Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore MasterPlan-Thaiherb_Shot.pdf

MasterPlan-Thaiherb_Shot.pdf

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-15 04:52:41

Description: MasterPlan-Thaiherb_Shot.pdf

Search

Read the Text Version

CONTENTS 2 อารมั ภบท 3 ขอ้ ส่ังการของนายกรัฐมนตรี 4 แนวคดิ การยกร่างแผนแมบ่ ทแหง่ ชาติ ว่าดว้ ยการพฒั นาสมุนไพรไทย 5 ฉบับท่ี 1 พ.ศ. 2560 - 2564 แผนแมบ่ ทแหง่ ชาติ 9 ว่าดว้ ยการพฒั นาสมุนไพรไทย ฉบับท่ี 1 พ.ศ. 2560-2564 ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 สง่ เสรมิ ผลติ ผลของสมุนไพรท่ีมศี ักยภาพ 13 ตามความตอ้ งการของตลาดทัง้ ในและต่างประเทศ 17 ยุทธศาสตรท์ ่ี 2 พัฒนาอุตสาหกรรม และการตลาดสมุนไพรให้มคี ณุ ภาพระดับสากล 21 ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 ส่งเสริมการใช้สมุนไพรเพ่ือการรักษาโรค 25 และการสร้างเสรมิ สุขภาพ 26 ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 สรา้ งความเข้มแข็งของการบริหาร 27 และนโยบายภาครัฐเพ่อื การขับเคล่ือนสมุนไพรไทยอยา่ งย่ังยนื 29 ผลจากการขับเคล่ือนแผนแม่บทแหง่ ชาติ วา่ ดว้ ยการพัฒนาสมุนไพไทย ฉบับท่ี 1 พ.ศ. 2560-2564 ภาคผนวก, มติคณะรฐั มนตรี คณะกรรมการนโยบายสมุนไพรแห่งชาติ Product Champion

อารมั ภบท “สมุนไพรไทย” มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาอันยาวนานควบคู่สังคมไทยนับตั้งแต่สมัยกรุงสุโขทัยต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน ดังจะเห็นเป็น ส่วนประกอบในอาหารคาว-หวาน เป็นยารักษาโรค ใช้ในการดูแลสุขภาพและยาอายุวัฒนะ กระทั่งการเสริมความงาม ภูมิปัญญาเหล่านี้ได้รับ การสัง่ สมสืบทอดและพฒั นาต่อเน่อื งสรา้ งคุณคา่ และมูลค่าให้แก่สมนุ ไพรไทยจนถึงปจั จุบัน ผลิตภณั ฑจ์ ากสมนุ ไพรไทย คือ ที่สุดแห่งภมู ิปญั ญา ไทย กลายเป็นหนงึ่ ในผลิตภณั ฑ์สง่ ออกสำ� คัญของประเทศ ดว้ ยความพรอ้ มทางด้านตน้ ทนุ การผลติ อันไดแ้ ก่ ภมู ิประเทศ วัตถุดิบ กระบวนการ ผลิต รวมถึงความหลากหลายของรูปแบบผลิตภัณฑ์สมุนไพรไทยและช่องทางการตลาดทั้งในและต่างประเทศ ซ่ึงคราวประชุมคณะรัฐมนตรี เมอ่ื วนั ที่ 11 สงิ หาคม 2558 นายกรฐั มนตรี พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา ไดม้ ขี อ้ สง่ั การใหก้ ระทรวงสาธารณสขุ รว่ มกบั หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งพฒั นา พชื สมุนไพรไทยให้สามารถใช้ประโยชนไ์ ดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพเป็นที่ยอมรบั และสรา้ งมูลค่าเพ่ิมใหแ้ ก่ผลิตภัณฑแ์ ปรรูปจากสมนุ ไพร แผนแม่บทแห่งชาติ ว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ.2560-2564 ประกอบด้วยวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ และแผนงานต่าง ๆ ท่ีครอบคลุมการพัฒนาสมนุ ไพรไทยต้งั แตต่ ้นทาง กลางทาง และปลายทาง เพ่อื ให้ใน 5 ปขี ้างหน้าประเทศไทยจะ เป็นประเทศท่ีส่งออกวัตถุดิบสมุนไพรคุณภาพและผลิตภัณฑ์สมุนไพรช้ันน�ำของภูมิภาคอาเซียน และมูลค่าของวัตถุดิบสมุนไพรและผลิตภัณฑ์ สมุนไพรภายในประเทศเพ่ิมขึ้นอย่างน้อย 1 เท่าตัว ท้ังน้ี ส่วนราชการและองค์กรเอกชนจะมีบทบาทอย่างสูงในการสนับสนุนให้เกิดการผลิต สมุนไพรท่ีได้รับมาตรฐานมีคุณภาพและสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์สมุนไพร ส่งเสริมให้เกิดความเช่ือมั่นในการใช้สมุนไพร รวมท้ังเพ่ิมขีด ความสามารถในการแขง่ ขันของสมุนไพรไทยในตลาดท้ังในและต่างประเทศอยา่ งตอ่ เนอ่ื งและเปน็ ระบบ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนแม่บทแห่งชาติ ว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ.2560-2564 ซึ่งจัดท�ำข้ึนตามแนวทางประชารัฐ อย่างบูรณาการฉบับนี้ จะเป็นแนวทางการก�ำหนดภารกิจ แผนงาน ของส่วนราชการและองค์กรเอกชนสู่การขับเคล่ือนอย่างเป็นเอกภาพตลอด 5 ปีข้างหน้า เพ่ือให้สมุนไพรไทยเป็นพลังขับเคล่ือนเศรษฐกิจของประเทศไทยต่อไปในอนาคต เป็นผู้น�ำผลิตภัณฑ์สมุนไพรของภูมิภาคอาเซียน อนั จะน�ำมาสู่ความมั่นคงทางสขุ ภาพและความยั่งยืนของเศรษฐกจิ ไทยต่อไป คณะผู้จดั ท�ำ ตุลาคม 2559 2

“ ขอ้ ส่ังการของนายกรฐั มนตรี “ ใหก้ ระทรวงสาธารณสขุ รว่ มกบั หนว่ ยงาน ท่ีเก่ียวข้อง เช่น กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงพาณิชย์ พัฒนาพืชสมุนไพรไทย ใเพห่้สือาใหม้เาปร็นถทใช่ีย้ ปอรมะโรยับชแนล์ไะดส้อรย้า่างงมมู ลีปคร่าะเสพิท่ิมธใิภหา้แพก่ ผลติ ภัณฑแ์ ปรรูปจากสมุนไพรไทยด้วย 3

แนวคดิ การยกร่างแผนแม่บทแห่งชาติ วา่ ดว้ ยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบบั ท่ี 1 พ.ศ. 2560 - 2564 เน้นความรว่ มมอื ในแนวคิด “ประชารัฐ” โดยมภี าครฐั 9 กระทรวง และสถาบนั ภาคเอกชน เสริมสร้างศักยภาพและกลไกการขบั เคล่อื นเชิงนโยบาย ครอบคลุม ทงั้ มิตเิ ศรษฐกิจ สงั คม วิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี และสขุ ภาพ บูรณาการแนวทางดำ� เนินงานตลอดหว่ งโซ่อุปทาน และสรา้ งมูลค่าเศรษฐกิจสร้างสรรคข์ องสมุนไพร โดยมีการวิจยั และพฒั นานวตั กรรมเป็นฐาน 4

แผนแมบ่ ทแหง่ ชาติ ว่าดว้ ยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับท่ี 1 พ.ศ. 2560-2564 วสิ ยั ทัศน์ “สมุนไพรไทย” เพ่ือความม่ันคงทางสขุ ภาพ และความย่งั ยืนของเศรษฐกิจไทย (Thai Herbs for Health and Sustainable Economy) 5

เป้ าหมาย พใหฒั ้เปน็นาทส่ยี มอุนมไรพับรไทย ผลิตภณั ฑส์ มุนไพร ได้มาตรฐาน ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีสง่ ออก สมรีคา้ ณุงมภูลาคพา่ แเพล่มิะ วัตถดุ บิ สมุนไพรคุณภาพ และผลติ ภัณฑส์ มุนไพรชั้นนำ� ของภูมิภาคอาเซี ยน มูลค่าวตั ถดุ บิ สมุนไพรและ พนั ธกจิ เผพล่มิ ติ ขภน้ึ ัณอฑย์สา่ มงุนนไอ้ พยรภ1าเยทใ่านตปวั ระเทศ ส่งเสรมิ ให้เกิดความรู้ เพ่มิ ขดี ความสามารถ ความสเขม้าุนใไจพรแไลทะยการใช้ ในการแขง่ ขนั ของ สมุนไพรไทย 6

องค์ประกอบในการขบั เคล่ือนนโยบายสมุนไพร พร ะ คณะกรรมการ แผนแมบ่ ท ม นโยบายสมุนไพรแห่งชาติ แห่งชาติ วา่ ดว้ ยการ พัฒนา สมุนไพรไทย พ.ร.บ. ผลติ ภัณฑ์ สมุนไพร พ.ศ. .... 7

ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ส่งเสริมผลิตผลของสมุนไพร พัฒนาอุตสาหกรรม และ ท่มี ศี กั ยภาพตามความตอ้ งการ การตลาดสมุนไพรใหม้ ี ของตลาดทัง้ ในและตา่ งประเทศ คุณภาพระดับสากล 4 ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 ยุทธศาสตร์ท่ี 4 สเพ่งเ่อืสกรมิารกราักรใษชา้สโรมคุนแไพละร สร้างความเขม้ แขง็ ของ การสร้างเสริมสขุ ภาพ การบรหิ ารและนโยบาย ภาครัฐเพ่ือการขับเคล่ือน สมุนไพรไทยอย่างย่งั ยนื 8

ยุทธศาสตร์ท่ี 1 ทส่มี ่งีศเกัสรยมิภผาพลติตผามลคขวอางมสตม้อุนไงพกราร ของตลาดทัง้ ในและต่างประเทศ 9

เป้ าประสงค์ สง่ เสรมิ การปลูกพืชสมุนไพร 1แปรรูปเบ้ืองต้นอย่างมคี ณุ ภาพ 2 ปริมาณวตั ถุดบิ สมุนไพรท่ีมีคุณภาพ มเี พยี งพอใกล้เคยี งต่อความตอ้ งการ ใช้ของผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรม อนรุปกัรษะโส์ยมชุนนไไ์ พดร้อไยท่ายงใยห่งั้คยงไืนว้ใช้ 3 10

เป้ าหมาย 1. มีการปลูกสมุนไพรท่ีได้คุณภาพตามมาตรฐานท่ีก�ำหนด 43,000 ไร่ 2. กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ วิสาหกิจชุมชน ได้รับการส่งเสริมการแปรรูปหลังการเก็บเกี่ยว ณ สถานท่ีปลูก และการผลิตผลิตภัณฑ์และสารสกัดอย่างง่ายในระดับชุมชน 50 แห่ง 3. มีข้อก�ำหนดมาตรฐาน GAP/GACP หรือมาตรฐานอืน่ ของพืชสมุนไพร อย่างน้อย 30 ชนิด 4. มีฐานข้อมูลพ้ืนที่ปลูกพืชสมุนไพร (Land Use) 1 ฐานข้อมูล 5. มีแผนที่ความเหมาะสมของที่ดินส�ำหรับปลูกพืชสมุนไพร (Land Suitability) อย่างน้อย 30 ชนิด 6. มีห้องปฏิบัติการท่ีได้รับรองมาตรฐาน ISO 17025 ให้บริการตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบ จ�ำนวนเพ่ิมข้ึน อย่างน้อย 15 แห่ง (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 10 แห่ง และมหาวิทยาลัยต่างๆ 5 แห่ง) 7. มีระบบตลาดกลาง 4 แห่ง และตลาดอิเล็กทรอนิกส์ 1 แห่ง (E-Market) 8. มีข้อก�ำหนดมาตรฐานสมุนไพรในต�ำรามาตรฐานสมุนไพรไทย (Thai Herbal Pharmacopoeia, THP) เพิ่มข้ึน 75 รายการ 9. มีฐานข้อมูลพืชสมุนไพรและภูมิปัญญาการใช้ประโยชน์ของประเทศไทย (National Database of Thai Plants and Traditional Knowledge) 1 ฐานข้อมูล 10. มีการวิจัยและพัฒนาพันธุ์พืชสมุนไพรและเทคโนโลยีเพอ่ื ผลิตวัตถุดิบ 30 เร่ือง/ปี 11

อพยนื้ ่าทง่ปี นลอ้ ูกยสรม้อุนยไลพะรท50่มี คี ขุณองภพาพืน้ ทม่ีปจี ลำ� ูกนวน ตัวชี้วดั สมุนไพรทงั้ หมด กลมุ่ ผู้ปลกู และแปรรูปสมุนไพรท่มี คี ณุ ภาพ ตามขอ้ กำ� หนดมาตรฐานมจี ำ� นวนอย่างนอ้ ย รอ้ ยละ 50 ของจำ� นวนกลุ่มทัง้ หมด มาตรการ การจัดการห่วงโซ่ อุ ปทาน การวจิ ัยและการจัดท�ำข้อกำ� หนด มาตรฐานวตั ถดุ ิบสมุนไพร การอนรุจักาษกแ์ป่ลาะอกยาา่ รงใชย้พ่ังยืชนื สมุนไพร 12

ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พฒั นาอุตสาหกรรมและการตลาด สมุนไพรให้มคี ณุ ภาพระดับสากล 13

เป้ าประสงค์ ผลิตภัณฑส์ มุนไพรมีศกั ยภาพใน 1 การแข่งขันทางการตลาดทงั้ ใน และต่างประเทศ 14

เป้ าหมาย 1. มูลค่าการตลาดของสมุนไพรและผลิตภัณฑ์สมุนไพรท้ังในประเทศและต่างประเทศ เพ่ิมข้ึนร้อยละ 15 ต่อปี 2. สถานประกอบการในอุตสาหกรรมสารสกัดสมุนไพรได้รับการส่งเสริมให้มีผลิตภาพเพิ่มขึ้น โดยมูลค่า ยอดขายเพิ่มข้ึนร้อยละ 15 3. สถานประกอบการในอุตสาหกรรมสมุนไพรแต่ละกลุ่มผ่านการยกระดับการผลิตอย่างน้อยร้อยละ 50 4. ผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่มีตราสัญลักษณ์รับรองคุณภาพได้รับการยอมรับระดับภูมิภาคอาเซียน 5. ผลิตภัณฑ์สมุนไพรได้รับการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์สมุนไพรอย่างน้อยร้อยละ 30 6. ประเทศไทยมีห้องปฏิบัติการที่ได้รับการรับรองตามมาตรฐาน OECD GLP อย่างน้อย 1 แห่ง ภายใน ปี พ.ศ. 2562 7. มีสถาบันพัฒนานวัตกรรมสมุนไพรแห่งชาติ 15

ตัวชี้วดั มปูรละคเท่าศขอเพง่มิผขลน้ึ ติ อภยัณ่างฑนส์อ้ มยุนรไอ้ พยรลภะา1ย5ในต่อปี มาตรการ การพฒั นาอุตสาหกรรมสมุนไพรไทย การวิจัยและพัฒนาสมุนไพรไทย การพัฒนาการตลาดสมุนไพรไทย 16

ยุทธศาสตรท์ ่ี 3 สง่ เสรมิ การใช้สมุนไพรเพ่ือการรักษาโรค และการสร้างเสรมิ สุขภาพ 17

เป้ าประสงค์ เพ่ิมการใช้สมุนไพรในระบบสขุ ภาพ 1 ในการรักษาโรค หรือเสริมสรา้ งสขุ ภาพ เสริมสรา้ งพ้ืนฐานการพัฒนาการแพทยแ์ ผนไทย 2 และสมุนไพรไทยใหเ้ ป็นส่วนหน่ึงของระบบสุขภาพ ของประเทศในระยะยาว 18

เป้ าหมาย 1. จ�ำนวนรายการยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติเพิ่มขึ้นอย่างน้อยปีละ 10 รายการ 2. ระบบการขึ้นทะเบียนยาและผลิตภัณฑ์สมุนไพรได้รับการปรับปรุงให้ทันต่อความต้องการของตลาด 3. แพทย์แผนปัจจุบันมีการส่ังใช้ยาสมุนไพรเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 20 ต่อปี ตวั ช้ีวดั บมูรลิกคา่ารกสาารธใชา้ยราณสมสุขุนเไพพ่ิมรใขนนึ้ สเฉถลา่ียนรอ้ ยละ รบาญั ยชกียาารหยลาักสมแหุนง่ไพชารตไดเิ พร้ ่มิับขกน้ึ าร5บ0รรรจาุ เยขกา้ าร 10 ตอ่ ปี ภายในปี พ.ศ. 2564 19

มาตรการ การพัฒนาโครงสร้าง สง่ เสริมการจัดบริการ และการใช้สมุนไพรในสถานบริการสาธารณสขุ การวิจัย เสรมิ สร้างองคค์ วามรู้ มาตรฐาน คณุ ภาพ และความเส่ียง พัฒนาความเขม้ แข็งทางวิชาการ ของการแพทย์แผนไทย การจดั การและการเข้าถึงยาจากสมุนไพร ในบัญชียาหลกั แห่งชาติ การใช้สมุนไพรในการส่งเสริมสขุ ภาพและ การป้องกนั โรคในชุมชนและบทบาทหมอพ้ืนบา้ น การส่ือสารเพ่ือสร้างความรูท้ ่ีถกู ตอ้ ง ความเข้าใจ ความเช่ือม่ัน 20

ยุทธศาสตร์ท่ี 4 สร้างความเข้มแข็งของการบริหาร และนโยบายภาครัฐเพ่ือการขับเคล่อื น สมุนไพรไทยอยา่ งย่ังยนื 21

เป้ าประสงค์ ประเทศไทยมีกลไกในการพัฒนา 1 สมุนไพรท่มี ีศักยภาพ เพ่อื สรา้ ง มูลคา่ ทางเศรษฐกิจของประเทศ 22

เป้ าหมาย 1. ประเทศไทยมีกฎหมายหลัก ด้านสมุนไพรและคณะกรรมการนโยบายแห่งชาติเพ่อื ขับเคลอื่ น งานสมุนไพร 2. งบประมาณสนับสนุนการวิจัยสมุนไพรเพิ่มขึ้น 5,000 ล้านบาท ในช่วงระยะเวลา 5 ปี 3. อัตราการร่วมลงทุนของภาคเอกชนในการวิจัยเป็นร้อยละ 50-70 ภายในปี พ.ศ. 2564 4. ประเทศไทยมีการพัฒนาสมุนไพร Product Champion อย่างน้อย 10 ชนิด 5. ประเทศไทยมีดัชนีวัดขีดความสามารถในการแข่งขันด้านสมุนไพร 6. ประเทศไทยมีการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาสมุนไพรเข้าสู่ระบบสุขภาวะไทยและระบบเศรษฐกิจ แบบครบวงจรในระดับจังหวัด โดยอาศัยกลไกการมีส่วนร่วมตามแนวทางประชารัฐ 23

คปแลฏณะิบคะตั กณิหรนะรอ้ามนทกกุ่ีาภรรรานมยโใยกนบาปารี ยทพส่ีเกม.ศ่ียุน.วไ2ขพ5้อร6งแ0สหาง่ มชาารตถิ ตวั ชี้วดั ยอดขายผลติ ภัณฑ์สมุนไพร Product Champion เพ่ิมข้ึนอย่างนอ้ ย 2,000 ลา้ นบาท มาตรการ การพฒั นาโครงสร้างการบริหารสมุนไพร การพัฒนากฎหมายดา้ นการส่งเสรมิ และ ควบคุมผลติ ภัณฑ์สมุนไพร การพฒั นาระบบฐานข้อมูลสมุนไพรและระบบการ ประเมนิ ขีดความสามารถในการแขง่ ขันด้านสมุนไพร การเสริมสรา้ งกลไกการบริหารงานวิจยั และพฒั นาสมุนไพร การสง่ เสรมิ และพฒั นาสมุนไพร Product Champion การพฒั นาเมืองสมุนไพร (Herbal City) 24

ผลจากการขับเคล่อื นแผนแม่บทแห่งชาติ ว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพไทย ฉบับท่ี 1 พ.ศ. 2560-2564 16.56 17.18 18.5 19 19.5 20 20 3 พันล้านบาท 11.92 14.05 17.51 11.24 5.78 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 เพ่ิมสัดส่วนผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทย เป็นร้อยละ 20 3.2 แสนล้านบาท ลดการน�ำเข้ายาแผนปัจจุบัน มูลค่าของผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพ่ิมขึ้นเป็น 3.2 แสนล้านบาทภายใน 5 ปี ปีละ 3 พันล้านบาท 25

26 ภาคผนวก มติคณะรฐั มนตรี เม่ือวนั ท่ี 4 ตลุ าคม 2559

คณะกรรมการนโยบายสมุนไพรแหง่ ชาติ องค์ประกอบ 1. นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรฐั มนตรซี ่ึงนายกรฐั มนตรีมอบหมาย เป็นประธานกรรมการ 2. รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงสาธารณสขุ เปน็ รองประธานคนทหี่ นงึ่ และรฐั มนตรวี า่ การทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปน็ รองประธานคนทสี่ อง 3. ปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ปลดั กระทรวงพาณชิ ย์ ปลดั กระทรวงการคลงั ปลดั กระทรวงการทอ่ งเทยี่ ว และกฬี า ปลดั กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ปลดั กระทรวงอตุ สาหกรรม ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปลดั กระทรวงมหาดไทย ปลดั กระทรวง ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม เลขาธกิ ารคณะกรรมการอาหารและยา อธบิ ดกี รมวทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ เลขาธกิ ารสำ� นกั งานคณะกรรมการ กฤษฎกี า เลขาธกิ ารคณะกรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ ผอู้ ำ� นวยการสถาบนั วจิ ยั ระบบ สาธารณสขุ เป็นกรรมการ 4. นายกแพทยสภา นายกสภาเภสชั กรรม และนายกสภาการแพทยแ์ ผนไทย เปน็ กรรมการ 5. ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และประธานสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย เปน็ กรรมการ 6. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจ�ำนวนแปดคน ซ่ึงประธานคณะกรรมการนโยบายสมุนไพรแห่งชาติแต่งต้ังจากผู้ทรงคุณวุฒิด้านสมุนไพร ดา้ นเกษตรและพนั ธพ์ุ ชื ดา้ นอตุ สาหกรรม ดา้ นกฎหมาย ดา้ นการคา้ และการลงทนุ ดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย ดา้ นวจิ ยั และพฒั นา ดา้ นการคมุ้ ครอง ผูบ้ ริโภค ดา้ นละหนึง่ คน 7. มอบหมายใหก้ ระทรวงสาธารณสขุ โดยอธบิ ดกี รมพฒั นาการแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลอื ก เปน็ กรรมการและเลขานกุ าร และ ให้รองอธิบดีซ่ึงอธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกมอบหมาย รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตรท่ีอธิบดีกรมส่งเสริม การเกษตรมอบหมาย และรองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยาที่เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยามอบหมาย เป็นกรรมการและ ผู้ชว่ ยเลขานกุ าร 27

อำ� นาจหนา้ ที่ 1. ก�ำหนดนโยบายแห่งชาติด้านผลิตภัณฑ์สมุนไพร และแผนแม่บทแห่งชาติ ว่าด้วยการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรทุกห้าปี เสนอต่อ คณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาให้ความเหน็ ชอบ และมอบหมายหนว่ ยงานที่เก่ียวขอ้ งด�ำเนินการตามอ�ำนาจหน้าที่ 2. ให้ความเห็นหรือข้อเสนอแนะคณะรัฐมนตรีในเรื่องที่เก่ียวข้องกับนโยบายแห่งชาติ ด้านผลิตภัณฑ์สมุนไพร รวมถึงการเสนอเพื่อ ใหเ้ พ่มิ เติมแกไ้ ขปรับปรุงกฎหมาย ทง้ั ในระดบั พระราชบญั ญตั แิ ละกฎหมายลำ� ดับรองท่ีเกยี่ วขอ้ งกับสมุนไพร 3. ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายแห่งชาติด้านผลิตภัณฑ์สมุนไพร และแผนแม่บทแห่งชาติ ว่าด้วยการพัฒนาผลิตภัณฑ์ สมุนไพรไทย ตามข้อ 1 อ�ำนวยการ และแก้ไขปัญหา รวมทั้งเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาปัญหาจากการปฏิบัติงานของส่วนราชการต่างๆ ซึ่งปฏบิ ัติตามกฎหมายหรือกฎระเบียบของแต่ละหน่วยงานในส่วนที่เก่ียวขอ้ ง 4. กำ� หนดมาตรการในการป้องกัน และแก้ไขปัญหาท่ีเกดิ จากการใชผ้ ลิตภัณฑส์ มนุ ไพร 5. สง่ เสรมิ การศกึ ษาวจิ ยั และพฒั นารวมถงึ วเิ คราะหส์ ถานการณ์ และขอ้ มลู ของผลติ ภณั ฑส์ มนุ ไพร เพอ่ื ประโยชนใ์ นการพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ สมุนไพรทงั้ ระบบ 6. เสนอมาตราการการสง่ เสริมความร่วมมือประสานงานระหวา่ งหน่วยงานของรฐั และเอกชนทงั้ ในและต่างประเทศ 7. เสนอใหส้ ทิ ธแิ ละประโยชนเ์ พอ่ื สง่ เสรมิ วสิ าหกจิ ขนาดกลาง และขนาดยอ่ ม หรอื เพอื่ ขจดั ความเสยี เปรยี บ หรอื ความจำ� กดั ของวสิ าหกจิ ขนาดกลาง และขนาดย่อมต่อคณะรฐั มนตรีหรอื หน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้องในสว่ นท่ีเกี่ยวขอ้ งกับผลติ ภณั ฑส์ มุนไพร 8. จัดทำ� รายงานประจำ� ปเี สนอต่อคณะรัฐมนตร ี 9. แตง่ ตง้ั คณะอนกุ รรมการ หรอื คณะทำ� งานเพอ่ื พจิ ารณา หรอื ปฏบิ ตั กิ ารอยา่ งหนงึ่ อยา่ งใดแทนคณะกรรมการ หรอื ตามทค่ี ณะกรรมการ มอบหมาย 10. ปฏบิ ตั ิงานหรอื ดำ� เนินการอืน่ ใดตามทนี่ ายกรัฐมนตรหี รือคณะรฐั มนตรมี อบหมาย 28

ขมิ้นชัน Product Champion • ชื่อวิทยาศาสตร ์ Curcuma longa L. • ช่อื วงศ ์ ZINGIBERACEAE • ช่อื อื่น ขม้ิน (ภาคกลาง, ภาคใต)้ ขมิ้นแกง, ขมนิ้ หยอก, ขม้นิ หวั (เชยี งใหม)่ กราวเครอื ขาว ข้มี ้ิน, หมิ้น (ภาคใต้) • ลักษณะท่วั ไป • ชื่อวทิ ยาศาสตร ์ Pueraria candollei Wall. ex Benth. เป็นไม้ล้มลุก มีเหง้าใต้ดินรูปทรงกระบอก สีเหลืองอมส้ม Var mirifica (Airy shaw & Suvat) กลน่ิ เฉพาะ ใบเด่ยี ว รูปใบหอก ปลายใบแหลม ขอบใบเรยี บ แผ่นใบสเี ขยี ว • ชือ่ วงศ์ PAPILIONACEAE ดอกออกเป็นช่อรูปทรงกระบอก มีใบประดับสีเขียวอ่อนเรียงซ้อนกัน • ชื่ออนื่ กวาวเครือ (ท่ัวไป) ผลรปู ทรงกลม แบ่งเปน็ 3 พู • ลกั ษณะทั่วไป • สรรพคุณ เปน็ ไมเ้ ถาเนอื้ ไมแ้ ขง็ มหี วั ขนาดใหญ่ ใบเปน็ ใบประกอบแบบขนนก แก้ไข้เพ่ือดี แก้ไข้เร้ือรัง แก้โรคผิวหนังผ่ืนคัน แก้ธาตุพิการ ใบย่อยมี 3 ใบ รูปไข่กว้าง ใบย่อยด้านข้างใบเบ้ียว ดอกออกเป็นช่อแยก ขบั ผายลม สมานแผล แขนงที่ซอกใบและปลายก่ิงดอกสีขาวและสีม่วงอ่อน รูปดอกถ่ัว ผลเป็น เหงา้ สด แกโ้ รคเหงอื กบวมเปน็ หนอง รกั ษาแผลสด แกโ้ รคกระเพาะ ฝักแบน เมล็ดรูปโล่ สมี ว่ งแกมนำ�้ ตาล แก้ไข้คลั่งเพ้อ แก้ไข้เร้ือรังผอมเหลือง แก้โรคผิวหนัง แก้ท้องร่วง แก้บิด • สรรพคณุ พอกแผลแก้เคล็ดขัดยอก ขับผายลมคุมธาตุ หยอดตาแก้ตาบวม ตาแดง บำ� รงุ เนอื้ หนังให้เตง่ ตึง บ�ำรุงสขุ ภาพ อายวุ ัฒนะ ทาแผลถลอก แก้โรคผิวหนังผ่ืนคัน แก้ท้องอืดเฟ้อ รักษาแผลในกระเพาะ หัว ต้มน้�ำดื่ม บ�ำรุงก�ำลัง ยาอายุวัฒนะ บ�ำรุงเน้ือให้เจริญ ท�ำให้ อาหาร เลือดคั่งเต่งที่มดลูก บ�ำรุงอวัยวะสืบพนั ธใุ์ ห้เจรญิ เหง้าแห้ง บดเปน็ ผงเค่ยี วกับนำ�้ มนั พชื ท�ำน�้ำมันใสแ่ ผลสด ผสมน้�ำ หมายเหตุ รับประทานขนาดเท่าเม็ดพริกไทย 1 เมล็ดต่อวัน ทาผวิ แก้เม็ดผดผนื่ คนั รบั ประทานมากจะท�ำให้มึนเมาเปน็ พษิ คนหนุม่ สาวไม่ควรรบั ประทาน 29

กระชายด�ำ • ชอ่ื วิทยาศาสตร ์ Kaempferia parviflora Wallich. ex Baker. • ช่ือวงศ ์ ZINGIBERACEAE • ชื่ออน่ื ขิงทราย (มหาสารคาม), กะแอน ระแอน ว่านกน้ั บงั วา่ นก�ำบัง ว่านกำ� บงั ภัย ว่านจังงัง ว่านพญานกยงู (ภาคเหนอื ) บวั บก • ลักษณะท่ัวไป ไม้ลม้ ลกุ อายหุ ลายปี สงู ประมาณ 20-30 เซนติเมตร • ชือ่ วิทยาศาสตร์ Centella asiatica (L.) Urb. หัว/เหง้า เป็นเหง้าใต้ดินอ้วนป้อมและแตกแขนงเป็นหัวด้านข้าง • ชื่อวงศ ์ UMBELLIFERAE เนื้อใบมีสมี ว่ งเขม้ เกือบด�ำ • ชอ่ื อนื่ ผกั หนอก (ภาคเหนือ), ผักแว่น (ภาคใต)้ ใบ เป็นใบเด่ียวเรียงสลับในระนาบเดียว มีน�้ำมันหอมระเหย • ลักษณะท่วั ไป กาบใบสั้นอวบหนา 2 อัน สีแดงเร่ืออัดกันไม่แน่น แผ่นใบรูปไข่กลับหรือ เป็นไม้ล้มลุก มีรากงอกตามข้อ มีไหลงอกเป็นต้นใหม่ ใบเด่ียว รูปรแี กมขอบขนาน กวา้ ง 7-12 เซนตเิ มตร ยาว 7-20 เซนติเมตร ปลายใบ รูปไต ขอบใบหยักมน แผ่นใบบาง สีเขียวมีขนเล็กน้อย ดอกออกเป็นช่อ ติ่งแหลม ขอบใบเรียบ แผ่นใบด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมันด้านล่างสีเขียว แบบซีร่ ่มทีซ่ อกใบ มีดอกยอ่ ย 2-3 ดอก กลีบดอกมี 5 กลบี สีม่วงอมแดง อมเทามขี นกลมุ่ สลับกันผลเป็นผลแห้งแตกได้ เมลด็ สีด�ำ ดอก เปน็ ช่อดอกเป็นเชิงลดเกิดท่ปี ลายยอดลำ� ต้นเทยี ม ใบประดับ • สรรพคุณ ชอ่ ดอกเปน็ กาบหมุ้ โคนกา้ นชอ่ ดอก ดอกสมบรู ณเ์ พศสมมาตรดา้ นขา้ งกลบี บำ� รุงหวั ใจ บำ� รุงก�ำลัง แก้ช้�ำใน เกล้ยี งยาว 4 เซนติเมตร กลบี ของดอกทมี่ ีขนาดใหญ่ ดา้ นลา่ งเปน็ กลีบข้าง ท้ังต้น รสหอมเย็น แก้ช�้ำใน แก้อ่อนเพลีย ขับปัสสาวะ รักษา 2 กลีบ มีขนาดเลก็ กว่ากลีบปากสขี าว บาดแผล แก้ร้อนในกระหายน้�ำ แก้โรคปวดศีรษะข้างเดียว (ไมเกรน) • สรรพคณุ แก้โรคเร้อื น แกก้ ามโรค แก้ตบั อักเสบ บ�ำรงุ หวั ใจ บ�ำรงุ ก�ำลัง หัว เหง้า กระชายด�ำเป็นว่านท่ีมีสรรพคุณแก้โรคบิด ปวดท้อง ใบ รสขม เป็นยาดับร้อน ลดอาการอักเสบ บวม แก้ปวดท้อง ลมป่วงทุกชนิด โดยใช้หัวว่านฝนผสมกับเหล้าโรง ถ้าป่นเป็นผงทั้งหัวและ แก้บิด แก้ดีซ่าน ใบต้มกิน แกน้ ่วิ ในทางเดนิ ปัสสาวะ ตำ� พอกหรือตม้ นำ�้ กนิ ตน้ ผสมดว้ ยนำ้� ผง้ึ ปน้ั เปน็ เมด็ ลกู กลอน เปน็ ยาอายวุ ฒั นะ บำ� รงุ กำ� ลงั บำ� รงุ แก้ฝหี นอง แก้หัด ตม้ กับหมูเนอื้ แดงกนิ แก้ไอกรน ทางเพศ ขบั ลม และแกป้ วดทอ้ ง เมลด็ รสขมเยน็ แกบ้ ิด แกไ้ ข้ แก้ปวดศรี ษะ 30

ฟ้าทะลายโจร • ชอ่ื วิทยาศาสตร์ Andrographis paniculata (Burm.f.) Wall. ex Nees. มะขามป้อม • ชื่อวงศ์ ACANTHACEAE • ชื่ออนื่ ฟ้าทะลาย (กรุงเทพฯ), หญ้ากนั งู (สงขลา) • ลกั ษณะทวั่ ไป • ช่อื วิทยาศาสตร์ Phyllanthus emblica L. เป็นไม้ล้มลุก ใบเด่ียว รูปไข่ แผ่นใบบาง สีเขียว ดอกออกเป็นช่อ • ชือ่ วงศ์ EUPHORBIACEAE ที่ซอกใบและปลายกิ่ง ดอกเล็กสีขาว กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด • ชื่ออนื่ กำ� ทวด (ราชบุร)ี , กันโตด (เขมร-จันทบุร)ี , ปลายแยกเปน็ 2 ปาก กลบี บนมที างยาวสแี ดงเขม้ พาดอยู่ ผลเปน็ ฝกั สเี ขยี ว สนั ยาส่า มง่ั ลู (กะเหร่ยี ง-แมฮ่ อ่ งสอน) อมนำ�้ ตาล ผลแห้งแตกได้ 2 ซีก • ลกั ษณะทัว่ ไป • สรรพคณุ เป็นไม้ยืนต้น ก่ิงก้านแข็งเหนียว ใบเดี่ยว รูปขอบขนาน แผ่นใบ แก้ไข้ แกเ้ จบ็ คอ แกท้ ้องเสีย บาง เรียบ สีเขยี ว ดอกออกเป็นชอ่ กระจุก ดอกสเี หลืองออกเขียว กลีบดอก ท้ังต้นและใบ ก่อนออกดอก รสขม เป็นยาแก้เจ็บคอ แก้ท้องเสีย มี 5-6 กลีบ ผลรูปทรงกลมแบ่งเป็นพลูต้ืนๆ ผลแก่สีเหลืองออกน้�ำตาล แก้ไข้ แก้หวัด แก้ปอดอักเสบ แก้บิด เจริญอาหาร ต้มกับเบญจมาศสวน เมล็ดแข็ง รปู รี กนิ แก้ไสต้ งิ่ อักเสบ ลดความดันเลือด • สรรพคณุ ใบ รสขม บดผสมน้�ำมันพืช ทาแผลน้�ำร้อนลวก ไฟไหม้ ใบสด แก้ไอ แกเ้ สมหะ ท�ำใหช้ มุ่ คอ น�ำมาเค้ยี วกลนื น�ำ้ แกค้ ออักเสบ เจบ็ คอ ใบ ตม้ ลดอาการไข้ ข้อควรระวัง ไม่ควรกินติดต่อกันนาน ผู้ท่ีมีโรคหัวใจความดันต�่ำ ดอก เขา้ ยาเย็น เปน็ ยาระบายท้อง ไมค่ วรใช้ ลกู อ่อน บำ� รุงเนื้อหนังให้บริบรู ณ์ กดั เสมหะในคอ ลูกแก่ เป็นยาแก้ไข้เจือลม แก้ลม แก้ไอ แก้เสมหะ ท�ำให้ชุ่มคอ ลดไข้ ขบั ปัสสาวะ ระบายท้อง บำ� รุงหัวใจ ฟอกโลหติ แก้โรคลักปิดลักเปิด เนอ้ื ผลแห้ง เปน็ ยาแกบ้ ดิ แก้ทอ้ งเสีย แกร้ ิดสีดวงทหวาร เปลอื กต้น เปน็ ยาสมานแผล ราก ตม้ ดมื่ แกไ้ ข้ แกพ้ ิษไข้ เปน็ ยาเย็น ฟอกโลหิต ทำ� ให้อาเจียน 31

ขอขอบคณุ กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงพาณชิ ย์ กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงการทอ่ งเท่ียวและกฬี า กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม สำ� นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ กระทรวงอุ ตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมแหง่ ประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สถาบันวจิ ยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย สถาบนั วิจัยระบบสาธารณสขุ (สวรส.) มูลนธิ ิโรงพยาบาลเจา้ พระยาอภัยภเู บศร 32


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook