Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือมาตรฐานสมุนไพรจีนในประเทศไทย เล่ม 1

หนังสือมาตรฐานสมุนไพรจีนในประเทศไทย เล่ม 1

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-10-19 22:37:30

Description: หนังสือมาตรฐานสมุนไพรจีนในประเทศไทย เล่ม 1

Search

Read the Text Version

มาตรฐานสมุนไพรจีนในประเทศไทย เลม 1 กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก กระทรวงสาธารณสุข ดวยความรวมมือจาก มหาวทิ ยาลยั การแพทยแผนจนี เฉิงตู สาธารณรัฐประชาชนจนี      

    泰国中药质量标准 上册 泰国卫生部泰医和替代医学发展司 与中华人民共和国 成都中医药大学 Standard of Chinese Materia Medica in Thailand Volume 1 Department for Development of Thai Traditional and Alternative Medicine, Ministry of Public Health, Thailand in cooperation with Chengdu University of Traditional Chinese Medicine The People’s Republic of China

มาตรฐานสมนุ ไพรจีนในประเทศไทย เลม 1 กรมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก กระทรวงสาธารณสขุ ประเทศไทย ท่ปี รึกษา ผศ.(พเิ ศษ) ดร.นพ.ธวัชชยั กมลธรรม อธิบดกี รมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลอื ก นพ.ปภสั สร เจียมบญุ ศรี รองอธบิ ดกี รมพัฒนาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยทางเลือก นพ.ธวชั บูรณถาวรสม ผอู าํ นวยการสถาบันการแพทยไ ทย-จนี บรรณาธกิ าร บุญใจ ล่มิ ศิลา เย็นจติ ร เตชะดาํ รงสิน อุทยั โสธนะพนั ธุ ยทุ ธเดช เวชพงศา นพมาศ สนุ ทรเจรญิ นนท กองบรรณาธิการ จรัส ตั้งอรามวงศ สวาง กอแสงเรอื ง อภญิ ญา เวชพงศา ยอดวิทย กาญจนการณุ ลกั ขณา อังอธภิ ทั ร วลัยลกั ษณ ดุริยะศรีไพร ปวรตุ ม ศรเี หรา พัฒนพงศ จินดามงคล สมชยั โกวทิ เจรญิ กลุ ปนัดดา พัฒนวศนิ รวินันท กุดทงิ รชตะ หนเู ทศ ผูประสานงาน บญุ ใจ ลมิ่ ศิลา มหาวทิ ยาลยั การแพทยแ ผนจีนเฉิงตู สาธารณรัฐประชาชนจนี บรรณาธิการ เผงิ เฉิง ตง เสี่ยวผงิ ฝู เชาเหมย กองบรรณาธิการ เติ้ง หวนิ หลี่ หมนิ่ หลวิ เซียนหวู เจิง หนาน กวั ล่ี หาน ปอ ลี่ หยนุ เสยี เพย จนิ ซู เวย เซี่ย เซยี วฟาง ฝา ยสนบั สนนุ เอา หุย ซู เวย ล่ี หยุนเฉงิ เหยา หงหวู ผูประสานงาน เล่ียว หวาน

เจาของลขิ สทิ ธ์ิ กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข ประเทศไทย มหาวทิ ยาลยั การแพทยแผนจีนเฉงิ ตู สาธารณรัฐประชาชนจีน ออกแบบ อทุ ยั โสธนะพนั ธุ นพมาศ สุนทรเจรญิ นนท ปก ยุทธเดช เวชพงศา ถา ยภาพ นนทนิ ี ตรยั สริ ริ จุ น พิมพค รั้งที่ 1 จาํ นวนทพี่ มิ พ อศั วิน นรินทรช ัยรงั ษี นพมาศ สุนทรเจริญนนท พมิ พท ่ี อทุ ยั โสธนะพนั ธุ ยุทธเดช เวชพงศา ธันวาคม 2557 1,000 เลม ชมุ นุมสหกรณก ารเกษตรแหงประเทศไทยจํากัด 79 ถนนงามวงศว าน แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรงุ เทพฯ 10900 ขอมูลทางบรรณานกุ รมของหอสมดุ แหง ชาติ บุญใจ ล่ิมศิลา, เยน็ จิตร เตชะดํารงสิน, เผงิ เฉิง และคณะ (บรรณาธกิ าร) มาตรฐานสมนุ ไพรจนี ในประเทศไทย เลม 1 กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณก ารเกษตรแหงประเทศไทย จาํ กดั , 2557. 504 หนา ภาพประกอบ กรมพฒั นาการแพทยแ ผนไทยและการแพทยท างเลือก กระทรวงสาธารณสขุ ISBN 978-616-11-2357-4

泰国中药质量标准 上册 泰国卫生部泰医和替代医学发展司 高级顾问 塔瓦才 · 卡门覃助教授、博士医师 主编 泰医和替代医学发展司司长 编委会成员 巴葩松 · 甲才喜医师 项目协调人 泰医和替代医学发展司副司长 文梦贤 泰中医药研究院院长 汶栽 · 里希拉 周少华 肖旭泰 杨伯豪 王丽鸘 陈亮 高文堂 杨萍 李明勇 拉卡纳 · 昂阿提帕 娲来啦 · 吨里亚喜拍 陈松 施兴发 辜颂猜 巴纳拉 · 帕他那瓦形 拉羽南 · 古厅 啦叉大 · 努特 汶栽 · 里希拉 中华人民共和国成都中医药大学 主编 彭成 董小萍 编委会成员 郭力 邓赟 刘贤武 技术支持 傅超美 曾南 李敏 韩波 项目协调人 裴瑾 黎跃成 谢晓芳 敖慧 李芸霞 舒薇 舒薇 姚洪武 廖婉

版权 泰国卫生部泰医和替代医学发展司与 中华人民共和国成都中医药大学 书设计 肖旭泰 王丽鸘 封面设计 杨伯豪 拍相 弄替你 · 戴西丽律 版次 版数 阿仨芸 · 那林柴染希 王丽鸘 出版发行 肖旭泰 杨伯豪 2014 年 12 月第 1 版 1000 册 泰国有限公司农业信用社 79 那握万路, 拉跑, 杂督咋, 曼谷 10900 泰国国家图书馆编目发布的数据 汶栽 · 里希拉,周少华,彭成,等 (编辑) 插图. 《泰国中药质量标准》上册 曼谷: 泰国有限公司农业信用社, 2014. 504 网页. 泰国卫生部泰医和替代医学发展司 ISBN 978-616-11-2357-4

Standard of Chinese Materia Medica in Thailand Volume 1 Department for Development of Thai Traditional and Alternative Medicine, Ministry of Public Health, Thailand Senior Advisors Asst. Prof. Dr. Thavatchai Kamoltham, M.D. Editors Director General, Editorial Committee Department for Development of Thai Traditional and Alternative Medicine Coordinator Dr. Papassorn Chemboonsri, M.D. Deputy Director General, Department for Development of Thai Traditional and Alternative Medicine Dr. Tawat Buranatawornsom, M.D. Director, Institute of Thai-Chinese Medicine Boonjai Limsila Yenchit Techadamrongsin Uthai Sotanaphun Yuttadech Vejpongsa Noppamas Soonthornchareonnon Jaras Tangaramvong Sawarng Korsangruang Apinya Vejpongsa Yodwit Kanjanakaroon Luckana Angathipatr Walailux Duriyasriprai Porwarut Srihara Pattanapong Jindamongkol Somchai Kovitcharoenkul Panadda Phattanawasin Rawinun Gudthing Ratchata Nuthet Boonjai Limsila Chengdu University of Traditional Chinese Medicine, The People’s Republic of China Executive Editor Peng Cheng Dong Xiaoping Editors Guo Li Deng Yun Liu Xianwu Editorial Committee Fu Chaomei Zeng Nan Li min Han Bo Coordinators Pei Jin Li Yuncheng Xie Xiaofang Ao Hui Li Yunxia Shu Wei Shu Wei Yao Hongwu Liao Wan

Copyright Department for Development of Thai Traditional and Alternative Medicine, Ministry of Public Health, Thailand Artwork Cover Design Chengdu University of Traditional Chinese Medicine, Photography The People’s Republic of China First Edition Publisher Uthai Sotanaphun Noppamas Soonthornchareonnon Yuttadech Vejpongsa Nontinee Trisirirut Aswin Narinchairangsri Noppamas Soonthornchareonnon Uthai Sotanaphun Yuttadech Vejpongsa December 2014 1,000 copies Agricultural Credit Cooperatives of Thailand Limited 79 Ngamwongwan road, Lardyao, Chatu Chuck, Bangkok 10900 National Library of Thailand Cataloging in Publication Data Boonjai Limsila, Yenchit Techadamrongsin, Peng Cheng et al. (Editors) Standard of Chinese Materia Medica in Thailand Volume 1 Bangkok: Agricultural Credit Cooperatives of Thailand Limited, 2014. 504 Pages. Illustration. Department for Development of Thai Traditional and Alternative Medicine, Ministry of Public Health, Thailand ISBN 978-616-11-2357-4

มาตรฐานสมุนไพรจนี ในประเทศไทย เลม 1 คํานาํ ตาํ รามาตรฐานสมุนไพรจนี ในประเทศไทย เลม 1 นี้ เปนความรว มมอื ทางดา นวิชาการระหวางสถาบัน การแพทยไทย-จีน กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข กับ มหาวิทยาลัยการแพทยแผนจีนเฉิงตู สาธารณรัฐประชาชนจีน ภายใตบันทึกขอตกลงความรวมมือดาน การแพทยแผนดั้งเดิม เมื่อป พ.ศ 2553 เนื่องจากสถาบันการแพทยไทย-จีน เปนหนวยงานหลักที่มีหนาท่ี รับผิดชอบในการพัฒนาและถายทอดองคความรูดานศาสตรการแพทยแผนจีนท่ีถูกตอง และผสมผสาน การแพทยแผนจีนเขาสูระบบสุขภาพไทยอยางเหมาะสม โดยไดเล็งเห็นวามหาวิทยาลัยการแพทยแผนจีนเฉิงตู เปนสถาบันวิชาชีพที่มีบทบาทสูงในดานการศึกษา การวิจัย และการรักษาโรคโดยใชการแพทยแผนจีนมาเปน เวลานานมากกวา 50 ป ประกอบกับพระราชกฤษฎีกา พ.ศ 2552 ไดกําหนดใหสาขาการแพทยแผนจีน เปน สาขาการประกอบโรคศิลปะตามพระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 และขณะนี้ไดมีการจัดตั้ง คณะกรรมการวชิ าชีพสาขาการแพทยแผนจีนขึ้นในประเทศไทยเรียบรอยแลว ดังน้ันจึงจําเปนอยางย่ิงท่ีจะตอง มีการจัดทาํ มาตรฐานองคค วามรดู า นการแพทยแผนจีนโดยเฉพาะมาตรฐานสมุนไพรจีนในประเทศไทยเพื่อการ คุมครองผูบริโภค โดยในป พ.ศ. 2554 – 2555 คณะทํางานพัฒนามาตรฐานสมุนไพรและผลิตภัณฑจาก สมุนไพร ไดจ ัดทาํ มาตรฐานสมุนไพรจนี ในประเทศไทย ลาํ ดบั ที่ 1 และ 2 คือ ซวนซยง และจือจ่ือ พรอมท้ังมี การจัดพิมพเผยแพรใหกับหนวยงานตางๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อนําไปใชประโยชนในการพัฒนาดานอุตสาหกรรม สมนุ ไพรในประเทศไทย และเพอ่ื การคุมครองผูบ ริโภค ตํารามาตรฐานสมนุ ไพรจีนในประเทศไทย เลม 1 นี้ เปนการรวบรวมขอมูลดานวิชาการของสมุนไพร จนี ในประเทศไทย โดยมีสมุนไพรเปาหมายจํานวน 15 ชนิด ไดแก กันเจียง จือจื่อ เจ๋ียเกิง ซวนซยง ชวนหนิว ซี ชวนเล่ียนจื่อ เชียนเฉา เซียนเหมา ตันเซิน ตูจง ไปเสา ฟูจื่อ ไมตง หงฮวา และหวงฉิน โดยมีรายละเอียด เน้ือหาในหัวขอตาง ๆ ท่ีเก่ียวของกับขอกําหนดมาตรฐานสมุนไพรตามเภสัชตํารับและตํารามาตรฐานของ สาธารณรัฐประชาชนจีน ไดแก คําจํากัดความ ลักษณะทางพฤษศาสตร แหลงผลิตที่สําคัญ การเก็บเกี่ยวและ การปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว ลักษณะภายนอกของสมุนไพร มาตรฐานสินคา การเตรียมตัวยาพรอมใช องคประกอบทางเคมี การพิสูจนเอกลักษณ ขอกําหนดคุณภาพ ฤทธ์ิทางเภสัชวิทยา พิษวิทยา รสยาและเสน ลมปราณหลกั ฤทธิ์ของยาตามภูมิปญญา ขอบงใช ขนาดและวิธีใช ขอหามใช การใชทางคลินิกในปจจุบัน และ การเก็บรกั ษา รายละเอยี ดของเน้ือหาจดั ทําเปน 3 ภาษา คือ ไทย จนี และองั กฤษ โดยผเู ชย่ี วชาญจากมหาวิทยาลัย การแพทยแผนจีนเฉิงตูจะรับผิดชอบในการเตรียมเนื้อหาภาษาจีนและอังกฤษของมาตรฐานคุณภาพสมุนไพร i

มาตรฐานสมนุ ไพรจีนในประเทศไทย เลม 1 เปาหมายตามเภสัชตํารับของสาธารณรัฐประชาชนจีน มาตรฐานอุตสาหกรรมยา และผลงานวิจัยท่ีเปนปจจุบัน ผูเชี่ยวชาญฝายไทยจะรับผิดชอบในการเรียบเรียงขอมูลตาง ๆ เปนภาษาไทย รวมท้ังการตรวจสอบจุลทรรศน ลักษณะของผงยาและการตรวจเอกลักษณทางเคมีดวยวิธีการท่ีเหมาะสมสําหรับประเทศไทย ในการจัดทํา เนื้อหาของสมุนไพรแตละชนิดตองใชเวลาคอนขางมากเนื่องจากเปนฉบับ 3 ภาษา แตละหัวขอมีรายละเอียด เนื้อหาในแนวลึกและเปนศัพทเฉพาะทางตองอาศัยผูเช่ียวชาญในแตละดาน รวมท้ังตองมีการตรวจสอบความ ถูกตองในการใชภาษาท้ังไทย จีน และอังกฤษ และในป พ.ศ 2558 คณะทํางานฯ ไดวางแผนการจัดพิมพตํารา มาตรฐานสมนุ ไพรจนี ในประเทศไทย เลม 2 โดยมสี มนุ ไพรเปาหมายอีกจํานวน 16 ชนดิ กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกตองขอขอบคุณคณะผูเชี่ยวชาญทั้งฝายไทย และจากมหาวิทยาลัยการแพทยแผนจีนเฉิงตู ท่ีไดสละเวลาและมีความต้ังใจอยางย่ิงในการดําเนินงาน นับวา เปนจดุ เริม่ ตน ของการพัฒนาสมุนไพรและอุตสาหกรรมยาจากสมุนไพรท่ถี กู ตองและยั่งยืน เพื่อใหเปนตนแบบ ในการจัดทําสมุนไพรชนิดอื่น ๆ กรมพัฒนาการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกเชื่อมั่นวาตํารา มาตรฐานสมุนไพรจีนในประเทศไทย เลม 1 นี้จะเปนประโยชนอยางกวางขวางสําหรับผูที่สนใจ และผูท่ี เกยี่ วขอ งในการใชแ ละการผลิตสมนุ ไพรท้งั ในระดับพน้ื บานและระดับอตุ สาหกรรมตอไป กรมพฒั นาการแพทยแผนไทยและการแพทยท างเลือก กระทรวงสาธารณสุข มหาวิทยาลยั การแพทยแผนจีนเฉิงตู ii

泰国中药质量标准 上册 前言 泰国卫生部泰医和替代医学发展司泰中医药研究院的宗旨,是为了普及发展提高 中医学,并把中医纳入卫生服务系统。2009 年的卫生法令已承认中医在泰国合法化,并承 认中医为卫生医务的一个学科,并依据 1999 年的执业法令成立了泰国中医执业委员会, 为了进一步体现中医的标准化。现已编成了泰国中药标准第一册,本书依据成都中医药大 学与泰国卫生部泰医和替代医学发展司泰中医药研究院签订 2010 年传统医疗备忘录的要 求,共同编写而成。所以与中国成都中医药大学合作,已有 50 年的历史,在发展过程 中,无论是对疾病还是医疗和科研,在中国国内都有崇高的地位和影响力。因此要把中医 在泰国推广,必须把中药标准化作为保护消费者的依据,在 2011-2012 年期间,中药标准 和草药产品工作小组已完成 第 1 本 川芎 和 第 2 本 栀子的编写工作,现编写并发行给 有关草药企业和保护消费者。 泰国中药标准化上册内容包括泰国中药学术资料,按计划有 15 个品种标准化中 药,包括干姜、栀子、桔梗、川芎、川牛膝、川楝子、茜草、仙茅、丹参、杜仲、白芍、 附子、麦冬、红花、黄芩。每味药的名称、定义、植物形态、生境分布、采收加工、药材 性状、商品规格、炮制方法、化学成分、鉴定、质量指标、药理作用、毒理作用、性味与 归经、功能、主治、用量和用法、临床研究和贮藏。 本书有泰、中、英三种语言版本,成都中医药大学负责中文和英文,以中华人民 共和国药典质量规定、中药企业标准及近期药理研究报告来作为本书编写依据,泰方负责 翻译成泰文以及编写中药的显微鉴别和理化鉴别验证。编写书本过程中需要参照各方面标 准和按计划时间修订,并翻译成三种语言,其内容深入简出,包含大量专业术语,有很大 的技术含量。在 2015 年将印刷下册,计划有 16 种中药待编。 泰国卫生部泰医和替代医学发展司的双方各位专家,以及成都中医药大学所奉献 出的珍贵时间和毅力完成了这本书的诞生,这本书是对中药学和草药企业发展的楷模,将 会对泰医和替代医学发展司以及对其感兴趣者有很大的指导意义。 泰国卫生部泰医和替代医学发展司 中华人民共和国成都中医药大学 iii

Standard of Chinese Materia Medica in Thailand Volume I Preface Standard of Chinese Materia Medica in Thailand Volume I is a result of the academic collaboration, under the memorandum of cooperation in Traditional Medicine, 2010, between Institute of Thai-Chinese Medicine, Department for Development of Thai Traditional and Alternative Medicine, Ministry of Public Health, Thailand and Chengdu University of Traditional Chinese Medicine, The People’s Republic of China. Institute of Thai-Chinese Medicine is the core organization responsible for the development and transfer of the accurate Traditional Chinese Medicine knowledge and to properly integrate the Traditional Chinese Medicine into Thai health care system. Chengdu University of Traditional Chinese Medicine has an important role in education, research and treatment using Traditional Chinese Medicine for more than 50 years. In the year 2009 a royal decree established the Traditional Chinese Medicine as a branch of arts of healing practice under the Practice of the Arts of Healing Act, 1999. Traditional Chinese Medicine Professional Committee was also established in Thailand. Therefore, it is necessary to prepare standard knowledge base of Traditional Chinese Medicine especially the standard of Chinese Materia Medica in Thailand for the benefit of consumer protection. During 2011-2012 the herbal and herbal products standard development working group had published Standard of Chinese Herbal Medicine in Thailand, Volume I, and II (Chuanxiong and Zhizi) and distributed to relevant organizations to be used for development of herbal industry in Thailand and the consumer protection. Standard of Chinese Materia Medica in Thailand Volume I covers the technical information of 15 herbal medicines commonly used in Thailand: Ganjiang, Zhizi, Jiegeng, Chuanxiong, Chuanniuxi, Chuanlianzi, Qiancao, Xianmao, Danshen, Duzhong, Baishao, Fuzi, Maidong, Honghua and Huangqin. The detailed contents are related to standards of herbal medicine described in pharmacopoeias and in standard textbooks used in China. The main topics are: definition, botanical description, cultivation area, harvest and handling, description of crude drug, commercial grading, processing method, chemical composition, identification, quality specification, pharmacological activity, toxicity, property and channel distribution, action, indication, usage and dosage, contraindication, modern clinical application and storage. This Materia Medica is published as a tri-lingual volume, Thai, Chinese and English. The preparation of the content of each herb took a considerable time for experts in each field to verify the accuracy of the contents as well as the terminology and languages. The working group plans to publish the Volume II covering 16 herbal medicines in 2015. iv

Standard of Chinese Materia Medica in Thailand Volume I Department for Development of Thai Traditional and Alternative Medicine wishes to thank the Thai experts and experts from Chengdu University of Traditional Chinese Medicine for their valuable time and effort in making this volume. It can be considered the starting point of the proper and sustainable development of herbal medicine and herbal medicine industry. The department hopes that this Materia Medica will be widely beneficial to the interested parties and to those who involve with the use and manufacture of herbal medicine both in homegrown and industrial levels. Department for Development of Thai Traditional and Alternative Medicine, Ministry of Public Health Chengdu University of Traditional Chinese Medicine v

มาตรฐานสมุนไพรจีนในประเทศไทย เลม 1 หนา i สารบัญ T-1 คาํ นํา T-15 T-31 1. กนั เจียง (ขิง) T-47 2. จอื จ่อื (ลูกพดุ ) T-65 3. เจ๋ยี เก่ิง T-80 4. ชวนซฺยง (โกฐหัวบวั ) T-95 5. ชวนเลยี่ นจือ่ T-110 6. ชวนหนวิ ซี T-124 7. เช่ยี นเฉา T-143 8. เซยี นเหมา T-159 9. ตนั เซิน T-176 10. ตูจ ง T-195 11. ไปเสา T-211 12. ฟูจอื่ T-225 13. ไมตง 14. หงฮวา (ดอกคําฝอย) T-242 15. หวงฉิน I-1 ภาคผนวก I-3 ดัชนี I-12 รายช่ือสมุนไพร ไทย-จีน-อังกฤษ ดชั นีตวั ยา ดัชนีทวั่ ไป vi

目录 泰国中药质量标准 上册 前言 页面 iii 1. 干姜 2. 栀子 C-1 3. 桔梗 C-6 4. 川芎 C-12 5. 苦楝子 C-18 6. 川牛膝 C-24 7. 茜草 C-29 8. 仙茅 C-35 9. 丹参 C-40 10. 杜仲 C-45 11. 白芍 C-52 12. 附子 C-58 13. 麦冬 C-64 14. 红花 C-72 15. 黄芩 C-78 C-84 附录 索引 C-90 泰-中-英 药名 I-1 中药索引 I-3 附录索引 I-12 vii

Standard of Chinese Materia Medica in Thailand Volume I Page iv Contents E-1 Preface E-8 E-16 1. Zingiberis Rhizoma E-24 2. Gardeniae Fructus E-32 3. Platycodonis Radix E-39 4. Chuanxiong Rhizoma E-46 5. Toosendan Fructus E-53 6. Cyathulae Radix E-59 7. Rubiae Radix et Rhizoma E-69 8. Curculiginis Rhizoma E-77 9. Salviae Miltiorrhizae Radix et Rhizoma E-85 10. Eucommiae Cortex E-96 11. Paeoniae Alba Radix E-104 12. Aconiti Lateralis Radix Preparata E-112 13. Ophiopogonis Radix 14. Carthami Flos E-120 15. Scutellariae Radix I-1 Appendix I-3 Index I-12 Thai-Chinese-English Herbal Name Herb Index General Index viii

1 กันเจียง (ขิง)   คาํ จาํ กดั ความ กันเจียง (干姜) หรือ ขงิ คอื เหงาแหง ของพชื ที่มชี อ่ื วิทยาศาสตรวา Zingiber officinale (Willd.) Rosc. วงศ Zingiberaceae1 ลักษณะทางพฤกษศาสตร ตน เจยี งเปน ไมลมลกุ มเี หงา อายหุ ลายป เหงามีเน้ืออวบหนา มีแขนง กลิ่นหอม รสเผ็ดรอน ใบเรียง สลับเปนลําดับทีละสองใบ แผนใบรูปใบหอกแกมรูปแถบ ผิวใบเรียบเกล้ียง ไมมีกานใบ ใบประดับแบบลิ้น บางคลายเย่ือ ชอดอกกานโดดเจริญข้ึนมาจากเหงา ลักษณะเปนโคนเชิงลด รูปไขหรือรูปรี ใบประดับรูปไข สี เขยี วออน ปลายเรียวเลก็ 2-4 (รปู ท่ี 1, 2) แหลงผลิตทส่ี ําคญั แหลงเพาะปลูกที่สําคัญของตนเจียงอยูท่ีมณฑลซ่ือชวน (四川) กุยโจว (贵州) กวางซี (广西) เจอเจียง (浙江) ฝูเจ้ียน (福建) สานซี (陕西) เจียงซี (江西) หยุนหนัน (云南) และมณฑลอื่น ๆ ที่มีความ เหมาะสมสําหรับการเจริญเติบโต โดยพ้ืนท่ีเพาะปลูกที่ดีท่ีสุด คือ เมืองเฉียนเหวย (犍为) ในมณฑลซื่อชวน (四川)2-4 การเก็บเกี่ยวและการปฏบิ ัตหิ ลงั การเก็บเกยี่ ว โดยทว่ั ไปมกั เกบ็ เก่ยี วในชว งฤดูหนาว เมอ่ื ลาํ ตนและใบเหี่ยวเฉาเปลย่ี นเปน สีเหลอื ง ในการเก็บเกย่ี ว ใหขุดเหงา ตัดลําตนและใบทิ้ง กําจัดเศษดินที่ติดอยูออก ลางน้ําใหสะอาด นําไปอบที่อุณหภูมิต่ํา ไมเกิน 60 องศาเซลเซียส จนแหงประมาณรอยละ 70-80 นํามากองสุมทิ้งไว 4-5 วัน จากน้ันนําไปอบจนแหงสนิท หาก ตองการเตรยี มกันเจียงชนิดปอกเปลือก หา มใชอ ปุ กรณท เี่ ปนเหลก็ โดยเดด็ ขาด1,5-7 T-1

มาตรฐานสมนุ ไพรจนี ในประเทศไทย เลม 1 รปู ท่ี 1 ลักษณะทางพฤษศาสตรข องตน เจยี ง (ขงิ ) 图 1 姜植物形态 Figure 1 Zingiber officinale (Willd.) Rosc. T-2

1. กันเจยี ง 1 2 5 centimeters 1 centimeter 3 รปู ที่ 2 ลักษณะทางพฤกษศาสตรของตนเจียง (ขงิ ) 1. ตนทม่ี ีดอก 2. ดอก 图 2 姜植物简图。 1.全植物有花 2.花 Figure 2 Zingiber officinale (Willd.) Rosc. 1. whole plant with flowers 2. flower T-3

มาตรฐานสมนุ ไพรจีนในประเทศไทย เลม 1 ลักษณะภายนอกของสมนุ ไพร กันเจียงมีลักษณะเปนกอนแบนท่ีมีแขนงรูปน้ิวมือ ยาว 3-7 เซนติเมตร หนา 1-2 เซนติเมตร ผิวสี เหลืองเทา หรือนํ้าตาลเทาออน ผิวหยาบ มีรอยยนตามแนวยาว และมีขอเปนวงชัดเจน สวนแขนงมักมีใบเกล็ด ทย่ี ังหลงเหลอื ติดอยู ปลายมรี อยติดของยอดออ นหรอื ตา เน้ือแนน ลักษณะเปนแปงเม็ดละเอียด หนาตัดสีขาว อมเหลืองหรอื ขาวอมเทา เหน็ ชน้ั endodermis เปน วงชัดเจน มีมดั ทอลําเลียงและหยดนํ้ามันสีเหลืองกระจาย อยู มกี ล่ินหอมเฉพาะ รสเผ็ดรอน1,5-7 (รปู ท่ี 3) 1 centimeter รปู ท่ี 3 ลกั ษณะภายนอกของกันเจยี ง 图 3 干姜药材 Figure 3 Zingiber Rhizoma crude drug มาตรฐานสินคา ไมมกี ารแบง ระดับมาตรฐานสนิ คา8-10 การเตรียมอ่นิ เพ่ียน (ตวั ยาพรอมใช) การเตรียมอ่ินเพย่ี นของกนั เจยี ง มี 3 วธิ ี ดงั น้ี 1. กนั เจยี งเพีย่ น (干姜片) : เตรียมโดยนํากันเจียงมากําจัดส่งิ แปลกปลอม แชน า้ํ สักครู แลวลางให สะอาด หั่นเปน ชน้ิ หรือเปนแผน หนา 2-4 มลิ ลิเมตร แลว ทาํ ใหแ หง 2. เจียงถาน (姜炭) : เตรียมโดยนํากันเจียงมาค่ัวในกระทะโดยใชไฟระดับแรง ค่ัวจนกระท่ังผิว ดานนอกเปลย่ี นเปน สดี ําไหม และเนอ้ื ในเปลี่ยนเปน สีนํ้าตาลเขม พรมนาํ้ เลก็ นอ ย นาํ ออกจากเตา ทิง้ ไวใหเ ยน็ 3. เผาเจียง (炮姜) : เตรียมโดยนําทรายจํานวนมากพอท่ีจะกลบฝงกันเจียงได และใหความรอน โดยใชไฟแรงจนทรายไหลลื่นไดดี ใสกันเจียงลงในกระทะ คั่วอยางตอเน่ืองจนกระทั่งผิวดานนอกพองและมีสี นา้ํ ตาลเขม นาํ ออกจากเตา รอนเอาทรายออก ทิ้งไวใ หเย็น1,5-7 T-4

1. กันเจียง ลักษณะของอิน่ เพีย่ น 1. กันเจียงเพี่ยน : มีลักษณะเปนแวนหั่นตามยาวหรือเฉียง รูปรางไมแนนอน มีแขนงรูปนิ้วมือ ยาว 1-6 เซนตเิ มตร กวาง 1-2 เซนตเิ มตร หนา 0.2-0.4 เซนติเมตร ผวิ สเี หลอื งอมเทาหรอื สีน้าํ ตาลอมเหลอื งออ น ผิวหยาบ มีรอยยนตามแนวยาว และมีขอเปนวงชัดเจน หนาตัดมีสีเหลืองอมเทาหรือสีขาวอมเทา มีแปงเม็ด ละเอยี ด มเี สน ใยตามแนวยาวจํานวนมาก บางสวนมีลักษณะคลายขน เนื้อแนน มีกล่ินหอมเฉพาะ รสเผ็ดรอน (รูปท่ี 4) 2. เจียงถาน : มีลักษณะเหมือนกันเจียง แตผิวสีดาํ ไหม เนื้อเบาและเปราะ รสขมและเผ็ดเล็กนอย (รปู ที่ 5) 3. เผาเจียง : มีลักษณะเปนช้ินเกรียม รูปรางไมแนนอน ผิวสีนํ้าตาลดําหรือนํ้าตาล เนื้อเบาหลวม ขอบหนาตัดสีน้ําตาลดํา เนื้อในสีนํ้าตาลเหลือง มีมัดทอลําเลียง กระจายอยู มีกล่ินหอมเฉพาะ รสเผ็ดรอน เลก็ นอย1,5-7 (รปู ท่ี 6) รูปที่ 4 ลกั ษณะภายนอกของกนั เจยี งเพีย่ น 图 4 干姜片 Figure 4 Ganjiangpian prepared slices 1 centimeter 1 centimeter 1 centimeter รูปที่ 5 ลกั ษณะภายนอกของเจยี งถาน รูปท่ี 6 ลกั ษณะภายนอกของเผาเจียง 图 5 姜炭饮片 图 6 炮姜饮片 Figure 5 Jiangtan prepared slices Figure 6 Paojiang prepared slices T-5

มาตรฐานสมนุ ไพรจีนในประเทศไทย เลม 1 องคประกอบทางเคมี กันเจียงมีองคประกอบทางเคมีที่สําคัญ ไดแก นา้ํ มันหอมระเหย (เชน α-zingiberene) สารกลุม diarylheptanoids [เชน 6-gingerol (รปู ท่ี 7)], 6-gingerdione เปนตน 5,11-13   รปู ที่ 7 สูตรโครงสรา งทางเคมขี องสาร 6-gingerol 图 7 6-姜辣素 Figure 7 Chemical structure of 6-gingerol การพิสจู นเ อกลักษณ รูปท่ี 8 ลักษณะของผงกนั เจยี ง 1. เอกลักษณทางจลุ ทรรศนลกั ษณะ 图 8 干姜粉末 ผงกันเจียงมีสีน้ําตาลอมเหลืองถึงสีนํ้าตาลอมเทา (รูปที่ Figure 8 Zingiberis Rhizoma powder 8) มลี ักษณะเนื้อเยือ่ เซลลแ ละสวนประกอบภายในเซลลภายใตก ลอ ง จุลทรรศน ไดแก (1) พบเม็ดแปงมีขนาดใหญและมีจํานวนมาก มัก พบเปนเม็ดเดี่ยว รูปรางยาวรี หรือกลม หรือรูปไต มี hilum แบบ ปากกา เม็ดแปงเมื่อยอมดวยนํ้ายาไอโอดีนจะไดเปนสีมวง พบได มาก (2) พบเซลล parenchyma ผนังบาง รูปรางคอนขางกลม ผนังไม lignified ผนังเปนลูกคล่ืน ซ่ึงภายในเซลลพบเม็ดแปง จํานวนมาก (3) พบเวสเซลสวนใหญเปนแบบขั้นบันได หรือแบบ รางแห (4) พบ Phloem fiber ผนังบาง ไม lignified และมีผนัง ค่ันตามขวาง ผนังดานหนึ่งเปนซ่ีฟน (5) พบเซลลที่มีเรซินสีสมแดง ตดิ อยู (รปู ที่ 9) T-6

1. กันเจยี ง รูปที่ 9 จลุ ทรรศนล กั ษณะของผงกันเจยี ง 50 micrometers 图 9 干姜粉末显微特征 T-7 Figure 9 Microscopic characteristic of Zingiberis Rhizoma powdered drug

มาตรฐานสมนุ ไพรจีนในประเทศไทย เลม 1 2. เอกลักษณท างเคมี (1) การตรวจสอบดวยวธิ ปี ฏิกิรยิ าทางเคมี สกัดผงกันเจียง 0.1 กรัม ดวย petroleum ether (30-60 องศาเซลเซียส) ปริมาตร 3 มลิ ลลิ ติ ร โดยใชเครื่องคล่นื เสยี งความถส่ี ูง (ultrasonicator) นาน 15 นาที ระเหยนํ้ายาตัวอยาง 0.3 มิลลิลิตร ใหแหงในถาดหลุม เติม sulfuric acid solution (เตรียมโดยผสม concentrated sulfuric acid 7.5 มลิ ลลิ ิตร กบั นํา้ 2.5 มลิ ลลิ ิตร) 4-5 หยด และผงวานลิ ลิน (vanillin) เล็กนอ ย ละลายใหเขา กัน สารละลายจะ มีสีนํา้ ตาลแดง ทิ้งไว 15 นาที สีของสารละลายจะคอย ๆ เปลี่ยนเปนสีดํา เติมนํ้ากลั่น 4-5 หยด สีของ สารละลายจะเปลี่ยนเปน สีน้าํ เงนิ สดใส (เปน การตรวจสอบสารกลมุ gingerols และ shogaols) (รูปที่ 10) รปู ท่ี 10 ผลการทดสอบสารกลุม gingerols และ shogaols ดวยปฏิกิริยาทางเคมี (I) กอ นทาํ ปฏกิ ิริยา (II) เมือ่ ทาํ ปฏกิ ริ ยิ ากบั sulfuric acid solution และผงวานลิ ลนิ (III) ท้ิงไว 15 นาที (IV) เม่อื หยดนาํ้ กล่ัน 图 10 姜辣素类和姜稀酚类显色反应 (I) 反应前 (II) 加入硫酸试液和香草醛后 (III) 静置 15 分钟后 (IV) 加入蒸馏水后 Figure 10 Results of the chemical reactions of gingerols and shogaols (I) before the reaction, (II) after add sulfuric acid solution and vanillin powder, (III) allow to stand for 15 minutes, (IV) after add distilled water (2) การตรวจสอบโดยวิธโี ครมาโทกราฟช นดิ ผิวบาง สกัดผงกันเจียง 0.1 กรัม ดวย ethanol ปริมาตร 1 มิลลิลิตร โดยใชเครื่องคลื่นเสียง ความถี่สูง นาน 30 นาที ดูดสารละลายใสสวนบนมา 0.5 มิลลิลิตร (น้ํายาตัวอยาง) หยดน้ํายาตัวอยาง 10 ไมโครลิตร ลงบนแผน silica gel 60 GF254 ที่ใชเปนวัฏภาคคงท่ี นําไปวางในถังทําโครมาโทกราฟที่เตรียมไว โดยใช hexane : diethyl ether ในอัตราสวน 4 : 6 เปนวัฏภาคเคล่ือนที่ เมื่อแยกเสร็จแลว นําแผนโครมาโทแกรม T-8

1. กนั เจยี ง ชนิดผิวบางออกจากถัง ทิ้งไวใหแหง แลวนําไปตรวจสอบภายใตแสงอัลตราไวโอเลตที่ความยาวคล่ืน 254 และ 366 นาโนเมตร และพนดวยนํ้ายาพน 1% vanillin ใน 10% sulfuric acid และใหความรอน 110 องศา เซลเซยี ส หลงั จากนน้ั พนทบั ดวยนํ้ากลน่ั จะพบตําแหนงและสีของแถบสารในกลุม shogaols และ gingerols ปรากฎเปนจดุ สนี าํ้ เงนิ ที่มีคา Rf มากและนอ ย ตามลําดบั (รปู ที่ 11)   รปู ท่ี 11 ลักษณะทางโครมาโทแกรมชนดิ ผิวบางของน้ํายาตวั อยางกันเจยี งทีส่ กัดดว ย ethanol โดยใช hexane : diethyl ether ในอัตราสวน 4 : 6 เปนวัฏภาคเคลอ่ื นท่ี (I) ตรวจสอบภายใตแสงอัลตราไวโอเลต 254 นาโนเมตร (II) ตรวจสอบภายใตแ สงอัลตราไวโอเลต 366 นาโนเมตร (III) ตรวจสอบดวยน้ํายาพน 1% vanillin ใน 10% sulfuric acid แลวใหความรอน 110 องศาเซลเซียส (IV) ตรวจสอบโดยการนาํ (III) มาพนทบั ดวยนํา้ กลนั่ 图 11 干姜薄层层析图谱 展开剂为正己烷-乙醚(4 : 6) (I) 紫外灯 254 nm 下观察 (II) 紫外灯 366 nm 下观察 (III) 喷以香草醛/硫酸试剂后于 110℃下加热显色观察 (IV) 加热显色后喷水观察 Figure 11 Thin layer chromatograms of Zingiberis Rhizoma test solution using a mixture of hexane : diethyl ether (4 : 6) as mobile phase (I) detection under UV 254 nm (II) detection under UV 366 nm (III) detection with vanillin/sulfuric acid spray reagent after heating at 110°C (IV) detection with (III) and over spray with distilled water T-9

มาตรฐานสมนุ ไพรจีนในประเทศไทย เลม 1 (3) การตรวจสอบดวยวิธีอัลตราไวโอเลต/วิซเิ บลิ สเปกโทรสโกป สกัดผงกันเจยี ง 0.1 กรมั ดวย ethanol ปรมิ าตร 1 มลิ ลิลิตร โดยใชเครื่องคลื่นเสียงความถี่สูง นาน 30 นาที ดูดสารละลายใสสวนบนมาเจือจางดวย methanol 100 เทา วัดคาการดูดกลืนแสงท่ีชวง ความยาวคลื่น 200-500 นาโนเมตร จะไดอัลตราไวโอเลต/วซิ เิ บิลสเปกตรัม (รูปที่ 12) รูปที่ 12 อลั ตราไวโอเลต/วิซิเบิลสเปกตรัมของน้ํายาตวั อยางกนั เจยี งที่สกัดดวย ethanol ในตวั ทาํ ละลาย methanol 图 12 干姜醇提物甲醇溶液紫外/可见光图谱 Figure 12 Ultraviolet/visible spectrum of ethanolic extract of Zingiberis Rhizoma in methanol ขอกําหนดคุณภาพ 1. ปริมาณเถา เถารวม : ไมเ กนิ รอ ยละ 6.0 โดยน้าํ หนกั 1 (ภาคผนวก 2.1) 2. ปริมาณนาํ้ : ไมเ กินรอยละ 19.0 โดยนํา้ หนัก1 (ภาคผนวก 3.2) 3. ปรมิ าณสารสกัด สารสกัดนา้ํ : ไมนอ ยกวา รอ ยละ 22.0 โดยนา้ํ หนกั 1 (ภาคผนวก 4.2) 4. ปริมาณสารสาํ คัญ (1) นํ้ามนั หอมระเหย : ไมนอ ยกวารอ ยละ 0.8 โดยปริมาตร/นํ้าหนัก1 (ภาคผนวก 5) (2) สาร 6-gingerol (C17H26O4) : ไมนอยกวารอยละ 0.60 โดยนํ้าหนัก คํานวณตอน้ําหนัก สมนุ ไพรแหง1 วิธีวิเคราะห : ใชว ธิ ีโครมาโทกราฟชนดิ ของเหลวสมรรถนะสูง (HPLC) ระบบท่ีใชและความเหมาะสมของระบบ : ใชคอลัมนสําเร็จรูป C18 เปนวัฏภาคคงที่ โดยใช acetonitrile : methanol : นาํ้ ในอตั ราสว น 40 : 5 : 55 เปนวัฏภาคเคลื่อนท่ี ตรวจสอบโดยตรวจวัดคาการ T-10

1. กนั เจียง ดูดกลืนแสงที่ความยาวคลื่น 280 นาโนเมตร จํานวน theoretical plates ของคอลัมนตองไมนอยกวา 5,000 คํานวณอา งองิ จาก peak ของสาร 6-gingerol สารละลายสารมาตรฐาน : ชั่งนํ้าหนักที่แนนอนของสารมาตรฐาน 6-gingerol ละลายใน methanol เพอื่ ใหไดส ารละลายสารมาตรฐานความเขมขน 0.1 มลิ ลกิ รัม/มิลลิลิตร สารละลายตวั อยา ง : ช่ังน้ําหนักท่ีแนน อนของผงกันเจยี ง (ขนาดผานแรงเบอร 3 หรือขนาด 50 mesh) จํานวน 0.25 กรัม ใสในขวดรูปชมพูที่มีจุกปด เติม 75% methanol ปริมาตรท่ีแนนอน 20 มิลลิลิตร ปดจุก ชั่งน้ําหนักอยางละเอียด นําไปสกัดโดยใชเครื่องคล่ืนเสียงความถ่ีสูงนาน 40 นาที ทิ้งไวใหเย็น ช่ังและ ปรับนา้ํ หนักใหไ ดเทากบั นา้ํ หนกั ครัง้ แรกดวย 75% methanol เขยา ใหเ ขา กนั กรอง จะไดสารละลายตวั อยา ง วิธีดําเนินการ : แยกฉีดสารละลายสารมาตรฐานและสารละลายตัวอยาง ปริมาตรที่แนนอน อยา งละ 10 ไมโครลิตร และดําเนินการแยกสารตามระบบท่ีกลาวขางตน จะไดโครมาโทแกรม คํานวณปริมาณ ของสาร 6-gingerol ในสารละลายตัวอยางโดยเทียบกับสารละลายของสารมาตรฐานจากพ้ืนที่ใต peak แลว คํานวณหารอยละของสาร 6-gingerol ในผงกันเจียง1 ฤทธท์ิ างเภสชั วิทยา การศึกษาวิจัยฤทธ์ิทางเภสัชวิทยาของกันเจียงสวนใหญจะเนนผลตอระบบทางเดินอาหาร ระบบ หวั ใจและหลอดเลอื ด ฤทธิร์ ะงับปวด ตา นอักเสบ ตา นภาวะขาดออกซิเจน ตา นเนอื้ งอก เปนตน กันเจียงมสี รรพคุณ บรรเทาอาการหดเกรง็ ระงับปวด ตานอักเสบ และลดไข1 4-16 กันเจียงสามารถตานการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร17 อาการทองเสียท่ีเกิดจากการชักนําดวยนํ้ามันละหุง และมีฤทธิ์ขับนํ้าดี14 ผลของกันเจียงตอระบบหัวใจและ หลอดเลือด คือ บํารุงหัวใจ ขยายหลอดเลือด ตานภาวะหลอดเลือดมีลิ่มเลือด และตานภาวะหัวใจเตนผิดจังหวะ14,15,18 นอกจากนี้ กันเจียงยงั มีฤทธติ์ า นภาวะเลอื ดมีออกซเิ จนนอย14,15 และตา นเนอื้ งอก19,20 พิษวทิ ยา เม่ือใหส ารสกดั อีเทอรของกันเจียงทางปาก พบวาขนาดที่ทําใหหนูถีบจักรตายรอยละ 50 (LD50) มี คาเทากับ 16.3 ± 2.0 มิลลิกรัม/กิโลกรัม เมื่อใหสารสกัดน้ําทางปากหนูถีบจักรในขนาดเทียบเทาสมุนไพร 120 กรัม/กิโลกรัม พบวาไมทําใหหนูตาย ขนาดของสารสกัดเอทานอล ท่ีทําใหหนูถีบจักรตายรอยละ 50 เมื่อ ใหทางปากมีคาเทียบเทาสมุนไพร 108.9 กรัม/กิโลกรัม เมื่อใหสารสกัดเอทานอลทางปากหนูขาวในขนาด เทียบเทาสมนุ ไพร 18 และ 10 กรมั /กโิ ลกรัม ตดิ ตอกันนาน 2 เดอื น พบวาไมท ําใหมีความผิดปกติของน้ําหนักตัว คา ทางโลหิตวิทยา ตวั ชี้วัดทางชวี เคมขี องเลอื ด และพยาธิวิทยาของอวัยวะตาง ๆ19 รสยาและเสน ลมปราณหลัก กันเจียงมรี สเผ็ดรอ น เขา สูเสนลมปราณมา ม กระเพาะอาหาร ไต หัวใจ และปอด1,21 T-11

มาตรฐานสมุนไพรจีนในประเทศไทย เลม 1 ฤทธิข์ องยาตามภูมปิ ญญา 1. กันเจียงเพ่ียน : มีฤทธิ์อบอุนมามและกระเพาะอาหาร กระจายความเย็น ฟนฟูหยาง ทะลวงเสน ลมปราณ อบอนุ ปอด สลายของเหลวที่คงั่ คา งในรา งกาย1,21,22 2. เจียงถาน : มีรสขม ฝาด และอุน เขาสูเสนลมปราณมามและตับ รสเผ็ดจะหายไป จึงมีฤทธิ์หาม เลือดและอนุ ลมปราณ โดยฤทธอ์ิ นุ ลมปราณออ นกวา เผา เจียง แตฤทธห์ิ า มเลอื ดแรงกวา เผา เจยี ง 3. เผาเจียง : มีรสขม เผ็ด และอุน จึงมีฤทธิ์อุนมามและกระเพาะอาหาร กระจายความเย็น อุน ลมปราณ และหามเลือด โดยคุณสมบัติแหงและเผ็ดออนกวากันเจียง ฤทธิ์อุนภายในจึงไมแรงเทากันเจียง แต การออกฤทธข์ิ องยาจะนานกวาและสขุ ุมขึน้ ไดแ ก ฤทธ์ิแกปวด บรรเทาอาการทองเสีย อนุ ลมปราณหามเลอื ด22 ขอบง ใช 1. กลมุ อาการมา มและกระเพาะอาหารเยน็ กันเจียงออกฤทธ์ิท่ีมามและกระเพาะอาหาร ชวยทําใหอบอุน กระจายความเย็น จึงสามารถใช รักษาไดท้ังกลุมอาการเย็นแกรงและเย็นพรอง กรณีใชรักษากลุมอาการเย็นพรองในมามและกระเพาะอาหาร มี อาการปวดทอ งจากความเยน็ มักใชรว มกับเหรนิ เซิน (人参 โสมคน) และไปจู (白术) เชน ตํารับยาหลี่จงหวาน (理中丸) (รูปท่ี 13) กรณีใชรักษากลุมอาการเย็นแกรง มีอาการปวดทองเนื่องจากอวัยวะสวนกลางถูกความ เย็นกระทบ อาจใชในรูปตัวยาเดี่ยวในรูปแบบยาผง หรือใชรวมกับเกาเหลียงเจียง (高良姜 ขา) เชน ตํารับยา เออรเจียงหวาน (二姜丸) กรณีใชรักษาโรคกระเพาะอาหารจากความเย็น มีอาการอาเจียนรวมดวย มักใช รวมกับปนเซี่ย (半夏 โหราขาวโพด) เพื่อใหความอบอุนสวนกลางและระงับอาการอาเจียน เชน ตํารับยา ปนเซ่ียกนั เจยี งสาน (半夏干姜散)1,21 (รูปที่ 14) รปู ที่ 13 ตํารบั ยาหลจี่ งหวาน รูปที่ 14 ตํารบั ยาปน เซ่ียกันเจียงสา น (กันเจียงทําหนาที่เปนตวั ยาหลัก) (กันเจยี งทําหนา ที่เปน ตวั ยาหลกั ) 图 13 理中丸组成(方中干姜为君药) 图 14 半夏干姜散组成(方中干姜为君药) Figure 13 Ingredients of Lizhong Wan Figure 14 Ingredients of Banxia Ganjiang San (Zingiberis Rhizoma acting as principal (Zingiberis Rhizoma acting as principal drug) drug) T-12

1. กันเจียง 2. กลมุ อาการหยางใกลหมด กันเจียงมีฤทธิ์ดึงหยางที่สูญเสียไปกลับคืนมาสูสวนกลาง ทะลวงเสนลมปราณ จึงใชรักษากลุม อาการหยางใกลห มด โดยมักใชรวมกับฟูจื่อ (附子) เปนการจับคูยาแบบเสริมฤทธิ์ซึ่งกันและกัน เชน ตํารับยา ซอื่ หนี้ทงั (四逆汤)1,21 (รปู ที่ 15) 3. อาการไอ หอบเหน่อื ย เน่อื งจากมขี องเหลวที่เกิดจากความเยน็ คงั่ อยูในปอด กันเจียงมรี สเผ็ดรอ น ออกฤทธิท์ ่ปี อด ทําใหปอดอนุ ขจัดความเย็น และชวยขบั เสมหะ จึงใชร กั ษา อาการหอบเหนื่อยท่ีมีอาการไอเนื่องจากมีการคั่งของของเหลวที่เกิดจากความเย็น มีอาการตัวเย็น หลังเย็น มีเสมหะใสปริมาณมาก มักใชรวมกับซี่ซิน (细辛) อูเวยจื่อ (五味子) และหมาหวง (麻黄) เชน ตํารับยา เสี่ยวชงิ หลงทัง (小青龙汤)1,21 (รูปท่ี 16) รูปท่ี 15 ตาํ รับยาซอื่ หนี้ทงั รปู ที่ 16 ตาํ รับยาเสี่ยวชิงหลงทงั (กันเจยี งทาํ หนาทเี่ ปนตวั ยาชว ย) (กันเจยี งทาํ หนาทีเ่ ปนตวั ยาชว ย) 图 15 四逆汤组成(方中干姜为臣药) 图 16 小青龙汤组成(方中干姜为臣药) Figure 15 Ingredients of Sini Tang Figure 16 Ingredients of Xiaoqinglong Tang (Zingiberis Rhizoma acting as assistant drug) (Zingiberis Rhizoma acting as assistant drug) ขนาดและวธิ ีใช ตมรับประทานครงั้ ละ 3-10 กรัม21 ขอหา มใช หา มใชใ นผปู วยกลมุ อาการอินพรองเกิดรอ นใน ความรอนในเลือดสงู 21 การใชทางคลินิกในปจจบุ นั ใชรักษาทองเสีย โรคกระเพาะอาหารอักเสบ ตับอักเสบ แกวิงเวียน กระเพาะอาหารสวนปลายอุดตัน ผมรวงเปน หยอ ม ๆ ภาวะมบี ตุ รยากในผูชาย เปน ตน23 อาการไมพึงประสงค : ไมม รี ายงาน T-13

มาตรฐานสมุนไพรจนี ในประเทศไทย เลม 1 การเก็บรกั ษา เก็บในทแ่ี หงและเยน็ ปอ งกนั แมลง เอกสารอางอิง 1. Chinese Pharmacopoeia Commission. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China 2010. Volume I. Beijing: China Medical Science Press, 2010. 2. Wan Deguang, Peng Cheng, Zhao Junning. Authentic Traditional Chinese Medicine in Sichuan [M]. Chengdu: Sichuan Publishing Group - Sichuan Science and Technology Press, 2005 3. Xu Guojun, He Hongxian, Xu Luoshan, et al. Chinese Medicinal Materials [M]. Beijing: China Medical Science Press, 1996. 4. State Administration of Traditional Chinese Medicine, Chinese Materia Medica Editorial Board. The Selection of Chinese Materia Medica [M]. Volume II. Shanghai: Shanghai Scientific and Technical Publishers, 1998. 5. Kang Tingguo. Authentication of Chinese Medicine [M]. Second Edition. Beijing: Chinese Press of Traditional Chinese Medicine, 2007. 6. Wang Xijun. Authentication of Chinese Medicine [M]. First Edition. Beijing: Higher Education Press, 2009. 7. Wei Yingfang. Authentication of Chinese Medicine [M]. First Edition. Shanghai: Shanghai Scientific and Technical Publishers, 2010. 8. Wang Di, Li Zhao. Commodity Crude Drugs [M]. Harbin: Heilongjiang Science and Technology Press, 1989. 9. Zeng Junchao, Lu Xianming. Study of Traditional Chinese Medicine Products [M]. Chengdu: Sichuan People's Publishing House, 2002. 10. Lu Ganpeng. Identification of 500 Commonly used Chinese Crude Drugs by Experience [M]. Beijing: Chinese Press of Traditional Chinese Medicine, 2005. 11. State Administration of Traditional Chinese Medicine. The Chinese Materia Medica [M]. Volume I. Shanghai: Shanghai Scientific and Technical Publishers, 1998. 12. Li Jiping, Wang Yuesheng, Ma Hua, et al. Comparative study of chemical composition of Ganjiang and Shengjiang [J]. China Journal of Chinese Materia Medica 2001; 26(11): 748-51. 13. Jiang Suzhen, Mi Huiqin, Wang Ningsheng. Chemical constituents overview of gingerol [J]. Traditional Chinese Drug Research & Clinical Pharmacology 2006; 17(5): 386-9. 14. Shen Yingjun. Traditional Chinese Medicine Pharmacology (Traditional Chinese Medicine Advanced Series) [M]. Beijing: People's Medical Publishing House, 2011. 15. Ying Dali. Ginger chemical composition and pharmacological research [J]. China Pharmacy 2008; 19(8): 1435-6. 16. Yu Yue, Bai Xiaolu, Li Xingping, et al. Antipyretic effect of ginger oil [J]. Pharmacology and Clinics of Chinese Materia Medica 2009; 25(3): 28-30. 17. Li Sumin, et al. Ganjiang and Shengjiang pharmacological research [J]. Chinese Traditional and Herbal Drugs 1999; 30(6): 471. 18. Shen Yunhui, Chen Changxun, Xu Shanjun. Antiarrhythmic effect of ethyl acetate extract of Radix Ginger [J]. LiShiZhen Medicine and Materia Medica Research 2008; 19(5): 1064-5. 19. Chrubasika S, Pittlerc MH, Roufogalis BD. Zingiberis Rhizoma: A comprehensive review on the ginger effect and efficacy profiles [J]. Phytomedicine 2005; 12(9): 684. 20. Chang CP, Chang JY, Wang FY, et al. The effect of Chinese medicinal herb Zingiberis Rhizoma extract on cytokine secretion by human peripheral blood mononuclear cells [J]. Journal of Ethnopharmacology 1995; 48(1): 13. 21. Zhang Tingmo. Traditional Chinese Pharmacology [M]. Beijing: Higher Education Press, 2010. 22. Gong Qianfeng, Ding Anwei, Sun Xiumei, et al. Processing of Chinese Materia Medica [M]. Beijing: Chinese Press of Traditional Chinese Medicine, 2003. 23. Peng Cheng. Chinese Geo-authentic Crude Drug [M]. Beijing: Chinese Press of Traditional Chinese Medicine, 2011. T-14

2 จือจื่อ (ลูกพุด) คาํ จํากดั ความ จือจ่ือ (栀子) หรือ ลูกพุด คือ ผลแหงของพืชท่ีมีช่ือวิทยาศาสตรวา Gardenia jasminoides Ellis วงศ Rubiaceae1 ลักษณะทางพฤกษศาสตร ตนจือจื่อเปนไมพุมไมผลัดใบ ใบเดี่ยว ออกตรงขาม หรือออกเปนวงรอบ 3 ใบ แผนใบหนาคลาย แผนหนัง ใบรูปขอบขนาน รูปใบหอกกลับกวาง หรือรูปไขกลับ ปลายใบแหลม หรือเรียวแหลม ฐานใบรูปลิ่ม ขอบใบเรียบ หูใบ 2 อัน มีลักษณะเปนเยื่อรูปกาบ ดอกมีขนาดใหญ มีกลิ่นหอม ออกที่ยอดหรือตามซอก วงกลบี ดอกบิดเปนเกลียวขณะตูม เม่ือบานมีรูปรางคลายแกวไวน สีขาวแลวเปลี่ยนเปนสีเหลืองนวล วงกลีบดอก สวนลางติดกันเปนหลอด ผลรูปไขกลับ หรือรูปขอบขนาน สีเหลืองเขม มีสันครีบตามแนวยาว 5-9 ครีบ ปลายผลมีกลีบเล้ยี งตดิ ทน เมล็ดมีจํานวนมาก สีเหลอื งสด แบน รูปไข 2-5 (รูปที่ 1, 2) แหลง ผลติ ท่สี าํ คญั แหลงเพาะปลูกตนจือจื่อที่สําคัญอยูบริเวณท่ีราบลุมตอนกลางบริเวณหุบเขาตามแนวแมนํ้าแยงซีเกียง และพ้ืนท่เี ขตกรรมทีเ่ หมาะสมทสี่ ุดอยใู นมณฑลเจยี งซี (江西) ทเี่ มืองเฟงเฉงิ (丰城) จนิ ซี (金溪) อชี๋ นุ (宜春) หลนิ ชวน (临川) เลอ อัน (乐安) ยฺว่ีซาน (玉山) ว่นั ไจ (万载) เกาอนั (高安) ตงเซยี ง (东乡) ซง่ั เกา (上高) หนานเฉงิ (南城) และในมลฑลซอื่ ชวน (四川) ท่ีเมอื งหลูเซ่ยี น (泸县) นา ซี (纳溪) ชางซี (苍溪) อี่หลง (仪陇) และเมอื งหรงชาง (荣昌) ในมหานครฉงช่ิง6 การเก็บเกย่ี วและการปฏิบตั ิหลงั การเก็บเกย่ี ว เก็บเก่ียวผลจือจื่อเมื่อเปลือกผลเปล่ียนจากสีเขียวเปนสีแดง หรือเหลืองอมแดง ในวันท่ีอากาศ แจมใสมีแสงแดด เก็บเกี่ยวดวยมือ หามหักก่ิง เก็บทั้งผลขนาดเล็กและใหญ แลวนํามาคัดขนาด7,8 กําจัดกาน ผลและส่ิงแปลกปลอม นําไปลวกดวยนํ้าเดือดหรือนําไปนึ่ง แลวตากแดดใหแหง ในบางพื้นที่เตรียมจือจื่อโดย นําผลสดมาตากแดดใหแหงโดยตรง เรยี กวา เซิงไซจ่ือ (生晒栀) หากทําใหแหงโดยการปงไฟ จะเรียกวา เปยจ่ือ (焙栀) สวนผลจือจื่อที่ผานกระบวนการแปรรูปโดยการบม หรือการอัดแนน หรือการน่ึง หรือการหมัก แลว ตากแดดใหแ หง เรยี กวา เฮยซ านจือ่ (黑山栀)9-11 T-15

มาตรฐานสมนุ ไพรจนี ในประเทศไทย เลม 1 รูปท่ี 1 ลกั ษณะทางพฤษศาสตรข องตนจือจื่อแสดงกงิ่ ท่ีมดี อก (รปู บน) และก่ิงทมี่ ผี ล (รปู ลา ง) 图 1 栀子植物形态。上图: 栀子花枝;下图:栀子果枝 Figure 1 Gardenia jasminoides Ellis, Upper: flowering branches; Lower: fruiting branches T-16 

3 2. จอื จอื่ 2 centimeters 1 4 2 0.5 centimeter 2 centimeters รปู ท่ี 2 ลักษณะทางพฤกษศาสตรข องตนจือจอ่ื 1. ก่ิงที่มีดอก 2. กิ่งท่มี ผี ล 3. ภาคตดั ตามยาวของดอก 4. อับเรณู 图 2 栀子植物简图。 1.花枝 2.果枝 3.花的纵剖面 4.花药 Figure 2 Gardenia jasminoides Ellis 1. flowering branches 2. fruiting branches 3. longitudinal section of flower 4. anther T-17

มาตรฐานสมุนไพรจนี ในประเทศไทย เลม 1 ลกั ษณะภายนอกของสมนุ ไพร จือจอ่ื มลี กั ษณะเปน รูปไขหรอื รูปรี ยาว 1.5-3.5 เซนตเิ มตร เสน ผา นศนู ยกลาง 1-1.5 เซนติเมตร ผิว ดานนอกสีเหลืองอมแดงหรือสีนํ้าตาลแดง ตามแนวยาวมีสันครีบ 6 ครีบ ระหวางสันครีบมีแนวเสน 1 เสนเห็นได อยางชัดเจน และมีแนวเสนแตกแขนง ปลายผลมีกลีบเลี้ยงติดทน ฐานเรียว มีรอยกานผล เปลือกผลบาง เปราะ มันวาวเล็กนอย ผิวดานในสีออน เปนมันวาว มีผนังกั้น 2-3 ชอง เมล็ดแบนรูปไข มีจํานวนมาก อยูรวมกัน เปน กลมุ สแี ดงเขม หรอื เหลืองอมแดง ผิวของเมลด็ มีรอยคลา ยหูดขนาดเล็กกระจายอยูอยางหนาแนน จอื จอ่ื มี กลนิ่ ออ น ๆ รสขม และเปรยี้ วเล็กนอ ย1 (รปู ที่ 3) รูปท่ี 3 ลกั ษณะภายนอกของจือจือ่ 图 3 栀子药材 Figure 3 Gardeniae Fructus crude drug 1 centimeter มาตรฐานสนิ คา ระดับคุณภาพของจือจอื่ แบง เปน 2 ระดบั ดังนี้ คุณภาพระดับ 1 : ผลแหง มีลักษณะเปนรูปไขหรือรูปรีแบนขาง สมบูรณ ผิวดานนอกสีแดงสม เหลืองอมแดง แดงออน หรือเหลืองออน มีสันครีบตามแนวยาว สวนปลายมีกลีบเลี้ยงติดทน เปลือกผลบาง มันวาวเลก็ นอย เมลด็ อยูรวมกันเปน กลุม สีแดงเขม แดงอมมวง แดงออน หรือเหลืองอมนํ้าตาล มีกล่ินออน ๆ รสขม และเปร้ยี วเลก็ นอย ไมม ีผลสีดําปะปน ปราศจากสิง่ แปลกปลอม ไมมแี มลงชอนไช และไมข ้ึนรา คณุ ภาพระดบั 2 : ผลแหง มลี กั ษณะเปน รปู ไขหรอื รูปกลมแบนขาง มีขนาดเล็กแกร็น ผิวดานนอกสี เหลืองอมสม มว งเขม หรอื มว งคราม มสี นั ครบี ตามแนวยาว สว นปลายมีกลบี เล้ยี งติดทน เปลือกผลบาง เมล็ด อยรู วมกันเปนกลุม สีแดงอมนํ้าตาล เหลืองอมแดง นํ้าตาลเขม หรือสีน้ําตาล มีกล่ินออน ๆ รสขมและเปรี้ยว เล็กนอย มีช้ินสวนของผล หรือผลท่ีแตกปะปนเล็กนอย แตไมมีผลสีดําปะปน ปราศจากสิ่งแปลกปลอม ไมมี แมลงชอนไช และไมขึน้ รา12,13 T-18 

2. จือจ่ือ สมุนไพรทไี่ มใชข องแท สมนุ ไพรปลอม สุย จอื จ่อื * (水栀子) หรือ ตา จอื จื่อ* (大栀子) คือ ผลแหงของพชื ท่ีมีชอ่ื วิทยาศาสตรว า Gardenia jasminoides Ellis var. grandiflora Nakai วงศ Rubiaceae ผลมีขนาดใหญ รูปไขยาวรี สังเกตเห็นสันครีบ ไดช ัดเจน (รูปที่ 4) ใชเปนยาพอกภายนอกเพอ่ื รักษาอาการฟกชํ้า สวนมากใชใ นการแตง สีท่ไี ดจากธรรมชาต1ิ 4-16 หมายเหตุ : ในประเทศไทยใชปรมิ าณเลก็ นอย เพอ่ื แตง สีนํ้าเก็กฮวย 1 centimeter รปู ที่ 4 ลักษณะภายนอกของสุยจอื จ่ือ 图 4 水栀子药材 Figure 4 Shuizhizi crude drug การเตรียมอิ่นเพี่ยน (ตัวยาพรอ มใช) การเตรยี มอิน่ เพ่ยี นของจือจื่อ มี 3 วิธี ดงั น้ี 1. จือจอื่ (栀子) : เตรยี มโดยนําผลจือจอ่ื มากาํ จัดส่งิ แปลกปลอม แลวตาํ ใหแตก 2. เฉาจือจ่ือ (炒栀子) : เตรียมโดยนําจือจ่ือ (จากวิธีท่ี 1) มาคั่วในกระทะโดยใชไฟระดับปานกลาง ผัดจนกระท่ังผิวดานนอกของเปลือกผลเปลยี่ นเปน สนี าํ้ ตาลอมเหลอื ง นาํ ออกจากเตา ท้ิงไวใ หเยน็ 3. เจียวจือจื่อ (焦栀子) : เตรียมโดยนําจือจื่อ (จากวิธีท่ี 1) มาคั่วในกระทะโดยใชไฟระดับปานกลาง ผัดจนกระทั่งผิวดานนอกของเปลือกผลเปลี่ยนเปนสีน้ําตาลไหมหรือสีดําไหม ดานในของเปลือกผลและ เปลือกหุมเมลด็ เปล่ยี นเปน สีนํ้าตาลอมเหลืองหรอื สีน้าํ ตาลเขม นาํ ออกจากเตา ทิ้งไวใหเย็น1 ลักษณะของอน่ิ เพ่ียน 1. จอื จอื่ : มีลกั ษณะเปน ชิน้ รูปรางไมแ นนอน ผิวดา นนอกของเปลือกผลสเี หลอื งอมแดงหรือแดงอม นํ้าตาล มีสันครีบตามแนวยาวชัดเจน เมล็ดแบน รูปไข จํานวนมาก สีแดงเขมหรือเหลืองอมแดง มีกลิ่นออน ๆ รสขม และเปร้ียวเล็กนอ ย (รปู ที่ 5) 2. เฉาจอื จือ่ : มีลกั ษณะเหมือนจือจอ่ื แตผิวดานนอกมสี นี าํ้ ตาลอมเหลอื ง (รูปที่ 6) 3. เจียวจือจื่อ : มีลักษณะเหมือนจือจื่อ แตผิวดานนอกมีสีนํ้าตาลไหมหรือสีดําไหม ดานในของ เปลอื กผลสนี ้าํ ตาลอมเหลอื งหรือสีนํ้าตาลเขม มีกลิ่นออน ๆ รสขม และเปร้ียวเล็กนอย (รูปท่ี 7)1,12,13 T-19

มาตรฐานสมนุ ไพรจนี ในประเทศไทย เลม 1 รปู ที่ 5 ลกั ษณะภายนอกของจือจ่ืออนิ่ เพ่ยี น 图 5 栀子饮片 Figure 5 Zhizi prepared slices 1 centimeter รูปท่ี 6 ลักษณะภายนอกของเฉาจอื จ่อื 图 6 炒栀子 Figure 6 Chaozhizi prepared slices 1 centimeter รูปที่ 7 ลกั ษณะภายนอกของเจียวจอื จอ่ื 图 7 焦栀子 Figure 7 Jiaozhizi prepared slices 1 centimeter T-20 

2. จอื จอ่ื องคประกอบทางเคมี จือจ่ือมีองคประกอบทางเคมีท่ีสําคัญ ไดแก สารกลุม iridoids [เชน geniposide, gardenoside (รูปที่ 8), geniposidic acid, genipin] สารสี (เชน crocin-1, crocin-2), triterpenoids (เชน ursolic acid), flavonoids, phenolic acids (เชน chlorogenic acid) นํา้ มันหอมระเหย เปนตน2,17 geniposide 栀子苷 gardenoside 羟异栀子苷 รปู ที่ 8 สตู รโครงสรา งทางเคมีของสารบางชนิดที่พบในจือจื่อ 图 8 栀子主要化学成分结构 Figure 8 Structures of some chemical constituents of Gardeniae Fructus การพิสูจนเ อกลกั ษณ รูปที่ 9 ลกั ษณะของผงจอื จอื่ 1. เอกลกั ษณทางจุลทรรศนล ักษณะ 图 9 栀子粉末 ผงจือจื่อมีสีน้ําตาลแดง (รูปที่ 9) มีลักษณะ Figure 9 Gardeniae Fructus powder เน้ือเย่ือเซลลและสวนประกอบภายในเซลลภายใตกลอง จลุ ทรรศน ไดแ ก (1) stone cell ของผนังผลชั้นนอก รูปกระสวย เรียวยาว เรียงตอกันคลายโมเสก (2) เซลล parenchyma ของ ผนงั ผลชน้ั กลางมีผนังบาง รูปรา งคอ นขางส่ีเหลยี่ มหรือกลม ซ่ึง ภายในเซลลบรรจุผลึกแคลเซียมออกซาเลต รูปรางคลายดอก กุหลาบ และพบ vessel ซึ่งมี lignin (3) stone cell ของ เปลือกเมล็ดชั้นนอกสีเหลืองหรือน้ําตาลออน ยาว รูปทรง ส่ีเหล่ียม หรือรูปรางไมแนนอน มีรอยบุมขนาดใหญ ผนังหนา ชองวางภายในสีนํ้าตาลแดง (4) ชั้นเปลือกเมล็ดอยูติดกับชั้น endosperm เปนเซลลรูปรางคอนขางกลม ผนังหนา ไมมี lignin (5) vessel สว นใหญเ ปน แบบรา งแห (รปู ที่ 10) T-21

มาตรฐานสมนุ ไพรจีนในประเทศไทย เลม 1 50 micrometers รูปที่ 10 จุลทรรศนลักษณะของผงจอื จือ่ 图 10 栀子粉末显微特征 Figure 10 Microscopic characteristic of Gardeniae Fructus powdered drug T-22 

2. จอื จือ่ 2. เอกลกั ษณทางเคมี (1) การตรวจสอบดว ยวธิ ีปฏิกริ ยิ าทางเคมี สกัดผงจือจ่ือ 0.4 กรัม ดวย 50% methanol ปริมาตร 4 มิลลิลิตร โดยใชเครื่องคลื่นเสียง ความถ่ีสูง (ultrasonicator) นาน 30 นาที จะไดน้ํายาตัวอยางสีเหลืองสด ดูดสารละลายใสสวนบนปริมาตร 0.1 มิลลิลิตร เติมนํ้ายา Trim-Hill ปริมาตร 1 มิลลิลิตร (ประกอบดวย glacial acetic acid 10 มิลลิลิตร สารละลาย copper sulfate ความเขมขนรอยละ 0.2 ปริมาตร 1 มิลลิลิตร และ concentrated hydrochloric acid ปริมาตร 0.5 มลิ ลิลิตร) เขยา ใหเ ขา กัน แลวใหความรอน สีของสารละลายจะเปล่ียนเปนสี เขยี ว (เปนการตรวจสอบสารกลุม iridoids) (รปู ท่ี 11) รปู ท่ี 11 ผลการทดสอบสารกลุม iridoids ดวยปฏกิ ริ ิยาทางเคมกี บั นาํ้ ยา Trim-Hill (I) กอน และ (II) หลงั ทําปฏิกริ ยิ า 图 11 栀子环烯醚萜类加 Trim-Hill 试剂显色反应 (I) 前 (II) 后加热 Figure 11 Result of the chemical reaction of iridoids with Trim-Hill reagent (I) before, and (II) after the reaction (2) การตรวจสอบโดยวธิ โี ครมาโทกราฟชนิดผวิ บาง สกัดผงจือจื่อ 0.4 กรัม ดวย 50% methanol ปริมาตร 4 มิลลิลิตร โดยใชเคร่ืองคล่ืนเสียง ความถี่สูง นาน 30 นาที ดูดสารละลายใสสวนบนมา 0.5 มิลลิลิตร (นํ้ายาตัวอยาง) หยดน้ํายาตัวอยาง 4 ไมโครลิตร ลงบนแผน silica gel 60 GF254 ท่ีใชเปนวัฏภาคคงที่ นําไปวางในถังทําโครมาโทกราฟท่ีเตรียมไว โดยใช ethyl acetate : acetone : formic acid : water ในอัตราสวน 5 : 5 : 1 : 1 เปนวัฏภาคเคล่ือนที่ เมื่อแยกเสร็จแลว นําแผนโครมาโทแกรมชนิดผิวบางออกจากถัง ทิ้งไวใหแหง แลวนําไปตรวจสอบภายใต แสงธรรมชาติ แสงอัลตราไวโอเลตที่ความยาวคลื่น 254 และ 366 นาโนเมตร และพนดวยนํ้ายาพน anisaldehyde และใหความรอน 110 องศาเซลเซยี ส จะพบตําแหนงและสขี องแถบ (รปู ที่ 12) T-23

มาตรฐานสมุนไพรจีนในประเทศไทย เลม 1 รูปท่ี 12 ลกั ษณะทางโครมาโทแกรมชนิดผวิ บางของนํา้ ยาตวั อยา งจือจอ่ื ท่สี กัด ดว ย 50% methanol โดยใช ethyl acetate : acetone : formic acid : water ในอัตราสว น 5 : 5 : 1 : 1 เปนวัฏภาคเคลอ่ื นท่ี (I) ตรวจสอบภายใตแ สงธรรมชาติ (II) ตรวจสอบภายใตแสงอลั ตราไวโอเลต 254 นาโนเมตร (III) ตรวจสอบภายใตแสงอัลตราไวโอเลต 366 นาโนเมตร (IV) ตรวจสอบดว ยน้ํายาพน anisaldehyde แลว ใหค วามรอ น 110 องศาเซลเซียส 图 12 栀子提取液薄层层析图谱 展开剂为乙酸乙酯-丙酮-甲酸-水 (5 :5 :1 :1) (I) 可见光观察 (II) 紫外灯下 UV 254 观察 (III) 紫外灯下 UV 366 观察 (IV) 茴香醛试剂处理后于 110 ℃ 下加热显色观察 Figure 12 Thin layer chromatograms of Gardeniae Fructus test solution using a mixture of ethyl acetate : acetone : formic acid : water (5 : 5 : 1 : 1) as mobile phase (I) detection under visible light (II) detection under UV 254 nm (III) detection under UV 366 nm (IV) detection with anisaldehyde spray reagent after heating at 110°C T-24 

2. จอื จื่อ (3) การตรวจสอบดว ยวธิ อี ลั ตราไวโอเลต/วซิ เิ บลิ สเปกโทรสโกป สกัดผงจือจ่ือ 0.4 กรัม ดวย 50% methanol ปริมาตร 4 มิลลิลิตร โดยใชเคร่ืองคล่ืนเสียง ความถ่ีสูง นาน 30 นาที ดูดสารละลายใสสวนบนมาเจือจางดวย methanol 200 เทา วัดคาการดูดกลืนแสงท่ี ชว งความยาวคล่นื 200-600 นาโนเมตร จะไดอัลตราไวโอเลต/วิซิเบิลสเปกตรมั (รูปท่ี 13) รูปที่ 13 อลั ตราไวโอเลต/วซิ ิเบิลสเปกตรมั ของน้ํายาตัวอยางจือจอ่ื ทส่ี กดั ดวย 50% methanol ในตัวทําละลาย methanol 图 13 栀子甲醇提取液紫外光图谱 Figure 13 Ultraviolet/visible spectrum of 50% methanolic extract of Gardeniae Fructus in methanol ขอ กําหนดคุณภาพ 1. ปริมาณเถา เถา รวม : ไมเกนิ รอ ยละ 6.0 โดยน้ําหนัก1 (ภาคผนวก 2.1) 2. ปรมิ าณน้ํา : ไมเ กนิ รอยละ 8.5 โดยนา้ํ หนกั 1 (ภาคผนวก 3.1) 3. ปริมาณสารสาํ คญั สาร gardenoside (C17H24O10) : ไมนอยกวารอยละ 1.8 โดยน้ําหนัก คํานวณตอนํ้าหนัก สมนุ ไพรแหง 1 วธิ วี ิเคราะห : ใชวธิ โี ครมาโทกราฟช นิดของเหลวสมรรถนะสูง (HPLC) ระบบท่ีใชและความเหมาะสมของระบบ : ใชคอลัมนสําเร็จรูป C18 เปนวัฏภาคคงที่ โดย ใช acetonitrile : water ในอัตราสวน 15 : 85 เปนวัฏภาคเคล่ือนท่ี ตรวจสอบโดยตรวจวัดคาการดูดกลืน แสงที่ความยาวคลื่น 238 นาโนเมตร จํานวน theoretical plates ของคอลัมนตองไมนอยกวา 1,500 คํานวณ อา งองิ จาก peak ของ gardenoside สารละลายสารมาตรฐาน : ช่ังนํ้าหนักท่ีแนนอนของสารมาตรฐาน gardenoside ละลายใน methanol เพอ่ื ใหไดสารละลายสารมาตรฐานความเขม ขน 30 ไมโครกรัม/มลิ ลิลติ ร T-25

มาตรฐานสมุนไพรจีนในประเทศไทย เลม 1 สารละลายตัวอยาง : ช่ังนาํ้ หนักท่ีแนนอนของผงจือจื่อ (ขนาดผานแรงเบอร 4 หรือขนาด 65 mesh) จาํ นวน 0.1 กรัม ใสใ นขวดรูปชมพูทีม่ ีจุกปด เตมิ methanol ปรมิ าตรทแ่ี นนอน 25 มิลลิลิตร ปดจุก ชั่งน้ําหนักอยางละเอียด นําไปสกัดโดยใชเครื่องคลื่นเสียงความถี่สูงนาน 20 นาที ทิ้งไวใหเย็น ชั่งและปรับ น้ําหนักใหไดเทากับน้ําหนักคร้ังแรกดวย methanol กรอง ตวงปริมาตรท่ีแนนอนของสารละลายท่ีกรองได 10 มิลลิลิตร ใสในขวดกาํ หนดปริมาตรขนาด 25 มิลลิลิตร ปรับปริมาตรใหครบดวย methanol เขยาใหเขากัน จะไดสารละลายตัวอยาง วิธีดําเนินการ : แยกฉีดสารละลายสารมาตรฐานและสารละลายตัวอยาง ปริมาตรที่แนนอน อยางละ 10 ไมโครลิตร และดําเนินการแยกสารตามระบบท่ีกลาวขางตน จะไดโครมาโทแกรม คํานวณ ปริมาณของสาร gardenoside ในสารละลายตัวอยางโดยเทียบกับสารละลายสารมาตรฐานจากพ้ืนท่ีใต peak แลวคาํ นวณหารอ ยละของสาร gardenoside ในผงจอื จ่อื 1 ฤทธ์ทิ างเภสชั วิทยา การศึกษาวิจัยฤทธ์ิทางเภสัชวิทยาของจือจ่ือจะเนนผลตอระบบประสาทสวนกลาง ระบบทางเดินอาหาร ระบบหัวใจและหลอดเลือดสมอง ตานจุลชีพ เปนตน จือจื่อมีฤทธ์ิลดไข ทําใหสงบ ระงับปวด และตานอักเสบ18 ผลของจอื จ่ือตอระบบทางเดนิ อาหารไดแก มีฤทธิป์ กปองตบั และตับออน ขบั น้ําดี18,19 มผี ลตอ การบบี ตวั ของลาํ ไส1 8 และตานการเกิดแผล20 จือจื่อสามารถยับยั้งและฆาเชื้อจุลชีพกอโรค18,21,22 นอกจากนี้ จือจื่อยังมีฤทธิ์ตาน ภาวะเลือดออกในสมองและลดความดันเลอื ด23,24 พิษวทิ ยา ขนาดของสารสกัดแอลกอฮอลข องจอื จือ่ ท่ที าํ ใหห นูถีบจักรตายรอยละ 50 (LD50) เมื่อใหทางปากและ ฉีดเขาชองทอง มีคาเทียบเทาสมุนไพร 107.4 และ 17.1 กรัม/กิโลกรัม ตามลาํ ดับ สารสกัดนาํ้ สารสกัด แอลกอฮอล สาร geniposidic acid และสาร genipin ในขนาดสูงมีความเปนพิษตอตับ1,18,25,26 รสยาและเสนลมปราณหลกั จือจ่ือมรี สขม เย็น เขาสเู สนลมปราณหัวใจ ปอด และซานเจยี ว27 ฤทธิ์ของยาตามภูมปิ ญ ญา 1. จือจ่ือ : มีฤทธิ์ระบายความรอน บรรเทาอาการกระวนกระวาย ดับรอน ขับระบายความชื้น ลด ความรอ นในเลอื ด และดบั พษิ ใชภายนอกระงบั ปวด ลดบวม27,28 2. เฉาจือจ่ือ และ เจียวจือจ่ือ : จือจื่อมีรสขม เย็นมาก จึงสามารถทําลายจงชี่ (ชี่ท่ีหลอเล้ียงสวนกลาง ของรางกาย) ไดงาย กระตุนกระเพาะอาหาร ทําใหมามและกระเพาะอาหารออนแอ อาเจียนงายภายหลัง T-26 

2. จอื จื่อ รับประทาน เมื่อนํามาค่ัวจะขจัดขอเสียดังกลาว เฉาจือจื่อและเจียวจือจ่ือมีสรรพคุณเหมือนกัน แตเฉาจือจื่อมี รสขม และเย็นมากกวา โดยทั่วไปหากความรอนสูงจะใชเฉาจือจ่ือ ในกรณีท่ีมามและกระเพาะอาหารคอนขาง พรอ งจะใชเจยี วจือจอ่ื ตัวยาทง้ั สองชนดิ นม้ี ฤี ทธ์ิระบายความรอ น บรรเทาอาการกระวนกระวายใจ28 ขอบงใช 1. กลมุ อาการรอ นจดั จือจื่อเปนตัวยาที่มีรสขม เย็น จึงมีสรรพคุณระบายไฟแกรงทุกประเภท โดยเฉพาะไฟท่ีหัวใจ ใช รักษาภาวะความรอนอุดก้ันทรวงอก มีอาการกระวนกระวาย กระสับกระสาย อึดอัดแนนหนาอก โดยมักใช รวมกับต้ันโตวฉื่อ (淡豆豉 เมล็ดถั่วเหลืองท่ีผานการหมักแลว) เชน ตํารับยาจือจื่อฉ่ือทัง (栀子豉汤) (รูปที่ 14) กรณีใชรักษาอาการบวมแดงและปวดตาเน่ืองจากมีความรอนท่ีตับ มักใชรวมกับจฺหวีฮฺวา (菊花 เก็กฮวย) และเซย่ี คเู ฉา (夏枯草) กรณีใชรักษาภาวะความรอนคั่งและแสบรอนในกระเพาะอาหาร คล่ืนไส อาเจียน มัก ใชรวมกับเซิงเจียง (生姜 ขิงสด) และกรณีใชรักษาอาการไอจากภาวะความรอนกระทบปอด มีอาการไอ เจ็บคอ คอแหง มักใชรวมกับหวงฉิน (黄芩) และเจ๋ียเก่ิง (桔梗) เชน ตํารับยาจือเหลียนชิงเฟยทัง (栀连清肺汤)27 (รปู ท่ี 15) รปู ที่ 14 ตํารับยาจอื จ่อื ฉ่อื ทงั รูปท่ี 15 ตํารับยาจือเหลียนชิงเฟย  (จือจื่อทําหนา ทเ่ี ปน ตัวยาหลัก) (จอื จอื่ ทาํ หนาท่ีเปน ตัวยาหลัก) 图 14 栀子豉汤组成(方中栀子为君药) 图 15 栀连清肺汤组成(方中栀子为君药) Figure 14 Ingredients of Zhizichi Tang Figure 15 Ingredients of Zhilian Qingfei Tang (Gardeniae Fructus acting as principal drug) (Gardeniae Fructus acting as principal drug) 2. กลุมอาการรอนชน้ื จือจ่ือเปนตัวยาที่มีรสขม เย็น จึงสามารถใชขจัดความรอน ระบายความรอนช้ืนผานซานเจียวโดยขับ ออกทางปส สาวะ ใชร กั ษาดีซานซง่ึ มีสาเหตจุ ากการคั่งของความรอนชื้นในตับและถุงน้ําดี ปสสาวะนอยและมีสีแดง T-27

มาตรฐานสมนุ ไพรจีนในประเทศไทย เลม 1 โดยมักใชรว มกับอนิ เฉินเฮา (茵陈蒿) และตา หวง (大黄 โกฐน้ําเตา) เชน ตํารับยาอินเฉินเฮาทัง (茵陈蒿汤) (รูปท่ี 16) กรณีใชรักษาอาการขัดเบา ปสสาวะกะปริบกะปรอยและรูสึกแสบในทอปสสาวะเน่ืองจากมีการคั่ง ของความรอนชื้น มักใชรวมกับหฺวาสือ (滑石 หินลื่น) และเชอเฉียนจื่อ (车前子) เชน ตํารับยาปาเจิ้งสาน (八正散)27 (รปู ที่ 17)   รูปที่ 16 ตํารับยาอินเฉินเฮาทัง    รปู ท่ี 17 ตํารับยาปาเจงิ้ สาน (จือจื่อาํ หนา ทีเ่ ปนตัวยาเสรมิ )  (จือจื่อทาํ หนาท่ีเปนตัวยาชว ย) 图 16 茵陈蒿汤 组成(方中栀子为臣药) 图 17 八正散 组成(方中栀子为佐药) Figure 16 Ingredients of Yinchenhao Tang Figure 17 Ingredients of Bazheng San (Gardeniae Fructus acting as adjuvant drug) (Gardeniae Fructus acting as assistant drug) 3. เลือดออกเน่ืองจากมีความรอนในเลือด จือจื่อออกฤทธ์ิตอระบบเลือด มีสรรพคุณลดความรอนในระดับเลือดและหามเลือด จึงเหมาะ สําหรับรกั ษาอาการเลือดออกเนอ่ื งจากความรอนสูงจัดทําลายหลอดเลือด ทําใหเ ลอื ดออกนอกระบบ เกิดอาการ อาเจียนเปนเลอื ด ขากเปน เลอื ด มเี ลือดกาํ เดาออก และปส สาวะเปน เลอื ด27 4. แผล ฝหนอง ขจัดพษิ ลดบวม จือจื่อมีสรรพคุณขจัดพิษรอน สามารถใชเปนตัวยาเด่ียวสําหรับรักษาพิษแผลฝหนอง ลดอาการ อักเสบ ปวดบวมแดงรอน หรือใชรวมกับตัวยาอ่ืนท่ีมีสรรพคุณขจัดพิษและรักษาฝตาง ๆ เชน จินอ๋ินฮวา (金银花 ดอกสายนํา้ ผ้ึง) เหลียนเช่ียว (连翘) และผูกงอิง (蒲公英) ใชไดท้ังเปนยารับประทานและยาพอก นอกจากน้ี สามารถผสมผงจือจื่อในนาํ้ สม สายชู ใชพ อกเพื่อลดอาการปวดบวมจากแผลฟกชํ้า27 ขนาดและวิธีใช จือจื่อ หรือเฉาจือจื่อ ใชตมรับประทาน คร้งั ละ 6-9 กรัมตอวนั หรอื ใชภายนอกในขนาดทีเ่ หมาะสม27 T-28 

2. จอื จอื่ ขอ ควรระวัง จือจ่ือมีรสขม เย็นมาก อาจกระทบการทํางานของมามและกระเพาะอาหาร ไมเหมาะสําหรับผูที่ อุจจาระเหลวเนอ่ื งจากมา มพรอง27 การใชท างคลินกิ ในปจจบุ นั ใชรักษากลุมอาการรอนแกรง เชน แผลในชอ งปากทกี่ ลบั เปนซ้ํา29 งูสวัด30 ถุงนํ้าดีอักเสบเร้ือรัง31 ฟกช้ํา ทแ่ี ขนขา32 ความดนั เลือดสงู 33 เสน ประสาทออ นแอ34 โรคหลอดเลอื ดหัวใจ35 เปน ตน อาการไมพึงประสงค : ไมมรี ายงาน การเก็บรกั ษา เก็บในที่แหง และมอี ากาศถายเทด1ี เอกสารอางองิ 1. Chinese Pharmacopoeia Commission. Pharmacopoeia of the People’s Republic of China 2010. Volume I Beijing: China Medical Science Press, 2010. 2. Wan Deguang, Peng Cheng, Zhao Junning. Authentic Traditional Chinese Medicine in Sichuan [M]. Chengdu: Sichuan Publishing Group - Sichuan Science and Technology Press, 2005. 3. Xu Guojun, He Hongxian, Xu Luoshan, et al. Chinese Medicinal Materials [M]. Beijing: China Medical Science Press, 1996. 4. State Administration of Traditional Chinese Medicine. Chinese Materia Medica Editorial Board. The Selection of Chinese Materia Medica [M]. Volume II. Shanghai: Shanghai Scientific and Technical Publishers, 1998. 5. Xiao Peigen. Modern Chinese Materia Medica [M]. Volume I. Beijing: Chemical Industry Press, 2002. 6. Chinese Medicine Company. Chinese Herbal Medicines Commonly Used in China [M]. Beijing: Science Press, 1995. 7. Li Min. Method and Technique for Standardized Production and Management of Chinese Traditional Medicine [M]. Beijing: China Medical Science Press, 2005. 8. Wang Qiugan. Chinese Medicine Local Collection and Processing Technology [M]. Nanchang: Jiangxi Science and Technology Press, 1996. 9. Yao Zongfan, Huang Yingzi, Yao Xiaomin. Medicinal Plant Cultivation Manual [M]. Shanghai: Shanghai University of Traditional Chinese Medicine Press, 2001. 10. Pi Pixian, Xiong Ying, Zhuang Yuanchun, et al. Gardenia standardized cultivation methods [J]. LiShiZhen Medicine and Materia Medica Research 2005; 16(12): 1326-7. 11. Li Min, Li Xiaokun, Wei Yingfang. Chinese Herbal Medicines Harvesting, Processing and Storage Technology [M]. Beijing: China Medical Science Press, 2007. 12. Wang Di, Li Zhao. Commodity Crude Drugs [M]. Harbin: Heilongjiang Science and Technology Press, 1989. 13. Zeng Junchao, Lu Xianming. Study of Traditional Chinese Medicine Products [M]. Chengdu: Sichuan People's Publishing House, 2002. 14. Kang Tingguo. Authentication of Chinese Medicine [M]. Second Edition. Beijing: Chinese Press of Traditional Chinese Medicine, 2007. 15. Wang Xijun. Authentication of Chinese Medicine. First Edition [M]. Beijing: Higher Education Press, 2009. T-29

มาตรฐานสมนุ ไพรจีนในประเทศไทย เลม 1 16. Wei Yingfang. Authentication of Chinese Medicine [M]. First Edition. Shanghai: Shanghai Scientific and Technical Publishers, 2010. 17. Xie Fengxia, Zu Minqiu, Xie Xinliang. Research progress and prospects of medicinal Gardenia [J]. Chemistry and Bio-engineering 2003; 1: 7-10. 18. Shen Yingjun. Traditional Chinese Medicine Pharmacology (Traditional Chinese Medicine Advanced Series) [M]. Beijing: People's Medical Publishing House, 2011. 19. Wonseok J, et al. Gardenia jasminoides protects against cerulein-induced acute pancreatitis [J]. World Journal of Gastroenterology 2008; 14(40): 6188-94. 20. Yang Shujuan, et al. In vitro effect of Gardenia Fructus on movement of rabbit stomach smooth muscle [J]. Chinese Journal of Applied Physiology 2007; 23(4): 471-86. 21. Guo Shanshan, et al. Effect of Gardenia extract ZG on cell adsorption of herpes simplex virus type 1 [J]. Journal of Virology 2006; 22(3): 198-202. 22. Guo Shanshan, et al. Effect of Gardenia extract ZG on host cell membrane potential after adsorption of herpes simplex virus type 1 [J]. Chinese Journal of Microbiology and Immunology 2007; 27(8): 709-12. 23. Yang Kui, et al. Effect of Gardenia total iridoid on NF- B expression near the hematoma in cerebral hemorrhagic rats [J]. Pharmacology and Clinics of Chinese Materia Medica 2007; 23(6): 26-7. 24. Song Yuanying, et al. Effect of various Chinese medicine on protein formation in cerebral ischemia in mice [J]. Chinese Journal of Integrated Traditional and Western Medicine 2006; 26(6): 526-8. 25. Qi Na, Jiang Zhicheng, Su Yilan, et al. The toxicity study of Gardenia Fructus water extract in rats [J]. Science and Technology of Food Industry 2004; 25(5): 122-4. 26. Li Defeng, et al. The comparative study of geniposide liver toxicity in SD rats, Wistar rats and ICR mice [J]. China Journal of Experimental Traditional Medical Formulae 2007; 13(4): 31-3. 27. Zhang Tingmo. Traditional Chinese Pharmacology [M]. Beijing: Higher Education Press, 2010. 28. Gong Qianfeng, Ding Anwei, Sun Xiumei, et al. Processing of Chinese Materia Medica [M]. Beijing: Chinese Press of Traditional Chinese Medicine, 2003. 29. Lu Shouchang, et al. 30 Cases of recurrent oral ulcer treated by Zhizi Dahuang Decoction [J]. Journal of Gansu College of Traditional Chinese Medicine 1999; 16(4): 35-6. 30. Xiao Yali, et al. 56 Cases of herpes zoster treated by Yinqiao Zhizi Decoction [J]. China New Medicine Forum 2008; 8(8): 100. 31. Liu Qiang. 65 Cases of chronic cholecystitis treated by self-prescribed Yinchen Zhizi Decoction [J]. Shaanxi Journal of Traditional Chinese Medicine 2006; 27(1): 84-5. 32. Qi Shuchuan. 32 cases of soft tissue injury treated by borneol and Gardenia Fructus powder [J]. Journal of Emergency in Traditional Chinese Medicine 2003; 12(5): 475. 33. Shi Yan, et al. 32 Cases of hypertension treated by external application of Zhizi Shuangren Powder at Yongquan Point [J]. Shaanxi Journal of Traditional Chinese Medicine 2009; 30(2): 202-3. 34. Ren Yi. 106 Cases of neurasthenia treated by modified Zhizigu Decoction [J]. Hebei Journal of Traditional Chinese Medicine 1985; 2: 14. 35. Wang Hui. Taoren Zhizi Paste treated on 50 cases of coronary heart disease [J]. China’s Naturopathy 2005; 13(3): 30.   T-30 

3 เจี๋ยเกิ่ง คําจาํ กดั ความ เจี๋ยเกิ่ง (桔梗) คือ รากแหงของพืชที่มีชื่อวิทยาศาสตรวา Platycodon grandiflorus (Jacq.) A. DC. วงศ Campanulaceae1 ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร ตน เจ๋ยี เกงิ่ เปน ไมล ม ลุกอายหุ ลายป มีน้ํายางสีขาวขุน รากแกวยาว รูปกระสวยมีเนื้ออวบ ใบออกเปน วงรอบ ออกตรงขาม หรือออกสลับท้ังหมด แผนใบรูปไข รูปรีแกมรูปไข หรือรูปใบหอก ขอบใบเปนจักฟนเลื่อย ละเอียด ดอกเดย่ี ว หรือเปน ชอ คลา ยชอกระจะหรือชอแยกแขนงซึ่งประกอบดวยดอกเพียงไมกี่ดอก วงกลีบดอก เปนรูประฆังกวาง สีนํ้าเงินหรือมวงนํ้าเงิน ผลแบบแหงแตก รูปไขกลับ เมล็ดจํานวนมาก รูปไขหรือรูปรี สี นํา้ ตาล2-7 (รูปท่ี 1, 2) รูปท่ี 1 ลักษณะทางพฤกษศาสตรของตน เจยี๋ เกง่ิ 图 1 桔梗植物形态 Figure 1 Platycodon grandiflorus (Jacq.) A. DC. T-31

มาตรฐานสมนุ ไพรจนี ในประเทศไทย เลม 1   3 12 3 centimeters รูปที่ 2 ลักษณะทางพฤกษศาสตรของตนเจย๋ี เกิง่ 1. ก่งิ ที่มดี อก 2. กิ่งที่มใี บ 3. ราก 图 2 桔梗植物简图。 1.花枝 2.叶枝 3.根 Figure 2 Platycodon grandiflorus (Jacq.) A. DC. 1. flowering branch 2. branch with leaves 3. root T-32

3. เจย๋ี เกง่ิ แหลงผลิตทีส่ ําคญั ตน เจ๋ยี เกงิ่ พบไดทั่วไปในสาธารณรัฐประชาชนจีน ท้ังในปาธรรมชาติและการเพาะปลูก โดยพื้นที่เขตกรรม ท่ีใหผลผลิตมากท่ีสุด ไดแก แหลงเพาะปลูกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (东北) ภาคเหนือ (华北) ของจีน และเขตปกครองตนเองมองโกลเลียใน (内蒙古) แหลงเพาะปลูกทม่ี คี ุณภาพดีอยูในภาคตะวันออก (华东) โดย แหลง ผลิตทีเ่ หมาะสมท่ีสดุ อยทู ี่เมืองถงไป (桐柏) ในมณฑลเหอหนาน (河南) เมืองเฉาหู (巢湖) และเมอื งถงเฉงิ (桐城) ในมณฑลอันฮยุ (安徽) และเมอื งจอ่ื ถง (梓潼) ในมณฑลซ่อื ชวน (四川)2-9 การเก็บเกี่ยวและการปฏบิ ัติหลงั การเกบ็ เกย่ี ว เจ๋ียเกิ่งที่เจริญในปาธรรมชาติจะเก็บเกี่ยวในฤดูใบไมรวงเม่ือลําตนเริ่มแหงเฉา สวนเจ๋ียเกิ่งจากการ เพาะปลูกจะเก็บเก่ียวระหวางเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม เลือกวันที่อากาศแจมใสมีแสงแดด ขุดราก อยา งระมัดระวัง อยา ใหแตกหกั ตัดลาํ ตนและใบท้ิง กําจัดเศษดินที่ติดอยูออก แลวปอกเปลือกทิ้งในขณะท่ียังสด ลา งดว ยนา้ํ สะอาด แลวนําไปตากแดดหรอื อบ หมนั่ กลบั บอย ๆ จนเกือบแหง นํามากองสุมรวมกันใหออกเหง่ือ เปนเวลา 1 วัน จากน้ันนําไปตากแดดหรืออบตอจนแหงสนทิ 6-10 ลักษณะภายนอกของสมุนไพร 1 centimeter เจ๋ียเกิ่งมีลักษณะเปนรูปทรงกระบอกหรือ รปู ท่ี 3 ลักษณะภายนอกของเจยี๋ เกิง่ รูปคลายกระสวย ปลายคอย ๆ เรียวเล็กลง อาจ แตกแขนง บิดงอเล็กนอย ยาว 7-20 เซนติเมตร 图 3 桔梗药材 เสนผานศูนยกลาง 0.7-2 เซนติเมตร ผิวสีขาวหรือ สขี าวอมเหลอื งออ น รากทย่ี ังไมไดปอกเปลือกจะมีสี Figure 3 Platycodonis Radix crude drug น้ําตาลอมเหลืองหรือสีนํ้าตาลอมเทา มีรองคดไป ตามแนวยาว และมีชองอากาศและรอยแผลเปนท่ี เกิดจากรากแขนงตามแนวขวาง สวนบนมีลายตาม แนวขวาง สวนโคนอาจมีเหงาสั้น ๆ ติดอยู หรืออาจ เห็นไมชัดเจน ซึ่งจะมีรอยแผลของลําตนรูปวงเสี้ยว อยูเปนจํานวนมาก เน้ือเปราะ หนาตัดไมเรียบ มีวง ของเน้ือเย่ือเจริญชนิด cambium สีน้ําตาล เปลือก คอนขางขาว มีรอยแตก เนื้อไมสีขาวอมเหลืองออน มีกลิ่นออน ๆ รสหวานเล็กนอย ตามดวยขม1,11-13 (รูปท่ี 3) T-33