พมิ พค รงั้ ที่ 2 ปท พี่ มิ พ พฤษภาคม 2555 จาํ นวน 13,000 เลม จดั พมิ พแ ละเผยแพรโ ดย กองสขุ ศกึ ษา กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสขุ โทร. 0 2590 1618 โทรสาร 0 2590 1672 พมิ พท ี่ บรษิ ทั สามเจรญิ พาณชิ ย์ (กรงุ เทพ) จำกดั
คํานํา วัยเด็ก และเยาวชนที่แข็งแรงในวันนี้ คือ ผูใหญที่สุขภาพดี ในวันหนา เด็ก และเยาวชน จึงควรไดรับการสงเสริมใหเจริญเติบโต อยางสมวัย มีพลานามัยสมบูรณแข็งแรงในทุกๆ ดานท้ังดานรางกาย จิตใจ อารมณ เพื่อใหสามารถดํารงชีวิตในสังคมไดอยางมีความสุข เปนผูใหญที่มีสุขภาพแข็งแรงในวันหนา และเปนกําลังสําคัญอยางยิ่ง ตอการพัฒนาประเทศ การที่จะทาํ ใหเ ด็กเยาวชนมีสุขภาพดี ควรสง เสรมิ สนับสนุนใหเด็ก เยาวชน เห็นถึงความจําเปน และมีความรู ความเขาใจ ในการที่จะตองมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกตอง เหมาะสม ในเรื่องของ การกินอาหารใหถูกตอง กินอาหารใหครบ 5 หมู กินผัก ผลไมสด รสไมหวานจัด วันละอยางนอยคร่ึงกิโลกรัม และลดอาหารไขมันสูง ควบคูกับการออกกําลังกายสม่ําเสมอสัปดาหละอยางนอย 3-5 วัน วนั ละอยา งนอ ย 30 นาที และทาํ จติ ใจใหแ จม ใส เบกิ บาน นอนหลบั พกั ผอ น ใหเพียงพอ ซึ่งการปฏิบัติตัวที่ถูกตอง เหมาะสมในการดูแลสุขภาพ ดานรางกายและจติ ใจ ดงั กลา วขา งตน เปนการปองกัน และลดความเสีย่ ง ตอการเกิดโรค เชน โรคอวน โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคมะเรง็ ซงึ่ เปน โรคทสี่ ามารถปอ งกนั ไดด ว ยตนเอง โดยการปรบั เปลยี่ น พฤติกรรมสุขภาพใหถูกตอง เหมาะสม เพื่อทําใหรางกาย และจิตใจ สมบูรณแข็งแรง มีภูมิตานทานโรค ไมเจ็บปวย และลดภาระคาใชจาย ในการดูแลรักษาพยาบาลผูปวยดวยโรคที่สามารถปองกันได ท้ังใน ระดับครัวเรือน และระดบั ประเทศ 1
คูมือสุขภาพ สําหรับเด็กและเยาวชน เลมนี้ กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ไดจัดทําขึ้นสนับสนุนใหแกหนวยงาน กระทรวงสาธารณสุข เพื่อนําไปเผยแพรแกกลุมเปาหมายเด็ก เยาวชน ใหมีความรู ความเขาใจ และปฏิบัติตัวไดอยางถูกตอง ในการดูแล ตนเองใหมีสุขภาพแข็งแรงไมเจ็บปวย ดวยโรคที่สามารถปองกันได ลดความเสี่ยงตอการเกิดโรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และหลอดเลือด ทั้งนี้ หากมีการปลูกฝงความรูที่ถูกตอง และไดรับ การแนะนําการดูแลจากพอแม ผูปกครอง หรือครู อยางสมํ่าเสมอ จะทําใหเด็กมีสุขภาพดี นําไปสูการมีคุณภาพชีวิตที่ดีในอนาคต กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ พฤษภาคม 2555 2
สารบญ 4 5 คํานํา 5 บทนํา 6 วัยใสใสใจสุขภาพ ดวยการกินอาหารท่ีถูกตอง 7 8 J อาหารหลัก 5 หมู ถูกใจวัยใส 9 10 J วัยใสไมกินหวาน 11 12 J วัยใสไมกินเค็ม 13 14 J วัยใสหลีกเลี่ยงอาหารไขมันสูง ลดอวน ลดโรค 15 สุขภาพดี เกิดได มากินผัก ผลไมกันเถอะ J กินผัก ผลไมใหปลอดภัยจากสารพิษ วัยใสออกกําลังกาย เพื่อสุขภาพดี ไมมีโรค J เราตองออกกําลังกายอยางไร ในแตละชวงวัย J ระวังหนอยนะ ถาจะออกกําลังกาย สุขภาพจิตดี ชีวีมีสุข เอกสารอางอิง 3
บทนํา ปจจุบันพฤติกรรมสุขภาพของเด็ก เยาวชน เปลี่ยนแปลงไป จากเดิม สืบเนื่องจากวิถีชีวิตที่มีความเรงรีบในการดําเนินชีวิต วัฒนธรรม และรูปแบบการใชชีวิตเปลี่ยนไปจากเดิม เด็ก เยาวชน ไดรับผลกระทบจากวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลง เชนพฤติกรรมการกิน อาหาร นิยมกินอาหารฟาสฟูด (อาหารจานดวน) อาหารจ๊ังฟูด (อาหาร ขยะ) เพิ่มมากข้ึน กินอาหารที่มีรสจัด หวานจัด เค็มจัด ใชเครื่องปรุงรส มากข้ึน ซ่ึงการใชเครื่องปรุงรสทําใหมีปริมาณของเกลือโซเดียมมาก จึงทําใหมีรสเค็มจัด เชน บะหมี่กึ่งสําเร็จรูป ขนมกรุบกรอบ ขนม ขบเคี้ยว ซึ่งจะไมไดใหประโยชนอะไรแกรางกาย และอาหารรสหวาน รวมท้ัง ขนมหวานหลายชนิด เชน เคก คุกกี้ น้ําหวาน น้ําอัดลม ลูกอม เปนตน ทําใหรางกายไดรับน้ําตาลเพ่ิมข้ึนในแตละมื้อ ดังนั้น เด็ก เยาวชน ที่ยังมีพฤติกรรมการกินอาหารที่มีรสหวานจัด เค็มจัด และยังขาดการออกกําลังกายสม่ําเสมอ จะมีโอกาสตอการเจ็บปวยที่ เกิดจากโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคอวนในอัตราที่สูงข้ึน ทุกป การมีพฤติกรรมสุขภาพในเรื่องของการกินอาหารใหถูกตอง กินอาหารใหครบ 5 หมู กินผัก ผลไมสด รสไมหวานจัด วันละอยางนอย ครง่ึ กโิ ลกรมั และลดอาหารไขมนั สงู ควบคกู บั การออกกาํ ลงั กายสมา่ํ เสมอ สัปดาหละอยางนอย 3-5 วัน วันละอยางนอย 30 นาที และทําใหจิตใจ แจมใสเบิกบาน นอนหลับพักผอนใหเพียงพอเปนส่ิงที่สําคัญ ซ่ึงการมี พฤติกรรมสุขภาพดังกลาว เปนพฤติกรรมที่ถูกตอง เหมาะสม เด็กและ เยาวชนควรปฏิบัติจนใหเปนนิสัย จะชวยลดความเสี่ยงตอการเกิดโรค ทําใหสุขภาพแข็งแรง เจริญเติบโตเปนผูใหญที่มีคุณภาพตอไป 4
วยใสใสใจสุขภาพ ดวยการกินอาหารท่ีถูกตอง อาหารหลัก 5 หมู่ ถูกใจวัยใส ควรกินอาหารให้ครบท้ัง 5 หมู่ โดยในแต่ละหมู่ควรเลือกกินให้ หลากหลายชนิดไม่ซ้ำซาก กินอาหารในปริมาณที่เหมาะสมกับการใช้ พลังงานในแต่ละวัน กินใหครบ 5 หมู อาหารหมูที่ 1 กลุมเนื้อสัตว ถ่ัวเมล็ดแหง ไข นม : ใหโปรตีน อาหารหมูที่ 2 กลุมขาวแปง ขาวโพด เผือกมัน : ใหพลังงาน อาหารหมูที่ 3 กลุมผักตางๆ : ใหสารอาหารวิตามิน แรธาตุ ใยอาหาร อาหารหมูที่ 4 กลุมผลไมตางๆ : ใหสารอาหารวิตามิน แรธาตุ ใยอาหาร อ าหารหมูที่ 5 กลุมไขมัน น้ํามัน : ใหพลังงาน ชวยดูดซึมวิตามิน กินใหหลากหลาย ในแตละหมูเลือกกิน ใหหลากหลายชนิด ไมจําเจ ซํ้าซาก กนิ ครบทงั้ 3 มอ้ื กินอาหารในปริมาณที่พอเหมาะ กับการใชพลังงานในแตละวัน ด ่ืมน มรสจืดเปนประจํา ดื่มนม วันละ 2 – 3 แก้ว พวกเราวัยใส หลีกไกล ลูกอม ขนมหวาน นํา้ อัดลม ขนมขบเค้ียว อาหารฟาสฟดู อาหารจั๊งฟูด เพราะไมมีประโยชนตอรางกาย กอใหเกิดโรครายตั้งแตเยาววัย 5
วยใส ไมกินหวาน การกินอาหารที่มีรสชาติหวานมากเกินไป เปนประจํา ทําให้ รางกายมีการตอบสนองตอนํ้าตาลดวยการหลั่งสารชนิดหนึ่งออกมา ทําใหเกิดความพึงพอใจ และความอยากกินหวาน เรียกวา การติดรส หวาน จนถึงข้ันยากที่จะเลิก หรือลดการกินหวานลงได ความหวานมาจากนํ้าตาล พบไดมากในน้ําอัดลม ขนมหวาน และ ผลไมรสหวานจัด เชน ทุเรียน มะมวงสุก ลําไย เปนตน กินหวานจัด J ทําใหสมดุลของแรธาตุในรางกาย เสียไป เกดิ อาการเซื่องซมึ เหนือ่ ยงาย ไมกระฉับเฉง J ภูมิคุมกันโรคลดลง ติดเชื้อไดงาย J ตั บ อ อ น ท ํ า ง า น ห นั ก ใ น ก า ร ห ล่ั ง อินซูลิน J ฟนผุ เปนโรคอวน J เปนโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง อมั พาต โรคหวั ใจขาดเลือด โรคมะเรง็ ลดหวาน ลดโรค ลดโอกาสเส่ียงตอโรค จํากัดการกินนํ้าตาลใหพอดี วันละไมเกิน 6 ชอนชา 6
วยใส ไมกินเค็ม ความเคม็ (เกลอื โซเดยี ม) ในอาหารพบไดม ากในสารปรงุ แตง เครื่องปรุงรสตางๆ ไดแก นํ้าปลา เกลือ ซอส ผงปรุงรส เปนตน และ ยังไดจากอาหารธรรมชาติ เชน อาหารทะเล เนื้อสัตวตางๆ และมีอาหาร บางประเภทที่มีสวนผสมของเกลือโซเดียมปริมาณสูง เชน อาหาร สําเร็จรูป บะหมี่ก่ึงสําเร็จรูป ขนมกรุบกรอบ เปนตน J หัวใจเตนเร็วข้ึน สูบฉีดเลือดแรง ปริมาณเลือดเพิ่มสูงขึ้น เปนผล กินเค็มจัด ทําใหเกิดความดันโลหิตสูงขึ้น J ปริมาณน้ําของเนื้อเยื่อภายใน และภายนอกเพิ่มข้ึน ทําใหเกิด อาการบวมนา้ํ J ไตทํางานหนัก เพื่อขับปริมาณ เกลือโซเดียมออกจากรางกาย ลดเค็ม ลดเส่ียง เปนโรคไต บวมนํ้า ความดันโลหิตสูง อัมพฤกษ อัมพาต โรคหัวใจ โรคหัวใจวาย โรคมะเร็ง และ อาจกอใหเกิดภาวะแทรกซอนของโรคอ่ืนๆ จนถึงเสียชีวิตได จํากดั การกนิ เค็ม (เกลือโซเดียม) ใหพ อดี วนั ละไมเกิน 1 ชอนชา 7
วยใสลดหลอวีกนเลลี่ยดงโอราคหา รไขมนสูง ถึงแมไขมันจะมีความสําคัญตอรางกาย แตหากกินอาหารมันจัดเปนประจํา จะเกิดไขมันสะสม จนทําใหเปนโรคอวน เกิดภาวะอวนลงพุง จะมีไขมันไป สะสมตามสวนตางๆ ของรางกาย ไขมันจะไดจากสัตว และพืช เชน น้ํามันหมู นํ้ามันพืช รวมถึง เนย มาการีน หรืออาจจะเปน ไขมันที่แทรกอยูในเนื้อสัตว กินอาหาร J จะทําใหไขมันในเลือดสูงขึ้น มันจัด J จะมีปริมาณไขมันไปสะสมตาม ไขมันสูง สวนตางๆ ของรางกาย F ไขมันเกาะในหลอดเลือด F ไขมันพอกที่ตับ J เลือดจะเขมขนและหนืดขึ้นกวา ปกติ เลือดไหลเวียนไมสะดวก J ไขมันตกตะกอนในหลอดเลือด ทําใหอุดตัน หรือแตก เกิดภาวะ ความดันโลหิตสูง ไตวาย อัมพฤกษ อัมพาต หัวใจวาย หลีกเลี่ยงอาหารมันจัด ไขมันสูง ลดอวน ลดโรค จํากัดการกินไขมันตอวัน มื้อละไมเกิน 4 ชอนชา 8
มากสินุผขภกาพผดลี เไกมิดกไนดเ ถอะ ผัก ผลไม ใหวิตามิน เกลือแร มีเสนใยอาหาร สารหลายชนิด และยังใหคุณคา เพ่ิมภูมิตานทานโรค ชวยปองกัน และลดภาวะเสี่ยง ตอการเกิดโรค กินผัก ผลไมใหหลากหลายสี เปนประโยชน และดีตอสุขภาพ ของเรา ชวยตานอนุมูลอิสระ J สีเขียว : J สีเหลือง – สม : J สีแดง : ผักบุง แครอท ฟกทอง ขาวโพด มะเขือเทศ พริกแดง ผักโขม มะละกอ สมทุกชนิด เปนตน แตงโม ลูกหมอนแดง ผักคะนา เปนตน ผักกาดหอม ตนหอม เปนตน J สขี าว - สนี าํ้ ตาล : หวั ไชเทา หอมหวั ใหญ J สีน้ําเงิน – มวง : กระเทียม กะหลํ่าปลีมวง ลูกเดือย งาขาว มะเขือมวง เผือก เมล็ดถ่ัวตางๆ ลูกหวา เปนตน แกวมังกร กินผัก ผลไมสดรสไมหวานจัด ทุกม้ือ ทุกวันและหลากหลายชนิด กินผัก ผลไม วันละอยางนอย 5 ขีด หรือคร่ึงกิโลกรัมข้ึนไป 9
ใหปลกอินดผภกยจผาลกสไมาร พิษ J เลือกซื้อผัก ผลไม ที่ยังสดใหมคุณภาพดี ไมช้ํา แหง เหลือง มีรอยแมลงกัดกินบางพอสมควร ซื้อจากแหลงจําหนายที่เชื่อถือได J เลือกกินผัก ผลไมสด ที่รสไมหวานจัด หลากหลาย หมุนเวียน สลับกันตามฤดูกาล เพื่อลดการสะสมของสารพิษในรางกาย J ปลูกผัก ผลไม กินเอง ภายในบริเวณบาน เพื่อความปลอดภัย และไรสารพิษตกคาง 10
เวพยื่อใสสุขอภอากพกดําี ลไมงมกีโารยค ออกกําลังกาย หรือการเคลื่อนไหวรางกาย ทําใหระบบตางๆ ของรางกาย หัวใจ ระบบไหลเวียนของเลือด ปอด กลามเนื้อ ขอตอ กระดูก เปนตน มีความแข็งแรง อดทน คลองแคลว วองไว ทํางานได นานขึ้น เพ่ิมประสิทธิภาพใหรางกาย คนที่ขาดการออกกําลังกาย หรือการเคลื่อนไหวรางกายจะมี อตั ราการเจบ็ ปว ย และเสยี ชวี ติ กอ นวยั อนั สมควร เพราะการออกกาํ ลงั กาย หรือการเคลื่อนไหวรางกาย จะสามารถชวยทําใหรางกายแข็งแรง เ สริมสรางภูมิตานทานในการปองกันโรคตางๆ การออกกําลังกายในวัยเด็กอยางเรา วัยเด็ก เปนวัยที่กําลังเจริญเติบโต ท้ังรางกาย จิตใจความคิด และความจํา เมื่อเด็กออกกําลังกาย และมีการเคลื่อนไหวออกแรง จะชวยใหการเจริญเติบโตของกระดูก ระบบกลามเนื้อ และระบบขอตอ ตางๆ ของรางกายพัฒนาไปอยางเหมาะสมกับชวงวัย รูจักควบคุม กลามเนื้อในการเคลื่อนไหวไดดี มีผลดีตอระบบหัวใจ หลอดเลือด แข็งแรงขึ้น รวมถึงดานสุขภาพจิต ชวยทําใหจิตใจ อารมณ แจมใส เบิกบาน การออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอต้ังแตในวัยเด็ก จะเปนการลด ความเสี่ยงตอการเกิดโรคที่มีสาเหตุจากการขาดการออกกําลังกาย ไดแก โรคอวน โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เพราะการออกกําลังกายสมํ่าเสมอ สามารถลดระดับไขมัน ในเลือด ชวยควบคุมนํ้าหนักตัวในชวงวัยที่สําคัญอยางวัยเด็ก 11
เราตอใงนอแอตกลกะําชลวงงวกยาย อยางไร การออกกําลังกายในเด็ก เปนกิจกรรมที่จัดขึ้น เพื่อใหเด็กมีความสนุกสนาน ใชกิจกรรมที่หลากหลาย ใชการออกแรงจากระดับความหนักที่เบา และคอยๆ เพิ่ม ความหนักจนถึงระดับที่หนักปานกลาง และใชเวลาที ่ ม ากกวา 1 ช่ัวโมงขึ้นไปในแตละวัน ชวงอายุ 2-3 ป กิจกรรมสงเสริมการพัฒนาของระบบประสาท และกลามเนื้อ เ ชน การวิ่ง กระโดด และปนปาย ถีบจักรยาน 3 ลอได ชวงอายุ 4-5 ป ว่ิงกระโดด ปนปายเลนกีฬาที่ชอบ เชน เตะลูกบอล ว่ิงแขงขัน เ ลนเทนนิส วายน้ํา เปนตน ชวงอายุ 6-12 ป เลนกีฬากลางแจง เลนเปนกลุม หรือเปนทีม ออกกําลังกาย เพื่อเพิ่มความแข็งแรง และเสริมสรางระบบของกลามเนื้อ เชน วิดพื้น โ หนบารเดี่ยว ซีทอัฟ เปนตน ปองกันการเกิดโรค และมีสุขภาพดี มาออกกําลังกาย หรือเคลื่อนไหวรางกายสม่ําเสมอ สัปดาหละอยางนอย 3-5 วัน วันละอยางนอย 30 นาที กันเถอะ 12
ถารจะะวองอหกนกอํายลนงะก...าย J ถามีไข ตัวรอน ถึงแมจะมีไขเพียงเล็กนอย หามออกกําลังกาย หรือ เคลื่อนไหวรางกาย ที่ตองออกแรงของกลามเนื้อมาก อาจทําใหเกิด อันตรายได J ถามีอาการถายเหลว อาเจียนมากๆ และออนเพลียมาก หาม ออกกําลังกาย หรือเคลื่อนไหวรางกายมากเกินไป ควรงดกิจกรรม การเลนตางๆ เพราะรางกายอยูในภาวะขาดน้ํา มีผลตอปริมาณของ ระบบไหลเวียนของเลือด J ระมัดระวังเพื่อไมใหเกิดการบาดเจ็บ F คํานึงถึงความปลอดภัยเสมอ จากการออกกําลังกายเปน ลําดับข้ัน F เพิ่มความหนักจากเบา จนถึงระดับความหนักปานกลาง และ ตองมีการอบอุนรางกายประมาณ 5 นาที กอนออกกําลังกาย หรือการเคลื่อนไหวรางกายเสมอ F ยืดเหยียดกลามเนื้อสวนตางๆ กอน และเมื่อสิ้นสุดการ ออกกําลังกาย ควรผอนคลายจนถึงระดับการหยุดการ ออกกาํ ลงั กาย หรือการเคลื่อนไหวรางกายเพื่อใหหัวใจ ปอด กลามเนื้อทุกสวนลดระดับลงเรื่อยๆ ใชเวลาประมาณ 5 นาที J หลีกเลี่ยงการออกกําลังกาย หรือการเคลื่อนไหวรางกาย ในเวลา ที่อากาศรอนจัด มีแสงแดดจัด ควรออกกําลังกายในสภาพอากาศ ที่เหมาะสม และในขณะที่ออกกําลังกาย หรือเคลื่อนไหวรางกาย และควรดื่มน้ําสะอาดบอยๆ 13
สุขภาพจิตดี ชีวีมีสุข สขุ ภาพจติ เปน สงิ่ ทสี่ าํ คญั และมคี วามสมั พนั ธก บั สขุ ภาพทางกาย ไมสามารถแยกออกจากกันได การทําใหจิตใจดี แข็งแรง มีสุข สมบูรณ ยอมจะทําใหสุขภาพกายแข็งแรงตามไปดวย ดังน้ัน เราควรใสใจดูแล สุขภาพของจิตใจ และสงเสริมสุขภาพกาย และจติ ใจใหแข็งแรงอยูเ สมอ คนทมี่ สี ขุ ภาพจติ ดี อารมณด ี จติ ใจแจม ใส จะปรบั ตวั เขา สง่ิ แวดลอ ม ไดอยางมีความสุข ดําเนินชีวิตอยางเปนประโยชนตอตนเอง และผูอื่น เรยี นรสู ง่ิ ตา งๆ ไดด ี และสามารถแกไ ขปญ หาใหผ า นพน ไปไดด ว ยดี 9 วิธี เพ่ือสุขภาพจิตดี J มีศักดิ์ศรี สรางเอกลักษณ สุขภาพสมบูรณแข็งแรง อารมณด ี เกดิ จากความถนดั ความชอบ จิตใจแจมใสเบิกบาน ไมเจ็บปวย ความเชื่อ ให้เปนไปตาม เอกลักษณ ทําไดดวยตนเอง เกิดความพอใจ และภูมิใจ J กลายอมรับความจริง J รูจักสรางความหวัง J รูจักสรางกําลังใจ J รูจักควบคุมความโกรธ J รูจักถึงคุณคาของตนเอง เห็นคุณคาในตนเอง J รูจักผูกมิตรไมตรีกับผูอื่น J มีความม่ันคงทางอารมณ ไมดวนตัดสินใจ หลงเชื่ออะไรงายโดยขาด เหตุผล J รักษาสุขภาพ หมั่นออกกําลังกาย พักผอนนอนหลับอยางเพียงพอ 14
เอกสารอางอิง สุขศึกษา, กอง แนวทางการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค สําหรับคนไทย วัยเด็ก อายุ 6-14 ป พิมพที่ โรงพิมพชุมนุม สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, กันยายน 2550. สุขศึกษา, กอง เอกสารความรู ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดโรคมะเร็ง โรคความดนั โลหติ สงู โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด พมิ พท ี่ โรงพมิ พ ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด, มิถุนายน 2553 สมพล สงวนรังศิริกุล, ผศ.นพ. หนังสือชุดขอแนะนําการออกกําลังกาย สําหรับเจาหนาที่สาธารณสุข ขอแนะนําการออกกําลังกาย สําหรบั เด็ก อายุ 2-12 ป พิมพโ ดยกองออกกําลังกายเพือ่ สขุ ภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข, 2546 15
คณะผูจดทํา ท่ีปรึกษา นายแพทยสมชัย ภิญโญพรพาณิชย อธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ นายแพทยสุวัช เซียศิริวัฒนา รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ นางสาวเบญจมาศ สุรมิตรไมตรี ผูอํานวยการกองสุขศึกษา ผูจัดทํา เรือตรีหญิงวไลพร สวัสดิมงคล นักวิชาการเผยแพรชํานาญการพิเศษ นางบุญตา เจนสุขอุดม นักวิชาการเผยแพรชํานาญการ นางสาวดวงนภา ปานเพ็ชร นักวิชาการเผยแพรชํานาญการ นายตอโชติ โสตถิกุล นักวิชาการเผยแพรชํานาญการ 16
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: