“...พอเพียง มคี วามหมายกวา้ งขวางยง่ิ กว่านอ้ี กี คอื คำ�ว่าพอ กพ็ อเพยี งน้กี ็พอแค่น้ันเอง คนเราถา้ พอในความต้องการกม็ คี วามโลภนอ้ ย เม่ือมีความโลภน้อยกเ็ บยี ดเบียนคนอน่ื น้อย ถา้ ประเทศใดมีความคิดอนั นี้ มีความคิดวา่ ท�ำ อะไรต้องพอเพยี ง หมายความวา่ พอประมาณ ซือ่ ตรง ไมโ่ ลภอยา่ งมาก คนเรากอ็ ยู่เปน็ สขุ พอเพยี งนอี้ าจมีมากอาจจะมีของหรูหรากไ็ ด้ แต่วา่ ต้องไมเ่ บียดเบยี นคนอ่ืน...” พระราชด�ำ รสั เน่อื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลยั วนั ท่ี 4 ธนั วาคม 2551
ค�ำนำ� กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไดจ้ ดั ทำ� หนงั สอื “๑๒๒ อาชพี เกษตรกรรมทางเลอื ก” เพอื่ เผยแพรอ่ งคค์ วามรใู้ นการประกอบอาชพี ดา้ นเกษตรกรรมทเ่ี หมาะสมในการดำ� เนนิ ชวี ติ และการพง่ึ ตนเองตามแนวทางปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ซง่ึ กองนโยบายเทคโนโลยี เพ่ือการเกษตรและเกษตรกรรมยงั่ ยนื สำ� นกั งานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ด�ำเนินการปรับปรุงและจ�ำแนกเน้ือหาในแต่ละอาชีพ เพื่อเผยแพร่ให้เกษตรกร และผทู้ สี่ นใจใชเ้ ปน็ แนวทางในการประกอบอาชพี ประกอบดว้ ย ทางเลอื กอาชพี ดา้ นประมง ทางเลอื กอาชพี ดา้ นปศสุ ตั ว์ ทางเลอื กอาชพี ดา้ นพชื ทางเลอื กอาชพี ดา้ นการแปรรปู อาหาร ทางเลอื กอาชพี ดา้ นการผลติ อาหารสตั ว์ ทางเลอื กอาชพี ดา้ นหมอ่ นไหม ทางเลอื กอาชพี ดา้ น ผลติ ภณั ฑอ์ นื่ ๆ และทางเลอื กอาชพี ดา้ นสมนุ ไพรไทย “การทำ� ประมง” เปน็ อาชพี ดงั้ เดมิ ทมี่ คี วามสำ� คญั ตอ่ ภาคการเกษตรของประเทศไทย ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากคำ� กลา่ วทว่ี า่ “ในนำ�้ มปี ลา ในนามขี า้ ว” มกี ารใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นการเปน็ แหลง่ อาหารประเภทโปรตนี และสามารถเลย้ี งเพอ่ื จำ� หนา่ ย กลา่ วไดว้ า่ การทำ� การประมง สามารถเปน็ อาชพี ทางเลอื กใหก้ บั เกษตรกรได้ ทง้ั อาชพี หลกั และอาชพี เสรมิ การจดั ทำ� หนงั สอื “ทางเลอื กอาชพี ดา้ นประมง” เปน็ การรวบรวมความรแู้ ละขอ้ มลู เชงิ วชิ าการทจ่ี ำ� เปน็ และเปน็ พนื้ ฐานในการประกอบอาชพี ทางดา้ นประมง อาทิ การเลย้ี งปทู ะเล การเพาะเลย้ี ง ปลากะพงขาว การเลย้ี งปลาบู่ การเพาะเลย้ี งกบ เปน็ ตน้ สำ� หรบั เผยแพรใ่ หแ้ กเ่ กษตรกร และผทู้ สี่ นใจ ไดน้ ำ� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ หมาะสม เพอื่ เสรมิ สรา้ งความมนั่ คงทางอาชพี และรายไดต้ อ่ ไป ในการจดั ทำ� หนงั สอื “ทางเลอื กอาชพี ดา้ นประมง” เลม่ น้ี ไดร้ ับความอนเุ คราะหข์ อ้ มลู เปน็ อยา่ งดจี ากกรมประมง ซง่ึ กองนโยบายเทคโนโลยเี พอ่ื การเกษตรและเกษตรกรรมยงั่ ยนื ส�ำนักปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ขอขอบคณุ มา ณ โอกาสนี้ดว้ ย กองนโยบายเทคโนโลยเี พอ่ื การเกษตรและเกษตรกรรมยงั่ ยนื มนี าคม ๒๕๕๖
ทางเลือกดอา้ านชพีประมง สารบญั หนา้ การเลย้ี งปลากะพงขาว 7 การเลย้ี งปทู ะเล 9 การเลี้ยงปลาแรด 12 การเลีย้ งกุ้งกา้ มกราม 17 การเลี้ยงปลาบ่ ู 22 การเลย้ี งปลาหมอไทย 25 การเลย้ี งปลาตะเพยี นขาว 28 การเลี้ยงปลานลิ 31 การเลี้ยงปลาชอ่ น 34 การเลี้ยงกบ 37 การเลี้ยงปลากดเหลือง 39 การเลี้ยงปลาดกุ บิ๊กอยุ 42 การเลี้ยงปลาสวาย 45
ทางเลือกอาชพี ดา้ นประมง การเพาะเล้ยี งปลากะพงขาว 7 ปลากะพงขาว เปน็ สตั วน์ ำ้� พวกกนิ เนอ้ื ทส่ี ามารถอยอู่ าศยั ไดท้ งั้ นำ้� จดื นำ้� กรอ่ ย และนำ�้ เคม็ โดยเลย้ี งแพรห่ ลายในเขตจงั หวดั ชายทะเลของประเทศไทย เจรญิ เตบิ โตเรว็ เน้ือมีรสชาติดี และมีราคาดี ปัจจุบันประเทศไทยสามารถเพาะพันธุ์ปลากะพงขาว ได้เปน็ จ�ำนวนมากเพอ่ื เล้ียงในประเทศไทยและส่งขายตา่ งประเทศ ขน้ั ตอนการด�ำเนินงาน (การเลยี้ งในบ่อดนิ ) 1. การสร้างและเตรียมบอ่ เลย้ี งปลา บอ่ ดนิ เลยี้ งปลากะพงขาวทนี่ ยิ มมขี นาด 1.5 – 2 ไร่ ความลกึ 1.5 – 3 เมตร มรี ะบบนำ้� ผนั เขา้ – ออกอยคู่ นละดา้ น ในกรณที เ่ี ปน็ บอ่ เกา่ ควรพรวนตะกอนเลน ประมาณ 3 – 5 ครงั้ ตอ่ วนั หรอื ขดุ ลอกเสรมิ ตกแตง่ บอ่ พรอ้ มหวา่ นปนู ขาวทวั่ บอ่ ในอตั ราประมาณ 60 – 80 กโิ ลกรมั /ไร่ เพอื่ ปรบั คา่ pH และควรใชอ้ วนกนั้ ลอ้ มปลาอยู่ในเนอ้ื ทแ่ี คบๆ บรเิ วณทจ่ี ะใหอ้ าหารประจำ� กอ่ นประมาณ 15 – 30 วนั จงึ เอาเชอื กและอวนท่กี ัน้ ออก เพื่อใหป้ ลาไดอ้ าศยั ทัว่ ทัง้ บอ่ 2. อัตราการปล่อยปลาเลี้ยงในบ่อดนิ ปลาเรม่ิ เล้ยี งแต่ละบ่อ ควรมคี วามยาวขนาดเท่ากนั ประมาณ 4 – 5 นว้ิ กรณีมีเคร่ืองเพิ่มอากาศในบ่อปล่อยอัตรา 2 – 3 ตัว/ตารางเมตร หรือประมาณ
ทางเลอื กอาชพี ดา้ นประมง 3,000 – 4,500 ตวั /ไร่ หากไมม่ เี คร่ืองเพมิ่ อากาศลงน้�ำในบ่อสำ� หรับใช้ในช่วงวกิ ฤติ ควรปลอ่ ย 0.25 – 0.50 ตวั ตอ่ ตารางเมตร หรอื 400 – 800 ตวั /ไร่ ในการปลอ่ ยปลา ลงเลยี้ งควรปรบั นำ้� ในถงุ หรอื ถงั ลำ� เลยี ง ใหม้ อี ณุ หภมู แิ ละความเคม็ เทา่ กบั บอ่ เลย้ี งกอ่ น หรอื ต่างกันไมเ่ กิน 2 หนว่ ย 3. การถา่ ยเทนำ้� ควรถ่ายนำ�้ ทกุ ๆ 3 – 7 วนั ถ่ายน�ำ้ ประมาณ 1 ใน 3 ของบ่อ ขณะถา่ ยน�้ำ ไมค่ วรรบกวนใหป้ ลาตกใจ เพราะปลาอาจจะไมก่ นิ อาหาร ควรเตมิ นำ�้ ในชว่ งประมาณ ตสี าม – ตสี ี่ เพอ่ื เปน็ การชว่ ยเพมิ่ ออกซเิ จน และอณุ หภมู ขิ องนำ้� จะไมแ่ ตกตา่ งกนั มาก ขน้ั ตอน (การเล้ยี งในกระชัง) 1. อตั ราการปลอ่ ยลงกระชังเลี้ยง ปลาท่ีปลอ่ ยในแตล่ ะกระชังควรมีความยาว 10 เซนติเมตร (4 นว้ิ ) ข้นึ ไป จงึ จะเลี้ยงได้ผลดี หาซอื้ ได้ตามฟารม์ เอกชนทัว่ ไป และศูนย์เพาะเล้ยี งสัตวน์ ำ�้ ชายฝั่ง ของกรมประมง ถ้าปล่อยปลาขนาดต่างกันปลาขนาดใหญ่จะกินปลาขนาดเล็ก และจะแย่งกินอาหารได้มากกว่า อัตราปล่อยต้ังแต่ 100 – 300 ตัว/ตารางเมตร เมื่อแรกปล่อยแล้วให้มีความหนาแน่น 30 – 60 ตัว/ตารางเมตร เมื่อปลาโตข้ึน จนกระทงั่ จบั ขาย ท้งั นี้ขน้ึ อยูก่ ับสภาพแวดลอ้ มและท�ำเลทตี่ ้งั กระชงั 2. อาหารและการใหอ้ าหาร อาหารทน่ี ยิ มใชท้ งั้ ปลาเปด็ และอาหารเมด็ สำ� เรจ็ รปู ปลาเปด็ ทใ่ี ชเ้ ปน็ อาหาร ตอ้ งเปน็ ปลาสด และตอ้ งสบั ใหเ้ ปน็ ชนิ้ พอดกี บั ปากปลา ถา้ ปลาเลก็ กส็ บั ใหเ้ ปน็ ชนิ้ เลก็ ๆ เมอ่ื ปลาโตขน้ึ กจ็ ะสบั ใหม้ ชี น้ิ ใหญข่ นึ้ กำ� หนดจดุ และเวลาใหอ้ าหารทแี่ นน่ อนวนั ละมอื้ 3. การเจริญเติบโต เล้ียงปลาประมาณ 60 วนั ได้น�ำ้ หนกั ปลาประมาณ 90 กรมั เลี้ยง 90 วัน ได้นำ้� หนกั ประมาณ 180 กรมั เลยี้ ง 120 วนั ไดน้ �้ำหนกั ประมาณ 250 กรัม ถา้ เลีย้ ง 8 ครบ 6 – 7 เดอื น จะไดน้ �ำ้ หนักปลาเฉลย่ี 400 – 600 กรัม มีราคาดี เมอ่ื ไดป้ ลาขนาด 800 – 1,200 กรัม ระหว่างเลี้ยงควรสังเกตการณ์กินอาหารของปลา หากกินอาหารลดลง อาจมีปรสิต หรอื โรคควรรีบปรึกษาหน่วยงานกรมประมงท่อี ยู่ใกล้เคียง แหลง่ ขอ้ มลู : กรมประมง
ทางเลอื กอาชพี ด้านประมง การเล้ยี งปทู ะเล 9 ปทู ะเล มรี สชาตดิ ี สามารถนำ� มาปรงุ อาหารไดห้ ลายชนดิ เปน็ ทน่ี ยิ มบรโิ ภคทว่ั ไป ปัจจุบันปูทะเลนับเป็นสินค้าที่มีราคาสูงแต่ค่อนข้างหารับประทานได้ยาก ดังนั้น ความต้องการปูทะเลจึงมีเพ่ิมมากขึ้น การเล้ียงปูทะเลท�ำได้หลายประเภท เช่น การเลยี้ งขนุ ปู การเลย้ี งปโู พรกใหเ้ ปน็ ปแู นน่ การเลยี้ งปไู ข่ การเลยี้ งปนู มิ่ และการเลยี้ งปเู ลก็ เพื่อขายใหเ้ ลี้ยงตอ่ การเลอื กพื้นท่เี ล้ียงขุนปทู ะเล 1) อยูใ่ กลแ้ หลง่ นำ�้ กร่อยความเคม็ 10 – 30 ppt (สว่ นในพันสว่ น) 2) เป็นบริเวณท่ีน�้ำทะเลข้ึน – ลง ได้สะดวก น้�ำไม่ท่วมในขณะที่น�้ำทะเล มรี ะดับสูงสดุ และสามารถระบายน้�ำไดแ้ หง้ เม่อื มีนำ้� ลงต่�ำสุด 3) มกี ารคมนาคมสะดวก 4) สภาพดนิ เป็นดินเหนยี วหรือเป็นดินเหนยี วปนทราย สามารถเก็บนำ้� ได้ดี 5) หา่ งไกลจากแหล่งโรงงานอุตสาหกรรม การเตรียมบอ่ 1) บอ่ ควรมพี ื้นท่ีประมาณ 400 – 1,600 ตารางเมตร หรือใช้บอ่ เล้ียงก้งุ เกา่ ความลึก 1.5 – 1.8 และควรขุดร่องลึกรอบบ่อลึกประมาณ 80 เซนติเมตร กว้าง ประมาณ 1 เมตร
ทางเลือกอาชพี ดา้ นประมง 2) ประตนู ำ�้ มปี ระตเู ดยี วหรอื 2 ประตหู รอื ฝงั ทอ่ พวี ซี เี สน้ ผา่ ศนู ยก์ ลางประมาณ 10 น้วิ ทอ่ เดียวโดยใช้ฝาเปดิ – ปดิ กไ็ ด้ ซ่งึ ใชร้ ะบายน�้ำเข้า – ออกทางเดยี วกนั 3) บรเิ วณคนั บอ่ และประตนู ำ้� ใชอ้ วนเกา่ หรอื อวนมงุ้ เขยี วหรอื กระเบอื้ งมงุ หลงั คา เกรดบปี ดิ กนั้ โดยรอบเพอื่ ปอ้ งกนั การหลบหนขี องปู โดยสงู จากขอบบอ่ และประตรู ะบายนำ�้ 0.5 เมตร 4) ใชป้ ระตนู ำ้� เขา้ – ออก เปน็ ไมข้ นาด 1 – 1.50 นว้ิ หา่ งกนั ไมเ่ กนิ ซกี ละ 2 เซนตเิ มตร เยบ็ ตะแกรงป้องกันปูออก 5) บ่อใหม่ควรท�ำความสะอาดบริเวณรอบบอ่ 6) บอ่ เกา่ ควรมีการกำ� จัดวชั พืช ลอกเลน ถมรอยร่ัว ตามคนั บอ่ 7) ใสป่ ูนขาวประมาณ 50 - 60 กิโลกรมั ต่อไร่ วิธีการเลีย้ ง การปลอ่ ยปลู งเลย้ี งในบอ่ อตั ราความหนาแนน่ ประมาณ 2 – 3 ตวั /ตารางเมตร ควรท�ำในช่วงเวลาเช้าหรือเย็น ก่อนปล่อยควรน�ำน้�ำในบ่อท่ีจะใช้เล้ียงปูราดบนตัวปู 2 ครงั้ ในระยะเวลา 30 นาที โดยเวน้ ระยะหา่ งกนั 15 นาที จากนนั้ นำ� ปมู าปลอ่ ยใหค้ ลาน ลงไปในน�้ำเอง ซึ่งวิธีการท�ำเช่นน้ีจะช่วยให้ปูค่อยๆปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อม ถา้ ปล่อยปลู งนำ้� ในบ่อทันที ปูจะเกิดอาการชอ็ คตายได้ ควรเลยี้ งปทู ะเลตวั ผกู้ บั ปตู วั เมยี รวมกนั เพอ่ื เปน็ การเลยี นแบบธรรมชาติ ระหวา่ ง การเลยี้ งจะตอ้ งมกี ารดแู ลและเปลยี่ นถา่ ยนำ้� ทกุ วนั การระบายนำ้� จะระบายเกอื บแหง้ เหลอื น้�ำไว้ประมาณ 10 – 15 เซนตเิ มตร เพอ่ื ใหป้ ฝู ังตวั ได้ดีโดยใชเ้ วลาเลีย้ งประมาณ 3 สัปดาห์ การใหอ้ าหาร ควรใหอ้ าหารปูทะเลท่ีเลี้ยงวันละคร้ัง อาหารทน่ี ยิ มใช้เล้ียงคือ ปลาเปด็ และ หอยกะพง ใหอ้ าหารโดยการหว่านหรอื วางไว้รอบบ่อ - ปลาเปด็ สับเปน็ ชิ้นขนาด 1 – 2 น้วิ ให้ประมาณ 5 – 7% ของน�้ำหนักปู 10 โดยประมาณว่าปไู ดก้ ินตัวละ 1 ชิน้ - หอยกะพง จะให้ท้งั ตวั ประมาณ 20-40% ของน�้ำหนักปู
ทางเลอื กอาชีพด้านประมง การเก็บเก่ียว เม่ือเล้ียงปูทะเลได้ขนาดตามท่ีต้องการแล้ว (ผู้เล้ียงจึงเริ่มการจับปูทะเล โดยเรม่ิ จบั ในชว่ งน้ำ� ขน้ึ -ลงมีวิธีการดงั น้ี 1) ระบายน้�ำออกเกือบหมด ให้น้�ำเข้าบ่อในช่วงน�้ำขึ้น เมื่อปูมาเล่นน้�ำใหม่ ท่ปี ระตจู ึงจบั ปูโดยใช้สวิงด้ามยาว 2) จับโดยใชถ้ งุ อวนจบั ในขณะทเี่ ปิดออกจากบ่อ 3) จบั โดยใชต้ ะขอเกี่ยวปใู นรูบรเิ วณคันบ่อ 4) จับโดยวดิ แห้งทงั้ บอ่ แลว้ ใช้คราดและสวิงจับปู 5) คัดแยกปูไข่-เนื้อและขนาดปูเพื่อจ�ำหน่าย ส�ำหรับปูที่ยังไม่ได้คุณภาพให้ ปล่อยลงเลีย้ งตอ่ ไป การตลาด สำ� หรบั ปทู ะเล ผบู้ รโิ ภคยงั มคี วามตอ้ งการสงู ตลอดทงั้ ปี ทงั้ ตลาดภายในประเทศ และตลาดต่างประเทศ โดยปูเนื้อขนาด 300-400 กรัม/ตัว ราคาประมาณ 250-300 บาท/กิโลกรัมและขนาด 400-500 กรัม/ตัว ราคาประมาณ 300-350 บาท/กโิ ลกรมั แหล่งข้อมลู : กรมประมง 11
ทางเลอื กอาชพี ดา้ นประมง การเล้ียงปลาแรด ปลาแรด เปน็ ปลานำ�้ จดื ขนาดใหญข่ องไทยชนดิ หนง่ึ พบมนี ำ�้ หนกั 6-7 กโิ ลกรมั มคี วามยาวถงึ 6.5 เซนตเิ มตร เปน็ ปลาจำ� พวกเดยี วกบั ปลากระด่ี ปลาสลดิ แตม่ ขี นาด ใหญก่ วา่ ปลาแรดมเี นอ้ื นมุ่ สเี หลอื งออ่ น และรสชาตดิ ี จงึ ไดร้ บั ความนยิ มจากประชาชน ผบู้ รโิ ภคทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ เพราะสามารถนำ� มาประกอบอาหารไดห้ ลายชนดิ ทัง้ ยงั นิยมนำ� ไปเลยี้ งเปน็ ปลาสวยงามอกี ดว้ ย การเพาะและขยายพันธ์ุ 1. การคดั เลอื กพอ่ -แมพ่ นั ธ์ุ ปกตปิ ลาแรดเพศผแู้ ละเพศเมยี มลี กั ษณะคลา้ ยคลงึ กันมากจะจ�ำแนกความแตกต่างได้ชัดก็ต่อเม่ือมีขนาดสมบรูณ์พันธุ์ โดยสังเกตจาก ลักษณะภายนอกของตัวปลา คือ ตัวผู้สังเกตได้ที่โคนครีบหูจะมีสีขาวและมีนอ (Tuvercle) ท่ีหัวโหนกสูงขึ้นจะได้เห็นชัด ตัวเมียที่โคนครีบหูมีสีด�ำอย่างเห็นได้ชัด ถ้าแม่ปลาตัวเมียพร้อมวางไข่สังเกตได้วา่ ท้องอูมเป่ง ปลาแรดที่มีอายุเท่ากันตัวผู้ 12 จะตัวโตกว่า ปลาแรดตัวเมียเริ่มมีไข่เม่ืออายุ 2 ปีข้ึนไป หรือมีน�้ำหนักตัวไม่ต่�ำกว่า 2 กโิ ลกรมั มไี ขป่ ระมาณ 2,000-4,000 ฟอง ปลาตวั หนงึ่ สามารถไขไ่ ด้ 2-3 ครง้ั ตอ่ ปี อตั ราสว่ นการปลอ่ ยพอ่ แมป่ ลาเพอ่ื ผสมพนั ธ์ุ ใชอ้ ตั ราสว่ นเพศผู้ 2 ตวั ตอ่ เพศเมยี 1 ตวั (2:1) โดยปล่อยปลา 1 ตวั ตอ่ พืน้ ท่ี 3-5 ตารางเมตร
ทางเลือกอาชพี ด้านประมง 2. การเลี้ยงพ่อ-แม่พันธุ์ ปกติปลาแรดมีปริมาณไข่มากในช่วงเดือน 13 กมุ ภาพนั ธ์ – เดอื นสงิ หาคม เกษตรกรจงึ ควรขนุ พอ่ -แมพ่ นั ธป์ุ ลาตง้ั แตเ่ ดอื นพฤศจกิ ายน เปน็ ตน้ ไป โดยใชอ้ าหารเมด็ ลอยนำ้� โปรตนี สงู หรอื อาหารปลาดกุ ทม่ี โี ปรตนี 25-30 เปอรเ์ ซน็ ต์ ให้ปริมาณ 2-3 เปอร์เซ็นต์ ของน้�ำหนักปลาในบ่อ และควรเสริมด้วยอาหารสมทบ ประเภทพืช เช่น จอก สาหรา่ ย แหน กล้วยน�้ำว้าสกุ ผกั ต่างๆ เป็นตน้ 3. การเตรยี มบอ่ เพาะพนั ธ์ุ บอ่ เพาะพนั ธค์ุ วรเปน็ บอ่ ดนิ หรอื บอ่ คสล. โดยบอ่ ดนิ ควรมีขนาด 0.5-1.0 ไร่ สว่ นบอ่ คสล. ควรมีขนาด 50 ตารางเมตร เป็นอย่างนอ้ ย ทงั้ นี้ เพอ่ื สะดวกในการดแู ลการวางไขแ่ ละการรวบรวมไขม่ าอนบุ าล ภายในบอ่ ใสผ่ กั บงุ้ หรือวัชพืชน�้ำ เพื่อให้ปลาน�ำไปใช้ในการสร้างรังหรือจะใช้วัสดุอื่นเพ่ือเป็นที่สังเกต ในการสร้างรังของปลา เช่น เศษเชือกฟางสีต่างๆ วัชพชื น�้ำหรอื วัสดุท่ใี ส่เพอ่ื ใหป้ ลา สร้างรังนั้นควรวางกระจายเป็นจุดๆ ทั่วบ่อเพาะพันธุ์ เนื่องจากพ่อแม่ปลาจะสร้าง อาณาเขตในการดแู ลรงั ของมนั หรอื อาจใชค้ อกทส่ี รา้ งขนึ้ บรเิ วณตลงิ่ ทเ่ี ปน็ คงุ้ นำ�้ ลำ� นำ้� ทกี่ ระแสนำ้� ไม่แรงนกั เปน็ ที่เพาะปลาแรดได้เชน่ เดยี วกบั การเพาะในบ่อ 4. การสังเกตการวางไข่ของปลาแรด หลังจากปล่อยพ่อ-แม่พันธ์ุปลาลงใน บอ่ เพาะพนั ธแ์ุ ลว้ ใหส้ งั เกตการวางไขข่ องปลาแรดทกุ วนั โดยปลาแรดจะใชพ้ ชื จำ� พวก รากผกั บงุ้ กิ่งไม้ รากหญา้ หญา้ แหง้ และวัสดอุ น่ื ๆ ทม่ี ใี นบอ่ นำ� มาสร้างรงั รงั ปลาแรด มีลักษณะคล้ายรังนกลักษณะกลม และมีฝาปิดรัง ขนาดรังทั่วไปมีเส้นผ่าศูนย์กลาง ยาว 1 ฟุต โดยปลาแรดใช้เวลาในการสร้างรังประมาณ 3-5 วัน แม่ปลาจึงวางไข่ หากต้องการทราบว่าแม่ปลาวางไข่และหรือยัง ให้สังเกตได้จากคราบไขมันที่ลอย บนผิวน�้ำเหนือรังท่ีแม่ปลาท�ำไว้ ถ้าพบว่ามีคราบไขมันบนผิวน�้ำที่มีรังไข่ปลาแรดอยู่ หรือเม่ือจับดูที่รังและพบว่ารังปิด หรือเม่ือเห็นแม่ปลามาคอยเฝ้าดูแลรังและฮุบน�้ำ โบกหางอยใู่ กลๆ้ รงั แสดงวา่ ปลาวางไขแ่ ลว้ จากนน้ั ตกั รงั ไขข่ นึ้ มา คดั เลอื กเฉพาะไขท่ ดี่ ี (ไขท่ มี่ ลี กั ษณะสเี หลอื งวาว) ไปพกั ในบอ่ ซเี มนตห์ รอื ตกู้ ระจกเพอื่ ดำ� เนนิ การฟกั ไขต่ อ่ ไป 5. การฟักไข่ ไข่ปลาแรดเป็นประเภทไข่ลอย (มีลักษณะกลมสีเหลืองอ่อน มไี ขมนั มาก กลนิ่ คาวจดั ไม่มเี มือกเหนยี ว ขนาดเสน้ ผา่ ศูนยก์ ลาง 1-2 มลิ ลิเมตร) เมอื่ แมป่ ลาแรดวางไขแ่ ลว้ ใหน้ ำ� รงั ไขข่ นึ้ มาแลว้ ตกั เฉพาะไขด่ แี ละควรชอ้ นคราบไขมนั ออก มฉิ ะนนั้ แลว้ จะทำ� ใหน้ ำ้� เสยี และลกู ปลาทฟ่ี กั ออกมาตดิ เชอ้ื โรคไดง้ า่ ย ตอ่ จากนน้ั รวบรวม ไขท่ ีด่ ี ใสถ่ งั กลมขนาดเส้นผา่ ศูนย์กลาง 1 เมตร ระดบั นำ้� ประมาณ 30-50 เซนตเิ มตร
ทางเลือกอาชีพดา้ นประมง ให้เคร่ืองเป่าอากาศเบาๆ เพอ่ื เพม่ิ ออกซเิ จนและใสพ่ ชื น�ำ้ เช่น ผกั บงุ้ เพ่ือชว่ ยในการ ดูดซับไขมันและให้ลูกปลาได้ยึดเกาะ จะฟักไข่ในบ่ออนุบาลหรือฟักไข่ในกระชัง ผา้ โอลอลแกว้ ซงึ่ มโี ครงรา่ งสเี่ หลย่ี มขนาด 1x1x0.5 เมตร และมหี เู กย่ี วหรอื โครงเหลก็ ถ่วงท่ีพื้น เพ่ือให้กระชังตึงคงรูปอยู่ได้ในระหว่างการฟักควรเพิ่มอากาศหรือน�้ำลงใน กระชังเพอ่ื ใหไ้ ขมันท่ีตดิ มากบั ไขอ่ อกมาใหม้ ากทสี่ ุด ไข่จะฟักออกมาเป็นตัวอ่อนภายใน 18-36 ช่ัวโมง ท่ีอุณหภูมิ 20-30 องศาเซลเซียส เม่ือออกจากไข่ใหม่ๆ ตัวอ่อนจะลอยหงายท้องอยู่และรวมอยู่กัน เปน็ กลุม่ บริเวณพืชน�้ำหรือรากผกั บ้งุ 6. การอนุบาลลูกปลาแรด แบ่งออกเปน็ 3 ระยะ คอื 6.1 ระยะ 1-5 วัน หลังจากเก็บไข่ออกจากรังและฟักออกเป็นตัวแล้ว ชว่ งน้ียงั ไม่ต้องใหอ้ าหารเนอื่ งจากลูกปลาจะมอี าหารทตี่ ดิ ตวั มาเรยี กว่า “ถงุ ไขแ่ ดง” ซ่ึงติดอยู่ตรงบริเวณท้องลูกปลาวัยอ่อน ลูกปลาวัยอ่อนในระยะนี้จะไม่ค่อยว่ายน้�ำ และจะชอบอย่รู วมกันเป็นกลมุ่ ๆ 6.2 ระยะ 6-15 วัน ลูกปลาจะเริ่มมีสีเข้มขึ้น ระยะน้ีเรียกว่า “ระยะ ถุงไข่แดงยุบ” ในช่วงน้ีจะเร่ิมให้ไรแดงเป็นอาหาร โดยให้วันละ 2 คร้ัง (เช้า-เย็น) ลูกปลาจะเร่มิ แตกกลมุ่ อยูก่ ระจายทั่วไปในบอ่ อนุบาล 6.3 ระยะ 16-50 วนั ระยะนจ้ี ะยา้ ยลกู ปลาไปอนบุ าลในบอ่ ดนิ อตั ราปลอ่ ย 100,000 ตัว/ไร่ หรือประมาณ 60-65 ตัวต่อตารางเมตร บ่ออนุบาลควรมีขนาด 400-800 ตารางเมตร ส่วนการอนุบาลในบ่อซีเมนต์ ควรให้อัตราส่วน 5 ตัว ต่อตารางเมตร ในช่วง 10 วันแรกที่ลงบ่อดิน ยังคงให้ไรแดงเป็นอาหารอยู่และเริ่ม ให้ร�ำผสมปลาป่น ในอัตราส่วน 1:3 ผสมน้�ำสาดให้ทั่วบ่อ เมื่อปลามีขนาดโตข้ึน จงึ เรมิ่ เปลยี่ นมาเปน็ อาหารเมด็ ลอยนำ�้ หรอื อาหารตม้ วนั ละ 2 ครง้ั (เชา้ -เยน็ ) ประมาณ 3-5 เปอร์เซ็นต์ของน�้ำหนักปลาในบ่ออนุบาล จนกระท่ังลูกปลามีขนาดความยาว 2-3 เซนติเมตร ซง่ึ เป็นขนาดทเี่ หมาะสมส�ำหรับการเล้ยี งในบอ่ ดินใหเ้ ติบโตไดข้ นาด ตลาดต้องการ หรืออนุบาลจนกระท่ังมีขนาดความยาว 3 นิ้ว (5-7 เซนติเมตร) 14 เพือ่ นำ� ไปเลี้ยงในกระชงั ต่อไป
ทางเลอื กอาชพี ดา้ นประมง การเลี้ยงปลาแรด 15 ปลาแรดมอี วยั วะชว่ ยในการหายใจ ทำ� ใหส้ ามารถอยใู่ นนำ�้ ทมี่ ปี รมิ าณออกซเิ จนนอ้ ย และทนทานตอ่ โรคไดด้ ี ทนอณุ หภมู ติ ำ่� ถงึ 15 องศาเซลเซยี ส เจรญิ เตบิ โตไดด้ ใี นนำ�้ จดื และน�้ำกร่อย นอกจากน้ีปลาแรดยังเป็นปลาท่ีกินอาหารได้ง่าย จึงได้รับความสนใจ จากประชาชนทจ่ี ะเลย้ี งเปน็ อาชพี สถานทใี่ ชเ้ ลย้ี งปลาแรด มี 2 ลกั ษณะ คอื เลยี้ งในบอ่ ดนิ และเล้ียงในกระชัง 1. การเลย้ี งปลาแรดในบอ่ ดิน : บอ่ ทใ่ี ช้เล้ียงปลาแรด ควรเตรยี มบอ่ โดยการ ระบายนำ�้ ออกจากบอ่ ใหห้ มด ตากบอ่ ให้แหง้ เปน็ เวลา 3-7 วนั จากนนั้ หวา่ นปูนขาว 60-120 กิโลกรัม/ไร่ เพื่อฆ่าเช้อื โรคและก�ำจดั ปลาท่ีไม่ต้องการ ใสป่ ุย๋ คอกประมาณ 200-500 กโิ ลกรมั /ไร่ แลว้ แตพ่ น้ื ทหี่ รอื ลกั ษณะของดนิ ใชว้ ธิ ที ยอยใสโ่ ดยใหส้ งั เกตจาก สีน�ำ้ ในบอ่ ถ้าสีจางลง ใหใ้ ส่ป๋ยุ เสรมิ ลงไปเป็นระยะๆ ตามความเหมาะสม อัตราการปล่อยเลี้ยง อัตราการปล่อยปลาแรดในบ่อเล้ียงขึ้นอยู่กับขนาด ของลูกปลา น�้ำหนักปลาท่ีเร่ิมปล่อยและขนาดของปลาท่ีต้องการเก็บเก่ียวผลผลิต หากตอ้ งการเลยี้ งเปน็ ปลาใหญค่ วรปลอ่ ยในอตั รา 1-3 ตวั ตอ่ ตารางเมตร ใชเ้ วลาเลย้ี ง 1 ปี จะได้ปลานำ้� หนกั ประมาณ 0.8-1 กิโลกรมั ตอ่ ตวั ปลาแรดสามารถเลยี้ งแบบผสมผสานรวมกบั ปลากนิ พชื ชนดิ อน่ื ๆ เพอื่ ใหป้ ลาแรด กนิ พชื นำ้� หรอื วชั พชื นำ�้ ทข่ี นึ้ ในบอ่ และเปน็ การทำ� ความสะอาดบอ่ ไปดว้ ย หรอื จะเลยี้ ง รว่ มกบั สตั วอ์ น่ื เชน่ เปด็ ไก่ โดยกนั้ รว้ั เปน็ คอกไวไ้ มใ่ หเ้ ปด็ ออกมากนิ ลกู ปลาได้ ซงึ่ วธิ นี ้ี ผเู้ ลย้ี งจะสามารถประหยดั ตน้ ทนุ คา่ อาหารปลาและเปน็ การใชพ้ น้ื ทใี่ หเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ 2. การเล้ยี งปลาแรดในกระชัง : ปัจจุบันการเล้ียงปลาแรดในกระชัง กำ� ลัง ไดร้ บั ความนยิ มมากขน้ึ เนอ่ื งจากปลาทไี่ ดจ้ ากการเลยี้ งในกระชงั จะมรี าคาสงู กวา่ ปลา ที่เล้ยี งในบ่อดนิ 2.1 รูปแบบกระชัง สามารถแบง่ ได้เปน็ 2 รปู แบบ คือ 2.1.1 กระชังประจ�ำที่ ลกั ษณะของกระชงั แบบนี้ ตวั กระชงั จะผกู ตดิ กับเสาหลักซ่ึงปักไว้กับพ้ืนดินอย่างม่ันคง กระชังแบบนี้จะไม่สามารถลอยข้ึนลง ตามระดบั นำ�้ ได้ ดงั นนั้ แหลง่ เลยี้ งควรมรี ะดบั นำ�้ ขนึ้ สงู สดุ และตำ่� สดุ แตกตา่ งกนั ไมเ่ กนิ 50-60 เซนติเมตร 2.1.2 กระชังลอยนำ้� กระชังแบบน้เี หมาะสำ� หรบั การเลยี้ งทมี่ ีระดับน�ำ้ ลึกตั้งแต่ 3 เมตรข้ึนไป ตัวกระชังจะผูกแขวนอยู่กับแพหรือทุ่นลอย ซึ่งลอยข้ึนลง
ทางเลือกอาชีพด้านประมง ตามระดับน�้ำ แพท่ีใช้มีหลายลักษณะ อาทิ ใช้ไม้ไผ่ผูกเป็นแพลูกบวบและบางพ้ืนที่ นิยมใช้ทุ่นโฟมหรือถังพลาสติกท�ำเป็นทุ่นพยุงแพ โดยใช้ท่อพีวีซีเส้นผ่าศูนย์กลาง 1-2 นวิ้ หรอื จะใชท้ อ่ เหลก็ แปบ๊ นำ้� กจ็ ะเสรมิ ความแขง็ แรงไดด้ ี ซง่ึ แยกออกเปน็ 2 แบบ ตลาดและผลตอบแทน ตลาดในประเทศไทย : ปลาแรดเปน็ ท่ีนยิ มบริโภคเพราะเป็นปลาที่มีเนอ้ื มาก กา้ งน้อย รสชาติดี ประกอบอาหารได้หลายอย่าง เช่น ทอดกระเทียม ทอดราดพริก นง่ึ แบบตา่ งๆ ตม้ ยำ� แกงหรอื ลาบ ฯลฯ ปลาแรดทต่ี ลาดในเมอื งไทยตอ้ งการ คอื มนี ำ�้ หนกั ตัง้ แต่ 7 ขีด ถึง 1 กโิ ลกรมั - ราคาปลาแรดที่เลี้ยงในบ่อดิน จะอยู่ท่ีประมาณ 40-60 บาทต่อกิโลกรัม - ราคาปลาแรดท่ีเลี้ยงในกระชัง จะนิยมขายปลามีชีวิต ส�ำหรับการเล้ียง ในกระชัง น�้ำจะถ่ายเทตลอด ปลาจะไม่เหม็นกล่ินโคลนราคาจึงสูงกว่าปลาที่เล้ียง ในบอ่ ดนิ คอื ประมาณ 70-100 บาท ต่อกโิ ลกรมั ตลาดตา่ งประเทศ : ปจั จบุ นั มเี กษตรกรผเู้ ลย้ี งปลาแรดไดร้ วมตวั กนั เพอื่ จดั สง่ ปลาแรดไปจำ� หนา่ ยยงั ตา่ งประเทศ โดยตลาดตา่ งประเทศนยิ มใหแ้ ลเ่ อาเฉพาะเนอ้ื แชแ่ ขง็ ทงั้ นต้ี ้องใชป้ ลาทมี่ ขี นาดตง้ั แต่ 7 ขีดขนึ้ ไป โดยราคาจะอยปู่ ระมาณ 150-160 บาท ต่อกิโลกรัม โดยทางบริษัทคู่ค้าต่างประเทศจะเป็นผู้มาดูแลและออกค่าใช้จ่ายใน การขนสง่ เอง สำ� หรบั ราคาปลามีชวี ติ ทส่ี ง่ ไปแถบประเทศมาเลเซยี จะอยูป่ ระมาณ 250-350 บาทต่อกโิ ลกรมั แหลง่ ขอ้ มลู : กรมประมง 16
ทางเลอื กอาชพี ดา้ นประมง การเล้ียงกุ้งกา้ มกราม 17 ก้งุ กา้ มกราม มชี ื่อทอ้ งถ่ินซง่ึ เป็นทีร่ ู้จักต่างกนั เช่น กุ้งก้ามกราม กุง้ นาง กุ้งแห กงุ้ ใหญ่ กงุ้ หลวง กงุ้ แมน่ ้ำ� และกงุ้ กา้ มเกลย้ี ง พบกุง้ ชนิดนีท้ ว่ั ไปในแหล่งนำ้� จดื ทมี่ ีทาง ตดิ ตอ่ กบั ทะเล และแหลง่ นำ้� กรอ่ ยในบรเิ วณปากแมน่ ำ้� ลำ� คลองในทกุ ภมู ภิ าคของไทย แตใ่ นปจั จบุ นั กงุ้ กา้ มกรามตามแหลง่ นำ้� ธรรมชาตมิ แี นวโนม้ ลดลงอยา่ งมาก เนอื่ งจาก หลายสาเหตคุ อื การสร้างเขือ่ นกัน้ แมน่ ำ้� ทำ� ให้กุง้ ไม่สามารถอพยพไปวางไขใ่ นบรเิ วณ ปากแม่น้ำ� ได้ การท�ำการประมงมากเกนิ กำ� ลงั ผลติ ของธรรมชาติ ปญั หามลภาวะของ ส่ิงแวดลอ้ ม เชน่ การเน่าเสียของแมน่ �้ำลำ� คลอง และการทำ� การประมงอย่างไม่ถกู วธิ ี เป็นต้น ข้ันตอนการเลย้ี งก้งุ กา้ มกราม มีดังน้ี 1) คณุ ภาพดนิ ควรเปน็ ดนิ เหนยี วหรอื ดนิ รว่ นสามารถเกบ็ กกั นำ้� ไดด้ ี และคนั ดนิ ไม่พังทลายง่าย ดินไม่ควรเป็นดินเปรี้ยว เพราะท�ำให้สภาพน�้ำเป็นกรดไม่เหมาะกับ การเล้ยี งกงุ้ และอาจส่งผลทำ� ใหก้ ุ้งตายได้ 2) คณุ ภาพนำ�้ บอ่ เลยี้ งกงุ้ ควรอยใู่ กลแ้ หลง่ นำ้� ทม่ี คี ณุ ภาพดี สะอาด ไมม่ ลภาวะ จากโรงงานอุตสาหกรรม แหล่งชุมชนและแหล่งเกษตรกรรม น้�ำควรมีปริมาณมาก เพียงพอตลอดท้ังปี ถา้ เปน็ พน้ื ทีท่ ี่มนี �้ำส่งเขา้ บอ่ โดยไม่ตอ้ งสูบนำ�้ เชน่ น้ำ� จากแม่น�้ำ ล�ำคลอง คลองชลประทาน ก็จะเป็นการดีเพราะชว่ ยลดค่าใช้จา่ ย 3) แหลง่ พนั ธก์ุ งุ้ พนื้ ทเ่ี ลยี้ งควรอยใู่ นบรเิ วณทไี่ มห่ า่ งจากแหลง่ พนั ธก์ุ งุ้ เพราะ
ทางเลอื กอาชพี ดา้ นประมง จะชว่ ยใหส้ ะดวกในการลำ� เลยี งขนสง่ และการจดั หาพนั ธ์ุ ซง่ึ จะเปน็ ผลดตี อ่ สขุ ภาพกงุ้ เนอื่ งจากกงุ้ ท่ผี ่านการขนส่งเปน็ เวลานานมกั จะออ่ นแอและมอี ัตรารอดต�่ำ 4) สาธารณปู โภค สงิ่ อำ� นวยความสะดวกหลายอยา่ งจำ� เปน็ มากตอ่ การเลย้ี งกงุ้ ใหไ้ ด้ผลดี เชน่ ถนน ไฟฟา้ เพ่ือสะดวกในการขนสง่ อาหาร ผลผลิต การเตรียมอาหาร หรอื การเพ่ิมออกซเิ จนในบอ่ 5) ตลาด แหล่งเลี้ยงกุ้งควรอยู่ไม่ไกลตลาดมากเกินไปเพ่ือช่วยลดค่าใช้จ่าย ในการขนสง่ รูปแบบของบอ่ และการกอ่ สร้างบ่อเลย้ี ง 1) รปู แบบบอ่ เล้ียงกุง้ ส่วนมากนยิ มท�ำเป็นรปู สี่เหล่ยี มผืนผา้ เพราะสะดวก ในการจดั การและจบั กงุ้ ถา้ เปน็ ไปไดด้ า้ นยาวของบอ่ ควรอยใู่ นแนวเดยี วกบั ทศิ ทางลม เพอ่ื ใหอ้ อกซิเจนละลายนำ้� ได้ดี 2) ขนาดของบ่อ ปกติจะกว้างประมาณ 25-50 เมตร ส่วนความยาวขึ้นกับ ขนาดทต่ี อ้ งการและลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ ขนาดของบอ่ ทเ่ี หมาะสมควรอยรู่ ะหวา่ ง 1-5 ไร่ ต่อบ่อ แต่ถ้ามีพ้ืนที่น้อย อาจจะใช้บ่อเล็กกว่าน้ีได้ ส่วนบ่อที่มีขนาดใหญ่เกินไป จะท�ำให้ดูแลจัดการล�ำบาก และเมื่อเกิดปัญหาขึ้นจะท�ำให้เกิดความเสียหายมาก การแกป้ ัญหากท็ �ำได้ยาก พ้นื กน้ บอ่ ตอ้ งอัดเรยี บแน่น ไมม่ ีสิ่งกีดขวางในการลากอวน 3) ความลกึ ของบ่อ ตำ่� สุดประมาณ 1 เมตร และลกึ สดุ ไม่เกิน 1.5 เมตร โดย มีความลาดเอียงไปยังประตูระบายน้�ำออกเพื่อสะดวกในการระบายน้�ำ และจับกุ้ง บอ่ ทล่ี กึ เกนิ ไปจะมปี ญั หาการขาดออกซเิ จนในนำ้� ได้ แตถ่ า้ ตน้ื เกนิ ไปจะทำ� ใหแ้ สงแดด ส่องถึงก้นบ่อท�ำให้เกิดวัชพืชน�้ำได้ง่าย และอาจท�ำให้อุณหภูมิของน้�ำเปลี่ยนแปลง มากเกินไปในรอบวัน คันบ่อจะต้องสูงพอท่ีจะป้องกันน�้ำท่วมในฤดูน้�ำหลากและมี ความลาดชนั พอประมาณ ถา้ คนั บอ่ ลาดชนั นอ้ ยไปจะทำ� ใหพ้ งั ไดง้ า่ ย แตถ่ า้ มคี วามชนั มากไปจะทำ� ให้สนิ้ เปลืองพื้นที่ 4) ทางระบายน�ำ้ เขา้ และประตูระบายน้ำ� ออกควรอยตู่ รงขา้ มกัน โดยอยตู่ รง 18 ส่วนปลายของด้านยาว ประตูระบายน้�ำควรมีขนาดใหญ่พอเหมาะกับขนาดของบ่อ เพอ่ื ใหส้ ามารถระบายนำ้� ไดเ้ รว็ และคลองระบายนำ้� ออกจะตอ้ งอยตู่ ำ�่ กวา่ ประตรู ะบายนำ้� เพอื่ ให้สามารถระบายนำ้� ไดห้ มด
ทางเลือกอาชพี ดา้ นประมง 19 การเตรียมบ่อเล้ียงกงุ้ ก้ามกราม ควรระบายนำ�้ ออกจากบอ่ ใหแ้ หง้ เพอื่ กำ� จดั ศตั รกู งุ้ ไดแ้ ก่ ปลา กบ เขยี ด เปน็ ตน้ ถ้าไม่สามารถระบายน�้ำได้หมดให้ใช้โลต๊ินสด 2-4 กิโลกรัม ต่อปริมาณน้�ำในบ่อ 100 ลูกบาศก์เมตร โดยน�ำโล่ติ๊นสดทุบให้ละเอียดแล้วแช่น้�ำประมาณ 2 กิโลกรัม ต่อน�้ำ 1 ปี๊บ ทิ้งไว้ 1 คืน ขย�ำเอาน้�ำสีขาวออกหลายๆ คร้ังจนหมดแล้วน�ำไปสาด ใหท้ ว่ั บอ่ ทง้ิ ไวป้ ระมาณ 7 วนั จากนนั้ หวา่ นปนู ขาวขณะดนิ ยงั เปยี ก กรณที บี่ อ่ มเี ลนมาก ควรพลกิ ดนิ กอ่ นหวา่ น ปนู ขาวและตากบอ่ การตากบอ่ จะชว่ ยใหข้ องเสยี พวกสารอนิ ทรยี ์ ท่ีหมักหมมอยู่ท่พี ืน้ สลายตัวไป นอกจากนคี้ วามรอ้ นจากแสงแดดและปูนขาวยงั ชว่ ย กำ� จดั เชื้อโรค ปรสิต รวมท้ังศัตรกู งุ้ ดว้ ย สำ� หรบั บรเิ วณทดี่ นิ มสี ภาพเปน็ กรดหรอื ทเี่ รยี กวา่ ดนิ เปรยี้ ว เมอื่ ตอ้ งการปรบั เปลยี่ น พื้นท่ีมาเป็นบ่อเล้ียงกุ้งควรใช้ปูนขาวให้มากขึ้น ปริมาณปูนขาวที่ใช้ขึ้นอยู่กับว่าดิน เปน็ กรดมากนอ้ ยแค่ไหน ซง่ึ ตอ้ งทำ� การวิเคราะหค์ วามตอ้ งการปูนขาวของดนิ โดยให้ หนว่ ยงานราชการทบี่ รกิ ารวเิ คราะหค์ ณุ สมบตั ขิ องดนิ เชน่ สถานพี ฒั นาทด่ี นิ ชว่ ยวเิ คราะห์ ความเปน็ กรดของดนิ แตโ่ ดยทว่ั ไปถา้ เปน็ บอ่ ขดุ ใหมแ่ ละดนิ ไมเ่ ปน็ กรดมาก อตั ราการ ใส่ปูนขาวอยู่ประมาณ 160-200 กิโลกรัม/ไร่ แล้วตากบ่อทิ้งไว้ 2-4 สัปดาห์แต่ถ้า ดินมคี วามเป็นกรดมากอาจต้องใช้ปนู ขาวสงู ถึง 800 กิโลกรมั /ไร่ การเตรยี มน�ำ้ ส�ำหรับเลย้ี งกุ้งกา้ มกราม หลงั จากตากบอ่ และใสป่ นู ขาวประมาณ 2-4 สปั ดาห์ จงึ เปดิ นำ�้ ลงบอ่ โดยกรอง ดว้ ยอวนไนลอนหรอื ตะแกรงตาถ่ี เพอ่ื ปอ้ งกนั ศตั รกู งุ้ ทป่ี นมากบั นำ�้ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ไขแ่ ละตัวอ่อนของปลาและกบ การเลอื กพนั ธุ์กงุ้ ก้ามกราม พันธุ์กุ้งก้ามกรามท่ีดีควรมีการว่ายปราดเปรียว แข็งแรง ล�ำตัวใสและเป็นกุ้ง ทค่ี วำ�่ มาแลว้ 1 สปั ดาหข์ นึ้ ไป (อายปุ ระมาณ 25-30 วนั ขน้ึ ไป) และไดร้ บั การปรบั สภาพ ใหอ้ ยใู่ นนำ้� จดื ไมน่ อ้ ยกวา่ 1-2 วนั (ถา้ ปลอ่ ยกงุ้ ทเ่ี พง่ิ ควำ�่ สองสามวนั มกั มอี ตั รารอดตำ�่ ) วิธกี ารเลี้ยงกุง้ ก้ามกราม วิธที ี่ 1 นำ� ลกู กงุ้ ทีค่ ว่ำ� แล้วประมาณ 1 สัปดาห์ และได้รบั การปรับสภาพให้อยู่ ในน้ำ� จืดอย่างนอ้ ย 1-2 วัน ไปอนบุ าลในบอ่ ดินโดยใช้อัตราปลอ่ ยประมาณ 80,000- 160,000 ตัว/ไร่ อนุบาลนานประมาณ 2-3 เดือน จึงได้กุ้งขนาด 2-5 กรัมต่อตัว
ทางเลือกอาชีพดา้ นประมง (โดยปกตกิ ารอนบุ าลในระยะนจี้ ะมกี ารรอดประมาณ 40-50 เปอรเ์ ซน็ ต)์ หลงั จากนนั้ จงึ ย้ายไปเลยี้ งในบอ่ เลยี้ งกงุ้ โต โดยปล่อยในอัตรา 20,000-30,000 ตวั /ไร่ หลังจาก เลย้ี งในบอ่ อีกประมาณ 4 เดอื น ก็ทยอยจับกงุ้ บางส่วนที่โตไดข้ นาดขายเดอื นละครง้ั และจบั หมดทงั้ บอ่ เมอ่ื เลยี้ ง 6-10 เดอื นขนึ้ ไป วธิ นี มี้ ขี อ้ ดี คอื อตั รารอดจะสงู ไมต่ ำ�่ กวา่ 80 เปอร์เซ็นต์ เนื่องจากลูกกุ้งท่ีผ่านอนุบาลมาแล้วจะแข็งแรงและปรับตัวเข้ากับ สภาพแวดล้อมในบ่อเล้ียงได้ดี แต่ข้อเสีย คือต้องใช้แรงงานในการเคลื่อนย้ายกุ้ง จากบอ่ อนบุ าลไปลงบ่อเล้ยี ง วธิ ีท่ี 2 นำ� ลกู กุ้งท่คี ว่�ำแลว้ ประมาณ 1 สัปดาห์ และไดร้ ับการปรับสภาพให้อยู่ ในบอ่ น้ำ� จดื อยา่ งน้อย 1-2 วัน ปลอ่ ยลงบอ่ เลย้ี งโดยตรงในอัตราประมาณ 40,000- 60,000 ตัว/ไร่ หลังจากน้ันประมาณ 6-10 เดือนขึ้นไป จึงทยอยจับกุ้งที่โตได้ ขนาดขายและทยอยจบั เดอื นละครง้ั จนเหน็ วา่ มกี งุ้ เหลอื นอ้ ยจงึ จบั หมดบอ่ วธิ นี ม้ี ขี อ้ ดี คือ ไม่ต้องใช้แรงงานในการเคลื่อนย้ายกุ้ง แต่ข้อเสียคือ ลูกกุ้งที่ผ่านการขนส่ง เป็นเวลานานบางสว่ นอาจจะอ่อนแอและตายในขณะขนสง่ หรือหลังจากปลอ่ ยลงบ่อ ไดไ้ มน่ าน เนอ่ื งจากไมส่ ามารถปรบั ตวั เขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มในบอ่ ได้ ทำ� ใหม้ อี ตั รารอด ไมแ่ นน่ อน และอาจมผี ลเสยี ตอ่ การคำ� นวณปรมิ าณอาหารทจ่ี ะให้ แตถ่ า้ มกี ารขนสง่ ทด่ี ี และลกู กุง้ แขง็ แรง การเล้ียงวิธีนี้โดยปกตจิ ะมีอตั รารอดประมาณ 50-60 เปอร์เซ็นต์ อาหารและการใหอ้ าหาร ลกู กงุ้ ทป่ี ลอ่ ยลงบอ่ ในระยะแรกสามารถใชอ้ าหารธรรมชาตทิ เี่ กดิ จาก การใส่ปุ๋ยในขณะเตรียมบ่อได้ แต่ถ้าปล่อยกุ้งเป็นจ�ำนวนมากอาหารธรรมชาติ อาจไมเ่ พยี งพอ จงึ ตอ้ งใหอ้ าหารสมทบ อาหารทใ่ี ชเ้ ลยี้ งกงุ้ กา้ มกรามตอ้ งใชช้ นดิ เมด็ จมนำ�้ โดยมีโปรตีน 30-40 เปอร์เซ็นต์ ซ่ึงอาจเตรียมเองหรือหาซื้ออาหารส�ำเร็จส�ำหรับ กงุ้ กา้ มกรามทมี่ จี ำ� หนา่ ยตามทอ้ งตลาดกไ็ ด้ หากเปน็ อาหารทเี่ ตรยี มเองควรทำ� ใหอ้ าหาร คงสภาพอยู่ในน�้ำได้นานไม่ต่�ำกว่า 4 ช่ัวโมง เนื่องจากกุ้งกินอาหารโดยการกัดแทะ ถ้าอาหารละลายน�้ำไดง้ ่ายจะท�ำให้กุ้งไดร้ บั อาหารไมเ่ ต็มที่ 20 การใหอ้ าหารโดยปกตใิ หว้ นั ละ 2 ครง้ั โดยแบง่ ใหม้ อ้ื เชา้ เปน็ สว่ นนอ้ ย (ประมาณ 30 เปอรเ์ ซ็นต)์ และใหม้ ้ือเย็นเปน็ สว่ นใหญ่ (ประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์)
ทางเลือกอาชีพดา้ นประมง ระยะเวลาเลย้ี งและการจับ ระยะเวลาเลี้ยงกุ้งขึ้นอยู่กับขนาดท่ีตลาดต้องการ โดยท่ัวไปหลังจากเล้ียง กุ้งก้ามกรามได้ประมาณ 4-6 เดือน ก็เร่ิมคัดขนาดและจับกุ้งบางส่วนขายได้แล้ว และทยอยจับเดือนละคร้ัง และจับท้ังหมดเมื่อเห็นว่ากุ้งเหลือน้อย (รวมระยะเวลา การเล้ยี งทัง้ หมดประมาณ 8-12 เดอื น) การจำ� หน่ายผลผลติ และแนวโนม้ ราคาในอนาคต กุ้งก้ามกรามท่ีขายตามท้องตลาด ส่วนใหญ่ได้มาจากการเล้ียงในภาคกลาง เนอ่ื งจากความตอ้ งการของผบู้ รโิ ภคในทอ้ งถน่ิ และจงั หวดั ใกลเ้ คยี งมมี ากขนึ้ ประกอบกบั กงุ้ กา้ มกรามจากแหลง่ ธรรมชาตมิ ปี รมิ าณนอ้ ย ทำ� ใหร้ าคามแี นวโนม้ สงู ขนึ้ โดยราคากงุ้ ขึ้นอยู่กับขนาด ส่วนกุ้งท่ีจับได้จากแหล่งน้�ำธรรมชาติถึงแม้จะมีน้อยแต่มีราคา ค่อนข้างสงู เน่อื งจากมีขนาดใหญ่กว่ากงุ้ ท่ีเลีย้ งในบ่อ (อาจมีราคาสงู 400-500 บาท/ กิโลกรัม) แต่ในปัจจุบัน กรมประมงได้น�ำพันธุ์กุ้งก้ามกรามไปปล่อยแหล่งน้�ำต่างๆ ทั่วประเทศเพ่ือทดแทนกุ้งธรรมชาติซ่ึงอาจช่วยให้ผลผลิตกุ้งในแหล่งน�้ำธรรมชาติ เพมิ่ ขน้ึ ไดใ้ นอนาคต แหลง่ ข้อมูล: กรมประมง 21
ทางเลือกอาชีพด้านประมง การเลยี้ งปลาบู่ ปลาบู่ หรอื บทู่ ราย บจู่ าก บทู่ อง บเู่ ออื้ ย บสู่ งิ โต ปลาบเู่ ปน็ ปลาทม่ี คี วามสำ� คญั กบั เศรษฐกจิ ชนดิ หนงึ่ ซงึ่ ผลผลติ สว่ นใหญถ่ กู สง่ ออกไปจำ� หนา่ ยยงั ตา่ งประเทศ ไดแ้ ก่ ฮอ่ งกง สงิ คโปร์ มาเลเซยี ฯลฯ ในอดตี การเลย้ี งปลาบทู่ รายนยิ มเลยี้ งกนั มากในกระชงั แถบลุ่มแม่น�้ำและล�ำน้�ำสาขา บริเวณภาคกลางตั้งแต่จังหวัดนครสวรรค์ อุทัยธานี จนถึงจงั หวดั ปทมุ ธานี โดยจงั หวดั นครสวรรคเ์ ปน็ แหล่งส่งออกท่ีใหญท่ ่สี ุด รปู แบบการเลีย้ ง 1. การเลย้ี งในบ่อดนิ สว่ นใหญ่จะเลีย้ งรวมกบั ปลาชนิดอนื่ เช่น เลี้ยงรวมกับ ปลานลิ เพอื่ ไวค้ วบคมุ จำ� นวนประชากรของลกู ปลานลิ ไมใ่ หห้ นาแนน่ เกนิ ไป เชน่ เดยี วกบั ปลาช่อน นอกจากนี้ยังมีการเลี้ยงร่วมกับปลาชนิดอ่ืนใต้เล้าไก่ หรือเล้าสุกร โดย อตั ราสว่ นการปลอ่ ยปลาบตู่ ำ่� ซงึ่ ขนึ้ อยกู่ บั ผเู้ ลย้ี งจะใหร้ าคาพนั ธไ์ุ ดจ้ ำ� นวนมากนอ้ ยเทา่ ใด เมอื่ ปลามนี ำ้� หนกั 400-500 กรมั ขน้ึ ไป จงึ จบั จำ� หนา่ ยแลว้ หาพนั ธป์ุ ลามาปลอ่ ยชดเชย อาหารท่ีให้เป็นพวกปลาเป็ดบดปั้นเป็นก้อนๆใส่ลงไปในเรือแจวให้อาหารเป็นจุดๆ รอบบอ่ จดุ ท่ีใหอ้ าหารมกี ระบะไมป้ กั อย่เู หนือก้นบอ่ เล็กนอ้ ย ในช่วงตอนเยน็ อาหาร 22 ท่ีให้ประมาณ 5 เปอร์เซน็ ต์ ของนำ้� หนักปลา ใช่เวลาเลยี้ ง 8-12 เดือนจึงจบั จำ� หน่าย น้�ำหนกั ปลาที่นิยมรบั ซื้อต้ังแต่ 400-800 กรัม ไม่เกิน 1 กโิ ลกรัม 2. การเล้ียงปลาในกระชัง ปลาบู่เป็นปลาอีกชนิดหน่ึงที่นิยมเลี้ยงในกระชัง เนอื่ งจากสามารถ เลยี้ งไดห้ นาแนน่ ในทแี่ คบได้ และเปน็ ปลากนิ เนอื้ จงึ ไมจ่ �ำเปน็ ต้อง
ทางเลือกอาชีพดา้ นประมง 23 พึ่งอาหารธรรมชาติมากนัก ถึงแม้ว่าปลาบู่มีนิสัยชอบอยู่น่ิงเป็นส่วนใหญ่ แต่ชอบ ทที่ ม่ี นี ำ�้ ไหลผา่ นโดยเฉพาะนำ้� ทมี่ คี วามขนุ่ ยง่ิ ดเี พราะปลาบตู่ กใจงา่ ยเมอ่ื เลย้ี งในนำ้� ใส โดยสถานทท่ี ่ีเหมาะสมกบั การเลยี้ งปลาบใู่ นกระชัง คอื - คุณสมบัติของนำ้� ทีด่ แี ละมปี ริมาณเพียงพอตลอดปี - ใกลแ้ หลง่ นำ�้ แหลง่ เพาะพนั ธป์ุ ลา และอาหารปลาสามารถหางา่ ยและราคาถกู - การคมนาคมสะดวกต่อการลำ� เลยี งพนั ธ์ปุ ลาและอาหารปลา - ไมอ่ ยแู่ หลง่ โรงงานอตุ สาหกรรมและพน้ื ทท่ี ม่ี กี ารใชส้ ารเคมสี ำ� หรบั การเกษตรมาก เพ่ือหลกี เลียงสารพิษท่ีปนเป้ือนมากบั นำ้� - น�้ำมีความขุ่นพอสมควรเพราะปลาบู่ชอบท่ีมืด ช่วยให้ปลากินปลาได้ดี และไม่ตกใจง่าย - ความลึกของนำ้� ไม่ควรต�ำ่ กวา่ 2 เมตร - มกี ระแสน�้ำทไ่ี หลแรงพอสมควร - ปลอดภยั จากการถูกลักขโมย - ปราศจากศตั รูและภัยธรรมชาติ - มกี ีดขวางการสญั จรทางนำ้� และไมผ่ ดิ กฎหมายบ้านเมอื ง การผลิต ผลผลติ การเลยี้ งปลาบใู่ นกระชงั ไมไ้ ผข่ นาด 10 ลกู บาศกเ์ มตร อตั ราการปลอ่ ยปลา 915 ตัว นำ�้ หนกั เฉลยี่ 224 กรัม ใชเ้ วลาเลยี้ ง 5.3 เดอื น ไดน้ ำ�้ หนักเฉลย่ี 435 กรัม สว่ นกระชงั ไมจ้ รงิ ขนาด 15 ลกู บาศกเ์ มตร อตั ราการปลอ่ ยอาหาร 1,500 ตัว นำ้� หนัก เฉล่ีย 184 กรัม ใชเ้ วลาเล้ยี ง 8.5 เดอื นไดน้ �้ำหนกั เฉล่ยี 422 กรมั การเลย้ี งปลาบู่ ถ้ามีการเอาใจใส่การเลี้ยง มีประสบการณ์ความช�ำนาญและสภาพแวดล้อมดี ปลาไม่เป็นโรคก็จะให้ผลผลติ ต่อหน่วยพ้นื ที่สูง ขายไดร้ าคาแพง และมกี �ำไรสูง ต้นทนุ การผลิต ราคาพนั ธป์ุ ลาบทู่ เี่ กษตรกรซอื้ มาเลยี้ งในกระชงั ราคาตงั้ แตก่ โิ ลกรมั ละ 30-160 บาท ข้ึนอยู่กบั ขนาด ส่วนราคาปลาบเู่ พอ่ื บริโภค มรี าคาต้งั แต่ 500-700 บาทตอ่ กโิ ลกรัม
ทางเลือกอาชีพด้านประมง แนวโน้มตลาด 1) ราคา/ผลตอบแทน ปจั จบุ นั ปลาบนู่ บั วนั มรี าคาแพง เนอ่ื งจากพนั ธป์ุ ลาทน่ี ำ� ไปเลยี้ งหายาก และ สภาพแวดลอ้ มเปลยี่ นไป แตค่ วามนยิ มบรโิ ภคปลาบมู่ ปี รมิ าณสงู ขน้ึ โดยสง่ สนิ คา้ ออก ไปยงั ตา่ งประเทศซงึ่ บรโิ ภคเชอ่ื วา่ มคี ณุ คา่ ทางอาหารสงู ทำ� ใหร้ า่ งกายแขง็ แรงเพมิ่ พลงั ในสมัยก่อนน้ันมีการเล้ียงปลาบู่ในกระชังมากต่อมาการเล้ียงปลาบู่ประสบปัญหา ปลาเป็นโรคและตายมาก จ�ำนวนผู้เลี้ยงและผลผลิตลดลง ราคาปลาบู่จึงสูงข้ึน ตามกลไกตลาด 2) การลำ� เลียงขนส่ง การล�ำเลียงโดยใช้พลาสติกอัดออกซิเจนเหมา ส�ำหรับใช้ล�ำเลียงลูกปลาบู่ ขนาดเลก็ 1-2 นว้ิ และปลาบู่ขนาด 50-250 กรมั วิธนี ้ีเป็นการล�ำเลยี งที่เหมาะสม ทสี่ ดุ ไมท่ ำ� ใหป้ ลาบอบชำ้� ปกตใิ ชถ้ งุ พลาสตกิ ขนาด 20 x 30 เซนตเิ มตร ถงุ ปลาแตล่ ะถงุ สามารถบรรจลุ กู ปลาขนาด 1-2 นวิ้ จำ� นวน 500-700 ตวั เมอื่ ใสพ่ นั ธป์ุ ลาแลว้ อดั ดว้ ย ออกซิเจนบริสุทธ์ิรัดปากถุง ส�ำหรับพันธุ์ปลาที่จับได้จากธรรมชาติควรบรรจุถุงละ 5-20 ตัว แล้วแต่ขนาดพันธุ์ปลา ปริมาณน�้ำในถุงพลาสติกล�ำเลียงไม่ควรใส่มากนัก เนอ่ื งจากปลาบมู่ นี สิ ยั ไมค่ อ่ ยเคลอ่ื นไหวเหมอื นปลาชนดิ อนื่ การใสน่ ำ�้ มากทำ� ใหม้ วลนำ้� ในถงุ มกี ารโยนตวั ไปมามาก ทำ� ใหป้ ลาถกู กระแทกไปมาบอบช�้ำได้ แหล่งทีม่ า : กรมประมง 24
ทางเลอื กอาชีพด้านประมง การเลี้ยงปลาหมอไทย 25 ปลาหมอไทย เป็นปลาน�้ำจืดพ้ืนบ้านของไทยท่ีมีความส�ำคัญทางเศรษฐกิจ ชนิดหน่ึง ที่ประชาชนทุกระดับชนชั้นของสังคมไทยนิยมบริโภคกันอย่างแพร่หลาย เพราะสามารถประกอบอาหารได้หลากหลาย ทงั้ แกง ตม้ ทอด ย่าง ทัง้ แปรรูปเป็น ผลติ ภณั ฑต์ า่ งๆ อกี ทงั้ เปน็ ปลาทม่ี คี วามทนทาน ทรหด อดทนสงู เพราะมอี วยั วะพเิ ศษ ชว่ ยหายใจ จงึ อาศยั อยไู่ ดใ้ นบรเิ วณทม่ี นี ำ้� นอ้ ยๆ หรอื ทช่ี มุ ชนื้ ไดเ้ ปน็ เวลานาน อยา่ งไรกต็ าม ผลผลติ สว่ นใหญ่ไดจ้ ากแหล่งธรรมชาติ การเลย้ี งปลาหมอในบอ่ ดนิ 1) การเตรยี มบอ่ ขนาดบอ่ ทใี่ ชเ้ ลยี้ งปลาหมอสว่ นใหญข่ นาดไมใ่ หญน่ กั พน้ื ทปี่ ระมาณ 1- 3 งาน หรอื บางแหง่ นิยมเลีย้ งในบอ่ ขนาด 3-4 ไร่ ความลกึ ประมาณ 1.5-2.0 เมตร บ่อเก่า ตอ้ งสบู นำ้� ใหแ้ หง้ กำ� จดั ศตั รปู ลาโดยเฉพาะปลากนิ เนอ้ื วชั พชื และพนั ธไ์ุ มน้ ำ้� ออกใหห้ มด หวา่ นปนู ขาวประมาณ 150-200 กโิ ลกรมั /ไร่ ตากบอ่ ใหแ้ หง้ เปน็ ระยะเวลา 2-3 สปั ดาห์ เพอื่ เปน็ การฆา่ เชอ้ื โรคและศตั รปู ลา กรณบี อ่ ใหมห่ วา่ นปนู ขาวปรมิ าณ 100 กโิ ลกรมั /ไร่ อย่างไรก็ตามปลาหมอไทยไม่ชอบน�้ำท่ีเป็นด่างหรือกระด้างสูง หรือมี pH สูง ซ่ึง pH ของน้�ำควรอยู่ในช่วง 6.5-8.5 ใช้อวนไนลอนสีฟ้าก้ันรอบบ่อให้สูงประมาณ 90 เซนติเมตร เพ่ือป้องกันปลาหลบหนี สูบน�้ำลงบ่อก่อนปล่อยลูกปลาประมาณ 60-100 เซนติเมตร กรองน้�ำด้วยอวนมุ้งตาถ่ีหรืออาจฆ่าเช้ือในน้�ำด้วยคลอรีนผง
ทางเลอื กอาชพี ด้านประมง 3 สว่ น หรอื 3 กรมั ตอ่ น�้ำ 1 ลูกบาศกเ์ มตร และทำ� สนี ำ�้ สร้างหว่ งโซ่อาหารธรรมชาติ จงึ ปลอ่ ยลกู ปลา หลงั จากนนั้ คอ่ ยๆเตมิ นำ้� เขา้ บอ่ เปน็ ระยะเวลา 8 สปั ดาห์ จนมรี ะดบั นำ้� 1.5 เมตร และควบคุมระดับน้�ำน้ีตลอดไป 2) การเลือกลกู พันธุ์ ขนาดลกู ปลาหมอทเ่ี หมาะสมในการปลอ่ ยเลยี้ งบอ่ ดนิ มี 2 ขนาดคอื ลกู ปลา ขนาด 2-3 เซนตเิ มตร หรอื เรยี กวา่ “ใบมะขาม” ซงึ่ มอี ายุ 25-30 วนั และขนาด 2-3 นวิ้ ซ่ึงเป็นลูกปลาอายุ 60-75 วัน เกษตรกรท่ีไม่มีความช�ำนาญอาจเลือกลูกปลาขนาด 2-3 นว้ิ ซง่ึ ราคาเฉลยี่ ตวั ละ 0.60-1.00 บาท/ตวั จะจดั การดแู ลงา่ ยและมอี ตั รารอดสงู สว่ นลูกปลาขนาดใบมะขามเป็นท่ีนยิ มกนั มาก เน่อื งจากหาซอ้ื ไดง้ ่าย ลำ� เลียงสะดวก ราคาเฉลย่ี 0.30-0.50 บาท/ตวั หากจดั การบอ่ เลยี้ งทด่ี กี ส็ ามารถทำ� ใหอ้ ตั ราการรอด และผลผลติ สูง 3) อัตราปลอ่ ยลูกปลาลงเลย้ี ง โดยทั่วไป เกษตรกรนิยมลูกปลาขนาด 2-3 เซนติเมตร อัตราปล่อย 30-50 ตัว/ตารางเมตร หรอื 50,000-80,000 ตัว/ไร่ หากใช้วธิ ปี ลอ่ ยพอ่ -แม่พนั ธ์ปุ ลา ใหผ้ สมพนั ธว์ุ างไข่ อนบุ าลและเลย้ี งในบอ่ เดยี วกนั ดงั กลา่ วมาแลว้ ขา้ งตน้ โดยใชอ้ ตั รา พอ่ แมพ่ นั ธป์ุ ลา 40-60 ค/ู่ ไร่ จะไดล้ กู ปลาขนาดใบมะขามประมาณ 80,000-150,000 ตัว/ไร่ ท้ังน้ีความหนาแน่นในการเลี้ยงน้ีข้ึนอยู่กับสมรรถนะการจัดการฟาร์ม และ งบประมาณเงินทุนหมุนเวียนในการบริหารจัดการฟาร์มของเกษตรกรแต่ละราย เป็นส�ำคัญ อย่างไรก็ตามหากมีเป้าหมายต้องการปลาขนาดใหญ่ต้องปล่อยลูกปลา ในความหนาแนน่ ตำ่� ลงมาประมาณ 20 ตวั /ตารางเมตรหรือ 32,000 ตวั /ไร่ ชว่ งเวลาทเี่ หมาะสมในการปลอ่ ยพนั ธป์ุ ลาคอื ชว่ งเวลาเชา้ หรอื เยน็ และควรปรบั อุณหภูมขิ องน�้ำในถุงใหใ้ กล้เคียงกับนำ้� ในบ่อกอ่ น โดยน�ำถุงปลาแชน่ ้ำ� ในบ่อเปน็ เวลา ประมาณ 10-15 นาที เพอ่ื ปอ้ งกนั ลกู ปลาชอ็ ค แลว้ เปดิ ปากถงุ คอ่ ยๆ เอานำ้� ในบอ่ ใสถ่ งุ เพอ่ื ให้ลกู ปลาปรบั ตวั ให้เขา้ กับน�้ำใหมไ่ ด้ 26 4) อาหารและการใหอ้ าหาร การเลย้ี งปลาหมอแบบยงั ชพี หรอื แบบหวั ไรป่ ลายนาไมว่ า่ บอ่ ปลาหลงั บา้ น รอ่ งสวน คนั คูนำ้� มุมบ่อในนาข้าว นอกจากอาหารตามธรรมชาตแิ ลว้ เกษตรกรนยิ ม ใหอ้ าหารสมทบจ�ำพวกเศษอาหารจากครวั เรอื น ร�ำละเอยี ด ปลาสดสบั ปลวก และ
ทางเลือกอาชพี ด้านประมง 27 การใชไ้ ฟลอ่ แมลงกลางคนื ตลอดจนอาหารสำ� เรจ็ รปู บางสว่ น การเลยี้ งปลาหมอแบบ ธุรกิจเชิงพานิชน้ัน เน้นการปล่อยเล้ียงแบบหนาแน่นสูงมาก ปลาหมอนั้น เปน็ ปลากินเนอื้ ในช่วงแรกจากลูกปลาขนาดใบมะขามเป็นปลารุ่น (อายุ 1-2 เดอื น) ต้องการอาหารท่ีเป็นโปรตีนสูงมากหลังจากน้ันเมื่ออายุ 2-3 เดือน ต้องการอาหาร ระดบั โปรตีนตำ�่ ซง่ึ การให้ต้องเดินหวา่ นอาหารรอบบ่อ ระยะเวลาเล้ยี งและวธิ ีการจบั ปลาจ�ำหนา่ ย ระยะเวลาเลย้ี งขน้ึ อยกู่ บั ขนาดปลาทต่ี ลาดตอ้ งการ สภาวะสงิ่ แวดลอ้ มภายในบอ่ และสขุ ภาพปลาทว่ั ไปใชเ้ วลาเลย้ี งประมาณ 90-120 วนั การจำ� หนา่ ยผเู้ ลย้ี งกบั แพปลา (พ่อค้าขายส่ง) มักตกลงราคาขายเหมาบ่อ โดยทอดแหสุ่มตัวอย่างปลาแล้วตีราคา ส่วนการจับปลาน้ันจะต้องสูบน�้ำออกจากบ่อให้เหลือน้อยแล้วจึงตีอวนล้อมจับปลา โดยลากอวดจากขอบบ่อด้านหน่ึงไปยังอีกดา้ นหนึ่งแล้วจึงยกอวดข้ึน ใช้สวิงจับปลา ใส่กระชังพักปลาหรือตะกร้าเพ่ือคัดขนาดบรรจุปลาในลังไม้ ใช้น�้ำสะอาดฉีดพ่น ทำ� ความสะอาดตวั ปลาซงึ่ มกั ตดิ คราบโคลนและกลน่ิ โคลนดนิ หลายๆครง้ั แลว้ ลำ� เลยี ง ผลผลิตสู่ตลาดตอ่ ไป แนวโน้มการเล้ียงปลาหมอในอนาคต แม้ปริมาณความต้องการของตลาดมีมาก โดยเฉพาะตลาดต่างประเทศ เช่น ตลาดตะวันออกกลาง จีน ไต้หวัน เกาหลีและมาเลเซีย มีความต้องการไม่ต่�ำกว่า 100 ตันต่อปี แต่ตอ้ งการปลาขนาดใหญ่ (3-5 ตวั ต่อกิโลกรัม) ขณะท่ีผลิตไมเ่ พียงพอ หรอื ไมแ่ นน่ อนทจ่ี ะตอบสนองความตอ้ งการของตลาด ทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ ผลส�ำรวจดา้ นการตลาดเบ้อื งตน้ พบวา่ สว่ นเหล่อื มการตลาดระหว่างผเู้ ลย้ี ง พ่อคา้ สง่ พ่อค้าขายปลีก และผู้บริโภคมีส่วนต่างสูงมาก ขณะที่ระดับราคาการจ�ำหน่ายปลา ณ ปากบอ่ ค่อนขา้ งคงที่ แต่ราคาขายปลีกสู่ผู้บรโิ ภคเคล่อื นไหวมาก ทำ� ให้เกษตรกร ผู้เลี้ยงรับความเสี่ยงสูง ทั้งด้านต้นทุนการผลิต ด้านปริมาณและคุณภาพผลผลิต ตลอดจนพฤตกิ รรมผบู้ รโิ ภคทน่ี ยิ มแบบปลามชี วี ติ ขณะทผ่ี ลติ ภณั ฑแ์ ปรรปู ยงั จำ� กดั มาก ปัญหาเหล่านี้ต้องมีกระบวนการบริหารจัดการที่เหมาะสมระหว่างผู้เล้ียงปลาเนื้อ โรงเพาะฟกั ผผู้ ลติ อาหารปลา ผรู้ บั จบั ปลา ผจู้ ดั จำ� หนา่ ยปลา และหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เข้ามาแก้ไขปัญหาซ่งึ คาดวา่ อนาคตการเลี้ยงปลาหมอจะสดใส แหล่งทีม่ า : กรมประมง
ทางเลือกอาชีพด้านประมง การเลีย้ งปลาตะเพียนขาว ปลาตะเพยี นขาว เปน็ ปลาพน้ื เมอื งและเปน็ ปลาทค่ี นไทยทว่ั ทกุ ภาคของประเทศ รจู้ กั รวมทงั้ เปน็ ปลาทสี่ ามารถนำ� มาเลย้ี งและเพาะขยายพนั ธไ์ุ ดง้ า่ ย จงึ เปน็ ปลาพน้ื เมอื ง ท่ีได้รับการคัดเลือกให้ส่งเสริมในการเพาะเล้ียงชนิดหนึ่ง เนื่องจากเป็นปลา ท่ีได้รบั ความนยิ มในการบริโภคอยา่ งกว้างขวางในหมคู่ นไทยท้งั ในเมืองและชนบท การเพาะพันธ์ปุ ลาตะเพียนขาว ในการเพาะพนั ธป์ุ ลาตะเพยี นขาวควรเลยี้ งพอ่ -แมพ่ นั ธ์ุ บอ่ ขนุ เลยี้ งพอ่ -แมพ่ นั ธ์ุ ควรเปน็ บอ่ ดนิ ขนาดประมาณ 400 ตารางเมตร ถงึ 1 ไร่ โดยปลอ่ ยปลาเพศผู้ เพศเมยี แยกบ่อกันในอัตราประมาณ 800 ตัวต่อไร่ ให้ผักต่างๆ หรืออาหารผสมในอัตรา ประมาณรอ้ ยละ 3 ของนำ้� หนกั ตวั การเลย้ี งพอ่ แมป่ ลาอาจจะเรมิ่ ในเดอื นตลุ าคมหรอื พฤศจกิ ายน โดยคัดปลาอายุประมาณ 8 เดือนแยกเพศและปลอ่ ยลงบ่อ เม่ืออากาศ เริ่มอุ่นขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ ควรตรวจสอบพ่อแม่ปลาถ้าอ้วนเกินไปต้องลดอาหาร หากผอมเกนิ ไปตอ้ งเรง่ อาหาร ทง้ั นค้ี วรจะถา่ ยนำ้� บอ่ ยๆ เพอ่ื เรง่ การเจรญิ เตบิ โตของไข่ และนำ�้ เชอื้ การเพาะพนั ธจ์ุ ะเรม่ิ ไดป้ ระมาณเดอื นมนี าคมถงึ กนั ยายน โดยพอ่ -แมพ่ นั ธ์ุ จะพรอ้ มที่สดุ ในเดือนพฤษภาคม-มถิ นุ ายน 28 1) การคัดพ่อ-แมพ่ ันธ์ุ ปลาเพศเมียท่ีมีไข่แก่จัดจะมีท้องอูมเป่งและนิ่ม ผนังท้องบาง ช่องเพศ และช่องทวารค่อนข้างพองและยื่น ส่วนปลาเพศผู้จะไม่มีปัญหาเรื่องความพร้อม เนอื่ งจากสรา้ งน้ำ� เชอ้ื ไดเ้ กือบตลอดปี
ทางเลอื กอาชีพด้านประมง 29 2) การฉดี ฮอรโ์ มน โดยทวั่ ไปจะใชต้ อ่ มใตส้ มองของปลาจนี หรอื ปลายสี่ ก ฉดี ในอตั รา 1.5-2 โดส ขน้ึ กบั ความตอ้ งการของแมป่ ลาฉดี เพยี งเขม็ เดยี ว ปลาเพศผไู้ มต่ อ้ งฉดี ตำ� แหนง่ ทนี่ ยิ มฉดี คอื ใตเ้ กรด็ บรเิ วณครบี หลงั เหนอื เสน้ ขา้ งตวั หรอื บรเิ วณโคนครบี หู ในบางพนื้ ทน่ี ยิ มใช้ ฮอรโ์ มนสงั เคราะห์ LHRN ฉดี ในอตั รา 20 ไมโครกรมั /กโิ ลกรมั ควบคกู่ บั ยาเสรมิ ฤทธิ์ Domperidone ในอตั รา 5-10 มิลลิกรมั /กิโลกรมั จะมผี ลให้ปลาวางไขเ่ ชน่ เดยี วกัน 3) การผสมพนั ธุ์ 1. ปล่อยให้พ่อ-แมป่ ลาผสมพันธุ์กันเอง หากเลือกวิธกี ารน้เี มื่อฉีดฮอรโ์ มนเสรจ็ กจ็ ะปล่อยพ่อ-แม่ปลาลงในบอ่ เพาะรวมกนั โดยใชอ้ ัตราส่วนแมป่ ลา 1 ตวั ต่อปลาเพศผู้ 2 ตวั บ่อเพาะควรมพี นื้ ท่ไี ม่ ต่�ำกว่า 3 ตารางเมตร ลึกประมาณ 1 เมตร บ่อขนาดดังกล่าวจะปล่อยแม่ปลาได้ ประมาณ 3 ตวั เพอ่ื ความสะดวกในการแยกพอ่ แมป่ ลาควรใช้อวนช่องตาหา่ งปูบ่อไว้ ช้ันหน่ึงก่อน แล้วจึงปล่อยพอ่ แมป่ ลาลงไป แมป่ ลาจะวางไข่หลังการฉดี ประมาณ 4-7 ชั่วโมง โดยจะไล่รัดกันจนน�้ำแตกกระจาย เม่ือสังเกตว่าแม่ปลาวางไข่หมดแล้วก็ยก อวนทป่ี ไู ว้ออก พ่อแมป่ ลาจะตดิ มาโดยไขป่ ลาลอดตาอวนลงไปรวมกันในบ่อ จากนนั้ เกบ็ รวบรวมไข่ปลาไปฟักในกรวยฟัก 2. วธิ กี ารผสมเทยี ม หลงั ฉดี ประมาณ 4-5 ชว่ั โมง จะสามารถรดี ไขป่ ลาได้ โดยปลาจะมอี าการ กระวนกระวายว่ายนำ�้ ผิดปกติ บางตัวอาจจะข้ึนมาฮุบอากาศบริเวณผิวนำ้� เม่ือพบวา่ ปลามีอาการดังกล่าวก็ควรตรวจดูความพร้อมของแม่ปลา โดยจับปลาหงายท้องขึ้น โดยตัวปลายังอยู่ในน�้ำและบีบบริเวณใกล้ช่องเพศเบาๆ หากพบว่าไข่พุ่งออกมา อยา่ งง่ายดายก็น�ำแมป่ ลามารดี ไขไ่ ด้ การผสมเทียมใช้วิธีแหง้ แบบดดั แปลง โดยใช้ผ้า ซบั ตวั ปลาใหแ้ หง้ แลว้ รดี ไขล่ งภาชนะทแ่ี หง้ สนทิ จากนนั้ นำ� ปลาตวั ผมู้ ารดี นำ�้ เชอื้ ลงผสม ในอตั ราสว่ นของปลาตวั ผู้ 1-2 ตวั /ไขป่ ลาจากแมป่ ลา 1 ตวั ใชข้ นไกค่ นไขก่ บั นำ�้ เชอื้ จนเข้ากันดีแลว้ จึงเติมน้�ำสะอาดเล็กนอ้ ยพอทว่ มไข่ การคนเลก็ น้อยในข้ันตอนน้เี อง เชอื้ ตวั ผกู้ จ็ ะเขา้ ผสมกบั ไข่ จากนน้ั จงึ เตมิ นำ้� จนเตม็ ภาชนะถา่ ยนำ้� เปน็ ระยะๆ เพอื่ ลา้ งไข่ ให้สะอาด ไข่จะคอ่ ยๆ พองนำ�้ และขยายขนาดขึ้นจนพองเต็มทภ่ี ายในเวลาประมาณ 20 นาที ระหว่างช่วงเวลาดังกล่าวต้องถ่ายน้�ำอยู่เสมอ เพ่ือป้องกันไม่ให้ไข่บางส่วน เสยี และเมอื่ ไขพ่ องเตม็ ที่แล้วก็สามารถนำ� ไปฟักในกรวยฟักได้
ทางเลือกอาชพี ดา้ นประมง 4) การอนุบาลลูกปลา บ่อที่ใช้เป็นบ่อดินขนาดประมาณครึ่งไร่-1ไร่ ความลึกประมาณ 1 เมตร ก่อนปล่อยลูกปลาต้องเตรียมบ่อให้ดีเพื่อก�ำจัดศัตรูและเพิ่มอาหารของลูกปลาในบ่อ การอนุบาลลกู ปลาตะเพียนขาว ระดับนำ้� ในบ่ออนุบาลขณะเร่มิ ปลอ่ ยลูกปลาควรอยู่ ในระดบั 30-40 เซนตเิ มตร แล้วค่อยๆ เพ่มิ ระดบั สปั ดาห์ละ 10 เซนติเมตร เพอ่ื รักษา คณุ สมบตั นิ ำ้� สว่ นการใสป่ ยุ๋ นน้ั หากวางแผนจะอนบุ าลดว้ ยอาหารสมทบเพยี งอยา่ งเดยี ว ก็ไมต่ ้องเตมิ ปยุ๋ ในบ่อ บอ่ เล้ียง ควรเป็นบ่อขนาด 400 ตารางเซนตเิ มตร จนถงึ ขนาด 1 ไร่ หรอื มากกวา่ นน้ั ความลกึ ของนำ้� ในบอ่ ควรใหล้ กึ กวา่ 1 เมตรขนึ้ ไป ใชเ้ ลยี้ งลกู ปลาทมี่ ขี นาด ยาว 5-7 เซนตเิ มตรขน้ึ ไป ในอัตราส่วน 3-4 ตวั ตอ่ ตารางเมตร หรือ 5,000 ตัว/ไร่ ตน้ ทนุ และผลผลิตของการเล้ียงปลาตะเพียนขาว ปลาตะเพยี นขาวทเี่ ลย้ี งตามอตั ราการปลอ่ ยทก่ี ลา่ วแลว้ จะมผี ลผลติ ไรล่ ะ ประมาณ 800-1,000 กิโลกรัม ใชเ้ วลาเล้ยี งประมาณ 7-8 เดอื น มขี นาดตวั 3-4 ตวั / กโิ ลกรมั โดยมตี น้ ทนุ ประมาณ 8,000-10,000 บาท/ไร่ และตน้ ทนุ ทสี่ ำ� คญั คอื คา่ อาหาร ซงึ่ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 45 ของตน้ ทนุ ท้ังหมด ราคาจ�ำหน่ายประมาณ 22 บาท/กโิ ลกรมั รายรับประมาณ 17,600-22,000 บาทต่อไร่ แหลง่ ทมี่ า : ส่วนเศรษฐกจิ การประมง วขริ าภรณ์ ไกรอำ�่ 2549 กรมประมง 30
ทางเลอื กอาชพี ด้านประมง การเล้ยี งปลานลิ ปลานิล เป็นปลาน�้ำจืดชนิดหน่ึงซ่ึงมีคุณค่าทางเศรษฐกิจนับตั้งแต่ปี 2508 31 เป็นต้นมา สามารถเลีย้ งได้ในทกุ สภาพ การเพาะเลยี้ งในระยะเวลา 8 เดอื นถึง 1 ปี สามารถเจริญเติบโตได้ถึงขนาด 500 กรัม เนื้อปลามีรสชาติดี มีผู้นิยมบริโภคกัน อย่างกว้างขวาง ขนาดปลานลิ ที่ตลาดตอ้ งการจะมนี ำ้� หนกั ตัวละ 200-300 กรัม จาก คณุ สมบตั ขิ องปลานลิ ซงึ่ เลย้ี งงา่ ย เจรญิ เตบิ โตเรว็ แตป่ จั จบุ นั ปลานลิ พนั ธแ์ุ ทค้ อ่ นขา้ ง หายาก ดังน้ันกรมประมงจึงด�ำเนินการปรับปรุงพันธุ์ปลานิลในด้านต่างๆ อาทิ เจรญิ เตบิ โตเรว็ ปรมิ าณความดกของไขส่ งู ใหผ้ ลผลติ และมคี วามตา้ นทานโรคสงู เปน็ ตน้ เพ่ือผู้เล้ียงปลานิลจะได้มีความมั่นใจในการเลี้ยงปลานิลเพ่ือเพิ่มผลผลิตสัตว์น้�ำ ใหเ้ พยี งพอตอ่ การบรโิ ภคต่อไป รปู แบบการเลีย้ งปลานิลในบอ่ ก�ำจดั วชั พืชและพรรณไมน้ ำ�้ ต่างๆ เช่น กก หญ้า และผกั ตบชวา ให้หมดโดย นำ� มากองสมุ ไวเ้ มอื่ แหง้ แลว้ นำ� มาใชเ้ ปน็ ปยุ๋ หมกั ในขณะทป่ี ลอ่ ยปลาลงเลยี้ ง ถา้ ในบอ่ เกา่ มเี ลนมากจำ� เปน็ ตอ้ งสาดเลนขนึ้ โดยนำ� ไปเสรมิ คนั ดนิ ทชี่ ำ� รดุ หรอื ใชป้ ยุ๋ แกพ่ ชื ผกั ผลไม้ บริเวณใกล้เคยี ง พรอ้ มทง้ั ตกแต่งเชิงลาดและคนั ดนิ ใหแ้ น่นดว้ ย การกำ� จัดศตั รขู องปลาอาจใช้โล่ต๊นิ สดหรอื แหง้ ประมาณ 1 กโิ ลกรมั /ปรมิ าณ นำ�้ ในบอ่ 100 ลกู บาศกเ์ มตร โดยทบุ หรอื บดโลต่ นิ๊ ใหล้ ะเอยี ดนำ� ลงแชน่ ำ้� ปรมิ าณ 1-2 ปบ๊ิ ขยำ� โลต่ นิ๊ เพอื่ ใหน้ ำ้� สขี าวออกมาหลายๆครงั้ จนหมด นำ� ไปสาดใหท้ วั่ บ่อศตั รพู วกปลา จะลอยหวั ข้ึนมาภายหลงั จากสาดโล่ตน๊ิ ประมาณ 30 นาที ใชส้ วิงจับขน้ึ มาบริโภคได้ ปลาทเ่ี หลอื ตายพน้ื บอ่ จะลอยในวนั รงุ่ ขน้ึ สว่ นศตั รจู ำ� พวก กบ เขยี ด งู จะหนอี อกจากบอ่ ไป และกอ่ นปลอ่ ยปลาลงเลยี้ งควรทงิ้ ระยะไวป้ ระมาณ 7 วนั เพอ่ื ใหฤ้ ทธขิ์ องโลต่ น๊ิ สลายตวั ไปหมดเสยี ก่อน
ทางเลือกอาชีพดา้ นประมง อตั ราสว่ นการใสป่ ยุ๋ คอก ในระยะแรกควรใสป่ ระมาณ 250-300 กโิ ลกรมั /ไร/่ เดอื น สว่ นในระยะหลงั ควรลดลงเพยี งครงึ่ หนงึ่ หรอื สงั เกตสขี องนำ้� ในบอ่ และในกรณหี าปยุ๋ คอก ไมไ่ ด้ ก็อาจใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์สูตร 15:15:15 ใส่ประมาณ 5 กิโลกรัม/ไร่/เดอื นกไ็ ด้ วธิ ใี สป่ ยุ๋ ถา้ เปน็ ปยุ๋ คอก ควรตากใหแ้ หง้ เสยี กอ่ น เพราะปยุ๋ สดจะทำ� ใหม้ แี กส๊ จ�ำพวก แอมโมเนยี ละลายอยใู่ นนำ้� มากเปน็ อนั ตรายตอ่ ปลา การใสป่ ยุ๋ คอกใชว้ ธิ หี วา่ นลงไปในบอ่ โดยละลายนำ�้ ทวั่ ๆ กอ่ น สว่ นปยุ๋ หมกั หรอื ปยุ๋ สดนน้ั ควรกองสมุ ไวต้ ามมมุ บอ่ 2-3 แหง่ โดยมไี มป้ กั ลอ้ มเปน็ คอกรอบกองปยุ๋ เพอ่ื ปอ้ งกนั มใิ หส้ ว่ นทย่ี งั ไมส่ ลายตวั กระจดั กระจาย อัตราการปลอ่ ยปลา จะปลอ่ ยลกู ปลาขนาด 3-5 เซนติเมตร ลงเลย้ี งในอตั รา 1-3 ตวั /ตารางเซนติเมตร หรือ 2,000-5,000 ตวั /ไร่ การใหอ้ าหาร การใสป่ ยุ๋ เปน็ การใหอ้ าหารแกป่ ลานลิ ทสี่ ำ� คญั มากวธิ หี นง่ึ เพราะ จะได้อาหารธรรมชาติท่ีมีโปรตีนสูงและราคาถูก แต่เพ่ือเป็นการเร่งให้ปลาท่ีเลี้ยง เจรญิ เตบิ โตเรว็ ขน้ึ หรอื ถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ าการ จงึ ควรใหอ้ าหารจำ� พวกคารโ์ บไฮเดรท เปน็ อาหารสมทบดว้ ย เชน่ ร�ำ ปลายขา้ ว มโี ปรตนี ประมาณ 20% เศษอาหารทเี่ หลอื จากโรงครัวหรือภตั ตาคาร อาหารประเภทพืชผกั เชน่ แหนเปด็ สาหรา่ ย ผักตบชวา สบั ให้ละเอยี ด เปน็ ต้น รปู แบบการเลีย้ งปลานิลในกระชงั หรือคอก การเล้ียงปลานิลโดยใช้แหล่งน้�ำธรรมชาติทั้งบริเวณน�้ำกร่อยและน้�ำจืดท่ีมี คณุ ภาพน�ำ้ ดี ส�ำหรับกระชังส่วนใหญ่ทใี่ ชก้ ันโดยทัว่ ไปจะมขี นาดกวา้ ง 20 เมตร ยาว 25 เมตร ลึก 5 เมตร สามารถจะน�ำมาใชต้ ิดต้งั ทงั้ 2 รูปแบบคอื กระชงั หรอื คอกแบบผกู ตดิ กบั ที่ สรา้ งโดยใชไ้ มไ้ ผท่ งั้ ลำ� ปกั ลงในแหลง่ นำ�้ ควรมี ไมไ้ ผผ่ กู เปน็ แนวนอนหรอื เสมอผิวน�ำ้ ท่ีระดบั ประมาณ 1-2 เมตร เพอ่ื ยึดล�ำไม้ไผท่ ปี่ ัก ลงในดนิ ใหแ้ นน่ กระชงั ตอนบนและลา่ งควรรอ้ ยเชอื กครา่ วเพอื่ ใหย้ ดึ ตวั กระชงั ใหข้ งึ ตงึ โดยเฉพาะตรงมมุ 4 มมุ ของกระชงั ทง้ั ด้านล่างและด้านบน การวางกระชังก็ควรวาง ใหเ้ ปน็ กลมุ่ โดยเว้นระยะห่างกนั ให้น�ำ้ ไหลผ่านไดส้ ะดวก อวนที่ใชท้ �ำกระชงั เปน็ อวน ไนลอนช่องตาแตกต่างกันตามขนาดของปลานิลท่ีจะเล้ียง คือขนาดช่องตา1/4 นิ้ว 32 ขนาด1/2 น้วิ และอวนตาถสี่ �ำหรบั เพาะเล้ียงลูกปลาวยั อ่อน กระชังแบบลอย ลกั ษณะของกระชงั ก็เหมือนกับกระชงั โดยทั่วไปแต่ไม่ใช้เสา ปักยึดอยู่กับท่ีส่วนบนของกระชังผูกติดทุ่นลอยซึ่งใช้ไม้ไผ่หรือแท่งโฟม มุมทั้ง 4 ดา้ นลา่ ง ใชแ้ ทง่ ปนู ซเี มนตห์ รอื กอ้ นหนิ ผกู กบั เชอื กครา่ วถว่ งใหก้ ระชงั จม ถา้ เลยี้ งปลา หลายกระชังกใ็ ชเ้ ชือกผูกตดิ กันไวเ้ ป็นกลมุ่
ทางเลอื กอาชพี ด้านประมง อัตราส่วนของปลาที่เล้ียงในกระชัง ปลานิลท่ีเลี้ยงในกระชังในแหล่งน�้ำท่ีมี คณุ ภาพนำ้� ดสี ามารถปลอ่ ยปลาไดห้ นาแนน่ คอื 40-100 ตวั /ตารางเมตร โดยใหอ้ าหาร ท่ีเหมาะสม เช่น ปลายข้าว หรือ มันส�ำปะหลัง ร�ำข้าว ปลาบ่น และพืชผักต่างๆ โดยมอี ัตราส่วนของโปรตีนประมาณ 20% การจัดจำ� หนา่ ยและการตลาด ระยะเวลาจบั จำ� หนา่ ยไมแ่ นน่ อน ขนึ้ อยกู่ บั ขนาดของปลานลิ และความตอ้ งการ ของตลาดโดยทว่ั ไปปลานลิ ทปี่ ลอ่ ยลงเลย้ี งในบอ่ รนุ่ เดยี วกนั กจ็ ะใชเ้ วลาประมาณ 1 ปี จึงจะจับจ�ำหน่ายเพราะปลานิลท่ีได้จะมีน�้ำหนักประมาณ 2-3 ตัว/กิโลกรัม ซึ่งเป็น ขนาดทตี่ ลาดตอ้ งการ ราคาและความเคล่ือนไหว ราคาและผลผลิตปลานิลแต่ละท้องถ่ินจะแตกต่างกัน ตลาดในชนบท มีความต้องการปลานิลขนาดเล็กเพื่อการบริโภค ซึ่งตรงข้ามกับตลาดในเมือง มีความต้องการปลาขนาดใหญ่ ความเคลื่อนไหวของราคาที่เกษตรขายได้และราคาขายส่งเป็นไปในลักษณะ ทิศทางเดียวกันและข้ึนอยู่กับฤดูกาล ในการขายปลาโดยปกติราคาขายจะสูงในช่วง เดือนมกราคมถึงเดือนกันยายน ส�ำหรับราคาจ�ำหน่ายท่ีฟาร์มอยู่ที่ขนาดของปลาอยู่ ระหว่าง 25 บาท/กิโลกรมั ส�ำหรบั ราคาขายปลีกโดยเฉลย่ี ราคาอยทู่ ี่ 30-35 บาท/ กิโลกรมั ผลตา่ งระหวา่ งราคาฟารม์ และราคาขายปลกี เทา่ กบั 5-10 บาท/กิโลกรมั แนวโน้มการเล้ียงปลานิลในอนาคต ปลานิลเป็นปลาที่ตลาดผู้บริโภคยังมีความต้องการสูงข้ึนเรื่อยๆ เนื่องจาก จ�ำนวนประชากรมีอัตราการเจรญิ เตบิ โตสงู จึงสง่ ผลต่อแนวโน้มการเลยี้ งปลาชนดิ น้ี ให้มีลู่ทางแจ่มใสตลอดไป โดยไม่ต้องกังวลปัญหาด้านการตลาดเนื่องจากเป็นปลาท่ี มีราคาดี ไมม่ อี ปุ สรรคเรือ่ งโรคระบาด เป็นท่นี ิยมบรโิ ภคและเล้ียงกันอยา่ งแพรห่ ลาย ในทวั่ ทกุ ภมู ภิ าค เพราะสามารถนำ� มาประกอบอาหารไดห้ ลายรปู แบบโดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในปัจจุบันปลานิลสามารถส่งออกไปสู่ต่างประเทศในลักษณะของปลาแล่เน้ือ ตลาด 33 ทสี่ �ำคัญๆ อาทิ ประเทศญปี่ นุ่ สหรฐั อเมรกิ า อติ าลี เป็นต้น ดงั นน้ั การเลีย้ งปลานิล ใหม้ คี ณุ ภาพปราศจากกล่ินโคลนยอ่ มจะส่งผลดตี อ่ การบรโิ ภค การจำ� หนา่ ยและการ ให้ผลตอบแทนท่คี ุ้มค่าที่สดุ แหล่งท่มี า : กรมประมง
ทางเลือกอาชพี ด้านประมง การเลี้ยงปลาช่อน ปลาช่อน เป็นปลาน้ำ� จดื ที่มคี ณุ คา่ ทางเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่งของประเทศไทย อาศัยอยู่ในแหล่งน�้ำจืดธรรมชาติทั่วไป ปลาช่อนเป็นปลาท่ีเน้ือรสชาติดีก้างน้อย สามารถนำ� มาประกอบอาหารไดห้ ลายชนดิ จงึ ทำ� ใหก้ ารบรโิ ภคปลาชอ่ นไดร้ บั ความนยิ ม อย่างแพร่หลาย แต่ปัจจุบันปริมาณปลาช่อนท่ีจับได้จากแหล่งน้�ำธรรมชาติมีจ�ำนวน ลดน้อยลง เน่ืองจากการท�ำประมงเกินศักยภาพการผลิต ตลอดจนสภาพแวดล้อม ของแหล่งน�้ำเส่ือมโทรมตื้นเขินไม่เหมาะสมกับการด�ำรงชีวิต ท�ำให้ปริมาณปลาช่อน ในธรรมชาตไิ มเ่ พยี งพอตอ่ การใชป้ ระโยชนแ์ ละความตอ้ งการบรโิ ภค การเลย้ี งปลาขอ่ น จงึ เปน็ แนวทางหนง่ึ ซง่ึ จะชว่ ยแกป้ ญั หาการขาดแคลน โดยนำ� ลกู ปลาทร่ี วบรวมไดจ้ าก แหล่งน�้ำธรรมชาติและจากการเพาะขยายพันธุ์มาเล้ียงให้เป็นปลาโตตามขนาด ท่ตี ลาดต้องการตอ่ ไป การเตรยี มบ่อปลาเลยี้ ง การเลยี้ งปลาช่อนเพอื่ ใหไ้ ดข้ นาดตามทีต่ ลาดต้องการนนั้ นยิ มเลยี้ งในบอ่ ดิน ซ่ึงมหี ลักการเตรียมบ่อดินเหมอื นกบั การเตรยี มบอ่ เลีย้ งปลาทว่ั ไป ดงั นี้ 1. ตากบอ่ ใหแ้ ห้ง 2. ใส่ปูนขาวเพ่ือปรับสภาพดิน ในอัตราประมาณ 60-100 กิโลกรัม/ไร่ ทิ้งไว้ปริมาณ 5-7 วนั 34 3. ใส่ปุ๋ยคอกเพ่ือให้เกิดอาหารธรรมชาติส�ำหรับลูกปลาในอัตราประมาณ 40-80 กโิ ลกรัม/ไร่ 4. สบู นำ�้ เขา้ บอ่ โดยกรองนำ้� เพอื่ ไมใ่ หศ้ ตั รขู องลกู ปลาตดิ เขา้ มากบั นำ้� จนกระทง่ั มีระดับน�้ำลึก 30-40 เซนติเมตร ทิ้งระยะไว้ 1-2 วัน จึงปล่อยปลา ลูกปลาจะได้
ทางเลือกอาชพี ดา้ นประมง 35 มอี าหารกนิ จากท่ไี ด้เตรยี มอาหารธรรมชาติในบ่อ (ขอ้ 3) เรียบร้อยแลว้ 5. ก่อนปล่อยลูกปลาลงบ่อเลี้ยงจะต้องปรับสภาพอุณหภูมิของน้�ำในภาชนะ ล�ำเลียงและในบ่อให้ใกล้เคียงกัน ส�ำหรับช่วงเวลาที่เหมาะสมในการปล่อยลูกปลา ควรเปน็ ตอนเย็นหรอื ตอนเช้า ขัน้ ตอนการเลย้ี งปลาด้วยอาหารสด ปลาชอ่ นเปน็ ปลากนิ เนอ้ื อาหารทใ่ี ชเ้ ลย้ี งปลาชอ่ นจงึ ตอ้ งเปน็ อาหารทม่ี โี ปรตนี สงู โดยทวั่ ไปเกษตรกรนิยมเลย้ี งดว้ ยปลาเป็ด 1. อตั ราปลอ่ ยปลา ลกู ปลาขนาด 8-10 เซนตเิ มตร นำ้� หนกั 30-35 ตวั /กโิ ลกรมั ควรปล่อยในอัตรา 40-50 ตัว/ตารางเมตร และเพื่อป้องกันโรคซึ่งอาจจะติดมา กับลูกปลา ให้ใช้น้�ำยาฟอร์มาลีนใส่ในบ่อเล้ียงอัตราความเข้มข้นประมาณ 30 ส่วน ในล้าน (3 ลิตร/น้�ำ 100 ตัน) ในวันแรกท่ีปล่อยลูกปลา ไม่จ�ำเป็นต้องให้อาหาร เร่มิ ให้อาหารในวันรุ่งขึ้น 2. การให้อาหาร เมื่อปล่อยลูกปลาช่อนลงในบ่อดินแล้ว อาหารที่ให้ในช่วง ลกู ปลาชอ่ นมขี นาดเลก็ คอื ปลาเปด็ ผสมรำ� ในอตั ราสว่ น 4 : 1 หรอื อตั ราสว่ นปลาเปด็ 40 เปอรเ์ ซน็ ต์ รำ� 30 เปอรเ์ ซน็ ต์ หวั อาหาร 30 เปอรเ์ ซน็ ต์ ปรมิ าณอาหารทใ่ี หไ้ มค่ วรเกนิ 4-5 เปอร์เซ็นต์ของน�้ำหนักตัวปลา วางอาหารไว้บนตะแกรงหรือภาชนะแบบลอย ไวใ้ ตผ้ ิวนำ้� 2-3 เซนติเมตร และควรวางไว้หลายๆจุด 3. การถา่ ยเทนำ�้ ชว่ งแรกความลกึ ของนำ�้ ในบอ่ ควรอยทู่ รี่ ะดบั 30-40 เซนตเิ มตร แล้วค่อยๆเพิ่มระดับน�้ำ สัปดาห์ละ 10 เซนติเมตร จนได้ระดับ 50 เซนติเมตร จงึ ถา่ ยนำ�้ วนั ละครงั้ หลงั จากอนบุ าลลกู ปลาในบอ่ ดนิ ประมาณ 2 เดอื น ปลาจะโตไมเ่ ทา่ กนั ใช้อวนลากลูกปลาเพื่อคัดขนาด มฉิ ะน้ันปลาขนาดใหญ่จะกนิ ปลาขนาดเล็ก 4. ผลผลติ หลงั จากอนบุ าลลูกปลาในช่วง 2 เดอื นแลว้ ตอ้ งใชเ้ วลาเลีย้ งอกี ประมาณ 4-5 เดอื นจะใหผ้ ลผลติ 1-2 ตวั /กโิ ลกรมั เชน่ เนอ้ื ท่ี 2 ไร่ 2 งานจะไดผ้ ลผลติ มากกวา่ 6,000 กโิ ลกรัม 5. การจบั เมอ่ื ปลาโตไดข้ นาดตามทตี่ ลาดตอ้ งการจงึ จบั จำ� หนา่ ย กอ่ นจบั ปลา ควรงดอาหาร 1-2 วัน 6. การปอ้ งกนั โรค โรคของปลาชอ่ นทเ่ี ลยี้ งมกั จะเกดิ ปญั หาคณุ ภาพของนำ�้ ใน บ่อเล้ียงไม่ดี ซ่ึงสาเหตุเกิดจากการให้อาหารมากเกินไปจนอาหารเหลือเน่าเสีย เราสามารถป้องกันไม่ให้เกิดโรคได้ โดยการหมั่นสังเกตว่าเมื่อปลาหยุดกินอาหาร จะต้องหยดุ การใหอ้ าหารทันที
ทางเลือกอาชพี ด้านประมง ขน้ั ตอนการเลี้ยงปลาด้วยอาหารส�ำเร็จรปู ชนดิ เมด็ ปลาชอ่ นแมจ้ ะเปน็ ปลากนิ เนอื้ แตส่ ามารถฝกึ ใหก้ นิ อาหารสำ� เรจ็ รปู ชนดิ เมด็ ได้ และปลาชอ่ นทไ่ี ดจ้ ากการเพาะ ในปจั จบุ นั ลกู ปลายอมรบั อาหารชนดิ เมด็ ไดต้ งั้ แตเ่ ลก็ 1. อตั ราการปลอ่ ย ลูกปลานำ้� หนัก 27-28 ตัว/กิโลกรมั ปล่อยในอตั รา 700 กโิ ลกรมั หรอื ประมาณ 20,000 ตัว/1 ไร่ ชว่ งเวลาท่ที �ำการปลอ่ ยเช้าหรือเยน็ เพราะ แดดไม่จดั จนเกินไป ขอ้ ควรปฏิบตั ิ ควรคัดลกู ปลาใหม้ ีขนาดไลเ่ ลี่ยกนั มากที่สุด 2. อาหารและการใหอ้ าหาร เมอื่ ปลอ่ ยลกู ปลาลงบอ่ แลว้ ควรปลอ่ ยใหล้ กู ปลา พักฟื้นจากการล�ำเลียงประมาณ 3-4 วัน จากน้ันจึงเร่ิมให้อาหารซึ่งเป็นอาหารเม็ด ลอยนำ้� โปรตนี 40-45 เปอรเ์ ซน็ ต์ โดย 2 เดอื นแรกใหอ้ าหาร 3 มอ้ื เชา้ เทยี่ ง และเยน็ แต่ละม้ือให้ประมาณ 9-10 กิโลกรัม เป็นอาหารขนาดเล็กช่วงเดือนที่ 3 และ 4 ลดโปรตีนลงเหลือ 35-40 เปอร์เซ็นต์ ลดการใหเ้ หลอื 2 มื้อ คือ เช้าและเยน็ โดยให้ ปริมาณมอื้ ละ 20 กิโลกรมั จากนัน้ เมื่อปลามอี ายเุ ขา้ เดือนท่ี 5 จะใหอ้ าหารเพ่ิมเปน็ ม้อื ละ 30 กิโลกรมั ลกั ษณะการให้อาหารจะเดนิ หว่านรอบบอ่ 3. การเปล่ียนถ่ายน้�ำ เปลี่ยนถ่ายเดือนละ 1-2 คร้ัง หรือมากกว่า เพราะ การถ่ายน้�ำบ่อยๆ เป็นผลดีต่อการเจริญเติบโตของปลา การเลี้ยงด้วยอาหารเม็ดน้�ำ ไมเ่ นา่ เสียง่ายเหมอื นทเี่ ลย้ี งดว้ ยอาหารสด 4. ผลผลิต เม่ือเล้ียงไดป้ ระมาณ 5 เดือน จะใหผ้ ลผลิต 700 กรัม/ตัว เช่น เนือ้ ที่ 1 ไร่ 2 งาน จะไดผ้ ลผลติ มากกว่า 4,000 กโิ ลกรัม 5. การป้องกนั โรค การเล้ยี งปลาช่อนดว้ ยอาหารเมด็ ดแู ลงา่ ยเพราะไมจ่ มน้ำ� ขณะที่ให้อาหารสดจมน�้ำเหลือจะเน่าเสียท�ำให้น�้ำเน่า เป็นสาเหตุหน่ึงที่จะเกิดโรค แตอ่ ยา่ งไรกต็ าม การเกดิ โรคของปลาจะตอ้ งจดั การเรอื่ งอนื่ ๆ ประกอบดว้ ยการปอ้ งกนั จึงจะได้ผล ซึ่งจะด�ำเนินการโดยเม่ือเลี้ยงได้ 15 วัน ก็เร่ิมคุมหรือป้องกันโรค ด้วยยาออซิเททราชัยคลิน คลุกกับอาหารให้ปลากิน 1-2 ครั้ง/เดือน ในปริมาณยา 20 กรัมต่ออาหาร 1 กิโลกรมั 36 แนวโนม้ การตลาด ปลาช่อนเป็นปลาที่มีรสชาติดี อีกท้ังยังสามารถน�ำไปประกอบอาหารได้ หลายรปู แบบ จงึ มผี นู้ ยิ มบรโิ ภคอยา่ งแพรห่ ลาย ทำ� ใหแ้ นวโนม้ ดา้ นการตลาดดสี ามารถ สง่ ผลผลติ และผลิตภณั ฑ์ไปสูต่ ลาดทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ ทีม่ า : กรมประมง
ทางเลอื กอาชีพดา้ นประมง การเพาะเล้ียงกบ 37 กบ ตามธรรมชาตกิ บจะหากนิ อยตู่ ามลำ� หว้ ย หนอง บงึ และทอ้ งนา กบจะกนิ ปลา กุ้ง แมลง และสัตว์ขนาดเล็กเป็นอาหาร แต่เน่ืองจากสถานการณ์ในปัจจุบัน มีอัตราประชากรมนุษย์เพิ่มสูงข้ึน ท�ำให้ปริมาณความต้องการในการบริโภคเพ่ิมข้ึน สำ� หรบั การเลย้ี งกบนน้ั เปน็ ทสี่ นใจของเกษตรกรเปน็ อยา่ งมาก ทง้ั นเ้ี พราะกบเปน็ สตั ว์ ทเี่ ลย้ี งงา่ ย ใชเ้ วลานอ้ ย ลงทนุ นอ้ ยดแู ลรกั ษางา่ ย และจำ� หนา่ ยไดร้ าคาคมุ้ กบั การลงทนุ โดยเฉพาะในปจั จบุ นั มตี ลาดตา่ งประเทศทตี่ อ้ งการสนิ คา้ กบเปดิ กวา้ งขนึ้ กบนาทเี่ ปน็ ผลผลติ ของเกษตรกรเมอื งไทยจงึ มโี อกาสสง่ จำ� หนา่ ยไปยงั ตา่ งประเทศ และสาเหตหุ นง่ึ ที่มีผู้หันมาเล้ียงกบกันมากข้ึนเน่ืองจากปริมาณกบท่ีอยู่ตามแหล่งธรรมชาติมีจ�ำนวน ลดน้อยลง เพราะแหล่งท่ีอยู่อาศัยของกบถูกเปล่ียนแปลงเป็นท่ีอยู่อาศัยของมนุษย์ ทำ� ให้กบทางธรรมขาตหิ มดไป การให้อาหารกบ อัตราการให้อาหารที่เลี้ยงในลักษณะคอก มีบ่อน้�ำตรงกลาง เป็นคอกขนาด 4x4 เมตร ปล่อยกบ 1,000 ตัว ให้อาหารดังนี้ 1) กบอายุ 50 วัน ให้อาหารสด 400 กรมั /วนั 2) กบอายุ 60 วนั ใหอ้ าหารสด 600 กรมั /วนั 3) กบอายุ 90 วนั ใหอ้ าหารสด 1.5 กโิ ลกรมั /วนั 4) กบอายุ 120 วนั ใหอ้ าหารสด 3 กโิ ลกรมั /วนั และ 5) กบอายุ 150 ใหอ้ าหารสด 4 กโิ ลกรัม/วนั ในการเลย้ี งกบจำ� เปน็ ตอ้ งคอยคดั ขนาดของกบใหม้ ขี นาดเทา่ กนั ลงเลย้ี งในบอ่ เดยี วกนั มิฉะนน้ั กบใหญจ่ ะรังแกกบเล็ก ซ่ึงจะท�ำใหต้ ้องตายทัง้ คู่ ทั้งตัวท่ีถกู กนิ และ ตวั ทีก่ นิ
ทางเลอื กอาชพี ด้านประมง การเล้ยี งกบในบ่อดิน ลักษณะการเลี้ยงกบแบบนี้จะจับกบจ�ำหน่ายได้คร้ังเดียวในเวลาที่พร้อมกัน ไมม่ กี ารจบั กบจำ� หนา่ ยปลกี หรอื เปน็ ครง้ั คราว ทงั้ นเ้ี พราะสภาพบอ่ เลยี้ งไมเ่ ออื้ อำ� นวย ถึงแม้จะเป็นการจบั เพยี งคร้ังเดียวให้หมดบอ่ จะตอ้ งใช้ผ้จู บั หลายคนลงไปในบ่อเลี้ยง ทม่ี สี ภาพโคลนตมและตอ้ งเกบ็ พชื นำ�้ เชน่ ผกั บงุ้ ผกั ตบชวาขน้ึ ใหห้ มดกอ่ น จงึ ตอ้ งใชเ้ วลา และแรงงานมากที่จะเทย่ี วไลจ่ บั กบในที่หลบซอ่ นให้หมดในครง้ั เดยี ว การเล้ียงกบในคอก สามารถจบั กบไดท้ ุกโอกาส ไม่วา่ จะจบั หมดท้งั คอก หรือมกี ารจ�ำหนา่ ยปลกี โดยมีกระบะไม้และท�ำเป็นช่องเข้าออกในด้านตรงกันข้ามวางอยู่หลายอันบนพื้นดิน ภายในคอก ซึง่ กบจะเขา้ ไปอาศยั อยู่ เมอื่ ถงึ เวลาจะจบั กบกใ็ ชก้ ระสอบเปิดปากไว้รอ อยทู่ ชี่ อ่ งดา้ นหนง่ึ แลว้ ใชม้ อื ลว้ งเขา้ ไปในชอ่ งดา้ นตรงขา้ ม กบจะหนอี อกอกี ชอ่ งทางหนงึ่ ที่มีปากกระสอบรอรับอยู่และเข้าไปในกระสอบกันหมด เป็นการกระท�ำที่สะดวก กบไม่ตกใจและบอบช้ำ� การเลีย้ งกบในบอ่ ปูนซเี มนต์ สามารถจบั กบไดท้ กุ โอกาสไมว่ า่ จะจบั ทง้ั หมดบอ่ หรอื จบั จำ� หนา่ ยปลกี โดยใชค้ น เพยี งคนเดยี วพรอ้ มทงั้ สวงิ เมือ่ ลงบ่อน�้ำซ่งึ มนี ้�ำเพียง 1 ฟตุ กบจะกระโดดมุดลงไปอยู่ ในนำ้� จงึ ใชส้ วงิ ชอ้ นขน้ึ มาหรอื ใชม้ อื จบั ใสส่ วงิ อยา่ งงา่ ยดาย ในบอ่ ขนาด 12 ตารางเมตร เลี้ยงกบประมาณ 1,000 ตัว ใช้ 1 คน จบั เพียง 1 ชัว่ โมงกแ็ ลว้ เสร็จ ในการล�ำเลียงกบไม่ว่าจะเป็นกบเล็กกบใหญ่ ในภาชนะล�ำเลียงกบควรมีน�้ำ เพยี งเลก็ นอ้ ยและจะตอ้ งมวี สั ดเุ ชน่ หญา้ ฟาง ผกั บงุ้ ผกั ตบชวา เพอ่ื ใหก้ บเขา้ ไปซกุ อาศยั อยู่ มฉิ ะนนั้ ในระหวา่ งเดนิ ทางกบจะกระโดดเตน้ ไปมา เกดิ อาการจกุ เสยี ดแนน่ และเปน็ แผล ต้นทนุ การเลี้ยงกบนา ปัจจุบนั การเลยี้ งกบนาก็ยังเปน็ ทีส่ นใจของคนทว่ั ไป เนอื่ งจากกบนาเป็นสัตว์ ท่ีเลี้ยงงา่ ย ใชน้ ำ้� นอ้ ยและใช้พ้ืนท่ใี นการเล้ียงไมม่ าก สามารถเล้ยี งไดท้ ั้งในบอ่ ดินและ 38 บ่อซีเมนต์ขนาดเล็กประมาณ 6-12 ตารางเมตร ซึ่งสามารถเลี้ยงกบได้ประมาณ 400-800 ตัว/บอ่ ใชเ้ วลาในการเล้ยี ง 3-4 เดือน ใชอ้ าหารเมด็ สำ� เรจ็ รูปจะได้กบทมี่ ี ขนาดประมาณ 200-250 กรัมตอ่ ตวั ซึง่ เป็นขนาดท่สี ามารถจบั ขายได้ ตน้ ทนุ ปัจจบุ นั จะอย่ทู ีป่ ระมาณ 25-30 บาท/กโิ ลกรัม แหล่งท่มี า : กรมประมง
ทางเลือกอาชพี ด้านประมง การเลยี้ งปลากดเหลือง 39 ปลากดเหลอื งเปน็ ปลานำ้� จดื ชนดิ หนง่ึ ทมี่ คี ณุ คา่ ทางเศรษฐกจิ สงู มรี าคาดี เนอ้ื มรี สชาตดิ เี ปน็ ทนี่ ยิ มของผบู้ รโิ ภคทงั้ ในรปู สดและแปรรปู ปลากดเหลอื ง พบแพรก่ ระจาย ในแหล่งน้�ำจืดท่ัวไปของทวีปเอเชีย ส�ำหรับประเทศไทยแพร่กระจายในแหล่งน�้ำ ธรรมชาติและอ่างเก็บน�้ำท่ัวทุกภาคของประเทศ ปลากดเหลืองสามารถเจริญเติบโต และอยอู่ าศยั ในสภาพแวดลอ้ มทหี่ ลากหลาย แต่ชอบอย่ตู ามพ้ืนท้องน�้ำท่ีเป็นแอง่ หิน หรอื พนื้ ดนิ แขง็ นำ�้ คอ่ นขา้ งใสมกี ระแสนำ้� ไมแ่ รงนกั ในระดบั ความลกึ ตง้ั แต่ 2-40 เมตร การเพาะพนั ธุ์ ปลากดเหลืองที่ใช้ในการเพาะพันธุ์ส่วนใหญ่ได้จากการรวบรวมพันธุ์จาก แหล่งน้�ำธรรมชาติ เช่น แม่น�ำ้ ลำ� คลอง หรอื อา่ งเกบ็ นำ้� ตา่ งๆ โดยคดั เลอื กพนั ธ์ปุ ลา ท่ีแข็งแรง อวัยวะทุกอย่างครบสมบูรณ์ ขนาดไม่ต่�ำกว่า 400 กรัม น�ำมาเล้ียงเป็น พอ่ แมป่ ลาไดท้ งั้ ในบอ่ ดนิ และกระชงั แตค่ วรแยกเพศปลาตวั ผแู้ ละตวั เมยี ออกจากกนั บอ่ ดนิ ควรมขี นาด 80-1,600 ตารางเมตร อตั ราการปลอ่ ยปลา 1-2 ตวั /ตารางเมตร กระชัง ควรเป็นกระชังอวนโพลี ขนาดตา 2-3 เซนตเิ มตร ขนาดกระชังกวา้ ง 5 เมตร ยาว 5 เมตร ลกึ 2.5 เมตร อตั ราการปลอ่ ยปลา 50-100 ตวั /กระชัง การขนุ เลีย้ งพ่อแมพ่ นั ธ์ุ ให้อาหารจ�ำพวกปลาสดสับผสมหัวอาหารและเสริมด้วยอาหารเม็ดปลาดุก หรือให้อาหารต้มสุกจ�ำพวกปลายข้าว 2 ส่วน ร�ำละเอียด 3 ส่วน ปลาป่น 1 ส่วน วติ ามนิ และแรธ่ าตปุ ระมาณ 1 เปอรเ์ ซน็ ตโ์ ดยนำ�้ หนกั เสรมิ ดว้ ยอาหารเมด็ ปลาดกุ เลก็
ทางเลอื กอาชีพดา้ นประมง 1 ครง้ั /สปั ดาห์ ปรมิ าณอาหารทใี่ หใ้ นแตล่ ะวนั ประมาณ 2-3 เปอรเ์ ซน็ ตข์ องนำ้� หนกั ปลา ควรมีการเปลี่ยนถา่ ยน้�ำในบอ่ ประมาณ 1-2 ครัง้ /เดอื น ปรมิ าณ 1 ใน 3 ของบอ่ การคดั เลือกพ่อแมป่ ลา การตรวจสอบพอ่ แมป่ ลาทมี่ คี วามสมบรู ณค์ วรทำ� ดว้ ยความระมดั ระวงั อาจใช้ ผ้าขนหนูปิดหัวปลาโดยเฉพาะบริเวณตาของพ่อแม่ปลา แล้วหงายท้องตรวจความ พร้อมของปลา จะป้องกันการบอบช้�ำ และลดความเครียดได้ ปลาเพศเมียที่มีไข่แก่ สงั เกตจากสว่ นทอ้ งจะบวมเปง่ และนมิ่ ชอ่ งเพศมสี ชี มพเู รอ่ื ๆ ปลาเพศผอู้ วยั วะเปน็ ตงิ่ แหลม ยนื่ ยาวออกมาไม่ตำ่� กวา่ 1 เซนติเมตร พ่อแม่ปลาทใี่ ช้ควรมีน�้ำหนักต้ังแต่ 450 กรมั หรอื เป็นปลาท่ีมีอายุไม่ตำ�่ กว่า 18 เดอื นขนึ้ ไป โดยปกติแล้วแมพ่ ันธปุ์ ลาจะมนี ำ�้ หนกั มากกว่าพ่อแม่พนั ธปุ์ ลา การรีดไขผ่ สมน้ำ� เช้ือ การรีดไข่โดยจับแม่ปลาให้แน่นพร้อมท้ังเช็ดล�ำตัวให้แห้ง รีดไข่ใส่กะละมัง พรอ้ มกนั นผี้ า่ เอาถงุ นำ้� เชอ้ื จากพอ่ ปลา ใชค้ มี คบี ถงุ นำ�้ เชอ้ื ออกมาขยใ้ี นผา้ ขาวบางใหน้ ำ้� เชอ้ื ไหลลงไปผสมกับไข่ ใช้ขนไก่คนไข่กับน้�ำเชื้อผสมเข้ากันอย่างทั่วถึง ในข้ันตอนนี้ ตอ้ งทำ� อยา่ งรวดเรว็ และรบี นำ� ไขท่ ผ่ี สมแลว้ ไปฟกั โดยโรยบนอวนมงุ้ ไนลอนตาถส่ี ฟี า้ หรอื บนกระชงั ผา้ โอลอนแกว้ ในระดบั นำ้� ลกึ ประมาณ 20-30 เซนตเิ มตร การโรยไขป่ ลา พยายามใหไ้ ขก่ ระจายอยา่ ทบั ซอ้ นกนั เปน็ กอ้ นเปดิ นำ้� ไหลผา่ นตลอดเวลาและมเี ครอ่ื ง เพิม่ อากาศใสไ่ ว้ในบ่อฟกั ไข่ปลาด้วย การฟักไข่ ไขป่ ลากดเหลอื งเปน็ ไขต่ ดิ ไขท่ ดี่ ซี งึ่ ไดร้ บั การผสมควรมลี กั ษณะกลมมสี เี หลอื ง สดใสและพฒั นาฟกั ออกมาเปน็ ตวั โดยใชเ้ วลาประมาณ 27-30 ชวั่ โมง ทอ่ี ณุ หภมู ขิ อง น้ำ� 26-28 องศาเซลเซยี ส ถุงอาหารจะยุบตัวหมดในเวลา 3 วัน หลังจากนน้ั ลูกปลา จะเรมิ่ กนิ อาหาร โดยบอ่ เพาะฟกั ลกู ปลากดเหลอื งควรมหี ลงั คาคลมุ บงั ปอ้ งกนั แสงแดด 40 และนำ้� ฝนได้ การเลยี้ งปลากด การเล้ียงปลากดเหลืองให้ได้ขนาดตามที่ตลาดต้องการนั้นสามารถเลี้ยงได้ทั้ง ในบอ่ ดินและกระชัง ดังน้ี
ทางเลอื กอาชพี ด้านประมง 1. การเล้ียงในบ่อดิน ควรปรับสภาพบ่อโดยใช้หลักการเตรียมบ่อเล้ียงปลา 41 ทั่วๆ ไปดังน้ี ตากพ้ืนบ่อให้แห้งพร้อมท้ังปรับสภาพก้นบ่อให้สะอาด และใส่ปูนขาว เพอื่ ปรบั สภาพของดนิ โดยใสป่ นู ขาวในอตั ราประมาณ 60-100 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ หลงั จากนน้ั ใหใ้ สป่ ยุ๋ คอกเพอื่ ใหเ้ กดิ อาหารธรรมชาตสิ ำ� หรบั ลกู ปลาควรใสป่ ยุ๋ คอกในอตั ราประมาณ 40-80 กิโลกรมั /ไร่ การปลอ่ ยลกู ปลาลงบอ่ เลย้ี งจะตอ้ งปรบั สภาพอณุ หภมู ขิ องนำ้� ในถงุ และนำ�้ ในบอ่ ใหเ้ ทา่ กนั โดยแชถ่ งุ บรรจลุ กู ปลาในนำ้� ประมาณ 30 นาทจี งึ ปลอ่ ยลกู ปลา เวลาทเ่ี หมาะสม ในการปล่อยลกู ปลาควรเป็นตอนเย็นหรือตอนเชา้ 2. การเลี้ยงปลารุ่นในกระชัง สถานีประมงน้�ำจืดจังหวัดสงขลาได้ท�ำการ เล้ียงปลากดเหลืองให้เป็นปลารุ่นในกระชังตาข่ายพลาสติก ขนาด 2x3x1.5 เมตร ปลาความยาวเฉลย่ี 7.17 เซนตเิ มตร นำ�้ หนกั เฉลย่ี 3.14 กรมั อตั ราการปลอ่ ย 300 ตวั / กระชงั เปรยี บเทียบอาหารเนือ้ ปลาสดสับ กับอาหารเมด็ ปลากินเน้อื ในระยะเวลา 6 เดอื น พบวา่ ปลาทเ่ี ลย้ี งดว้ ยเนอื้ ปลาสดสบั มอี ตั ราการเจรญิ เตบิ โตดมี าก คอื มนี ำ้� หนกั เฉลี่ย 83.87 กรัม อัตราการรอดตาย 73.79 เปอร์เซน็ ต์ อัตราแลกเน้อื 4.98 คิดเป็น ต้นทุนอาหาร 24.90 บาท/กโิ ลกรมั (ปลาสดราคากิโลกรัมละ 5 บาท) 3. การเลี้ยงปลาในกระชงั การเลีย้ งปลากดเหลืองในกระชังโดยท่ีตัวกระชัง ทำ� ดว้ ยตาข่ายพลาสติกขนาดกระชัง 3x4x1.8 เมตร ปลอ่ ยปลาขนาด 200-250 กรมั จนถงึ ขนาดตลาด อัตราการปลอ่ ย 1,000 ตัว/กระชัง ใหป้ ลาเป็ดและสว่ นผสมอนื่ ๆ เปน็ อาหารวันละ 1 ครัง้ ดา้ นการตลาด ปลากดเหลืองขนาด 3-5 ตวั /กโิ ลกรัม (ขนาดเฉล่ยี 250 กรัม/ตวั ) จำ� หน่าย ให้ผู้รวบรวมหรือผู้บริโภคในท้องถ่ินทางภาคใต้ราคา 40 บาท/กิโลกรัม ในขณะท่ี ราคาจำ� หน่ายปลีกแกผ่ บู้ รโิ ภคในเขตเมอื งระดับราคา 60-80 บาท/กิโลกรมั ส�ำหรบั ราคาขายสง่ ไปยังตลาดต่างประเทศในราคา 100-120 บาท/กิโลกรมั ทง้ั นีข้ นึ้ อยกู่ ับ ขนาดของปลา ปรมิ าณ และความสดของปลาเปน็ สำ� คญั ปจั จบุ นั ผลผลติ เกอื บทงั้ หมด มาจากการจบั ในแหลง่ นำ้� ธรรมชาติ หากมกี ารเลย้ี งเพมิ่ ขน้ึ กจ็ ะชว่ ยเสรมิ สรา้ งความมนั่ ใจ ใหแ้ ก่ผู้จ�ำหนา่ ย และผูบ้ ริโภคปลากดเหลือง ทีม่ า : กรมประมง
ทางเลือกอาชีพด้านประมง การเล้ยี งปลาดกุ บก๊ิ อยุ ปลาดกุ เปน็ ปลานำ�้ จดื ทเี่ กษตรกรนยิ มเลย้ี งกนั มาก ปลาดกุ ทเ่ี ลย้ี งกนั ในปจั จบุ นั คือ ปลาดุกผสมหรือเรียกกันว่า “ปลาดุกบ๊ิกอุย” เป็นปลาที่เกิดจากการผสมพันธุ์ ระหว่างแม่ปลาดุกซึ่งเป็นปลาดุกพ้ืนบ้านของไทย เน้ือมีสีเหลือง รสชาติอร่อย กบั พอ่ ปลาดกุ เทศมถี นิ่ กำ� เนดิ ในแอฟรกิ า เปน็ ปลาทมี่ ขี นาดใหญ่ มกี ารเจรญิ เตบิ โตได้ รวดเรว็ มาก สามารถกนิ อาหารไดท้ กุ ชนดิ มคี วามตา้ นทานโรคสงู และสามารถปรบั ตวั เข้ากับสภาพแวดล้อมไดด้ ี แตป่ ลาชนิดน้ีมเี น้ือเหลว และมีสีขาวซีดไมน่ า่ รบั ประทาน ขน้ั ตอนการเลีย้ ง ลูกปลาดุกที่ฟักออกเป็นตัวใหม่ๆ ใช้อาหารจากถุงไข่แดงท่ีติดมากับตัว เมื่อถุงไข่แดงที่ติดตัวมากับลูกปลายุบ จึงจ�ำเป็นต้องให้ลูกไรแดงกินเป็นอาหาร ในปลาดกุ อยุ การเคลอื่ นยา้ ยควรทำ� หลงั ทล่ี กู ปลาอายคุ รบ 48 ชวั่ โมง สว่ นปลาดกุ บกิ๊ อยุ การเคลื่อนย้ายควรกระทำ� เมื่อลกู ปลามอี ายุครบ 36 ชั่วโมง การเคลอ่ื นย้ายลูกปลา ควรทำ� ดว้ ยความระมดั ระวงั เพอ่ื ใหล้ กู ปลามคี วามบอบชำ�้ นอ้ ยทสี่ ดุ การนำ� ลกู ปลาออก 42 จากบอ่ ฟกั สว่ นมากใชว้ ธิ กี ารดดู นำ�้ สายยางแบบกาลกั นำ�้ ซง่ึ วธิ นี คี้ วรระวงั คอื ไมค่ วร ใชส้ ายแตกตา่ งกนั มากเพราะทำ� ใหไ้ หลแรงและเปน็ อนั ตรายกบั ลกู ปลางา่ ย ในการแยก ลูกปลาไปอนุบาลควรเลือกดูดเอาเฉพาะลูกปลาที่ข้างกลุ่ม เพราะจะได้ลูกปลาท่ีมี สุขภาพท่ีแขง็ แรงและไม่พกิ าร
ทางเลือกอาชพี ดา้ นประมง 43 การเล้ยี งในบอ่ ซเี มนต์ ควรปรับสภาพของน�้ำในบ่อที่เล้ียงให้มีสภาพเป็นกลางหรือเป็นด่างเล็กน้อย แต่ตอ้ งแนใ่ จวา่ บ่อซีเมนตจ์ ะต้องหมดฤทธิ์ของปนู ขนาดของลกู ปลาที่ใชเ้ ล้ยี งเริ่มตน้ ควรมขี นาดประมาณ 2-3 นวิ้ เพอ่ื สะดวกในการถา่ ยเทนำ�้ และการใหอ้ าหาร ระดบั นำ้� ในบ่อควรมีความลึกประมาณ 20-30 เซนติเมตร เม่ือลูกปลาเติบโตข้ึนค่อยๆ เพิ่ม ระดับนำ�้ ให้สูงขนึ้ ตามลำ� ดบั เลยี้ งด้วยอาหารเมด็ ลอยนำ�้ ส�ำเร็จรูปให้ประมาณ 3-5% ของน�้ำหนักตัวปลา โดยปลาในอัตรา 100-150 ตัว/ตารางเมตร ปลาจะเติบโต ได้ขนาดประมาณ 150-200 กรัม/ตัว ในระยะเวลาเลี้ยงประมาณ 90-120 วัน อัตราการรอดตาย 80-90% ซึ่งอาหารท่ีใช้เล้ียงสามารถให้อาหารชนิดอ่ืนทดแทน อาหารเมด็ ลอยนำ้� สำ� เรจ็ รปู กไ็ ด้ โดยเปน็ อาหารจำ� พวก ไสไ้ ก่ โครงไก่ หรอื ปลาเปด็ บด ผสมกบั รำ� กไ็ ด้ ซงึ่ การใหอ้ าหารแบบนจี้ ำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารถา่ ยเทนำ้� มากเพอื่ ปอ้ งกนั นำ้� เสยี การเลยี้ งปลาดกุ ในบ่อดนิ การเล้ียงปลาดุกในบ่อดิน ผู้เล้ียงสามารถเลือกลูกปลาลงเล้ียงได้หลายขนาด คอื ถา้ เป็นการลงปลาตุ้ม (ลกู ปลาอายุ 2-3 วัน) และปลาเซน็ ต์ (ลูกปลาอายุ 5-7 วนั ) ควรเตรียมบ่อและมีการจัดการเหมือนการอนุบาลลูกปลา โดยอัตราการปล่อย อยู่ระหว่าง 150,000-200,000 ตัว/ไร่ ส่วนปลาเซ็นต์ อัตราการปล่อยอยู่ระหว่าง 100,000-150,000 ตวั ต่อไร่ และการลงลูกปลาท่ีขนาดใหญ่ขึ้น เช่น ปลาขนาด 1 น้ิว ปลาขนาด 1-2 น้ิว และปลาขนาด 2-3 น้ิว อัตราการปล่อยอยู่ระหว่าง 80,000- 100,000 ตัว/ไร่ การจัดการเล้ียงปลาที่มีขนาดใหญ่ควรมีการเตรียมบ่อตามหลัก การเตรยี มบอ่ เลย้ี งปลาทว่ั ๆ ไป โดยกำ� จดั วชั พชื บรเิ วณกน้ บอ่ และคนั บอ่ กำ� จดั ศตั รปู ลา ตากบ่อให้แห้งและใส่ปูนขาวเพื่อปรับสภาพดิน โดยใส่ปูนขาวในอัตราประมาณ 100-150 กโิ ลกรมั /ไร่ ใสป่ ยุ๋ คอกเพ่อื ใหเ้ กดิ อาหารธรรมชาติส�ำหรับลูกปลาในอตั รา ประมาณ 50-100 กิโลกรัม/ไร่ การน�ำน�้ำเข้าบ่อควรกรองด้วยมุ้งสีฟ้าเพ่ือไม่ให้ศัตรู ของลูกปลาติดเข้ามา จนมีระดับน้�ำลึก 30-40 เซนติเมตร ลูกปลาท่ีน�ำมาเล้ียง ควรตรวจดวู า่ มสี ภาพปกติ ครบี และหางไมก่ รอ่ น วา่ ยนำ้� รวดเรว็ แขง็ แรง และไมล่ อยหวั ตงั้ กอ่ นการปลอ่ ยลกู ปลาลงบอ่ เลยี้ ง ควรตรวจคณุ สมบตั ขิ องนำ้� โดยเฉพาะความเปน็ กรด เป็นดา่ ง ตอ้ งอยู่ในระดบั ทไ่ี ม่เป็นอันตรายต่อลูกปลา และปรบั สภาพอณุ หภูมขิ องน�ำ้ ในถุงและในบ่อให้เท่าๆ กันกอ่ น
ทางเลือกอาชพี ด้านประมง การใหอ้ าหาร ปลาดกุ เปน็ ปลาทกี่ นิ อาหารเรว็ เมอ่ื ปลอ่ ยลกู ปลาดกุ ใหญใ่ นบอ่ ดนิ แลว้ อาหาร ท่ใี หใ้ นช่วงทลี่ กู ปลาดกุ มขี นาดเลก็ (2-3 เซนตเิ มตร) เพอื่ ความสะดวกในการจัดการ ควรให้อาหารผสมคลุกน�้ำปั้นเป็นก้อนให้ลูกปลากินวันละ 2 คร้ัง ในช่วงเช้าเย็น วนั ละ 3-5% ของนำ�้ หนกั ตวั เมอ่ื ลกู ปลามขี นาดโตขน้ึ ความยาว 5-6 เซนตเิ มตร สามารถ ฝกึ ใหก้ นิ อาหารเมด็ ได้ หรอื อาหารผสมบดจากส่วนตา่ งๆ เช่น กระดูกไก่ หวั ไก่ ไส้ไก่ เศษขนมปงั เศษเส้นหมี่ เศษเลือดสุกร เลอื ดไก่ ฯลฯ แนวโนม้ การตลาด 1. ตลาดกลางที่เปน็ แหล่งซือ้ ขายปลาน้�ำจืดขนาดใหญ่ ไดแ้ ก่ ตลาดบางปะกง จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา ตลาดรงั สติ จงั หวดั ปทมุ ธานี ตลาดลาดกระบงั กรงุ เทพฯ ตลาดบางเลน จงั หวัดนครปฐม และสะพานปลา กรุงเทพฯ จากการศึกษาพบว่าปลาน้�ำจดื (ปลาดุก ปลาช่อน และปลาหมอเทศ) ซึ่งขนส่งในลักษณะปลามีชวี ติ โดยใชล้ ังในการล�ำเลยี ง ใสป่ ลาไดล้ งั ละ 50 กโิ ลกรมั ปลาทว่ี างขายในตลาดนนั้ จะผา่ นมอื ผรู้ วบรวมจากภาคกลาง แล้วสง่ ใหพ้ อ่ คา้ ขายสง่ มอื 1,2 จนกระทัง่ ถึงพ่อคา้ ปลกี 2. การบรโิ ภคในประเทศ จากผลผลิตปลาดุกในปี 2549 สามารถจำ� แนกได้ ดังน้ี บรโิ ภคสด 81.18% ตากแหง้ 5.98% นึง่ ยา่ ง 9.55% น้�ำปลา 0.02% ปลารา้ 2.9% อ่ืนๆ 0.37% 3. ราคา จากการศกึ ษาของสำ� นกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร เกยี่ วกบั ราคาสตั วน์ ำ้� ที่ชาวประมงขายได้พบว่า การเพิ่มข้ึนของราคาปลาน�้ำจืดโดยเฉพาะปลาช่อน และ ปลาดุก มแี นวโน้มเพิม่ สงู ข้นึ ในอัตราร้อยละ 5.85 และ 5.05 ตามลำ� ดับ ซ่งึ อตั ราการ เพมิ่ สงู ขึ้นของราคาปลานำ�้ จดื นี้มแี นวโนม้ สูงกวา่ สัตวน์ ำ้� จากทะเล แหลง่ ทม่ี า : กรมประมง 44
ทางเลือกอาชีพดา้ นประมง การเล้ียงปลาสวาย 45 ปลาสวาย เปน็ ปลาน้�ำจืดไมม่ เี กลด็ มีรปู รา่ งคลา้ ยคลึงกับปลาเทพา ปลาเทโพ และปลาสงั กะวาด พบแพรห่ ลายในประเทศลาว กมั พชู า เวยี ดนาม และไทย เปน็ ปลา ทมี่ คี วามสำ� คญั ทางเศรษฐกจิ ของประเทศและไดร้ บั ความนยิ มอยา่ งกวา้ งขวาง สามารถ เล้ียงได้ท้ังในบ่อหรือในกระชังและสามารถเล้ียงรวมกับปลาชนิดอ่ืนๆ ได้เป็นอย่างดี ปลาสวายเปน็ ปลาทีเ่ ลย้ี งงา่ ย โตเรว็ และไม่คอ่ ยมโี รคพยาธิเหมอื นกับปลาชนิดอืน่ ๆ นอกจากนี้ปลาสวายยังกินอาหารได้เกือบทุกชนิด เช่น เศษอาหารจากครัวเรือน มูลสัตว์แห้ง เช่น มลู ไก่ มลู โค มลู สุกร เป็นต้น ลกั ษณะเพศและการผสมพันธป์ุ ลาสวาย ปลาเพศเมีย ท้องอูม กลมนูน พ้ืนท้องนิ่มมาก พอถึงเวลาที่ปลาเพศเมีย มีไขส่ ุกเตม็ ท่พี ร้อมวางไข่ล�ำตัวมีสีขาวเงิน ปลาเพศผู้ ทอ้ งจะแบนเรียบไม่นูนเหมอื นเพศเมยี พ้ืนท้องแขง็ กว่า ช่องเพศรี แคบและเล็ก มสี ีแดงออ่ นกวา่ เพศเมยี มีสว่ นของอวัยวะยืน่ ออกมา ปลาสวายตามธรรมชาติจะผสมพันธุ์ในฤดูผสมพันธุ์และวางไข่ตามธรรมชาติ บรเิ วณทน่ี ำ้� ทว่ ม ชว่ งฤดนู ำ�้ หลากตง้ั แตเ่ ดอื นกรกฎาคม-ตลุ าคม ปจั จบุ นั มกี ารเพาะพนั ธ์ุ ปลาสวายโดยใชว้ ธิ กี ารฉดี ฮอรโ์ มนผสมเทยี มทำ� ใหม้ พี นั ธป์ุ ลาเพยี งพอสำ� หรบั การเลยี้ ง สามารถเพาะพนั ธป์ุ ลาไดต้ ง้ั แตเ่ ดอื นเมษายน-ตลุ าคม โดยใชฮ้ อรโ์ มนสงั เคราะหฉ์ ดี เรง่
ทางเลือกอาชีพด้านประมง ให้แม่ปลาสวายวางไข่เพ่ือที่จะรีดไข่ผสมกับน้�ำเชื้อ เมื่อท�ำการผสมไข่กับน้�ำเช้ือต้อง ลา้ งนำ�้ ใหส้ ะอาดขจดั คราบไขมนั แลว้ นำ� ไขท่ ไี่ ดไ้ ปฟกั ไขใ่ นบอ่ หรอื ถงั พกั ตอ่ ไป โดยภายใน ถงั บ่อพักไข่ต้องเพ่ิมออกซิเจนผ่านหัวทรายตลอดเวลา เพื่อให้มีออกซิเจนเพียงพอ ต่อการฟักไข่ออกเป็นตัว ไข่ปลาสวายจะฟักออกเป็นตัวในระยะเวลาประมาณ 23-33 ชวั่ โมง หลังจากวางไขท่ ีอ่ ณุ หภมู ิน�ำ้ 28-31 องศาเซลเซียส ลูกปลาสวายท่ฟี กั ออกเปน็ ตัวใหมๆ่ มคี วามยาวประมาณ 3 มลิ ลิเมตร ลักษณะโปร่งใส โปรง่ แสง และ ยังไมว่ ่ายนำ�้ จะพกั ตัวอยูเ่ ฉยๆ ประมาณ 1-2 ชวั่ โมง ลกู ปลาจะแข็งแรงขน้ึ แลว้ จงึ เรม่ิ เคลอ่ื นไหวโดยวา่ ยนำ้� เปน็ แนวดง่ิ และวา่ ยนำ�้ ขนึ้ ลงเปน็ เวลา เมอ่ื ลกู ปลาสวายเจรญิ เตบิ โต มีอายุ 14 วนั ก็จะมีอวยั วะครบถว้ นเชน่ เดยี วกบั ปลาโตเต็มวยั การเลยี้ งลูกปลาสวาย การเลย้ี งปลาสวายประเภทเล้ียงชนิดเดยี วกนั ปัจจบุ นั มีการเลยี้ งอยู่ 2 วธิ ี คือ การเล้ยี งในบ่อดนิ และการเล้ยี งในกระชัง ก. การเลย้ี งปลาสวายในบ่อดนิ ควรพิจารณาหลกั การดงั น้ี 1. ขนาดของบอ่ และทต่ี งั้ ควรมขี นาดเปน็ บอ่ ใหญม่ เี นอ้ื ทป่ี ระมาณ 1 ไรข่ นึ้ ไป ความลึกประมาณ 2 เมตร ทต่ี งั้ ควรอยู่ใกล้แหล่งน�้ำ เชน่ แมน่ �ำ้ ลำ� คลอง เพอ่ื สะดวก ในการระบายน้�ำเข้า-ออกไดง้ ่าย 2. การเตรียมบ่อ กรณบี อ่ ใหมท่ ่เี พ่ิงขดุ เสร็จ บอ่ ในลกั ษณะนี้มปี ญั หาเรื่อง เชอ้ื โรคทต่ี กคา้ งอยใู่ นบอ่ เพยี งแตบ่ อ่ ใหมจ่ ะมอี าหารธรรมชาตอิ ยนู่ อ้ ย หากภายในบอ่ มคี ณุ สมบตั ขิ องดนิ มคี วามเปน็ กรดเปน็ ดา่ ง (pH) ตำ�่ กวา่ 6.5 ตอ้ งใหป้ นู ขาวชว่ ยในการ ปรับอตั รา 40-60 กโิ ลกรัม/ไร่ ระบายน้ำ� เขา้ บอ่ ใหไ้ ด้ 10 เซนตเิ มตร ทิ้งไว้ประมาณ 1 สปั ดาห์ แลว้ ใสป่ ยุ๋ คอกหรอื ปยุ๋ วทิ ยาศาสตรจ์ ากนนั้ เพม่ิ ระดบั นำ้� ใหไ้ ด้ 50 เซนตเิ มตร ทง้ิ ไวป้ ระมาณ 3-5 วนั เพมิ่ ระดบั นำ้� ใหไ้ ดต้ ามทต่ี อ้ งการ คอื ประมาณ 1-1.5 เซนตเิ มตร จงึ ปลอ่ ยปลาลงเลีย้ งได้ กรณบี อ่ เกา่ หรอื บอ่ ทเ่ี คยผา่ นการเลยี้ งมาแลว้ หลงั จากทจ่ี บั ปลาออกหมดแลว้ 46 สูบน�ำ้ ทิง้ ไวใ้ หแ้ ห้ง 1-2 วนั ใส่ปนู ขาวฆา่ เช้ือโรค พยาธิ และปรับสภาพความเป็นกรด เป็นดา่ งบริเวณพืน้ บ่อ แตถ่ ้าเป็นบ่อที่มีเลนอยมู่ ากควรลอกเลนเสยี ก่อน จึงใส่ปูนขาว ในอัตรา 120-200 กิโลกรัม/ไร่ จากนั้นตากบ่อท้ิงไว้ 1 สัปดาห์ แล้วจึงเพ่ิมเติมน�้ำ
ทางเลอื กอาชีพดา้ นประมง เขา้ บอ่ เหมอื นกบั ทอ่ี ธบิ ายไวใ้ นบอ่ ใหม่ แตถ่ า้ ในกรณที บ่ี อ่ นน้ั ไมส่ ามารถสบู นำ�้ ใหแ้ หง้ ได้ 47 จ�ำเป็นตอ้ งกำ� จดั ศัตรปู ลาให้หมดเสยี ก่อน ศัตรขู องลกู ปลาสวายได้แก่ ปลาทีก่ นิ เน้ือ ทขี่ นาดใหญก่ วา่ ลกู ปลาสวาย เชน่ ปลาชอ่ น ปลาดกุ ปลากราย หรอื อาจจะเปน็ งู กบ เขยี ด 3. น้�ำ ตอ้ งเปน็ นำ�้ ท่มี ีคา่ ความเปน็ กรดเป็นดา่ ง (pH) อยูร่ ะหวา่ ง 6.5-7.5 และมปี รมิ าณออกซิเจนทเี่ หมาะสม คือ ไม่ตำ�่ กว่า 3 ppm. ต่อ 3 มลิ ลกิ รมั /ลิตร 4. การคัดเลือกพันธ์ุปลา - เปน็ ปลาทสี่ มบรู ณ์ ไมเ่ ปน็ แผล ไมแ่ คระแกรน็ หรอื พกิ ารและปราศจากโรค - เปน็ ปลาท่มี ีขนาดไลเ่ ลี่ยกนั เพราะปลาที่มีขนาดตา่ งกันเม่อื ถึงเวลาจับ ขายทำ� ใหม้ ปี ญั หาเรอื่ งขนาดของปลาอาจถกู กดราคาลงไดซ้ ง่ึ ตอ้ งแยกนำ� ปลาขนาดเลก็ นำ� มาเลย้ี งตอ่ 5. อตั ราการปลอ่ ย ควรมขี นาดโตประมาณ 5-12 เซนตเิ มตร อตั ราการปลอ่ ย 2-3 ตัว/ตารางเมตร ท้ังนีข้ ึ้นอยกู่ บั ปริมาณและคุณภาพของอาหารท่ีเลย้ี ง 6. อาหาร ปลาสวายเปน็ ปลาทกี่ นิ อาหารไดท้ กุ ประเภท ไดแ้ ก่ พชื และสตั วเ์ ลก็ ๆ ทอ่ี ยใู่ นนำ้� แมลง ไสเ้ ดอื น หนอน และตะไครน้ ำ้� เปน็ ตน้ นอกจากนน้ั การเลยี้ งปลาสวาย ยังสามารถใช้ข้อมูลสัตว์แห้งอื่นๆ เช่น มูลสุกร มูลไก่ ฯลฯ มาเป็นอาหารโดยตรง ดงั นนั้ การหาวสั ดมุ าใชเ้ ปน็ อาหารของปลาสวายนนั้ มคี วามสำ� คญั เพราะในการเลยี้ งปลา สวายใหไ้ ดผ้ ลส�ำเร็จหรือให้ได้ผลก�ำไรน้ันอยู่ท่ีการหาวัสดุมาใช้เป็นอาหาร ถ้าหาวัสดุ ทีใ่ ชเ้ ปน็ อาหารมาไดใ้ นราคาถกู การเลยี้ งปลาสวายจะไดก้ ำ� ไร 7. การเจรญิ เตบิ โต การเลยี้ งปลาสวายในบอ่ ดนิ จะใชเ้ วลาประมาณ 8-12 เดอื น ขนาดที่ได้ 1-1.5 กิโลกรมั ซงึ่ เป็นทจี่ ำ� หน่ายในทอ้ งตลาดท่ัวๆ ไป 8. การจบั ถา้ จบั ปลาจำ� นวนนอ้ ยใหใ้ ชแ้ หหรอื สวงิ แตห่ ากปลามจี ำ� นวนมาก ควรใชอ้ วนหรอื เฝอื กลอ้ ม หากเปน็ บอ่ ขนาดใหญค่ วรแบง่ ตอนของบอ่ ดว้ ยเฝอื กหรอื อวนกอ่ น แลว้ จงึ ใชอ้ วนลอ้ มจบั สว่ นทต่ี อ้ งการออกเพอ่ื ไมใ่ หป้ ลาในบรเิ วณทเ่ี หลอื มอี าการตนื่ เตน้ และท�ำให้เปน็ แผลหรือบอบช้�ำ 9. ผลผลติ ปลาสวายทเ่ี ลยี้ งในบอ่ ดนิ ในระยะเวลา 8-18 เดอื น ไดผ้ ลผลติ ประมาณ 4,000-6,000 กิโลกรัม/ไร่ ท้ังนี้แล้วแต่ความสมบูรณ์ของอาหารท่ีให้ และ นำ�้ ทใ่ี ชเ้ ลยี้ ง
ทางเลือกอาชีพด้านประมง ข. การเลย้ี งปลาสวายในกระชงั การเลยี้ งปลาสวายในกระชงั นนั้ เปน็ การเลยี้ ง ทใี่ หผ้ ลผลติ มากกวา่ ในบอ่ ดนิ โดยมหี ลกั เกณฑก์ ารเลยี้ งปลาสวายในกระชงั มดี งั นี้ คอื 1. ท่ีตั้งของกระชัง ควรต้ังในแหลง่ น�ำ้ จืดทม่ี ีน�้ำไหลถ่ายเทไดส้ ะดวก เชน่ แมน่ ำ�้ ลำ� คลอง หากเลยี้ งในอา่ งเกบ็ นำ้� ควรตง้ั กระชงั ใหอ้ ยใู่ นบรเิ วณตอนบนของอา่ ง ซง่ึ มกี ระแสนำ�้ ท่ีช่วยถ่ายของเสียจากกระชังได้ และต้องหม่ันตรวจเช็คท�ำความสะอาด กระชงั อยเู่ สมอ 2. วสั ดุทีใ่ ช้ท�ำกระชงั ส่วนมากนยิ มทำ� ด้วยไมเ้ น้ือแข็งแตม่ บี างส่วนทใ่ี ช้ ไมไ้ ผส่ าน นอกจากนม้ี กี ารใชอ้ วนโพลเี อททลี นิ มาทำ� กระชงั แตย่ งั ไมแ่ พรห่ ลายมากนกั เพราะมรี าคาสงู 3. ขนาดของกระชงั ถา้ เปน็ กระชงั อวนโครงเหลก็ ควรมขี นาด 4x4x1.5 เมตร และถ้าเป็นไม้ไผ่สานควรมีขนาด 2x5x1.5 เมตร นอกจากนี้ยังมีกระชังท่ีท�ำจากไม้ จะมขี นาดประมาณ 8-15 ตารางเมตร ลึก 1.25-1.5 เมตร 4. อตั ราการปลอ่ ยปลาลงเลย้ี งในกระชงั ควรใชล้ กู ปลาขนาด 7-12 เซนตเิ มตร ปล่อยในอตั รา 100-200 ตัว/ตารางเมตร 5. อาหารและการใหอ้ าหาร ใชอ้ าหารและสว่ นประกอบของอาหารเหมอื นกบั ที่เล้ียงปลาในบ่อ แต่มีข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับการให้อาหารปลาที่เล้ียง ในกระชงั นน้ั อาหารอาจจะฟงุ้ กระจายขณะทปี่ ลาสวายแยง่ กนั กนิ อาหาร ซงึ่ อาจแกไ้ ขได้ โดยใส่สารเหนยี วผสมในอาหารทใ่ี ห้ และควรให้อาหารวันละ 1 ครัง้ 6. การเจรญิ เตบิ โต ขน้ึ อยกู่ บั ปรมิ าณและคณุ ภาพของอาหาร หากเปน็ กระชงั ขนาดประมาณ 10 ตารางเมตร ลกึ 1.25 เมตร ปลอ่ ยปลา 150-200 ตวั /ตารางเมตร ใช้เวลาเลยี้ ง 1 ปี จะให้ผลผลติ ประมาณ 1,500 กโิ ลกรัม 7. การจบั และการลำ� เลยี งสง่ ตลาด การจบั ปลาสวายทเ่ี ลย้ี งในกระชงั นั้น ทำ� ไดโ้ ดยใชอ้ วนลอ้ มจบั ในกระชงั ซงึ่ งา่ ยกวา่ การจบั ปลาในบอ่ มาก สว่ นการลำ� เลยี งปลา ทางบกเพ่ือให้ได้ปลาท่ีมีชีวิตไปขายในตลาดท�ำได้โดยรถยนต์ ใช้ถังส่ีเหล่ียมขังน้�ำ 48 พอประมาณให้ทว่ มตวั ปลาแลว้ ใชอ้ วนปิดถัง ท่ีมา : กรมประมง
Search
Read the Text Version
- 1 - 48
Pages: