครงการทมี่ ลี กั ษณะต่อเนือ่ ง จากปที ีผ่ ่านมา อาจเป็นโครงการที่ไม่สามารถดาเนินงานให้แล้วเสร็จได้ในปีเดียว หรือโครงการ ท่ีต้องมีการดาเนินงานต่อเนื่อง หรือต่อยอด ขยายผลไปสู่กลุ่มเป้าหมายอ่ืน ๆ ได้ เช่น ปีท่ีผ่านมา ได้มีการจัดอบรม “ลูกเสือกับการดูแลเยียวยาช่วยเหลือผู้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด สาหรับ นักศึกษามัธยมศึกษาตอนต้น” ในปีการศึกษา 2559 ซึ่งในปี 2560 ก็อาจมีการดาเนินงาน โครงการในลักษณะเดียวกันแต่เน้นการขยายผลจานวนกลุ่มเป้าหมายให้เพ่ิมมากข้ึน เมื่อเทียบกับ ผลการดาเนนิ งานในปีกอ่ นหน้า โดยใชว้ ธิ กี ารดาเนินงานโครงการตามรูปแบบเดิม 2.2 โครงการใหม่ คือ โครงการทจี่ ัดทาข้นึ ใหม่ กจิ กรรมทา้ ยเร่ืองที่ 2 ลักษณะของโครงการ (ใหผ้ เู้ รยี นไปทากจิ กรรมทา้ ยเร่ืองที่ 2 ท่สี มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ประกอบชุดวชิ า)

74 เรอ่ื งท่ี 3 องค์ประกอบของโครงการ การเขยี นโครงการที่เปน็ ไปตามลาดบั ขัน้ ตอน เปน็ เหตุ เป็นผล และนา่ เชื่อถือ ควรมีการกาหนดองคป์ ระกอบของการเขยี นโครงการ ไว้ดังนี้ 1. ชือ่ โครงการ : ช่อื โครงการอะไร 2. หลกั การและเหตผุ ล : เหตผุ ลทาไมต้องทาโครงการ 3. วตั ถุประสงค์ : ทาโครงการนที้ าไปเพอ่ื อะไร 4. เปา้ หมาย : ปรมิ าณเท่าใด ทากับใคร จานวน เทา่ ใด 6. วิทยากร (ถ้ามี) : ระบุว่าใครเปน็ ผู้ให้ความรู้ (ใช้เฉพาะโครงการอบรม) 5. วธิ ีดาเนินการ : โครงการนท้ี าอย่างไร ดาเนินการ อย่างไร 6. ระยะเวลาดาเนนิ การ : จะทาเม่อื ใดและนานแค่ไหน 7. สถานที่ดาเนนิ การ : จะทาทไ่ี หน 8. งบประมาณและทรพั ยากรอื่น ๆ : ระบวุ า่ ใช้ทรัพยากรอะไร มคี ่า อะไรบา้ ง 9. ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ : ใครเปน็ คนทาโครงการ 10. หน่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง : ระบวุ ่าประสานกบั หน่วยงานใดบ้าง 11. การประเมนิ ผล : จะใช้วธิ กี ารใดที่ทาให้รู้ว่า โครงการ ประสบความสาเร็จ 12. ผลทค่ี าดว่าจะได้รบั : จะเกดิ อะไรขึ้นเม่อื สิน้ สดุ โครงการ 13. ผู้ประสานงานโครงการ : ระบวุ ่าใครเป็นผู้ประสานงานโครงการ กิจกรรมทา้ ยเร่ืองที่ 3 องค์ประกอบของโครงการ (ให้ผเู้ รียนไปทากิจกรรมทา้ ยเรอื่ งท่ี 3 ท่สี มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดวชิ า)

75 เรอื่ งท่ี 4 ขัน้ ตอนการเขียนโครงการ ขน้ั ตอนการเขยี นโครงการ มีดังน้ี 1. สารวจชุมชนและสังคม เป็นการศึกษาข้อมูลเก่ียวกับลักษณะสภาพปัญหา ต่าง ๆ ที่มีอยู่ในชุมชน เพ่ือนาข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์และกาหนดแนวทางการพัฒนาการ แก้ปัญหา โดยการศึกษา สภาพ ปัญหา และสาเหตุของปัญหา เพ่ือหาวิธีการคิดค้น วิธีการพัฒนา และสาเหตุของปัญหา โดยใช้วิธีการสารวจข้อมูลท่ีหลากหลาย เช่น การสังเกต การศึกษาภูมิหลัง ของชมุ ชน การสัมภาษณ์ การสอบถาม การทาเวทีประชาคม ฯลฯ 2. ตรวจสอบข้อมูล หลังจากท่ีมีการสารวจข้อมูลชุมชนและนาข้อมูลมาสรุป เรียบร้อยแล้ว เพื่อความถูกต้อง ชัดเจนของข้อมูลดังกล่าว ควรจัดให้มีเวทีเพ่ือการตรวจสอบ ข้อมลู โดยกลุ่มเป้าหมายทใ่ี หข้ อ้ มลู ท่ีสารวจมาได้มีความถกู ต้องสมบรู ณย์ ่ิงขนึ้ 3. นาข้อมลู ที่ได้หลังจากตรวจสอบเรียบรอ้ ยแล้ว มาวเิ คราะห์ พร้อมจัดลาดับ ความสาคัญ เพือ่ จาแนกความสามรถในการจัดทาโครงการ 4. การกาหนดแนวทางการดาเนินงานเพือ่ พัฒนาและแกป้ ญั หาชุมชนและสังคม เมื่อผ้รู บั ผิดชอบโครงการ ได้สารวจชุมชนและสังคม ดาเนนิ การวเิ คราะหส์ ภาพปญั หาของชุมชน และสังคม และผลสรุปการวิเคราะห์ของสภาพปัญหาชุมชนและสังคมแล้ว นามากาหนดแนวทาง การดาเนินงานเพ่ือแก้ไขปัญหาชุมชนและสังคมว่าชุมชนและสังคมน้ัน ๆ มีสภาพปัญหาเป็น อย่างไร มีความต้องการอย่างไร นามากาหนดแนวทางแก้ไขตามสภาพปัญหานั้น หรือเขียน แนวทางเพื่อสนองความต้องการของชุมชนและสังคมน้ัน ๆ ท้ังน้ี ควรเขียนในลักษณะของโครงการ เพ่อื ดาเนินการ ในการ กาหน ดแนวท างกา รดาเ นินงาน เพ่ือแ ก้ไขปั ญหา ชุม ช นแล ะสังค ม ควรขอความร่วมมือจากบุคคล หน่วยงานที่มีส่วนเก่ียวข้องกับเร่ืองที่จะดาเนินการแก้ไขปัญหา หรอื พฒั นา ได้เขา้ มารว่ มในการกาหนดแนวทางการดาเนนิ งาน หรือร่วมกนั เขยี นโครงการดว้ ย 5. การเขียนและเสนอขออนุมัติโครงการ การเขียนโครงการ ผู้เขียนโครงการ ต้องนาข้อมูลจากการศึกษาสภาพปัญหาของชุมชนและสังคม และข้อมูลที่ได้จากการกาหนด แนวทางการดาเนนิ งานมาใช้เปน็ ข้อมูลประกอบในการเขียนโครงการ ซ่ึงการเขียนโครงการควร เขียนใหเ้ ปน็ ไปตามรปู แบบขององค์ประกอบการเขยี นโครงการ (ดังตวั อยา่ ง)

76 ตวั อย่างโครงการ 1. ชอ่ื โครงการโครงการเพลนิ คิด จิตอาสา ปลกู ป่าชายเลน 2. หลักการและเหตผุ ล ป่าชายเลน เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสาคัญและมีคุณประโยชน์ อย่างใหญ่หลวงต่อระบบนิเวศทางทะเลและต่อชีวิตความเป็นอยู่ของเรา เพราะธรรมชาติเป็น แหล่งสาคัญสาหรับการดารงชีวิต ป่าชายเลนเป็นพืชท่ีขึ้นอยู่บริเวณชายฝั่งทะเล ปากแม่น้า หรอื ปากอา่ ว ซึ่งเปน็ บรเิ วณท่ีมนี ้าทะเลทว่ มถงึ ในชว่ งท่ีมนี ้าทะเลขึ้นสูงสุดประกอบไปด้วยพันธ์ุไม้ สกุลไม้โกงกาง เช่น โกงกาง แสม เป็นพืชท่ีมีรากที่หยั่งลึกแข็งแรงและแผ่บริเวณกว้างขวาง ลักษณะเช่นน้ี จะช่วยป้องกันลมพายุทางทะเล ไม่ให้พัดทาลายที่อยู่อาศัยและพื้นท่ีทากินของ ประชาชนแถบชายทะเลและเป็นท่ีอนุบาลสัตว์น้าทะเล เราจึงเรียนรู้ท่ีจะเข้าใจธรรมชาติอนุรักษ์ และใชท้ รัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชนม์ ากทสี่ ุด ลูกเสือ กศน. อาเภอเมืองจันทบุรี มีความตระหนักว่า ป่าชายเลนมีคุณประโยชน์ มากมาย ซ่ึงนับวันจะลดปริมาณลงเร่ือย ๆ จนทาให้เกิดผลกระทบต่อสัตว์น้าซ่ึงใช้ป่าชายเลน เป็นที่อยู่อาศัย และเพาะพันธ์ุสัตว์อ่อน จึงจัดทาโครงการเพลินคิด จิตอาสา ปลูกป่าชายเลน เพ่ือสร้างจิตสานึกการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและความสามัคคีให้เกิดขึ้นแก่ลูกเสือ กศน. อาเภอเมืองจนั ทบุรี 3. วัตถปุ ระสงค์ 3.1 เพอื่ สร้างจติ สานกึ การอนรุ กั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ 3.2 เพ่อื สรา้ งความสามัคคใี หเ้ กิดข้ึน 3.3 เปน็ การอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมประเภทปา่ ชายเลน 4. เปา้ หมาย 4.1 เชงิ ปริมาณ ลูกเสือ กศน. อาเภอเมืองจนั ทบรุ ี จานวน 30 - 60 คน 4.2 เชงิ คุณภาพ ลูกเสือ กศน. อาเภอเมืองจันทบุรี มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและวิธีการ อนุรักษ์ป่าชายเลนและนามาปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง มีจิตสานึกในการช่วยกันรักษาป่าชายเลน และชว่ ยฟนื้ ฟสู ภาพป่าชายเลนให้กลบั มามคี วามอดุ มสมบูรณ์

77 5. วธิ ดี าเนินการ 5.1 ขออนมุ ตั ิโครงการฯ 5.2 ติดตอ่ ประสานงานศูนยศ์ ึกษาธรรมชาติปา่ ชายเลนอา่ วคุ้งกระเบน อาเภอท่าใหม่ จังหวัดจนั ทบรุ ี และสถานพี ัฒนาป่าชายเลนท่ี 2 ลมุ่ นา้ เวฬุ อาเภอขลงุ จังหวัดจันทบุรี 5.3 รับฟังบรรยายเรอ่ื งการอนุรกั ษป์ ่าชายเลนและการปลูกป่าชายเลนอย่างถูกวิธี 5.4 ลูกเสือ กศน. อาเภอเมืองจันทบุรี ปลกู ปา่ ชายเลน คนละ 10 ตน้ 6. ระยะเวลาศึกษาโครงการ วนั เสาร์ ท่ี 28 กรกฎาคม 2561 7. สถานท่ีดาเนินการ บริเวณปา่ ชายเลน ตาบลหนองบัว อาเภอเมอื งจันทบรุ ี จงั หวดั จันทบุรี 8. งบประมาณ ใชเ้ งินบรจิ าค จานวน 3,000 บาท 9. ผู้รบั ผดิ ชอบ ลูกเสอื กศน. อาเภอเมอื งจนั ทบรุ ี 10. หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วข้อง 10.1 ศูนย์ศึกษาธรรมชาตปิ ่าชายเลนอา่ วคุ้งกระเบน อาเภอทา่ ใหม่ จงั หวัดจันทบุรี 10.2 สถานีพัฒนาป่าชายเลนที่ 2 ลุม่ น้าเวฬุ อาเภอขลงุ จังหวัดจันทบุรี 11. การประเมินผล 11.1 การสงั เกต 11.2 การสมั ภาษณ์ 12. ผลทค่ี าดวา่ จะได้รับ 12.1 ลูกเสือ กศน. อาเภอเมืองจันทบุรี มีความสามัคคีในหมู่คณะและเห็น ความสาคญั ของป่าชายเลนมากขน้ึ 12.2 ได้รับความช่วยเหลือจากชุมชนเป็นอย่างดี ทรัพยากรจะมีความอุดมสมบูรณ์ 12.3 ไดค้ วามรู้และวิธีปลูกป่าชายเลนที่ถูกต้องและป่าชายเลนมีความอุดมสมบูรณ์ มากข้ึน

78 13. ผปู้ ระสานงานโครงการ นางนันทิยา หากุหลาบ หัวหน้านายหมู่ลกู เสอื กศน. อาเภอเมอื งจันทบุรี โทร 089-7443982 ลงชื่อ .......................................... ผู้เสนอโครงการ (นางนนั ทิยา หากุหลาบ) หวั หนา้ นายหมู่ลูกเสือ กศน. อาเภอเมืองจนั ทบุรี ลงชอื่ ........................................ ท่ปี รกึ ษาโครงการ (นายศรัณยพงศ์ ขัติยะนนท)์ ครู กศน. ตาบล ผู้กากบั กองลกู เสอื ลงชอื่ .......................................... ผเู้ หน็ ชอบโครงการ (วา่ ทร่ี ้อยโท เตชวัตร แก้วเกตุ) ครชู านาญการพิเศษ ผู้กากบั กลมุ่ ลูกเสอื ลงช่ือ .......................................... ผู้อนมุ ตั ิโครงการ (นางอบุ ลรตั น์ ชุณหพันธ)์ ผอู้ านวยการศนู ย์ กศน. อาเภอเมอื งจนั ทบรุ ี ผอู้ านวยการลูกเสือ กศน. อาเภอเมอื งจันทบรุ ี กิจกรรมทา้ ยเร่อื งที่ 4 ขนั้ ตอนการเขียนโครงการ (ให้ผู้เรยี นไปทากิจกรรมท้ายเรือ่ งท่ี 4 ทสี่ มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ประกอบชุดวิชา)

79 เรอ่ื งท่ี 5 การดาเนินการตามโครงการ การดาเนินการตามโครงการ เป็นการดาเนินงานหลังจากท่ีโครงการได้รับ ความเห็นชอบ หรืออนุมัติให้ดาเนินการตามโครงการท่ีเขียนเสนอไว้ โดยดาเนินงานให้เป็นไป ตามแนวทางการดาเนินงาน หรือ วิธีดาเนินการ หรือ กิจกรรมท่ีเขียนไว้ในโครงการ ซึ่งควร ดาเนินงานให้เป็นไปตามแผนงาน ข้ันตอนที่เขียนไว้ เป็นไปตามระยะเวลาท่ีกาหนด โดยคานึงถึง ผลท่ีควรเกิดขึ้นตามวัตถุประสงค์ของโครงการที่กาหนดไว้ ทั้งนี้ การดาเนินการตามโครงการ ควรมีขัน้ ตอน ดงั นี้ 1. ดาเนินการทบทวน หรือทาความเข้าใจรายละเอียดที่เขียนไว้ในโครงการ ที่ได้รับการอนุมัติให้ดาเนินการ โดยการมีส่วนร่วมของผู้รับผิดชอบโครงการ หรือผู้มีส่วน เกย่ี วขอ้ ง เพอื่ การสรา้ งความเขา้ ใจก่อนการดาเนนิ การ 2. ให้ผู้รับผดิ ชอบโครงการ ดาเนินการตามวิธีดาเนินการ หรือกิจกรรมที่ปรากฏ อยูใ่ นโครงการทไ่ี ด้รบั อนุมัติ โดยคานงึ ถงึ ผลที่คาดว่าจะได้รับ ซ่ึงควรสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ของโครงการ 3. เม่ือดาเนินการตามโครงการเสร็จส้ินแล้ว ควรจัดให้มีการประเมินผล การดาเนินการโครงการตามรูปแบบ หรือแนวทางท่กี าหนดไว้ในโครงการ 4. เม่ือประเมินผลการดาเนินการ เสร็จเรียนร้อยแล้ว ให้ผู้รับผิดชอบโครงการ จดั ทารายงานผลการดาเนนิ การโครงการเสนอตอ่ ผู้ทเ่ี กยี่ วข้อง หรอื ผู้อนมุ ตั โิ ครงการต่อไป กจิ กรรมทา้ ยเร่ืองท่ี 5 การดาเนนิ การตามโครงการ (ใหผ้ ูเ้ รยี นไปทากิจกรรมทา้ ยเร่อื งที่ 5 ที่สมดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดวชิ า) เร่อื งที่ 6 การสรุปรายงานผลการดาเนินงานโครงการเพ่อื เสนอตอ่ ที่ประชมุ หลังจากทผี่ เู้ รยี นไดป้ ฏบิ ัตติ ามโครงการเรียบรอ้ ยแล้ว จะต้องสรุปผลการดาเนินงาน ว่าเป็นอยา่ งไร ดังนั้น การสรปุ ผลการดาเนินงานควรประกอบดว้ ยเน้ือหาทสี่ าคัญ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ผลการดาเนินงานท่ีสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ หรือผลที่เกิดข้ึนตาม“ผลที่ คาดว่าจะได้รบั ” ท่ีเขยี นไว้ในโครงการ 2. ปัญหา และอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างการดาเนินงานตามโครงการ โดยให้ระบุ ปญั หาและอปุ สรรคทเ่ี กิดขึน้ พรอ้ มแนวทางแก้ไข เพอ่ื ปอ้ งกนั ไมใ่ ห้ปัญหา หรืออุปสรรคเหล่านั้น เกิดขึน้ อีก

80 3. ข้อเสนอแนะ เป็นการเขียนข้อเสนอแนะแนวทางเพอ่ื จะทาให้การปฏบิ ัติงาน โครงการในครง้ั ต่อไป ประสบผลสาเร็จได้ง่ายข้นึ ทั้งนี้ การสรุปรายงานผลการดาเนินงานโครงการ เพื่อนาเสนอผลต่อที่ประชุม สามารถจดั ทาได้ตามองคป์ ระกอบ ดงั น้ี 1. ส่วนนา เปน็ สว่ นแรกของรายงาน ซ่ึงควรประกอบด้วย 1. ปก ควรมีทง้ั ปกนอก และปกใน ซ่งึ มเี น้ือหาซ้ากนั 2. คานา หลักการเขียนคานาทด่ี จี ะตอ้ งทาให้ผู้อ่านเกิดความสนใจ ต้องการท่ีจะ อา่ นเนอื้ หาสว่ นตา่ ง ๆ ท่ีปรากฏอยใู่ นรายงาน 3. สารบัญ หมายถึง การระบุหัวข้อสาคัญในเล่มรายงาน โดยต้องเขียนเรียงลาดับ ตามเนอ้ื หาของรายงาน พรอ้ มระบุเลขหนา้ 2. ส่วนเนือ้ หา ประกอบดว้ ยสว่ นตา่ ง ๆ ดังนี้ 1. หลกั การและเหตุผลของโครงการ หรือความเป็นมา และความสาคญั ของโครงการ 2. วัตถุประสงค์ 3. เปา้ หมายของโครงการ 4. วธิ ีดาเนนิ การ หรอื กจิ กรรมท่ีได้ดาเนนิ งานตามโครงการ เป็นการเขียนถึงข้ันตอน การดาเนินงานโครงการแต่ละขัน้ ตอนตามที่ได้ปฏบิ ตั จิ รงิ วา่ มีการดาเนนิ งานอย่างไร 5. ผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินงานโครงการ เป็นการเขียนผลการดาเนินงาน ทเ่ี กิดขนึ้ จริง ซึง่ เปน็ ผลมาจากการดาเนนิ งานโครงการ 6. ข้อเสนอแนะจากการดาเนินงานโครงการ (เป็นการเสนอความคิดเห็นที่เป็น ประโยชนต์ อ่ ผูอ้ ่าน หรือต่อการดาเนนิ งานโครงการในคร้งั ถดั ไป) 7. ภาคผนวก (ถ้ามี) เช่น รูปภาพจากการดาเนินงานโครงการ แบบสอบถาม หรือเอกสารทเี่ กดิ ขึ้นจากการดาเนนิ งานโครงการ เป็นตน้ ทั้งนี้ เม่ือจัดทารูปเล่มรายงานผลการดาเนินงานโครงการเสร็จส้ินแล้ว ให้นา รปู เล่มรายงานสง่ /เสนอต่อผ้ทู อ่ี นุมตั โิ ครงการ หรือผู้ที่เกี่ยวข้อง เพ่ือรับทราบผลการดาเนินงาน โครงการต่อไป นอกจากนี้ การเสนอผลการดาเนินงานโครงการ บางหน่วยงาน หรือบางโครงการ ผู้อนุมัติโครงการ อาจมีความประสงค์ให้ผู้รับผิดชอบโครงการนาเสนอโครงการในลักษณะของ การพูด สื่อสาร ให้ผู้ท่ีเก่ียวข้องได้รับทราบ ผู้รับผิดชอบโครงการหรือผู้นาเสนอ จึงควรมีการ เตรียมความพร้อมและปฏบิ ตั ิ ดังน้ี

81 1. ผู้นาเสนอควรมีการสารวจตนเองเพ่ือเตรียมความพร้อมให้กับตนเอง ทั้งใน เรื่องของบุคลิกภาพ การแต่งกายที่เหมาะสม และการทาความเข้าใจกับเนื้อหาท่ีจะนาเสนอ เป็นอย่างดี หากมีผู้นาเสนอมากกว่า 1 คน ควรมีการเตรียมการโดยการแบ่งเนื้อหารับผิดชอบ ในการนาเสนอ เพื่อใหก้ ารนาเสนอเกดิ ความต่อเนือ่ ง ราบร่ืน 2. กล่าวทักทาย/สวัสดีผู้ฟัง โดยเริ่มกล่าวทักทายผู้อาวุโสที่สุด แล้วเรียงลาดับ รองลงมา จากนั้นแนะนาตนเอง แนะนาสมาชกิ ในกลมุ่ และแนะนาชือ่ โครงการ 3. พูดดว้ ยเสียงทีด่ งั อยา่ งเหมาะสม ไม่เร็ว และไม่ช้าเกนิ ไป 4. หลีกเล่ียงการอ่าน แต่ควรจดเฉพาะหัวข้อสาคัญ ๆ เพ่ือใช้เตือนความจาใน ขณะท่ีพูดรายงาน โดยผู้นาเสนอควรจัดความคิดอย่างเป็นระบบ และนาเสนออย่างตรงไปตรงมา ดว้ ยภาษาท่ีชัดเจนและเขา้ ใจง่ายเปน็ ธรรมชาติ 5. ผู้นาเสนอควรรักษาเวลาของการนาเสนอ โดยไม่พูดวกไปวนมาหรือพูดออก นอกเรือ่ งจนเกนิ เวลา 6. รู้จักการใชท้ ่าทางประกอบการพดู พอสมควร 7. ควรมีส่ือประกอบการนาเสนอ เพื่อให้การนาเสนอมีความน่าสนใจ น่าเช่ือถือ และเพ่ือความสมบูรณ์ในการนาเสนอผลการดาเนินงานโครงการ และควรเปิดโอกาสให้ผู้ฟัง ไดซ้ ักถามเพิม่ เตมิ เพือ่ ความเข้าใจในกรณที ผี่ ู้ฟังมขี อ้ สงสยั กิจกรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 6 การสรุปรายงานผลการดาเนินงานโครงการเพื่อเสนอต่อท่ีประชมุ (ใหผ้ ้เู รียนไปทากิจกรรมท้ายเร่ืองท่ี 6 ท่ีสมดุ บันทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วิชา)

82 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 9 ทกั ษะลูกเสอื สาระสาคญั ทักษะลูกเสือ เป็นทักษะพ้ืนฐานท่ีลูกเสือ กศน. ควรรู้ มีความเข้าใจและ สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน และพัฒนาให้เป็นทักษะในการเอาชีวิตรอด หรือช่วยชีวิต ผู้อื่นได้ ซึ่งเป็นการเตรียมความพร้อมสาหรับการทาหน้าท่ี “บริการ” หรือบาเพ็ญประโยชน์ ตอ่ ผอู้ น่ื รวมทัง้ เป็นการฝกึ ฝนตนเองให้มวี นิ ัยและความเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อย ลูกเสือ กศน. ควรมีทักษะพื้นฐานเรื่องแผนที่ – เข็มทิศ และเง่ือนเชือก ท้ังน้ี เพราะวิชาแผนท่ีช่วยให้เข้าใจข้อมูลพื้นฐานของพิกัด ทิศทาง ตาแหน่งที่ตั้ง ตลอดจนลักษณะ ภูมิประเทศเบื้องต้นของสถานที่แต่ละแห่ง ช่วยให้สามารถวางแผนการเดินทางได้อย่าง เหมาะสม และหากมีการใช้เข็มทิศ ซ่ึงเป็นเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ให้ข้อมูลด้านทิศทาง ประกอบแผนท่ดี ว้ ย ย่อมทาให้การเดินทางมปี ระสทิ ธภิ าพ สาหรับเงื่อนเชือก เป็นเรื่องสาคัญที่ลูกเสือทั่วโลกจะต้องรู้ เข้าใจ และนาไปใช้ ในชีวิตประจาวัน โดยเฉพาะอย่างย่ิงต้องนาไปใช้ในการร่วมกิจกรรมของลูกเสือทุกกิจกรรม ให้เกิดความปลอดภัยในการทากิจกรรมการเรียนรู้ ฐานผจญภัย ฐานบุกเบิก หรือผูกมัดให้เป็น เคร่ืองใช้ตา่ ง ๆ สาหรับการอยู่ค่ายพกั แรม ตัวช้ีวดั 1. อธิบายความหมายและความสาคัญของแผนท่ี – เข็มทศิ 2. อธิบายส่วนประกอบของเขม็ ทิศ 3. อธบิ ายวิธกี ารใช้ Google Map 4. อธิบายความหมายและความสาคัญของเงอ่ื นเชือกและการผูกแนน่ 5. ผกู เง่อื นเชอื กและบอกชื่อเงอื่ นพรอ้ มประโยชน์ของเง่ือนอย่างนอ้ ย 5 เง่อื น 6. สาธติ วิธีการผูกเงื่อนเชือก 1 วิธี

83 ขอบข่ายเนอื้ หา เรอ่ื งท่ี 1 แผนที่ – เข็มทศิ 1.1 ความหมาย และความสาคญั ของแผนท่ี 1.2 ความหมาย และความสาคญั ของเขม็ ทศิ เรื่องที่ 2 วธิ กี ารใชแ้ ผนที่ – เข็มทศิ 2.1 วิธกี ารใชแ้ ผนที่ 2.2 วิธีการใชเ้ ข็มทศิ เรื่องที่ 3 การใช้ Google Map เร่ืองที่ 4 เงือ่ นเชือกและการผกู แน่น 4.1 ความหมายของเง่อื นเชือกและการผกู แน่น 4.2 ความสาคัญของเงือ่ นเชอื กและการผกู แน่น 4.3 การผกู เงื่อนและการผูกแนน่ เวลาทีใ่ ชใ้ นการศึกษา 6 ช่วั โมง ส่ือการเรยี นรู้ 1. ชดุ วชิ าลูกเสอื กศน. รหัสรายวิชา สค22021 2. สมดุ บนั ทึกกจิ กรรมการเรยี นรู้ประกอบชดุ วชิ า 3. สอ่ื เสริมการเรยี นรอู้ ื่น ๆ

84 เร่ืองท่ี 1 แผนที่ - เขม็ ทศิ 1.1 ความหมาย และความสาคญั ของแผนท่ี แผนที่ คือ สิ่งท่ีแสดงรายละเอียดของภูมิประเทศบนพื้นผิวโลกท้ังท่ีมีอยู่ตาม ธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างข้ึน โดยจาลองไว้บนวัตถุพ้ืนราบด้วยมาตราส่วนใดมาตราส่วนหนึ่ง ซึ่งรายละเอียดเหล่านี้อาจแสดงด้วยเส้น สี และสัญลักษณ์ต่าง ๆ เช่น สีท่ีใช้ในแผนท่ีทาง ภูมิศาสตร์ ได้แก่ สีน้าเงินแก่ แสดงถงึ ทะเล มหาสมทุ รท่ีลกึ มาก สฟี า้ ออ่ น แสดงถงึ เขตนา้ ต้ืน หรอื ไหลท่ วีป สเี ขยี ว แสดงถงึ ที่ราบระดบั ต่า สเี หลอื ง แสดงถึง ทร่ี าบระดับสงู สแี สด แสดงถงึ ภูเขาทส่ี ูงปานกลาง สีแดง แสดงถึง ภูเขาที่สงู มาก สนี ้าตาล แสดงถึง ยอดเขาทส่ี งู มาก ๆ สีขาว แสดงถงึ ยอดเขาทส่ี ูงจนมีหมิ ะปกคลุม สที ี่ใช้ในแผนท่ีท่ัวไป ได้แก่ สดี า ใชแ้ ทน รายละเอียดทีเ่ กิดจากแรงงานมนษุ ย์ ยกเวน้ ถนน สแี ดง ใชแ้ ทน รายละเอียดที่เป็นถนน สีนา้ เงนิ ใช้แทน รายละเอยี ดทเ่ี ป็นนา้ หรอื ทางน้า เชน่ ทะเล แมน่ า้ สเี ขยี ว ใชแ้ ทน รายละเอียดที่เปน็ ปา่ ไม้ และบริเวณทที่ าการ เพาะปลกู สนี า้ ตาล ใช้แทน ลักษณะทรวดทรงความสูง ความสาคัญของแผนที่ 1. ใชเ้ ปน็ เครือ่ งมือประกอบกจิ กรรมการเดินทางไกลของลูกเสอื โดยแผนที่จะให้ ขอ้ มูลเบื้องตน้ ของพกิ ดั ทศิ ทางและตาแหนง่ ของสถานท่ีในการเดนิ ทางในเบอื้ งตน้ ทชี่ ัดเจนขึ้น 2. แผนทีจ่ ะช่วยใหเ้ ขา้ ใจถงึ ขอ้ มูลพน้ื ฐานของสภาพลักษณะภูมิประเทศเบื้องต้น ของสถานท่ีในแต่ละแห่ง ช่วยให้สามารถวางแผนในการเดนิ ทางได้อย่างเหมาะสม

85 3. ความเข้าใจในชนดิ ของแผนท่ี จะชว่ ยใหร้ ู้จักทจ่ี ะเลือกใช้ประโยชน์จากแผนที่ ในแต่ละชนิดไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม ชนดิ ของแผนท่ี แผนทโ่ี ดยทัว่ ไป แบง่ ออกเป็น 3 ชนิด 1. แผนท่ีแบนราบ แสดงพ้ืนผิวโลก ความสูงต่า ใช้แสดงตาแหน่ง ระยะทาง และเส้นทาง 2. แผนที่ภูมิประเทศ แสดงพื้นผิวโลกในทางราบ ไม่แสดงความสูงต่า ละเอียด กวา่ และใช้ประโยชนไ์ ด้มากกว่าแผนท่ีแบนราบ 3. แผนที่ภาพถ่าย ทาขึ้นจากภาพถ่ายทางอากาศ มีความละเอียดและความ ถูกต้องมากกว่าแผนที่ชนิดอ่ืนมาก สามารถมองเห็นสิ่งต่าง ๆ ตามธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย์ สรา้ งขึ้นอย่างชดั เจน นอกจากนยี้ ังแบ่งชนดิ ของแผนทตี่ ามลักษณะการใช้งาน ตัวอย่าง เชน่ - แผนทีท่ ่ัวไป เช่น แผนท่โี ลก แผนท่ปี ระเทศตา่ ง ๆ - แผนที่ทรวดทรงหรอื แผนทีน่ นู แสดงความสูงตา่ ของภมู ิประเทศ - แผนท่ที หาร เปน็ แผนที่ยุทธศาสตร์ ยทุ ธวิธี - แผนท่เี ดนิ อากาศ ใชส้ าหรับการบิน เพอ่ื บอกตาแหน่ง และทศิ ทางของเครื่องบิน - แผนท่ีเดนิ เรอื ใชใ้ นการเดินเรอื แสดงสันดอน ความลกึ แนวปะการงั - แผนที่ประวัตศิ าสตร์ แสดงอาณาเขตยุคและสมยั ตา่ ง ๆ - แผนทกี่ ารขนส่ง แสดงการคมนาคมทางบก ทางเรือ ทางอากาศ ฯลฯ สญั ลกั ษณ์ในแผนท่ี สัญลักษณ์ (SYMBOL) เป็นเคร่ืองหมายที่ใช้แทนรายละเอียดต่าง ๆ ท่ีปรากฏ อยู่บนพ้ืนผิวโลก ฉะนั้น เมื่ออ่านแผนที่จึงควรตรวจดูเคร่ืองหมายแผนท่ีก่อนเสมอ ทั้งนี้เพ่ือจะ ปอ้ งกนั มใิ หต้ ีความหมายสญั ลักษณต์ า่ ง ๆ ผิดพลาดได้ ในแผนที่ชุด L 7017 จะแสดงสัญลักษณ์ 3 ประเภท คอื

86 1. สญั ลกั ษณ์เป็นจุด (POINT SYMBOL) ก. สัญลกั ษณร์ ูปทรงเรขาคณิต เชน่ วัด โรงเรียน ศาลาทพ่ี ัก ที่ต้งั จงั หวดั ฯลฯ ทีต่ ้งั จงั หวดั อาเภอ วัดมีโบสถ์ ไม่มีโบสถ์ สานัก ; ศาลาท่ีพัก เจดีย์พระปรางคห์ รือสถูป โบสถค์ รสิ ต์ศาสนา ศาลเจ้าหรอื ศาลเทพารักษ์; โบสถ์มุสลมิ โรงเรียน บ่อน้า ทิศเหนือ ทิศตะวันออก ทิศใต้ ทศิ ตะวันตก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook