v หนงั สอื เรยี นสาระการประกอบอาชพี รายวชิ าเลอื ก การเพาะเหด็ ฟาง รหสั วชิ า อช02006 ระดบั ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ตามหลกั สูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สำนักงำนส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัยจงั หวดั เชียงใหม่ สำนกั งำนส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศัย สำนกั งำนปลดั กระทรวงศึกษำธกิ ำร กระทรวงศึกษำธกิ ำร ห้ำมจำหน่ำย หนงั สือเรียนเลม่ น้ีจดั พิมพด์ ว้ ยเงินงบประมาณแผน่ ดินเพื่อการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน ลิขสิทธ์ิเป็นของสานกั งาน กศน.จงั หวดั เชียงใหม่
ก คำนำ หนังสือเรียนรายวิชาเลือกวิชา การเพาะเห็ดฟาง รหัสวิชา อช02006 ตามหลักสูตรการศึกษานอก ระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษา ตอนปลาย จัดทาขนึ้ เพื่อให้ผูเ้ รยี นไดร้ บั ความร้แู ละประสบการณ์ ซ่ึงเป็นไปตามหลักการและปรัชญาการศึกษา นอกโรงเรียน และพระราชบญั ญตั สิ ่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย พ.ศ.2551 ให้ผู้เรียน มคี ณุ ธรรม จริยธรรม มีสตปิ ัญญา มีศักยภาพในการประกอบอาชีพและสามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่าง มคี วามสุข เพื่อให้การจัดกระบวนการเรียนรู้ของสถานศึกษามีประสิทธิภาพ สถานศึกษาต้องใช้หนังสือเรียนท่ีมี คณุ ภาพ สอดคล้องกับสภาพปัญหาความต้องการของผู้เรียน ชุมชน สังคม และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ สถานศึกษา หนังสือเล่มน้ีได้ประมวลสาระความรู้ กิจกรรมเสริมทักษะ แบบวัดประเมินผลการเรียนรู้ไว้อย่าง ครบถ้วน โดยองค์ความรู้นั้นได้นากรอบมาตรฐานการเรียนรู้ตามที่หลักสูตรกาหนดไว้ นารายละเอียดเนื้อหา สาระมาเรียบเรยี งอย่างมีมาตรฐานของการจัดทาหนงั สอื เรยี น เพ่ือให้ผู้เรียน สามารถอ่านเข้าใจง่าย และศึกษา ค้นควา้ ดว้ ยตนเองได้อย่างสะดวก คณะผูจ้ ัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า หนังสือเรียนวิชา การเพาะเห็ดฟาง รหัสวิชา อช02006 เล่มน้ีจะเป็น ส่ือที่อานวยประโยชน์ต่อการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อให้ผเู้ รยี นสมั ฤทธ์ผิ ลตามมาตรฐาน ตัวช้ีวัดทีก่ าหนดไวใ้ นหลกั สูตรทกุ ประการ คณะผจู้ ดั ทำ สำนักงำน กศน.จงั หวดั เชียงใหม่
ข สำรบญั เรอื่ ง หน้ำ คานา ก สารบญั ข คาอธิบายรายวชิ าการเพาะเห็ดฟาง ง บทท่ี 1 ช่องทางและการตัดสนิ ใจเลือกประกอบอาชีพการเพาะเหด็ ฟาง 1 2 แผนการเรียนรปู้ ระจาบท 3 เรื่องท่ี 1.1 ความหมายของอาชีพ 4 เรื่องที่ 1.2 ชอ่ งทางและการตัดสนิ ใจเลอื กประกอบอาชพี และขอ้ มลู ทางสงั คมสง่ิ แวดลอ้ ม 10 กิจกรรมท้ายบทท่ี 1 11 บทที่ 2 ประโยชน์และความสาคัญของการเพาะเหด็ ฟาง 12 แผนการเรยี นรปู้ ระจาบท 13 เรื่องที่ 2.1 ประวัติและความสาคัญของการเพาะเห็ดฟาง 16 เรอ่ื งท่ี 2.2 ความหมายและความสาคัญของเหด็ 19 กจิ กรรมท้ายบทที่ 2 20 บทที่ 3 วัสดุ อปุ กรณ์ และการสร้างโรงเรือนเพาะเหด็ ฟาง 21 แผนการเรยี นรปู้ ระจาบท 22 เรอ่ื งท่ี 3.1 การเลือกใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์และสรา้ งโรงเรอื นเพาะเหด็ ฟาง 26 กจิ กรรมท้ายบทที่ 3 27 บทท่ี 4 พันธุแ์ ละการเพาะเลีย้ งเช้ือเห็ดฟาง 28 แผนการเรยี นรูป้ ระจาบท 29 เรือ่ งที่ 4.1 พันธแ์ุ ละการเพาะเล้ยี งเช้ือเห็ดฟาง 34 กจิ กรรมท้ายบทที่ 4 36 บทที่ 5 วิธีการและขัน้ ตอนการเพาะเห็ดฟาง 37 แผนการเรียนรปู้ ระจาบท 38 เร่อื งที่ 5.1 การเพาะเห็ดฟางในโรงเรือน 40 เรอ่ื งที่ 5.2 การเพาะเห็ดฟางกองเต้ีย 43 เรื่องท่ี 5.3 การเพาะเหด็ ฟางในตะกรา้ 46 กจิ กรรมท้ายบทท่ี 5 47 บทท่ี 6 การวางแผนการจัดการเพาะเห็ดฟางและการเกบ็ เห็ดฟาง 48 แผนการเรยี นรูป้ ระจาบท 49 เรื่องท่ี 6.1 การวางแผนการจดั การเพาะเห็ดฟาง 51 เรอื่ งที่ 6.2 การเกบ็ เห็ดฟาง 52 กิจกรรมท้ายบทที่ 6
สำรบัญ(ตอ่ ) ค เรื่อง หน้ำ บทที่ 7 การดแู ลรกั ษาและการป้องกันการกาจัดศตั รขู องเห็ดฟาง 53 แผนการเรยี นรปู้ ระจาบท 54 เรอ่ื งที่ 7.1 การดูแลรกั ษาเห็ดฟาง 55 เรื่องท่ี 7.2 การป้องกันและการกาจดั ศัตรู 56 กจิ กรรมท้ายบทที่ 7 58 59 บทท่ี 8 การจัดการการตลาดและการทาบัญชี 60 แผนการเรยี นรปู้ ระจาบท 61 เรอ่ื งที่ 8.1 การวเิ คราะห์การตลาด 63 เรอ่ื งที่ 8.2 ชอ่ งทางการจาหน่าย 64 เรื่องท่ี 8.3 การขายและการส่งเสรมิ การขาย 65 เรื่องที่ 8.4 การบรรจหุ บี ห่อ 67 เรื่องที่ 8.5 การกาหนดราคาขาย 69 เรื่องที่ 8.6 บัญชที รพั ย์สนิ 71 เร่ืองที่ 8.7 บญั ชีรายรับ-รายจา่ ย 72 กิจกรรมท้ายบทที่ 8 74 75 บทที่ 9 การอนรุ ักษท์ รัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม 76 แผนการเรียนรปู้ ระจาบท 80 เรื่องที่ 9.1 การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม 82 กจิ กรรมท้ายบทที่ 9 85 แบบทดสอบก่อน – หลังเรยี น 86 87 บทท่ี 10 คณุ ธรรมในการประกอบอาชพี 89 แผนการเรยี นรปู้ ระจาบท 90 เรื่องที่ 10.1 ความรบั ผิดชอบในการประกอบอาชีพ 91 เรื่องที่ 10.2 ความซื่อสัตยส์ จุ รติ ในการประกอบอาชีพ 93 เรื่องท่ี 10.3 ความขยนั อดทนในการประกอบอาชีพ 94 เรอื่ งที่ 10.4 ปัญหาดา้ นกระบวนการผลิต 95 เรือ่ งท่ี 10.5 ปัญหาด้านการตลาด 96 กิจกรรมท้ายบทที่ 10 97 บรรณานุกรม คณะผจู้ ดั ทา คณะบรรณาธกิ าร/ปรบั ปรงุ แก้ไข
ง รำยละเอียดกำรวชิ ำ คำอธิบำยรำยวชิ ำ ช่องทางและการตัดสินใจประกอบอาชีพเพาะเห็ดฟาง ประโยชน์และความสาคัญของเห็ดฟาง การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ และการสร้างโรงเรือนเพาะเห็ดฟาง พันธุ์และการเพาะเล้ียงเชื้อเห็ดฟาง วิธีการและ ขัน้ ตอนการเพาะเหด็ ฟาง การวางแผนการผลิตเห็ดฟาง การดูแลรกั ษา การป้องกันและกาจัดศัตรู การเก็บเกี่ยว การจัดการการตลาด การทาบัญชี การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม คุณธรรมในการประกอบ อาชพี ปัญหา อุปสรรคในการประกอบอาชีพ วตั ถุประสงค์ 1. เพ่อื ให้มีความรูค้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกับชอ่ งทางและการตดั สินใจประกอบการเพาะเห็ดฟาง ตลอดจนถึง การบรหิ ารจัดการ คณุ ธรรมในการประกอบอาชพี ปัญหา อุปสรรคในการประกอบอาชีพได้ 2. เพ่ือให้สามารถบอกถึงประโยชน์และความสาคัญของการเพาะเห็ดฟาง อุปกรณ์และการสร้าง โรงเรือน พันธ์ุและการเพาะเล้ียง วิธีการข้ันตอนการเพาะเห็ดฟาง การวางแผนการผลิต ตลอดถึงการดูแล รกั ษาได้ รำยช่อื บท บทที่ 1 ชอ่ งทางและการตัดสนิ ใจเลือกประกอบอาชีพการเพาะเหด็ ฟาง บทที่ 2 ประโยชนแ์ ละความสาคญั ของการเพาะเห็ดฟาง บทที่ 3 วัสดุ อุปกรณ์ และการสร้างโรงเรอื นเพาะเห็ดฟาง บทที่ 4 พันธุ์และการเพาะเลี้ยงเช้ือเห็ดฟาง บทที่ 5 วธิ ีการและขน้ั ตอนการเพาะเห็ดฟาง บทที่ 6 การวางแผนการจดั การเพาะเหด็ ฟางและการเก็บเหด็ ฟาง บทท่ี 7 การดูแลรกั ษาและการป้องกันการกาจัดศตั รขู องเห็ดฟาง บทที่ 8 การจัดการการตลาดและการทาบัญชี บทท่ี 9 การอนุรกั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม บทท่ี 10 คุณธรรมในการประกอบอาชีพ
จ คำอธิบำยรำยวชิ ำ อช02006 กำรเพำะเหด็ ฟำง จำนวน 3 หนว่ ยกติ ระดบั ประถมศึกษำ/มธั ยมศึกษำตอนตน้ /มธั ยมศึกษำตอนปลำย มำตรฐำนท่ี 3.1 มคี วามรู้ ความเข้าใจและเจตคตทิ ี่ดีในงานอาชีพ มองเหน็ ช่องทางและการตัดสินใจ ประกอบ อาชีพได้ตามความต้องการและศักยภาพของตนเอง 3.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในอาชีพท่ีตัดสนิ ใจเลือก 3.3 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ในการจดั การอาชพี อย่างมีคณุ ธรรม ศกึ ษำและฝึกทกั ษะเกี่ยวกบั เรอ่ื งต่อไปน้ี ช่องทางและการตัดสินใจประกอบอาชีพเพาะเห็ดฟาง ประโยชน์และความสาคัญของเห็ดฟาง การเลอื กใช้วัสดุ อุปกรณ์ และการสร้างโรงเรือนเพาะเห็ดฟาง พันธุ์และการเพาะเลี้ยงเช้ือเห็ดฟาง วิธีการและ ขั้นตอนการเพาะเห็ดฟาง การวางแผนการผลติ เห็ดฟาง การดแู ลรกั ษา การปอ้ งกนั และกาจัดศัตรู การเก็บเก่ียว การจัดการการตลาด การทาบัญชี การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม คุณธรรมในการประกอบ อาชีพ ปญั หา อปุ สรรคในการประกอบอาชพี กำรจัดประสบกำรณก์ ำรเรียนรู้ สารวจแหล่ง และชนิดของเห็ดในท้องถิ่น แลกเปลี่ยนความรู้กับผู้รู้ในท้องถิ่น ฝึกการทาเช้ือเห็ด และ เพาะเห็ดฟาง บันทกึ เป็นองคค์ วามรู้ วางแผนการเพาะเหด็ กำรวดั และประเมินผล ประเมินจากสภาพจรงิ จากกระบวนการเรยี นรู้
ฉ รำยละเอียดคำอธิบำยรำยวิชำ อช02006 กำรเพำะเห็ดฟำง จำนวน 3 หนว่ ยกติ ระดับประถมศกึ ษำ/มัธยมศกึ ษำตอนต้น/มธั ยมศกึ ษำตอนปลำย มำตรฐำนที่ 3.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจและเจตคติท่ดี ีในงานอาชีพ มองเห็นช่องทางและการตดั สนิ ใจ ประกอบ อาชีพได้ตามความต้องการและศกั ยภาพของตนเอง 3.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะในอาชีพท่ตี ัดสินใจเลือก 3.3 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ในการจัดการอาชีพอยา่ งมีคุณธรรม ท่ี หวั เรอื่ ง ตัวชว้ี ดั เนอ้ื หำ จำนวน ชว่ั โมง 1 ชอ่ งทางและการตดั สินใจ อธิบายชอ่ งทางและการ วิเคราะหค์ วามเปน็ ไปได้ เลอื กประกอบอาชีพ ตดั สินใจเลอื กประกอบอาชีพ จากข้อมลู ดงั นี้ 6 เพาะเห็ดได้ 1. ข้อมลู ตนเอง 2. ข้อมลู ทางวิชาการ 3. ข้อมลู ทางสังคม ส่งิ แวดล้อม 2 ประโยชนแ์ ละความสาคัญ อธิบายประโยชนแ์ ละ ประโยชน์และความสาคัญของ 3 ของการเพาะเหด็ ฟาง ความสาคญั ของการเพาะ เหด็ ฟาง เหด็ ฟางได้ 3 วสั ดุ อปุ กรณ์ และการสร้าง เลือกใช้วสั ดุ อปุ กรณ์ และ การเลอื กใช้วสั ดุ อุปกรณ์และ 10 โรงเรอื นเพาะเหด็ ฟาง สรา้ งโรงเรอื นเพาะเห็ดฟางได้ สร้างโรงเรือนเพาะเหด็ ฟาง อย่างเหมาะสม 4 พนั ธ์แุ ละการเพาะเล้ียงเช้ือ อธบิ ายพันธ์ุ และสามารถ พันธ์แุ ละการเพาะเลี้ยงเชอื้ 20 เห็ดฟาง เห็ดฟาง เพาะเลยี้ งเชือ้ เหด็ ฟางได้ 5 วิธกี ารและขั้นตอนการเพาะ อธิบายวิธกี ารและสามารถ วิธกี ารและขนั้ ตอนการเพาะ 20 เหด็ ฟาง เพาะเห็ดได้ เหด็ ฟาง 6 การวางแผนการจดั การเพาะ วางแผนการเพาะเห็ดฟางได้ การวางแผนการเพาะเหด็ ฟาง 9 9 เห็ดฟาง 1. การควบคมุ อุณหภมู ิ 2. การให้นา้ 7 การดูแลรกั ษา ดแู ลรกั ษาเหด็ ฟางได้ 8 การป้องกันและการกาจดั ป้องกนั และการกาจัดศตั รู 1. การปอ้ งกนั ศตั รเู หด็ 12 ศตั รู เห็ดฟางได้ 2. การกาจดั ศตั รเู ห็ด
ช ที่ หวั เรอ่ื ง ตวั ชว้ี ดั เนื้อหำ จำนวน 9 การเกบ็ เห็ดฟาง เกบ็ เหด็ ได้อยา่ งถูกต้อง ชวั่ โมง 1. การพิจารณาอายุการเก็บเห็ด 10 การจดั การการตลาด ฟาง 6 11 การทาบญั ชี 2. วิธีการเกบ็ 3. การดแู ลหลังการเก็บ 12 การอนุรักษ์ ทรพั ยากรธรรมชาติและ อธิบายกระบวนการตลาดได้ 1. การวิเคราะห์การตลาด 10 สงิ่ แวดลอ้ ม 2. ช่องทางการจาหน่าย 3. การขายและการส่งเสริม 13 คุณธรรมในการประกอบ อาชีพ การขาย 4. การบรรจหุ บี ห่อ 14 ปัญหา อุปสรรคในการ 5. การกาหนดราคาขาย ประกอบอาชีพ ทาบญั ชีการผลติ เห็ดได้ 1. บัญชที รัพย์สนิ 6 2. บญั ชีรายรบั -รายจ่าย อธิบายวธิ ีการอนรุ กั ษ์ การอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 3 ทรัพยากรธรรมชาติและ และสิ่งแวดลอ้ ม ส่ิงแวดลอ้ มได้ อธบิ ายคุณธรรมในการ 1. ความรบั ผิดชอบ 3 ประกอบอาชีพได้ 2. ความซอ่ื สัตย์สุจริต 3. ความขยนั อดทน ฯลฯ อธบิ ายปญั หา อุปสรรคในการ 1. ปัญหาดา้ นกระบวนการผลิต 3 ประกอบอาชีพ 2. ปญั หาและอุปสรรคในการ เพาะเลย้ี ง
1 บทท่ี 1 ชอ่ งทำงและกำรตดั สนิ ใจเลอื กประกอบอำชพี --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หนงั สอื ประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเหด็ ฟำง (รหสั วิชำ อช 02006)
2 แผนกำรเรยี นรปู้ ระจำบท รำยวชิ ำ การเพาะเห็ดฟาง บทท่ี 1 ช่องทางและการตดั สินใจเลือกประกอบอาชพี สำระสำคัญ การตดั สินใจเลอื กอาชพี นับเป็นขน้ั ตอนที่สาคัญ เพราะถ้าตดั สินใจเลือกอาชีพเหมาะสมกับตนแลว้ จะทาให้เรามคี วามสขุ และมีความกา้ วหน้าในชวี ติ ประจาวนั ผลกำรเรียนรูท้ ีค่ ำดหวัง เมื่อศึกษาบทท่ี 1 จบแลว้ นกั ศกึ ษาสามารถอธบิ ายช่องทางและการตดั สินใจเลือกประกอบอาชีพ เพาะเห็ดได้ ขอบขำ่ ยเนอื้ หำ เรอ่ื งที่ 1.1 ความหมายของอาชพี เรอ่ื งที่ 1.2 ชอ่ งทางและการตดั สนิ ใจเลอื กประกอบอาชีพและข้อมูลทางสังคมสงิ่ แวดล้อม กิจกรรมกำรเรียนรู้ 1. ศึกษาเอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา การเพาะเหด็ ฟาง (อช 02006) ในเรื่องช่องทางและการ ตัดสนิ ใจเลือกประกอบอาชพี 2. ปฏบิ ตั ิงานตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายในกิจกรรมท้ายบทท่ี 1 ส่อื กำรเรยี นรู้ 1. เอกสารประกอบการเรยี น บทที่ 1 2. กิจกรรมทา้ ยบทท่ี 1 กำรประเมนิ ผล 1. ประเมนิ ผลจากการทากจิ กรรมทา้ ยบทท่ี 1 2. พฤตกิ รรมในชน้ั เรยี น หนังสือประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเหด็ ฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
3 เรอ่ื งท่ี 1.1 ควำมหมำยของอำชพี ควำมหมำยของอำชีพ อาชีพเป็นคานาม หมายถึง การเล้ียงชีวิต การทามาหากิน งานท่ีทาเป็นประจาเพ่ื อเลี้ยงชีพ จากหนงั สือพจนานุกรมไทยฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน “อาชีพ” หมายถึง การทามาหากินจากการทางานหรือกิจกรรมใด ๆ ที่ก่อให้เกิดผลผลิตและรายได้ เป็นงานท่ีสุจรติ ไมผ่ ดิ ศลี ธรรมเป็นที่ยอมรับของสังคม “งานอาชีพ” หมายถึง การทามาหากินที่เกิดจากกิจกรรมหรือบริการใด ๆ ท่ีก่อให้เกิดผลผลิตและ รายไดซ้ ่งึ เปน็ งานประจาทีส่ จุ รติ ไมผ่ ิดศลี ธรรม การตดั สนิ ใจเลือกอาชพี นับเป็นข้นั ตอนท่ีสาคัญ เพราะถา้ ตัดสินใจเลือกอาชีพเหมาะสมกับตนแล้ว จะ ทาให้เรามีความสุขและมีความก้าวหน้าในชีวิตประจาวัน ในแต่ละวันทุกคนมีการตัดสินใจอยู่ตลอดเวล า และ บางคร้งั ต้องตดั สนิ ใจหลายเรอ่ื งซึง่ ทกุ เรื่องอาจมีความสาคญั และจาเปน็ สาหรับตวั เรา การตัดสินใจเป็นสิ่งสาคัญ และหลีกเลยี่ งไมไ่ ด้ การตัดสินใจทดี่ ี ตอ้ งรหู้ ลักการ วธิ ีการ ขั้นตอน เพ่อื จะได้ตัดสินใจให้ดีที่สุด ไม่คิดเป็นเรื่อง ของโชคลาง การฝึกการตัดสินใจเรื่องอาชีพต้องเรียนรู้กระบวนการตัดสินใจเลือกอาชีพ รู้วิธีการ และรูปแบบ ของการตดั สนิ ใจเลือกอาชีพ การตดั สนิ ใจเลือกอาชีพ นบั วา่ เป็นเรอื่ งสาคัญอยา่ งย่ิงในชีวิตของมนุษย์ อาจกล่าว ได้ว่า “งานคือชีวิต” ดังน้ันจาเป็นต้องมีการเริ่มต้นด้านการวางแผนชีวิตด้านอาชีพ ตั้งแต่วัยเรียน ซึ่งเป็นการ วางแผนระยะยาวท่ตี ้องใช้เวลานานจะอาศัยความพยายามอยา่ งมาก ผลตอบแทนทีไ่ ด้รบั กค็ มุ้ ค่า หนงั สอื ประกอบกำรเรยี น วิชำ กำรเพำะเห็ดฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
4 เรื่องที่ 1.2 กำรวิเครำะห์ข้อมูล ควำมเป็นไปได้ จำกข้อมูลตนเอง วิชำกำร และสังคม สิง่ แวดลอ้ ม ขึ้นอยูก่ บั องค์ประกอบทีส่ าคัญ 2 ประการคือ ประการที่ 1 ปจั จัยภายนอกไดแ้ ก่ ข้อมูลด้านอาชีพพอสรุปได้ดังนี้ 1. แนวโน้มของตลาดแรงงาน เป็นข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการผู้ทางานในด้านต่าง ๆ ปัจจุบัน และ การพยากรณค์ วามต้องการในอนาคต 2. ลกั ษณะงาน งานทีต่ อ้ งทาเป็นประจามีลักษณะอย่างไร ผู้ทางานจะต้องทาอะไรบ้างเป็นงานที่ทาให้ เกิดความเพลดิ เพลนิ หรือเบ่ือหนา่ ย งานใหญ่ หรือ งานเลก็ มีความรบั ผิดชอบที่สาคญั มากหรอื ไม่ ฯลฯ 3. สภาพแวดล้อมของงาน ได้แก่สภาพแวดล้อม บรรยากาศ ของงาน เช่น ร้อน สกปรก ฝุ่นมาก เสียง ดัง มสี ารพษิ มีความขัดแยง้ ตา่ ง ๆ ในหนว่ ยงาน ฯลฯ 4. คุณสมบัติของผู้ประกอบอาชีพ อายุ ได้มีการกาหนดอายุก่อนเกษียณอย่างไร เพศ ต้องการเพศ อะไร 5. การเข้าประกอบอาชีพ การเข้าประกอบอาชีพต้องมีวิธีการอย่างไร โดยการสมัครงานกับนายจ้าง หรือสอบข้อเขียน สอบสัมภาษณ์ 6. รายได้ ในการประกอบอาชีพมรี ายไดโ้ ดยเฉลี่ยเท่าไหร่ 7. ความก้าวหน้า อาชีพนั้น ๆ มีความก้าวหน้าเพียงใด ต้องมีการอบรมเพิ่มเติม และมีความสามารถ เท่าไหร่ถึงจะเลือนขัน้ เงินเดอื น หรือตาแหนง่ 8. การกระจายของผู้ประกอบอาชีพ มีผู้ประกอบอาชีพมากน้อยเพียงใดกระจายอยู่ทั่วประเทศหรือมี อยู่เพยี งบางจงั หวัด 9. ข้อดีและข้อเสีย อาชีพแต่ละอย่างมีท้ังข้อดีและข้อเสีย ข้ึนอยู่กับความพอใจและความต้องการของ ผปู้ ระกอบอาชพี นั้น ประการที่ 2 ปัจจัยภายใน ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล ความสนใจ บุคลิกภาพ สติปัญญา ความถนัดทักษะ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ ความรับผิดชอบ ความอุตสาหะ เพศ เช้ือชาติ อายุ ความแข็งแรง สุขภาพ ความปลอดภัย ความมน่ั คง การทางานเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผูอ้ ่ืนหรือไม่ ฯลฯ กระบวนการตัดสินใจเลือกอาชีพ กระบวนการท่ีบุคคลจะพิจารณาเพ่ือประกอบการตัดสินใจ เป็นกระบวนการท่ีสลับซับซ้อน เช่น ต้องพิจารณาค่านิยม ความสนใจ ความถนัด และคุณสมบัติอื่น ๆ การตัดสินใจสัมพันธ์กับทักษะท่ีได้เรียนรู้ ลักษณะท่ีเป็นเอกลักษณ์ของบุคคล เช่น หลักในการตัดสินใจ เป็นการสารวจหนทางที่ จะเป็นไปได้กาหนดว่าจะทาอะไร จะเกิดผลอะไร ในการตัดสินใจ เราต้องรู้จัก ความสามารถ ความสนใจ ค่านิยมของตนเองและรู้ประสบการณ์ท่ีเกี่ยวข้อง นาความรู้ไปพิจารณาตัวเลือก ต่าง ๆ ถ้าได้ข้อมูลมากเท่าใด บุคคลนั้นก็มีโอกาสได้ผลท่ีพึงปรารถนามากขึ้นเท่านั้น ข้อมูลจากการประเมิน นาไปสกู่ ารอภปิ รายลกั ษณะพเิ ศษของบคุ คลท่ีสามารถเชื่อมโยงกบั ความต้องการทางการศึกษาและอาชีพ จะทราบไดอ้ ย่างไรว่าอาชีพไหนเหมาะสมกับเรา คนเรามีความถนัด ความสามารถ และความสนใจใน งานอาชพี แตกต่างกัน บางคนเหมาะท่จี ะทางานดา้ นหตั ถกรรม บางคนเหมาะท่ีจะทางานเกี่ยวกับเคร่ืองจักรกล หรืองานทางด้านวิทยาศาสตร์ ส่วนบางคนเหมาะกับงานทางด้านท่ีจะสอนดนตรี แต่ละคนย่อมแตกต่างกัน ข้อสาคญั คอื ท่านต้องรูจ้ ักตนเอง และรจู้ กั งานอาชีพต่าง ๆ อย่างกว้างขวางรวมทั้งพิจารณาดูว่า มีงานอะไรบ้าง ท่ที า่ นชอบและสนใจมากทีส่ ุด และงานน้ัน ๆ เหมาะกบั อปุ นสิ ยั และบุคลิกภาพของทา่ นหรือไม่ หนงั สือประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเหด็ ฟำง (รหสั วิชำ อช 02006)
5 การเลือกอาชีพและสาขาวิชาที่จะศึกษา ให้เหมาะสมกับตัวเอง โดยเน้นเร่ืองของบุคลิกภาพ บุคคลแต่ละบุคลิกภาพท่ีแตกต่างกัน แต่ละคนจะมีลักษณะท่ีชี้เฉพาะตนไม่ว่าจะเป็นรูปร่าง หน้าตา ผิวพรรณ หรือนิสัยใจคอ มีนักวิชาการบางท่านได้ให้ความหมายของคาว่า \"บุคลิกภาพ\" คือ ลักษณะส่วนรวมของบุคคล ซึ่งประกอบด้วยสิ่งที่ปรากฏทางร่างกาย นิสัยใจคอ ความรู้สึกนึกคิด และพฤติกรรมรวมของบุคคลน้ัน ซ่ึงได้รวมอยู่ด้วยกันอย่างผสมกลมกลืนในตัวบุคคลน้ัน รวมถึงส่ิงท่ีเขาชอบและไม่ชอบ ส่ิงท่ีเขาสนใจและ ไม่สนใจ เป้าหมายต่างๆ ในชวี ิตของเขา ส่ิงจูงใจต่างๆ ของเขา ความสามารถด้านตา่ งๆ ของเขา ลักษณะบุคลิกภาพเฉพาะของแต่ละคนน้ัน หากบุคคลรู้จักและเข้าใจ บุคลิกภาพของตนเอง จนสามารถมองตนไดต้ ามสภาพความเปน็ จรงิ ย่อมช่วยใหบ้ คุ คลตดั สนิ ใจเลือกแนวทางชวี ติ การศึกษาและอาชีพ ได้อย่างสอดคล้องกับตัวเองมากที่สุดเพราะบุคลิกภาพมีอิทธิพลต่อการเลือกอาชีพ โดยบุคคลจะเลือกอาชีพท่ี เหมาะสมกบั บุคลกิ ภาพของตน บุคลกิ ภาพเฉพาะอยา่ งจะมีความสมั พันธ์กับอาชีพเฉพาะอย่าง ทฤษฎกี ารเลือกอาชีพของจอห์นแอลฮอลแลนด์ มแี นวคดิ พนื้ ฐาน 4 ประการ ประการท่ี 1 อาชพี เปน็ เครอ่ื งแสดงออกทางบคุ ลิกภาพบคุ คลจะเลอื กอาชีพใด ย่อมแสดงว่าบุคลิกภาพ ของเขาจะปรากฏออกมาในทิศทางเดยี วกัน ประการที่ 2 บุคลิกภาพของเขาแต่ละบุคคลมีความสัมพันธ์กับชนิดของส่ิงแวดล้อมในการทางานของ บุคคลน้นั ดงั น้นั บคุ คลจึงมแี นวโน้มจะหนั เขา้ หางาน หรืออาชพี ทสี่ อดคลอ้ งกับบคุ ลกิ ภาพของเขา ประการท่ี 3 บุคคลจะค้นหาส่ิงแวดล้อมท่ีเอ้ืออานวยให้เขาได้ฝึกทักษะ และใช้ความสามารถของเขา ทั้งยังเปิดโอกาสให้เขาไดแ้ สดงเจตคติ ค่านยิ ม และบทบาทของเขา ประการท่ี 4 บุคลิกภาพและส่ิงแวดล้อมจะเป็นตัวกาหนดพฤติกรรมของแต่ละบุคคล ดังนั้น เม่ือสามารถทราบบุคลิกภาพและสิ่งแวดล้อมของบุคคลแล้ว ก็จะทาให้ทราบผลที่จะติดตามมา ของบุคคลน้ัน ดว้ ย เชน่ การเลอื กอาชีพ ความสาเรจ็ ในอาชีพ ตลอดจนทง้ั พฤตกิ รรมต่างๆ ทั้งการศึกษาอาชีพและสงั คมด้วย ขัน้ ตอนกำรตดั สินใจเลือกอำชีพ 1. กาหนดปัญหาหรืออุปสรรคให้ชัดเจนว่า เรากาลังตัดสินใจเรื่องอะไร เช่น เรากาลังเลือกแผน การเรยี นอะไร หรือเลอื กทีจ่ ะประกอบอาชพี อะไร 2. สารวจตัวเลอื กตอ้ งรจู้ ักแผนท่จี ะเลอื กหรืออาชพี ท่จี ะเลือก 3. เปรียบเทยี บแต่ละตวั เลอื กแตกต่างกันอยา่ งไร 4. สารวจขอ้ มูลเกีย่ วกับการตดั สินใจทจี่ ะเลือกแผนหรอื อาชพี ทั้งหมด 5. แปลความขอ้ มูลตอ้ งกาหนดนา้ หนักความสาคัญใหแ้ ตล่ ะตวั เลือก การตัดสนิ ใจเลือกอาชีพมักเกิดข้ึน เม่อื มีอาชพี ใหเ้ ราตดั สนิ ใจเลือกมากกว่าหนึ่งอาชพี มคี วามรู้และประสบการเก่ียวกับอาชพี ทจี่ ะเลอื ก 6. จดั การกับข้อมูลโดยการให้น้าหนักความสาคัญแต่ละตัวเลือกในแต่ละประเด็นเมื่อเราเข้าใจว่าทาไม เราจงึ เลอื กตัวเลือกน้มี ากวา่ จะทาให้ตัวเลอื กลดลง จนเหลอื อาชีพทีเ่ ราสนใจเท่านน้ั 7. เรียงลาดบั ประโยชนข์ องตวั เลอื กจากมากไปหานอ้ ย จะชว่ ยใหเ้ หน็ ความสาคัญของตัวเลือกแต่ละตัว มากข้ึน 8. ตัดสนิ ใจ การตัดสินใจเลือกอาชีพที่ดีจะต้องไม่กังวลใจว่าตัวเลือกที่เหลือจะเหมาะสมกับตัวเรามาก นอ้ ยเพยี งใด เมื่อเราได้พิจารณาตัวเลือกหลายปัจจัย ได้คิดอย่างรอบคอบ เราต้องตระหนักว่าเราทาดีท่ีสุดแล้ว ในขณะน้นั แมว้ ่าโดยทัว่ ไปการตัดสนิ ใจเลอื กจะมีความเส่ียง เพราะไม่รู้ว่าอะไรจะเกิดข้ึนในอนาคต ปัญหาของ เราคือเราจะต้องพยายามเลือกอาชีพที่เหมาะสมและเป็นประโยชน์ต่อตัวเรามากท่ีสุด ไม่ตัดสินใจด้วยอารมณ์ และความรสู้ กึ ตอ้ งพจิ ารณาจากความสนใจ บุคลกิ ภาพ คา่ นยิ ม และความต้องการ หนงั สือประกอบกำรเรยี น วิชำ กำรเพำะเห็ดฟำง (รหสั วิชำ อช 02006)
6 ขอ้ สรุปก่อนตดั สนิ ใจเลือกอำชีพ 1. ผู้ตัดสินใจเลือกควรรู้จักตนเองให้ดีเสียก่อน โดยเฉพาะในด้านอุปนิสัยใจคอ ความรู้ ความถนัด ความสามารถ สภุ าพ นิสัย ทัศนคติเก่ียวกับอาชีพนัน้ ๆ และฐานะทางเศรษฐกจิ ของครอบครัว ฯลฯ 2. ควรมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับอาชีพต่าง ๆ ลักษณะของงานอาชีพต่าง ๆ ลักษณะของงานอาชีพ ค่าจ้าง สวัสดกิ าร ความก้าวหนา้ ความต้องการของตลาดแรงงาน ฯลฯ ปัจจยั หลักของกำรประกอบอำชพี ปัญหาสาคัญของการเริ่มต้นประกอบอาชีพจะต้องพิจารณาว่าจะประกอบอาชีพอะไร โอกาสและ ความสาเรจ็ มมี ากนอ้ ยเพียงไรจะต้องเตรยี มตัวอย่างไรจึงจะทาใหป้ ระสบผลสาเร็จ ซง่ึ มีหลายประการ เช่น 1. ทุน คือส่ิงที่จาเป็นปัจจัยพื้นฐานของการประกอบอาชีพใหม่ โดยจะต้องวางแผนและแนวทาง การดาเนินธรุ กจิ ไวล้ ่วงหนา้ เพ่ือท่ีจะทราบว่าต้องใช้เงินทุนประมาณเท่าไร บางอาชีพใช้เงินทุนน้อยปัญหาย่อม มีน้อยแต่ถ้าเป็นอาชีพที่ต้องใช้เงินทุนมากจะต้องพิจารณาว่ามีทุนเพียงพอหรือไม่ ซ่ึงอาจเป็นปัญหาใหญ่ ถ้าไม่พอจะหาแหล่งเงินทุนจากท่ีใด อาจจะได้จากเงินเก็บออมหรือจากการกู้ยืมจากธนาคารหรือสถาบัน การเงินอืน่ ๆ อยา่ งไรก็ตามในระยะแรกไม่ควรลงทุนจนหมดเงินเก็บออมหรอื ลงทนุ มากเกินไป 2. ควำมรู้ หากไมม่ ีความรู้เพยี งพอต้องศึกษาขวนขวายหาความรู้เพิ่มเติม อาจจะฝึกอบรมจากสถาบัน ที่ให้ความรู้ด้านอาชีพ หรือทางานเป็นลูกจ้างคนอ่ืนๆหรือทดลองปฏิบัติด้วยตนเอง เพ่ือให้มีความรู้ความ ชานาญและมปี ระสบการณ์ในการประกอบอาชพี น้ันๆ 3. กำรจัดกำร เป็นเร่ืองของเทคนิคและวิธีการ จึงต้องรู้จักการวางแผนการทางาน ในเร่ืองของตัว บุคคลที่จะร่วมคิดรว่ มทาและรว่ มทนุ ตลอดจนเร่อื งเครอ่ื งมอื เครอ่ื งใช้และกระบวนการทางาน 4. กำรตลำด เป็นปัจจัยที่สาคัญมากที่สุดปัจจัยหนึ่ง เพราะหากสินค้าและบริการท่ีผลิตข้ึนไม่เป็นที่ นิยมและไม่สามารถสร้างความพอใจให้แก่ผู้บริโภคได้ ก็ถือว่ากระบวนการทั้งระบบไม่ประสบผลสาเร็จ ดงั นัน้ การวางแผนการตลาดซ่ึงปัจจุบันมีการแข่งขันสูง จึงควรได้รับความสนใจในการพัฒนารวมท้ังต้องรู้และ เข้าใจในเทคนคิ การผลิต การบรรจแุ ละการหบี ห่อ ตลอดจนการประชาสัมพันธ์ เพื่อให้สินค้าและบริการของเรา เป็นทีน่ ยิ มของลกู คา้ กลมุ่ เป้าหมายตอ่ ไป กำรวเิ ครำะหข์ อ้ มูลตนเองเก่ยี วกับอำชีพ ปัจจัยสาคัญประการหนึ่งท่ีมีผลต่อความสาเร็จในการประกอบอาชีพ คือ ตัวผู้ประกอบอาชีพจะต้องมี ความสนใจ ความถนัด ความสามารถ ทักษะทางอาชีพ รวมทั้งคุณสมบัติท่ีพึงมีในการประกอบอาชีพน้ัน ๆ ดังน้ันผู้ที่ตัดสินใจประกอบอาชีพอย่างใดอย่างหนึ่งจึงต้องสารวจ วิเคราะห์ตนเองให้รู้จักและเข้าใจตนเอง โดยพิจารณาด้านตา่ ง ๆ ต่อไปน้ี 1. ด้านความสนใจ ความชอบ ความต้องการ ควรจะพิจารณาว่าตนเองมีความสนใจความชอบ ความต้องการทจี่ ะประกอบอาชีพใดบ้าง เพราะเหตใุ ด 2. ด้านความรู้ ความสามารถ ความถนัด ควรจะพิจารณาว่าอาชีพที่สนใจจะทาน้ันต้องใช้ความรู้ ความสามารถ ความถนัด ทักษะทางอาชีพนั้น ๆ หรือไม่ ถ้ายังไม่มีหรือยังขาดอยู่ จะสามารถหาความรู้หรือ ทกั ษะเพ่ิมเติมไดอ้ ยา่ งไร หรอื จะแกป้ ญั หาโดยหาผรู้ ่วมงานทมี่ คี วามรนู้ นั้ ๆ ได้หรอื ไม่ อย่างไร 3. ด้านคุณลักษณะท่ีพึงมีในการประกอบอาชีพน้ัน ๆ เนื่องจากคุณลักษณะ นิสัย ที่จาเป็นสาหรับ ผู้ประกอบการในแต่ละอาชีพจะมีความแตกต่างกัน เช่น ผู้ประกอบอาชีพผลิตสินค้าหรือจาหน่ายสินค้า ควรเป็นผู้มนี ิสัยกลา้ ได้กล้าเสยี มีความอดทน มคี วามรทู้ นั ต่อเหตกุ ารณ์ รู้ความต้องการของตลาด รู้กลยุทธ์การ แข่งขันด้านตลาด ผู้ประกอบอาชีพด้านบริการ ควรเป็นผู้ท่ีมีมนุษยสัมพันธ์ท่ีดี มีความยิ้มแย้มแจ่มใสชอบ หนังสอื ประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเหด็ ฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
7 ให้บริการผู้อื่น ๆ อดทน อดกลั้น ฯลฯผู้ประกอบอาชีพรับจ้าง ควรเป็นผู้ท่ีมีความกระตือรือร้น ขยัน อดทน ยอมรับกฎเกณฑม์ คี วามซ่ือสัตย์ นอกจากน้ี จากการศึกษาวิจัยพบว่า คุณลักษณะที่สาคัญของบุคคลที่จะประสบความสาเร็จในการ ประกอบอาชพี นัน้ ประกอบดว้ ย 1. ความขยันอดทน ทางานประเภทหนกั เอาเบาสู้ ไมท่ ้อถอยในการทางาน 2. ประหยดั 3. ฉลาดมีไหวพรบิ 4. มีความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ 5. รู้เทา่ ทันคน เหตกุ ารณ์ และมองการณไ์ กล 6. ซื่อสัตย์ มีคุณธรรม 7. มีมนษุ ยสัมพนั ธ์ดี 8. มีสขุ ภาพดี 9. มีความสามารถและความถนัดในงานอาชีพ 10. มีทศั นคตทิ ่ีดตี ่ออาชีพท่ที า รักงานท่ีทา 11. ตรงตอ่ เวลา มคี วามรับผิดชอบ 12. ใฝ่หาความรู้ แสวงหาแนวทางใหมใ่ นการทางาน องค์ประกอบในกำรตัดสนิ ใจเลอื กอำชีพ การตัดสินใจเลือกอาชีพ การนาข้อมูลหลาย ๆ ด้าน ท่ีเก่ียวกับอาชีพที่จะเลือก มาพิจารณาอย่าง ละเอียดถ่ีถ้วนรอบคอบ เพ่ือประกอบการตัดสินใจเลือกประกอบการ ให้เหมาะสมกับสภาพขีดความสามารถ ของตนเองให้มากทส่ี ดุ มีปญั หาอปุ สรรคนอ้ ยทีส่ ุด การตดั สินใจเลือกอาชีพ มอี งค์ประกอบที่สาคัญดงั ต่อไปน้ี 1. ขอ้ มูลประกอบการตัดสินใจ ซงึ่ จะพิจารณาขอ้ มูล 3 ด้าน คอื ก. ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง คือ ข้อมูลต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวกับการประกอบอาชีพท่ีตนเองมีอยู่ เช่น เงินทุน ที่ดิน อาคารสถานท่ี แรงงาน เครื่องมือ เคร่ืองใช้ วัสดุ อุปกรณ์ ความรู้ ทักษะต่าง ๆ ที่จะนามาใช้ใน การประกอบอาชพี มีหรอื ไม่ อยา่ งไร ข. ข้อมูลเก่ียวกับสภาพแวดล้อมและสังคม เช่น ผู้ที่จะมาใช้บริการ (ตลาด) ส่วนแบ่ง ของ ตลาด ทาเล การคมนาคม ทรพั ยากรทจี่ ะเออ้ื ที่มีในทอ้ งถนิ่ แหล่งความรู้ ตลอดจนผล ทจี่ ะเกดิ ข้ึนต่อชมุ ชน ค. ข้อมูลทางวิชาการ ได้แก่ ความรู้ทางเทคนิคต่าง ๆ ท่ีจาเป็นต่ออาชีพน้ัน ๆ เช่น การตรวจ ซ่อมแก้ไข เทคนคิ การบรกิ ารลกู คา้ ทักษะงานอาชพี ต่าง ๆ ฯลฯ 2. ความถนัด โดยท่ัวไปคนเราจะมีความถนัดในเชิงช่าง แต่ละคนจะแตกต่างกันไป เช่น ความถนัดใน การทาอาหาร ถนัดในการประดิษฐ์ ฯลฯ ผู้ที่มีความถนัดจะช่วยให้การทางานนั้น เป็นไปได้อย่างสะดวก รวดเรว็ คล่องแคลว่ รวมท้ังยังช่วยให้มองเห็นลู่ทางในการพัฒนาอาชีพนั้น ๆ ให้รุดหน้าได้ดีกว่าคนท่ีไม่มีความ ถนดั 3. เจตคติท่ีดีต่องานอาชีพ เป็นความรู้สึกภายในของแต่ละคนท่ีมีต่องานอาชีพ ได้แก่ ความรัก ความศรัทธา ความภูมิใจ ความจริงใจ ฯลฯ ความรู้สึกต่าง ๆ เหล่าน้ีจะเป็น แรงผลักดันให้คนเกิดความมานะ อดทน มุ่งมัน่ ขยัน กล้าสู้ กลา้ เส่ียง ทาให้ประสบ ความสาเรจ็ ในการประกอบอาชีพได้ หนงั สอื ประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเหด็ ฟำง (รหสั วิชำ อช 02006)
8 การที่จะตัดสนิ ใจเลือกอาชพี ผู้ประกอบการต้องนาเอาข้อมูลต่าง ๆ มาวิเคราะห์โดยมี แนวทางในการ พิจารณา คือ 1. วิเคราะห์สภาพท่ีเป็นอยู่ หมายถึง ส่ิงที่เป็นอยู่ในขณะน้ันเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ ต้องวิเคราะห์ตาม สภาพจริงทเ่ี ป็นอยู่ 2. วเิ คราะห์ทางออก หมายถงึ แนวทางในการดาเนินงานที่ผู้วิเคราะห์เห็นว่า ในกรณีท่ีสภาพท่ีเป็นอยู่ น้ันไม่เป็นไปตามความต้องการ หรือตามท่ีกาหนด แต่อาจ มีแนวทางการดาเนินงาน หรือทางออกอ่ืน ๆ ที่จะ ทาให้เป็นไปตามที่ต้องการได้อีกหลายวิธี ซึ่งต้องตัดสินใจเลือกทางออก หรือวิธีการท่ีเหมาะสมเป็นไปได้มาก ท่ีสดุ 3. วิเคราะห์ความเป็นไปได้ หมายถึง การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพที่เป็นอยู่กับทางออก แนวทางที่จะดาเนินการนั้น เป็นสง่ิ ทีส่ ามารถจะทาใหเ้ กิดขน้ึ หรือเปน็ ไปได้จรงิ หรอื ไมต่ ามทางออกที่คิดไว้ 4. ตัดสินใจเลือก เป็นการสรุป ตัดสินใจเลือกอาชีพหลังจากที่มีการวิเคราะห์ เปรียบเทียบอย่ าง ละเอียด รอบคอบแลว้ การวิเคราะห์ความพร้อมและความเป็นไปได้ของอาชีพ ท่ีตัดสินใจเลือก เมื่อตัดสินใจว่าจะประกอบ อาชีพใดแล้ว เพ่ือให้เกิดความม่ันใจ และเชื่อม่ันว่า อาชีพที่เลือกน้ัน จะสามารถดาเนินการได้ตลอดรอดฝ่ัง มคี วามจาเป็นตอ้ งมกี าร วเิ คราะหค์ วามพรอ้ ม และความเป็นไปไดข้ องอาชพี ทีต่ ัดสนิ ใจเลอื ก โดยมีขน้ั ตอน การวิเคราะหด์ งั นี้ ตวั อย่ำงกำรตัดสนิ ใจเลือกอำชีพ การเตรียมความพร้อมและความเปน็ ไปได้ของอาชีพ \"ขายผลไม\"้ เงนิ ทุน การประกอบอาชีพขายผลไม้ ต้องใชเ้ งนิ ทนุ เม่อื เร่มิ กิจการจานวนเท่าใด ถา้ เปิดในลักษณะเป็น ร้าน เป็นแผงลอย หรือเป็นรถเข็น จะต้องลงทุนแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ตนเองมีเงินทุนหรือยัง ถ้ามีไม่ พอจะหาไดจ้ ากแหลง่ ใดบา้ ง แรงงาน อาชีพนที้ าคนเดยี วไดห้ รือไม่ หรือจาเป็นต้องมีผู้ร่วมงานด้วย ถ้าจาเป็นต้องมี จะหาได้หรือไม่ อย่างไร วสั ดอุ ุปกรณ์ ตอ้ งใชเ้ ครื่องมือ วสั ดุอปุ กรณอ์ ะไรบ้าง จานวนเท่าใด หาซ้อื ไดท้ ่ไี หน สถานประกอบการ สถานท่ีในการขายผลไม้ต้องมีลักษณะอย่างไร ตนเองมีสถานที่น้ันหรือไม่ ถ้าไม่มี จะแก้ไขอย่างไร ถ้าเช่าหรอื ซือ้ จะมที นุ พอหรอื ไม่ คุม้ กับการลงทนุ และผลกาไรทจี่ ะไดห้ รอื ไม่ วัตถุดิบ จะหาซ้อื ผลไมจ้ ากแหล่งใด ไปซ้อื เองหรอื มีผ้มู าสง่ ถึงที่ คณุ สมบตั ทิ จี่ าเป็นในอาชีพ ผู้ประกอบอาชีพขายผลไม้ต้องเป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ดี รู้จักพูดคุย แนะนา สินคา้ แกล่ กู ค้า ร้จู กั บริการลูกคา้ เช่น หอบหว้ิ ของไปส่งให้ทีร่ ถ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม เชน่ ไม่โกงตาช่งั ไมเ่ อาผลไมท้ ีเ่ นา่ เสียแล้วให้ลูกค้า ฯลฯ ตัวเราเองมีคุณสมบัติที่ กล่าวมาหรอื ไม่อย่างไร สขุ ภาพ ตนเองมีสขุ ภาพแข็งแรง สมบูรณ์ เพียงพอในการประกอบอาชีพขายผลไม้ หรือไม่ โดยเฉพาะ ถา้ ต้องขายในลกั ษณะเปน็ รถเข็น ต้องเคลอ่ื นทไี่ ปบริการลกู ค้าตาม สถานทตี่ า่ ง ๆ ความถนัด ความมใี จรักในอาชีพ ตอ้ งพิจารณาว่าอาชีพขายผลไม้ ตนเอง มีคุณสมบัติที่จาเป็นเพียงพอ หรือไม่ มีความถนัดที่จะทา หรือใจรักที่จะทาเพียงพอ ที่จะเผชิญปัญหาอุปสรรค ต่าง ๆ ในอาชีพหรือไม่ อย่างไร ส่วนแบ่งของตลาด ต้องพิจารณาว่า อาชีพขายผลไม้ ตามสถานท่ี/ทาเล/แหล่ง ท่ีจะขายน้ันมีโอกาส ขายได้หรือไม่ มากน้อยแค่ไหน มีคู่แข่งมากน้อยแค่ไหน จะขายแข่งได้หรือไม่ จะใช้กลยุทธ์ทางการตลาด อย่างไรจึงจะจงู ใจลกู คา้ หนงั สอื ประกอบกำรเรยี น วิชำ กำรเพำะเหด็ ฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
9 การขยายงาน/กจิ การ จะทาได้หรอื ไม่ จะมปี ญั หา อปุ สรรคอะไร ความมนั่ คงในอาชีพ อาชีพขายผลไม้มีความมั่นคงหรือไม่ จะขายแล้วคุ้มทุน หรือไม่ จะมีผลไม้ให้ขาย อย่างต่อเน่ืองหรือไม่ ถ้าไม่ใช่ฤดูเทศกาลของผลไม้ ประเภทที่ขายจะแก้ปัญหาอย่างไร ถ้าผลไม้นั้นเน่าเสีย จะทาอยา่ งไร เม่ือมีการวเิ คราะห์ความพรอ้ มของตนเองในการประกอบอาชีพขายผลไม้แลว้ ตนเองตอบได้ว่า มีความ พรอ้ มแล้ว และมคี วามพอใจกับการวเิ คราะห์ความเปน็ ไปไดข้ องการประกอบอาชีพ ก็แสดงว่ามีความม่ันใจท่ีจะ ดาเนินอาชพี ขายผลไม้ได้ ขัน้ ตอนต่อไปกค็ อื การกาหนดโครงการและแผนงานในการขายผลไมต้ ่อไป หนงั สือประกอบกำรเรยี น วิชำ กำรเพำะเหด็ ฟำง (รหสั วิชำ อช 02006)
10 กิจกรรมทำ้ ยบทท่ี 1 เร่อื ง ควำมรเู้ บือ้ งต้นเพอ่ื ประกอบกำรตดั สนิ ใจในกำรประกอบอำชพี กอ่ นที่ผ้เู รยี นจะตดั สินใจตเลือก “ประกอบอาชพี เพาะเหด็ ” ต้องมีความพร้อมดา้ นใดบา้ ง หนงั สอื ประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเหด็ ฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
11 บทที่ 2 ประโยชนแ์ ละควำมสำคัญของกำรเพำะเหด็ ฟำง -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หนังสอื ประกอบกำรเรยี น วิชำ กำรเพำะเหด็ ฟำง (รหสั วิชำ อช 02006)
12 แผนกำรเรียนรปู้ ระจำบท รำยวชิ ำ การเพาะเหด็ ฟาง บทที่ 2 ความสาคญั ของการประกอบอาชีพการเพาะเหด็ ฟาง สำระสำคัญ การเพาะเห็ดเป็นอาชีพที่มีความสาคญั ในทางเศรษฐกิจอาชีพหน่ึง เนื่องจากการเพาะเห็ดสามารถที่จะ ทาใหภ้ ายในครอบครัว เป็นอาหารท่ีมีคุณค่าโดยเฉพาะโปรตีนไม่แพ้เนื้อสัตว์ และมีความปลอดภัยจากสารเคมี การเพาะเหด็ สามารถเพาะสาหรบั การบริโภคในครวั เรือน ผลกำรเรียนรทู้ ่คี ำดหวงั เมอื่ ศึกษาบทท่ี 2 จบแลว้ นกั ศึกษาสามารถ อธิบายความสาคญั ของการประกอบอาชีพการเพาะ เหด็ ฟางได้ ขอบขำ่ ยเนอื้ หำ เรอื่ งท่ี 2.1 ประวัติและความสาคญั ของเห็ดฟาง เร่ืองท่ี 2.2 ความหมายและความสาคัญของเห็ด กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ 1. ศึกษาเอกสารประกอบการเรียน รายวิชา การเพาะเหด็ ฟาง (อช 02006) ในเรื่อง ความสาคญั ของ การประกอบอาชพี การเพาะเหด็ ฟาง 2. ปฏบิ ตั ิงานตามที่ได้รับมอบหมายในกิจกรรมทา้ ยบทที่ 2 ส่ือกำรเรยี นรู้ 1. เอกสารประกอบการเรยี น บทที่ 2 2. กิจกรรมทา้ ยบทท่ี 2 กำรประเมินผล 1. ประเมินผลจากการทากจิ กรรมท้ายบทท่ี 2 2. พฤตกิ รรมในชน้ั เรยี น หนงั สอื ประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเห็ดฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
13 เร่อื งท่ี 2.1 ประวัติและควำมสำคญั ของเห็ดฟำง ประวัติและควำมสำคัญของเห็ดฟำง ชือ่ สำมัญ Straw Mushroom ชอ่ื วิทยำศำสตร์ Volvariellavovacea(Bull. Ex.Fr.) Sing ช่อื อื่น เห็ดบวั ภาคอสี านเรียกว่า เหด็ เฟยี ง ถ่นิ กำเนดิ ประเทศจนี เห็ดฟางเป็นเห็ดยอดนิยมของคนไทย นิยมเพาะกันบนกองฟางข้าวช้ืนๆ โคนมีสีขาว ส่วนหมวกสี น้าตาลอมเทา หาซื้อได้ง่ายตามท้องตลาดตลอดทั้งปีเดิมคนไทยเรียกเห็ดฟางว่า เห็ดบัว เพราะมีเกิดข้ึนได้เอง ในกองเปลือกเมล็ดบัวท่ีกะเทาะเมล็ดภายในออกแล้ว ต่อมาเมื่อมีการส่งเสริมให้ใช้ฟางเพาะจึงนิยม เรียกว่า เห็ดฟาง เห็ดฟาง เป็นพืชช้ันต่าซึ่งจัดเป็นราชนิดหนึ่ง ไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้ ไม่มีสารสีเขียว ต้องอาศัย สารอินทรีย์จากส่ิงมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตอ่ืน ๆ เพื่อใช้ในการเจริญเติบโต มนุษย์สามารถนามาใช้เป็นอาหารได้ เน่ืองจากเห็ดเป็นอาหารท่ีมีรสชาติดี นอกจากเห็ดจะมีประโยชน์ต่อชีวิตประจาวันของมนุษย์ในแง่ของอาหาร และยาป้องกันรักษาโรคแล้ว เห็ดยังมีความสาคัญทางเศรษฐกิจอีกด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศไทย ซ่ึงมีสภาพแวดล้อมเหมาะสมสาหรับการเพาะเห็ดหลายชนิด ประกอบกับต้นทุนในการผลิตเห็ดแต่ละชนิด คอ่ นข้างต่า จึงทาใหผ้ ้เู พาะเหด็ มรี ายไดด้ ี เห็ดฟาง เป็นพืชเกษตรชนิดหนึ่ง ท่ีให้ผลตอบแทน (Magin) สูง ไม่มีปัญหาเรื่องผลผลิตราคาตกต่า หรือขาดทนุ จากการเพาะเล้ยี ง แต่ทัง้ นี้จะต้องมีความรู้ในเชิงทฤษฏี และประสบการณ์การการเพาะเล้ียง จึงจะ ประสบผลสาเรจ็ และจะใหผ้ ลตอบแทนอยา่ งคุม้ ค่ามาก ขนาดสามารถสรา้ งฐานะทางเศรษฐกิจ ให้กับตนเองได้ เปน็ อยา่ งดี เห็ดฟาง เป็นพืชที่เพาะเลี้ยงและสามารถให้เก็บผลผลิตได้โดยใช้ระยะเวลาส้ัน ประมาณ 15-20 วัน กส็ ามารถเก็บดอกเห็ดไปจาหนา่ ยได้ ดอกเหด็ ฟางจาหน่ายได้ราคาดี ตลาดมีความต้องการมาก อาชีพการเพาะ เห็ดฟางจึงเป็นอาชีพท่ีทารายได้ให้แก่เกษตรกรมากอย่างหนึ่ง สิ่งสาคัญประการหน่ึงสาหรับผู้เพาะเห็ดฟางคือ อัตราเติบโตของปริมาณผลการผลิตเห็ดฟาง มีอัตราต่ากว่าการเติบโตของการบริโภค และยังมีตลาดรองรับท่ี แนน่ อน ทาให้ไม่มปี ญั หาเรื่องราคาผลผลิตตกตา่ หนังสือประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเห็ดฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
14 การเพาะเลยี้ งเห็ดฟางมีหลายแบบ แตห่ ากคิดทีจ่ ะผลิตเหด็ เพื่อขายในเชิงพาณิชย์ จะต้องใช้วิธีการการ เพาะเล้ียงแบบโรงเรือน ท้ังนี้เพาะในช่วงหน้าฝนและหน้าหนาว สามารถผลิตเห็ดได้ดีกว่าการเพาะเล้ียงใน รูปแบบอื่น ๆ ทาให้มีรายได้สม่าเสมอท้ังปี ย่ิงในช่วงท่ีฝนตกหรือมีอากาศหนาว ราคาเห็ดฟางจะมีราคาสูงขึ้น กว่าช่วงอ่ืนๆ อีกท้ังการเพาะเล้ียงในโรงเรือน สามารถการดาเนินงานได้สะดวก รวดเร็ว ใช้พื้นท่ีน้อยกว่าการ เพาะเหด็ ฟางแบบอ่นื ๆ การเพาะเห็ดฟางนี้ก็ยงั มขี อ้ เสยี คอื มกี ารลงทนุ ในขั้นแรกทค่ี ่อนข้างจะสูง มีหลักวิธีการ ปฏิบัติและขั้นตอนการเพาะมากพอสมควร ดังนั้นผู้ท่ีจะทาการเพาะเห็ดฟางในเรือนจาเป็นต้องศึกษาให้ทราบ และเข้าใจเป็นอย่างดเี สยี ก่อน เพราะหากกระทาไมถ่ กู วธิ ีแล้วจะทาให้เกิดความเสยี หายขึ้นได้ เหตใุ ดเหด็ ฟางจึงเปน็ พืชที่ให้ผลตอบแทนสงู เพราะการเพาะเลี้ยงเห็ดฟางคร้ังหน่ึงๆจะให้ผลตอบแทน หลังหักค่าใช้จ่ายต่างๆ เช่น ค่าแรงงาน ค่าวัสดุเพาะ ค่าหัวเช้ือ ค่าเชื้อเพลิง ค่าใช้จ่ายอื่นๆ แล้วจะมีกาไรอยู่ ประมาณ 50-65 เปอร์เซน็ ต์ โดยคิดราคาถว่ั เฉลี่ยท่ขี ายได้อยู่ประมาณ 65 บาท ตอ่ กิโลกรัม แต่เหตุใด หรอื ทาไม จึงมีผู้ประสบผลสาเรจ็ ได้น้อย อนั เป็นเหตใุ หร้ าคาเห็ดฟางคงท่ีอยู่ตลอดท้ังปี และ ในบางช่วงราคาอาจสูงถึงกิโลกรัมละ 70 – 90 บาท ซ่ึงมีเหตผุ ลดงั ตอ่ ไปนี้ 1. เหด็ ฟาง เปน็ พืชท่ีอ่อนไหวตอ่ การดูแลรักษาการผลิตมาก มีข้ันตอนการทางานมาก ซึ่งถ้าหากมีการ ทางานผิดพลาดในข้นั ตอนต่าง ๆ เพียงขั้นตอนเดยี ว กจ็ ะมีผลตอ่ ปรมิ าณของผลผลติ แล้ว 2. ผู้เพาะเลี้ยง ส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ในเชิงทฤษฏี รู้แต่วิธีและข้ันตอนการเพาะเลี้ยงที่ถูกกาหนดไว้ ตายตัว ซึ่งเห็ดฟางเป็นพืชที่อ่อนไหวต่อสภาพแวดล้อม เช่น อุณหภูมิ ความช้ืน แสง อากาศ หาก สภาพแวดลอ้ มเปล่ียน ขน้ั ตอนการเพาะเลี้ยงจะต้องปรบั เปล่ยี นตามไปด้วย มเิ ช่นน้ันจะ ทาให้มีผลผลติ ที่ตา่ ลง 3. ในการเพาะเล้ียงเห็ดฟาง จะมีปัญหาเร่ืองกล่ินเหม็น (ก๊าซแอมโมเนีย) และมีปัญหาเร่ืองแมลงไร ทาให้หาแรงงานได้ยาก แต่ถา้ หากข้ันตอนการทางานถกู ต้อง ปัญหาน้จี ะน้อยลงไปมาก ด้วยเหตผุ ลทงั้ 3 ประการขา้ งต้น จงึ ทาให้ผ้เู พาะเลีย้ งรายเดิมเลกิ เพาะเล้ียง หรือหยุดเพาะเลี้ยงในบาง ช่วงที่อากาศหนาว ในขณะท่ีผู้เพาะเลี้ยงรายใหม่ ก็ไม่มีประสบการณ์ในการเพาะเล้ียง ทาให้ประสพปัญหา ขาดทนุ และเลกิ เล้ยี งไปในท่ีสุด ซง่ึ สง่ ผลใหอ้ ตั ราการผลติ นอ้ ยลงไปทกุ ที ในขณะที่การบริโภคไม่ลดลง ซึ่งทาให้ ราคาผลผลิตสูงอยู่ตลอด และบางช่วงราคาสูงมาก เพ่ือเป็นแรงจูงใจให้เกษตรกร ยังคงต้องเพาะเลี้ยงต่อไป คุณสมบัตขิ องเกษตรกรทป่ี ระสบความสาเรจ็ ในการเพาะเหด็ 1. มคี วามรูใ้ นเชงิ ทฤษฎีซ่ึงสามารถหาอ่านได้ทั่วไป 2. มเี งินทุน เร่ิมตน้ 300,000 บาท พอใช้สาหรับ 5 โรงเรือน ในเวลา 4-5 เดอื น 3. มีพื้นที่ทางาน 1 – 2 ไร่ 4. มีความอดทน และเข้าใจว่าในระหว่างหาประสบการณ์ ประมาณ 10–20 ครั้ง การผลิต หรือ ประมาณ 3–6 เดอื น จะต้องขาดทนุ คา่ แรงงาน 5. มแี หลง่ หาความรู้ในการทางานเพาะเลย้ี ง หรอื สอบถามปญั หา หนงั สอื ประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเห็ดฟำง (รหสั วิชำ อช 02006)
15 6. ไมม่ ปี ญั หาเรื่องแรงงาน 7. เป็นคนมีวินัยในการทางาน และเป็นคนทางานจริงจัง คุณก็สามารถจะสร้างรายได้ ขั้นต่าเดือนละ 2-30,000 บาท และถ้าสามารถขยายงานออกไปได้ สามารถทาการตลาดเองได้ ก็จะทาให้มีความมั่นคงใน อาชพี ควำมรูท้ ำงทฤษฏี โดยความเข้าใจของคนท่ัวไป มักจะเข้าใจวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ดฟาง เป็นความรู้ทางทฤษฏี จริงๆ แล้ว เป็นเพียงขั้นตอนและวิธปี ฏบิ ัติในการเพาะเลย้ี งเท่าน้ัน ยกตัวอย่างเช่น ในการอบไอน้าวัสดุเพาะเห็ด บางตารา ให้อบไอน้าท่ีอุณหภูมิ 60 องศา เป็นเวลา 4-6 ช่ัวโมง บางทีให้อบที่อุณหภูมิ 65 องศา เป็นเวลา 4-5 ช่ัวโมง บางทีใหอ้ บทอ่ี ณุ หภูมิ 70 องศา เปน็ เวลา 2-4 ชว่ั โมง ในการเพาะเล้ียงเหด็ จะตอ้ งมกี ารหมกั วัสดุเพาะ อุณหภมู ิของอากาศ ความชนื้ ของกองวัสดุเพาะ ความ สูงของการกองวสั ดุเพาะ ความหนาของการกองวัสดุเพาะ ประเภทของวัสดุที่ใช้เป็นวัสดุเพาะ มีผลต่ออุณหภูมิ ของกองวัสดุเพาะ หากกองวัสดุเพาะและวัดอุณหภูมิได้เท่าใด จะต้องอบไอน้าให้ได้เท่าน้ันบวกกับ 10 องศา เพอื่ ให้ราทีเ่ กดิ ในวัสดุเพาะอ่อนแอลงเปน็ อาหารใหก้ บั เห็ดฟาง หากอบไอน้าน้อยกว่า 10 องศามาก ๆ จะทาให้ ราเหล่าน้ียงั แขง็ แรงและจะกินเช้ือเห็ดฟางเปน็ อาหาร หากอบไอน้ามากกว่า 10 องศามาก ๆ จะทาให้ราอาหาร เห็ดอ่อนแอจนเกินไป ไม่สามารถจะแพร่ขยายต่อไปจะทาใหเ้ ห็ดฟางท่ีจะเก็บในรอบที่ 2 หรือ รอบท่ี 3 มีขนาด ดอกเล็กและน้อยลง เพราะขาดอาหาร ส่วนระยะเวลาในการอบไอน้า ถ้าวางแผนจะเก็บดอกเห็ดแค่รอบแรก แล้วรื้อท้ิงทาใหม่ ก็อบแค่ 2-3 ช.ม. ก็พอ หากคิดจะเก็บรอบสองหรือสามด้วย ก็ต้องอบไอน้าให้นานข้ึน ไม่เชน่ นนั้ เห็ดอน่ื จะขึน้ งามกวา่ เห็ดฟางในการเกบ็ เห็ดรอบหลัง เหล่าน้ีเป็นความรู้ทางทฤษฏีท่ีต้องรู้ ไม่เช่นน้ัน ก็จะเพาะเห็ดได้มากบางน้อยบาง ขึ้นอยู่กับ อุณหภูมิ ของอากาศ ความช้ืน ความสูงและความหนาของกองวัสดุเพาะ จานวนวันในการหมักวัสดุเพาะ ของแต่ละ ครัง้ ทาให้ผลผลติ ท่ีไดไ้ ม่สมา่ เสมอ หนังสอื ประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเห็ดฟำง (รหสั วิชำ อช 02006)
16 เรอ่ื งท่ี 2.2 ควำมหมำยและควำมสำคญั ของเหด็ ความหมายของเหด็ (Mushroom) หมายถึง พืชช้ันต่าประเภทฟังไจ (Fungi) ที่มีความแตกต่างไปจาก พืชชนิดอ่ืน คือ ไม่มีคลอโรฟิลล์ (Chlorophyll) หรือสารสีเขียว ทาให้เห็ดไม่สามารถสร้างอาหารได้เองโดยวิธี สังเคราะห์แสง ต้องอาศัยอินทรีย์จากส่ิงมีชีวิตแ ละส่ิงท่ีไม่มีชีวิตเพ่ือใช้ในการเจริญเติบโ ต ความสาคัญของเห็ด 2.2.1 ควำมสำคญั ของเห็ดท่ีมตี อ่ ชวี ิตประจำวนั มนุษย์ท่ัวโลกรู้จักเห็ดมานาน ท้ังประเภทท่ีนามาใช้เป็นอาหารและประเภทที่มีพิษ สายพันธ์ุ ของเหด็ มีมากกวา่ 30,000 สายพนั ธ์ุ กระจัดกระจายอยทู่ ่ัวโลก ในจานวนสายพันธ์ุดังกล่าวมีถึงร้อยละ 99 สาย พันธ์ุ ที่มนุษย์สามารถนามาบริโภคเป็นอาหารได้ ส่วนท่ีเหลืออีกร้อยละ 1 เป็นเห็ดท่ีมีพิษหรือเห็ดเมา ซ่ึงถ้า บริโภคเข้าไปอาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ เห็ดท่ีนามาบริโภคเป็นอาหารในอดีตนั้นมีเพียงไม่ก่ีชนิด เช่น เห็ด ฝร่ังหรือเห็ดแชมปิญอง ซึ่งนิยมบริโภคกันมากในแถบยุโรป เห็ดหอมเป็นเห็ดท่ีชาวจีนนิยมบริโภคกันมากที่สุด ส่วนคนไทยน้ันนิยมบริโภคเห็ดโคนหรือเห็ดฟาง แต่เนื่องจากเมื่อนาเห็ดมาประกอบอาหารแล้วมีรสชาติดี ให้ คุณค่าทางอาหารสูงและเห็ดบางชนิดยังมีสรรพคุณเป็นยาป้องกันและรักษาโรคได้อีกด้วย จึงทาให้มีผู้นิยม บรโิ ภคกนั มากขึ้นตามลาดับ ซึ่งในปัจจุบนั พบวา่ หลายๆประเทศเกือบท่ัวโลกหันมาใหค้ วามสนใจและร่วมมือกัน ในการวิจัย ค้นคว้า ทดลอง คัดเลือกและปรับปรุงพันธ์ุเห็ดให้มีจานวนมากขึ้น ในขณะเดียวกันก็ได้พัฒนา เทคนิควิธีการเพาะเลี้ยงและขยายพันธุ์เห็ดเพื่อเพ่ิมปริมาณผลผลิตให้เพียงพอกับความต้องการของผู้บริโภค ประเทศท่ีมีการผลิตเห็ดเป็นจานวนมากและส่งไปจาหน่ายยังตลาดโลกได้แก่ ประเทศไต้หวัน ญี่ปุ่น อินเดีย เกาหลี และประเทศไทย สาหรับประเทศไทยน้ันนอกจากจะนิยมบริโภคเห็ดกันมากแล้ว ยังได้ให้ความสาคัญแก่เห็ด มากจนเหด็ กลายเป็นอาหารที่มีคณุ คา่ สูงเทียบเคียงกับเน้ือสัตว์ ดังจะเห็นได้จากคากล่าวที่ติดปากคนไทยมาช้า นานว่า “หมู เห็ด เป็ด ไก่ เป็นอาหารสาหรับผู้ท่ีมีอันจะกิน” ซ่ึงแสดง ให้เห็นว่าเห็ดเป็นอาหารที่คนท่ัวไป ยอมรับมาช้านานแลว้ 2.2.2 คณุ ค่ำทำงอำหำรของเหด็ จากการค้นคว้าวิจัยเก่ียวกับคุณค่าทางอาหารของเห็ดโดยกรมวิทยาศาสตร์พบว่า เห็ด ประกอบด้วยสารอาหารที่มีคุณค่าและคุณประโยชน์ต่อร่างกายในปริมาณที่สูงกว่าพืชผักชนิดอ่ืนๆ ยกเว้น พืชผักตระกูลถ่ัว ซ่ึงเห็ดทีม่ ีจาหน่ายในท้องตลาดทั่วไป เช่น เหด็ ฟาง เหด็ หหู นู เหด็ นางรม เหด็ เป๋าฮ้ือ และเห็ด นางฟ้า เมื่อนาวิเคราะห์จะพบว่าประกอบด้วยสารอาหารพวกคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แร่ธาตุต่างๆและ วิตามิน ในปริมาณท่ีแตกต่างกัน และพบว่า เห็ดหูหนูบางชนิดมีปริมาณสารอาหารท่ีเป็นประโยชน์ต่อร่างกาย สงู สุด และจากการวจิ ยั ของหนว่ ยงานวิจยั อุตสาหกรรมการเพาะเห็ดแห่งสหรัฐอเมริกา (America Mushroom Industry Research) พบว่าเห็ดที่นิยมบริโภคโดยทั่วไปจะประกอบด้วยวิตามินหลายชนิด เช่น ไทอามีน ไรโบฟลาวิน ไนอาซีน และวิตามินซี ส่วนวิตามินบี 12 จะพบเฉพาะในเห็ดเป๋าฮ้ือเท่าน้ัน ส่วนแร่ธาตุต่างๆ หนังสอื ประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเห็ดฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
17 ท่ีพบในเห็ดท่ัวไปได้แก่ ธาตุเหล็ก ฟอสฟอรัส และแคลเซียม แต่ในเห็ดเป๋าฮ้ือจะมีธาตุแมกนีเซียมและ โพแทสเซียม เป็นองค์ประกอบอย่ดู ้วย จากชนดิ ของสารอาหารทพ่ี บในเห็ดดงั กล่าวข้างต้น ย่อมพิสูจน์ได้ว่าเห็ด เปน็ อาหารท่มี คี ุณคา่ เทยี บเท่าเนือ้ สัตวจ์ รงิ ตามคากลา่ วทต่ี ดิ ปากคนไทยมาแตโ่ บราณกาล ในภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน ราคาอาหารประเภทเน้ือสัตว์ค่อนข้างสูงมาก เม่ือเปรียบเทียบกับ อาหารที่เป็นผลผลิตจากพืช ดังนั้น เพื่อเป็นการปรับตัวให้เข้ากับภาวะเศรษฐกิจจึงควรเลือกบริโภคพืชผักท่ีมี คณุ ค่าทางอาหารสูงทดแทนเนือ้ สัตวบ์ างตามความเหมาะสม โดยเฉพาะอย่างย่ิงพืชประเภทเห็ดซึ่งมีสารโปรตีน สูง และโปรตนี ของเห็ดจะไมม่ สี ารคอเรสเตอรอลที่เป็นอันตรายต่อระบบไหลเวียนของโลหิต ประกอบกับเห็ดมี ปริมาณธาตุโซเดียมค่อนข้างต่า จึงเป็นอาหารที่เหมาะสาหรับผู้ป่วยที่เป็นโรคตับ โรคไต โรคหัวใจ และโรค ความดันโลหิตสูง นอกจากนี้อาหารประเภทเห็ดยังนิยมบริโภคกันมากในหมู่นักปฏิบัติมังสวิรัติ (Vegetarian) รวมไปถึงผู้ท่ีต้องการลดความอ้วน ผู้ป่วยหลังพักฟ้ืนหรือผู้ต้องการบารุงร่างกาย และที่สาคัญท่ีสุดก็คือ มีเห็ดบางชนิดที่สามารถปอ้ งกันและรักษาโรคบางอย่างได้ 2.2.3 สรรพคุณทำงยำของเห็ด เม่ือประมาณ 20 ปีล่วงมาแล้วที่นักวิจัยเห็ดและนักการเพาะเห็ด ได้ค้นพบสรรพคุณทางยา ของเห็ดหลายชนิด เช่น เห็ดหอม เห็ดฝร่ัง เห็ดหลินจือ เป็นต้น ว่าสามารถนาไปใช้เป็นยาธรรมชาติในการ ป้องกันและบาบัดโรคการสะสมไขมันในหลอดเลือดโรคความดันโลหิต และโรคมะเร็งได้อย่างปลอดภัยและ ได้ผล อีกท้ังยังมี สารเรทีน (Retine) ซ่ึงมีคุณสมบัติต่อต้านและชะลอการเติบโตของเน้ืองอกในร่างกายได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเห็ดหลินจือ ได้ชื่อว่าเป็นเห็ดวิเศษสาหรับชาวจีนและชาวญ่ีปุ่นมาช้านาน เนื่องจากมีความ เชือ่ ว่าสามารถปอ้ งกันและบาบดั โรคได้ หลายชนดิ 2.2.4 ควำมสำคัญของเหด็ ทมี่ ตี อ่ เศรษฐกจิ ของประเทศ ประเทศไทยนับได้ว่ามีสภาพเหมาะสมและเอ้ืออานวยต่อการเพาะเห็ดอย่างมาก เน่ืองจากมี วัสดุเหลือใช้และมีผลพลอยได้จากการผลิตทางการเกษตรจานวนมากทั้งที่ได้จากพืชและสัตว์ รวมไปถึงวัชพืช บางชนิดท่ีมอี ย่ทู ัว่ ไปในประเทศไทย เช่น ผักตบชวาและหญ้าคา เป็นต้น ส่วนวัสดุเหลือใช้และผลพลอยได้จาก การเกษตรท่ีสามารถนามาใช้ในการเพาะเห็ดได้ เช่น ฟางข้าว ต้นกล้วย ชานอ้อย ต้นข้าวโพด ซังข้าวโพด เปลือกถั่วเขียว กากน้าตาล ปุ๋ยหมัก มูลไก่ มูลเป็ด มูลม้า และมูลโค เป็นต้น ซ่ึงวัสดุเหล่านี้สามารถนาไป ดดั แปลงและปรับปรงุ ใช้ในการเพาะเห็ดชนิดต่างๆ ได้ตามความเหมาะสม นอกจากน้ันสภาพดินฟ้าอากาศของ ประเทศไทยยังเหมาะกับการเจริญเติบโตของเห็ดเศรษฐกิจเกือบทุกชนิด อาทิเช่น เห็ดฟาง เห็ดนางรม เห็ด เป๋าฮื้อ เห็ดหูหนู รวมไปถึงเห็ดแชมปิญอง และเห็ดหอม ก็สามารถปลูกได้ดีในบางท้องถิ่นของประเทศไทย ดังน้ัน ถ้าได้มีการส่งเสริมให้เกษตรกรไทยได้รู้จักการเพาะเล้ียงเห็ดท่ีถูกวิธี นอกจากจะทาให้มีผลผลิตเห็ด เพิ่มข้ึนทั้งด้านปริมาณและคุณภาพแล้วยังเป็นการเพิ่มอาหารท่ีมีคุณค่าแก่ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ ทา ให้มีคุณค่าสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์แข็งแรง พร้อมที่จะพัฒนาประเทศชาติได้ในทุกทางโดยเฉพาะอย่างย่ิง ทางดา้ นเศรษฐกิจ เพราะเมื่อผลผลิตเห็ดเพิ่มขึ้นรายได้ของเกษตรกรก็จะเพิ่มข้ึนด้วย จากการจาหน่ายผลผลิต ทั้งในประเทศและส่งเป็นสินค้าออก ซ่ึงเป็นผลให้ระบบเศรษฐกิจของชาติเจริญก้าวหน้าและพัฒนาขึ้น ตามลาดบั แหล่งผลิตเห็ดทั่วโลกประเทศต่าง ๆ กว่า 70 ประเทศท่ัวโลก ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของ การเพาะเห็ดเป็นอย่างมาก เห็ดท่ีนิยมเพาะกันมากมีอยู่ 8 ชนิดด้วยกันคือ เห็ดแชมปิญอง เห็ดหอม เห็ดหูหนู เหด็ ฟาง เหด็ นางรม เหด็ หหู นขู าว เห็ดเขม็ ทอง และเห็นนามิโกะ นอกจากเห็ดทั้ง 8 ชนิดดังกล่าวแล้วยังมีเห็ด อ่ืน ๆ อีก เชน่ เหด็ เปา๋ ฮ้ือ เหด็ นางฟ้า เห็ดตีนแรด เหด็ หลินจอื เป็นต้น แต่นิยมปลูกกันมากเฉพาะบางประเทศ หนงั สอื ประกอบกำรเรยี น วิชำ กำรเพำะเหด็ ฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
18 เทา่ นนั้ และจานวนการผลติ เห็ดทุกประเทศท่วั โลกต้ังแต่ปี พ.ศ.2522 เป็นต้นมา เห็ดฝรั่งหรือเห็ดแชมปิญองมี ปรมิ าณการผลติ สงู สุด ปรมิ าณร้อยละ 78 ของจานวนผลผลติ เหด็ ทั้งหมดในตลาดโลก จากจานวนประเทศผูผ้ ลิตเห็ดทั่วโลกพบว่า ประเทศต่างๆ ที่มีการพัฒนาเทคนิค วิธีการ และ ระบบการเพาะเห็ดที่สาคัญจนเปน็ ทยี่ อมรับโดยทวั่ ไปมีเพยี ง 5 ประเทศเทา่ นน้ั คอื 1. ประเทศไต้หวัน เป็นประเทศที่ผลิตเห็ดแชมปิญองหรือเห็ดฝร่ัง ได้มากเป็นอันดับท่ีสาม ของโลก แต่สามารถส่งจาหน่ายได้เป็นอันดับท่ีหน่ึงของโลก โดยประเทศไต้หวันผลิตได้ประมาณร้อยละ 95 และส่งเป็นสินค้าออก การพัฒนาการเพาะเห็ดของไต้หวัน นับได้ว่าเจริญรุดหน้ารวดเร็วกว่าประเทศอื่นๆ เน่ืองจากมีการวางแผนการผลิตที่ดี โดยหาข้อมูลความต้องการเห็ดชนิดต่างๆของต่างประเทศจากทูตพาณิชย์ จึงทาให้ไม่มีปัญหาเร่ืองการตลาด ในขณะเดียวกันภาครัฐบาลและภาคเอกชนก็ร่วมมือประสานงานกันอย่า เต็มที่ในการควบคุมการผลิตและการส่งเสริมความรู้ทางด้านการเพาะเห็ดให้แก่เกษตรกรผู้ผลิตโดยพยายาม สนับสนุนให้นาเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการเพ่ิมผลผลิตเพื่อลดต้นทุนการผลิตด้านการโฆษณาประชาสัมพันธ์ก็ ได้รับความช่วยเหลือจากเอกชนอย่างเต็มท่ี โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริษัทการท่องเท่ียวได้ส่งเสริมประชาสัมพันธ์ ด้วยการจัดทา อาหารประเภทเห็ดให้นักท่อนเที่ยวได้รับประทานทุกม้ือ จึงทาให้การพัฒนาการเพาะเห็ดของ ไต้หวนั พัฒนาไดเ้ รว็ กวา่ ประเทศอนื่ ๆ ในแถบเอเชยี 2. ประเทศญ่ีปุ่น การเพาะเห็ดในประเทศญ่ีปุ่นได้ตื่นตัวในสมัยสงครามโลกครั้งท่ี 2 ซ่ึงก่อน หน้านี้เกษตรกรจะหาเห็ดหอมจากป่าบริเวณที่มีไม้ก่อข้ึนอยู่มากมาย ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติส่วนมากถูก ทาลาย ดังน้ัน เพื่อเปน็ การแกป้ ญั หาดงั กล่าวทางรฐั บาลจงึ อนุญาตใหผ้ เู้ พาะเห็ดมีกรรมสิทธ์ิในท่ีดินเพ่ือใช้ปลูก ไม้ก่อสาหรับเพาะเห็ดหอม พร้อมท้ังส่งเสริมการค้นคว้าวิจัย เพื่อนาเทคนิคต่างๆ มาใช้ในการเพ่ิมผลผลิตเห็ด จนทาใหญ้ ่ีปุน่ สามารถผลติ เหด็ หอมไดม้ ากและส่งเป็นสินคา้ ออกเปน็ อันดบั หน่ึงของโลก 3. ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีได้เริ่มพัฒนาการเพาะเห็ดเม่ือปี พ.ศ.2515 โดยรัฐบาลได้จ้าง ผู้เชีย่ วชาญการเพาะเหด็ จากประเทศไตห้ วันจานวน 2 คน ให้ความรู้แก่นักวิชาการชาวเกาหลีพร้อมทั้งส่งเสริม และสนบั สนุนอยา่ งจรงิ จังทงั้ ด้านบคุ ลากรและงบประมาณ จึงทาให้เกาหลีใต้ใช้เวลาในการพัฒนาการเพาะเห็ด เพียง 6 ปี ก็สามารถกลายเป็นประเทศคู่แข่งที่สาคัญของไต้หวันในการส่ง เห็ดแชมปิญองและเห็ดหอมเป็น สินค้าออก 4. ประเทศอินเดีย เป็นประเทศเดียวในแถบเอเชียที่ต่ืนตัวช้าที่สุดในการพัฒนาการเพาะเห็ด เนอ่ื งจากความเชือ่ ถือทีถ่ ูกปลูกฝังมาตง้ั แตใ่ นอดีตว่า เห็ดเป็นดอกไม้มูลสัตว์จึงทาให้พลเมืองของอินเดียในอดีต รังเกียจเห็ดเป็นอย่างมากทาให้ขาดนักวิชาการการเพาะเห็ด แต่ด้วยความช่วยเหลือและรณรงค์ขององค์การ อาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติหรือ F.A.O. ได้รณรงค์การเพาะเห็ดเพื่อให้สถาบันดังกล่าวเป็นผู้ผลิตเชื้อ เห็ดและปุ๋ยหมักและให้เกษตรกรหรือสมาชิกของสถาบันนาไปเพาะ เม่ือเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้วให้นาผลผลิตมา รวมกนั เพือ่ จาหนา่ ยโดยมีเจ้าหน้าท่ขี องสถาบันคอยดูแลอยา่ งใกล้ชิด ซึง่ ในปจั จุบันชาวอินเดียจานวนมากหันมา บรโิ ภคเห็ด เหด็ ทเ่ี พาะกันมากในอินเดีย คอื เหด็ นางรม และเหด็ นางนวล 5. ประเทศไทย ในปัจจุบันประเทศไทยมีการปรับปรุงและพัฒนาการเพาะเห็ดไปมากจน กลายเป็นอาชีพหลักท่ีสาคัญของเกษตรกรอาชีพหน่ึง ถ้าจะเปรียบเทียบกับประเทศในภูมิภาคเอเชียแล้ว ประเทศไทยจัดอยู่ในระดับแนวหน้าจะเป็นรองอยู่บ้างก็แต่ประเทศญี่ปุ่นเท่านั้น จานวนเห็ดที่ผลิตได้สูงสุดใน แต่ละปีคือเห็ดฟาง ส่วนเห็ดที่ผลิตได้น้อยและน้อยมาก คือเห็ดแชมปิญอง และเห็ดหอม โดยมีสาเหตุมาจาก ฤดูกาล และวัสดุท่ีใช้เพาะ ซ่ึงเรายังไม่สามารถควบคุม ปรับปรุงและดัดแปลงให้เหมาะสมได้ตลอดทั้งปี แต่ อย่างไรก็ตามอาชีพการเพาะเห็ดเป็นอีกอาชีพหน่ึงที่สามารถทารายได้ให้ประเทศชาติปีละไม่น้อยกว่า 1,200 ล้านบาท และมีแนวโน้มท่ีจะสูงข้ึนเร่ือยๆ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในช่วงตั้งแต่ต้นปี พ.ศ.2530 นับเป็นปีทองของ เหด็ ไทยเพราะตลาดต่างประเทศมคี วามตอ้ งการเหด็ ไทยทุกชนิดเพ่ิมข้ึน เน่ืองจากคุณภาพของเห็ดของประเทศ ไทยได้รับการพัฒนาข้ึนจนเปน็ ทยี่ อมรบั ของตลาดโลก หนังสอื ประกอบกำรเรยี น วิชำ กำรเพำะเหด็ ฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
19 กิจกรรมท้ำยบทที่ 2 เรื่อง ควำมสำคญั ของกำรประกอบอำชีพกำรเพำะเหด็ ฟำง 1. ปัญหาและอุปสรรคในการเพาะเลี้ยง เหด็ ฟางมอี ะไรบ้าง หนังสอื ประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเห็ดฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
20 บทท่ี 3 วสั ดุอุปกรณ์และกำรสรำ้ งโรงเรอื นเพำะเหด็ ฟำง --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หนงั สือประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเหด็ ฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
21 แผนกำรเรียนรูป้ ระจำบท รำยวชิ ำ กำรเพำะเหด็ ฟำง บทที่ 3 วสั ดอุ ุปกรณ์และการสร้างโรงเรอื นเพาะเห็ดฟาง สำระสำคัญ ใชว้ สั ดอุ ปุ กรณ์ การเพาะเห็ดแบบต่างๆ และสรา้ งโรงเรอื นเพาะเหด็ ฟางได้อย่างเหมาะสม เลือกใช้วสั ดุอปุ กรณ์ การเพาะเห็ดแบบต่างๆ และสร้างโรงเรอื นเพาะเหด็ ฟางได้อย่างเหมาะสม ผลกำรเรยี นรทู้ ่ีคำดหวงั เลือกใชว้ ัสดุอปุ กรณ์ การเพาะเหด็ แบบตา่ งๆ และสร้างโรงเรอื นเพาะเหด็ ฟางไดอ้ ย่างเหมาะสม ขอบขำ่ ยเนื้อหำ เรื่องที่ 3.1 การเลอื กใช้วสั ดอุ ุปกรณ์ การเพาะเหด็ แบบตา่ งๆ และสร้างโรงเรอื นเพาะเหด็ ฟางได้อยา่ ง เหมาะสม กิจกรรมกำรเรียนรู้ 1. ศกึ ษาเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง จากครู วิทยากร ผู้รู้ ภมู ปิ ัญญา และสอื่ การเรยี นการสอน เอกสาร และสือ่ อเิ ล็กทรอนิกส์ 2. ศกึ ษาจากแหล่งเรียนรู้ ทรัพยากร และภูมิปัญญาในทอ้ งถน่ิ และชมุ ชน 3. ฝึกปฏิบัติจริง เรยี นรจู้ ากประสบการณจ์ รงิ จากแหล่งเรียนรู้สมั พันธ์และเช่อื มโยงกบั ธรรมชาตแิ ละ ส่ิงแวดลอ้ ม สื่อกำรสอน 1. เอกสารทางวชิ าการ 2. Internet 3. ผรู้ แู้ ละภมู ิปัญญาท้องถนิ่ ประเมินผล 1. แบบทดสอบความรู้ 2. ใบงาน 3. สงั เกตการณ์ 4. ปฏบิ ตั จิ รงิ หนงั สอื ประกอบกำรเรยี น วิชำ กำรเพำะเห็ดฟำง (รหสั วิชำ อช 02006)
22 เรอ่ื งท่ี 3.1 กำรเลือกใชว้ ัสดุ อปุ กรณ์ กำรเพำะเห็ดฟำงแบบต่ำง ๆ และกำรสรำ้ งโรงเรอื นเพำะเห็ดฟำง กำรสร้ำงโรงเรอื นเพำะเห็ดฟำง ประกอบด้วย 1. การเลือกพื้นท่ีตั้งโรงเรือน ควรอยู่ใกล้แหล่งวัตถุดิบที่ใช้เพาะ เช่น โรงงานแป้งมันสาปะหลัง แหล่ง ปลูกมัน หรอื อยู่ใกล้แหล่งท่ีมีฟางเพื่อใช้เป็นวสั ดุรองพน้ื เปน็ พืน้ ท่นี ้าทว่ มไม่ถึงดนิ และน้าไมเ่ คม็ 2. รูปแบบและขนาดโรงเรอื น ควรมลี กั ษณะดงั นี้ 2.1 ขนาดกว้าง 4 เมตร ยาว 6 เมตร สูง 2.5 เมตร 2.2 มีประตูเข้าออกอย่างน้อย 1 บาน มชี ่องระบายอากาศอยา่ งน้อย 10 ชอ่ ง 2.3 หลงั คามงุ แฝก สังกะสี หรอื มงุ กระเบื้องก็ได้ 2.4 พ้ืนคอนกรีต สว่ นผนงั จะเปน็ อิฐบล็อกหรอื ตาขา่ ยพรางแสงพลาสติกและพลาสตกิ เคลือบก็ได้ 2.5 ควรสร้างในแนวเหนือ - ใต้ เพราะแสงแดดตอนกลางวันมีอิทธิพลตอ่ การเกิดดอกเห็ด 3. ลานหมกั ควรเป็นพืน้ คอนกรีตขนาดประมาณ 3x3 เมตร สาหรับหมักวสั ดเุ พาะ 4. ช้ันเพาะ ควรเป็นชั้นขนาดกว้าง 80 - 100 ซม. ยาวตามขนาดของโรงเรือน สูง 1.65 - 1.8 เมตร ประกอบดว้ ย 4 ช้ันย่อย ห่างกันชัน้ ละ 40-50 ซม. ยกเว้นชนั้ ล่างสุดห่างจากพ้ืน 30 ซม. พ้ืนแต่ละชั้นทาด้วยไม้ ระแนงเวน้ ช่องหา่ งกนั 2-3 ซม. ลกั ษณะของโรงเรือนเพาะเห็ดฟางและชัน้ เพาะ พร้อมเครือ่ งกาเนดิ ไอน้า 5. ถังกาเนิดไอนา้ เกษตรกรต้องอบไอน้าเพ่ือฆ่าเช้ือโรคภายในโรงเรือนโดยถังกาเนิดไอน้า โดยต้องให้ อุณหภูมิสูงอย่างน้อย 60 องศาเซลเซียส หากต้องการประหยัดก็อาจใช้ถังขนาด 200 ลิตร วางเรียงกัน 2 ใบ บนเตาท่กี อ่ ดว้ ยอฐิ ทนไฟแบบงา่ ยๆ มที ่อไอนา้ ออก 2 ทอ่ ต่อเขา้ ด้านล่างของโรงเรือน โรงเรอื นทใ่ี ช้เฉพำะและกำรจดั สรำ้ ง 1. โรงเรือนหลัก ควรเป็นโรงเรือนแบบถาวร หลังคาอาจมุงด้วยจากหรือหญ้าคาขนาดโรงเรือนควร สร้างให้มีขนาดเหมาะสมกับจานวนของห้อง 1 โรงเรือน จะมีหลายห้องหรือห้องเดียวก็ได้ พื้นโรงเรือนถ้าเป็น พ้ืนดินก็ควรอัดให้แน่น หรือเป็นพ้ืนคอนกรีตก็จะดี เพื่อสะดวกต่อการทาความสะอาดโรงเรือนเพาะเห็ด ควรเป็นโรงเรือนที่ปิดมิดชิด สามารถอบไอน้าฆ่าเช้ือเก็บอุณหภูมิและความช้ืนได้ วัสดุท่ีใช้อาจเป็นคอนกรีต อิฐบล๊อค กระเบ้ืองเรียบหรือใช้โครงไม้ไผ่บุกด้วยผ้าพลาสติกหนาให้สามารถเก็บรักษาความช้ืนได้ ขนาดของ โรงเรือนกว้าง ยาว สูง 5 X 8 X 3 เมตร หรือ 4 X 6 X 2.5-3 เมตร หลังคาทรงหน้าจั่วทาด้วยจาก บุด้วยผ้า พลาสติก พื้นโรงเรือนควรเป็นพ้ืนคอนกรีต มีประตูทางเข้าออกด้านละ 1 ประตู โรงเรือนเพาะนี้ต้องมีช่อง สาหรบั ระบายอากาศอยบู่ ริเวณหนา้ จวั่ กวา้ งประมาณ 40 X 60เซนตเิ มตร และมีช่องสาหรับส่งไอน้าผ่านเข้าไป ในโรงเรือนได้ อย่างไรก็ดีรูปแบบและขนาดของโรงเรือนตลอดจนวัสดุที่ใช้อาจเปล่ียนแปลงปรับปรุงได้ตาม ความรู้และอปุ กรณท์ ีส่ ร้างขนึ้ 2. โรงเรือนรอง หรือชั้นวางเพาะเห็ด ควรมีขนาดกว้าง 1 เมตร โดยสร้างให้มีชายยื่นออกมาข้างละ 50 เซนตเิ มตร ยาว 4 เมตร และสูง 1.80 เมตร โดยแบง่ ชัน้ เพาะเหด็ ออกเป็น 2 ข้าง ๆ ละ 4 ช้ัน แต่ละชั้นห่าง กัน 50 เซนติเมตร ช้ันแรกอยู่สูงจากพื้น 30 เซนติเมตร ช้ันที่ 4 สูงจากพื้น 1.80 เมตร ช้ันวางเพาะเห็ดนี้ควร ทาด้วยเหล็กหรือไม้ไผ่ก็ได้ ผ้าพลาสติก ลักษณะคล้ายกับถุงเคลือบ เย็บและบุภายในโรงเรือนเพ่ือควบคุม อณุ หภูมิ หนงั สือประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเหด็ ฟำง (รหสั วิชำ อช 02006)
23 อปุ กรณ์ทจ่ี ำเป็นต่อกำรเพำะเห็ดฟำงในโรงเรือน 1. พัดลมดูดเป่ำและระบำยอำกำศ เป็นพัดลมทรงกระบอกธรรมดา ขนาดใบพัด 16-20 เซนติเมตร แต่ดัดแปลงทากล่องสังกะสีสวมปากทางลมออก โดยให้มีลมออกได้ 2 ทาง ทางหน่ึงต่อเข้าภายในโรงเรือน อีกทางหน่ึงออกภายนอก ท้ังสองจะมีลิ้นปิดเปิด ส่วนทางดูดลมก็เช่นเดียวกันคือทาทางดูด 2 ทาง ต่อเข้า ภายในด้านหนึ่ง อีกข้างหนึ่งอยู่ข้างนอก และมีล้ินปิดเปิดเช่นกัน สาหรับทางลมออกก็ต่อเข้าภายในโรงเรือน โดยตอ่ ขน้ึ ไปข้างบนขนานกับสนั จวั่ อาจทาดว้ ยทอ่ เอสลอ่ นหรือใช้ผา้ พลาสติกเย็บให้ได้เส้นผา่ ศูนย์กลางพอสวม ปากท่อได้ ตรงทอ่ ทีข่ นานจวั่ น้ันตอ้ งทาการเจาะรขู นาดเท่ามวนบุหรี่เพ่ือให้อากาศออก 2. เทอร์โมมิเตอร์ คือ เคร่ืองมือสาหรับวัดอุณหภูมิภายในห้อง ควรใช้ขนาดที่สามารถวัดได้ตั้งแต่ อุณหภูมิ 0-100 องศาเซลเซียส ฝังอยู่ติดกับผนังสูงจากพ้ืนประมาณ 1.50 เมตร อยู่ด้านไหนของโรงเรือนก็ได้ ช่องทเ่ี จาะใสเ่ ทอรโ์ มมเิ ตอรน์ นั้ จะต้องกลวง เพือ่ ใหเ้ ทอร์โมมเิ ตอร์สมั ผสั กบั อากาศภายในสว่ นด้านนอกของ โรงเรือนปดิ ด้วยกระจกใสเพื่อสะดวกในการอา่ นคา่ 3. กระบะไม้หรือแบบพิมพ์ไม้สำหรับหมักวัสดุ จะทาเป็นรูปสี่เหล่ียมจัตุรัสก็ได้ขนาดกว้างและยาว เท่ากันประมาณ 1-15 เมตร สูง 50 เซนติเมตร 4. เครื่องตีปุ๋ยหมัก ใช้ตีปุ๋ยหลังจากหมักได้ที่แล้ว เคร่ืองตีปุ๋ยหมักควรเป็นเครื่องที่กาลังแรงสูงอย่าง น้อยไม่ควรต่ากว่า 5 แรงม้า อาจดัดแปลงจากเคร่ืองตีน้าแข็ง หรือเครื่องตีหินก็ได้ ตีปุ๋ยหมักให้ละเอียดและฟู 5. อุปกรณอ์ น่ื ๆ เชน่ หลอดฟลอู อเรสเซนต์ เคร่อื งพน่ ฝอย เครอ่ื งวัดความชน้ื ตะกรา้ เกบ็ เห็ด เครื่องกำเนิดไอนำ้ ต้องมีขนาดใหญ่พอที่จะให้ไอน้าสาหรับทาความร้อน ภายในโรงเรือนมีอุณหภูมิสูงถึง 70 องศา เซลเซยี ส เป็นเวลา 2 ช่วั โมงติดตอ่ กัน และ 50 องศาเซลเซียสอีกอย่างน้อย 8 ชั่วโมงติดต่อกัน ท่อส่งไอน้าออก จากเครื่องกาเนิดไอนา้ จะต่อตรงไปถึงโรงเพาะ และจะต้องมีวิธีการท่ีดีพอที่จะทาให้ไอน้าจากท่อกระจายไปทั่ว โรงเรอื น ทาให้ทุกส่วนของโรงเรือนมีอุณหภูมิ ใกล้เคียงกับระดับที่ต้องการ ท้ังนี้เพราะอุณหภูมิ ความช้ืน และ อากาศเป็นปจั จัยทีม่ ผี ลตอ่ ผลผลิตของเหด็ เท่า ๆ กบั การเตรยี มวสั ดเุ พาะและสายพนั ธ์ุ จึงต้องมีวิธีการท่ีควบคุม ปัจจัยเหล่านี้ไว้ให้ได้ตามความต้องการของเห็ดรูปแบบของเครื่องกาเนิดไอน้ามีหลายชนิด เช่น ชนิดวางตั้ง ชนิดวางนอน จากเคร่ืองกาเนิดไอน้าจะต้องตอ่ ทอ่ ไปยงั โรงเรอื นเพาะเห็ด โดยทาการก่อวางกับพ้ืนของโรงเรือน ตรงกลาง โดยใช้ท่อขนาด 2-4 เซนติเมตร ท่อท่ีอยู่ในโรงเรือนจะต้องเจาะรูให้น้าออก ขนาดประมาณ 1-4 หุน รูที่เจาะระยะต้น ๆ ควรห่างกันมาก ๆ แล้วค่อย ๆ ถ่ีเข้าเครื่องกาเนิดไอน้า 1 เคร่ือง อาจต่อท่อไอน้าโยงได้ นับเป็นสิบ ๆ โรง แต่ถ้าไม่อยากลงทุนมากอาจใช้ถังน้ามัน 200 ลิตร เป็นเครื่องกาเนิดไอน้าแทนก็ได้โดยวาง นอนบนเตาเศรษฐกิจหรือเตาฟืนก็ได้ โดยปกติแล้วถังน้ามันจะมีรูสาหรับดูดน้ามันออก 2 รู ให้เอารูที่ใหญ่กว่า อยู่ด้านบน เจาะรูบนสันถังเพ่ือให้ไอน้าออก แล้วเช่ือมต่อด้วยท่อประปาขนาด 2-3 เซนติเมตร เพื่อต่อไอน้า เขา้ ไปยังโรงเรอื น โรงเรอื นขนาด 4X6 เมตร สงู 2.5 เมตร ควรใชถ้ ัง 200 ลติ ร จานวน 2 ใบ ต่อท่อไอน้าเข้าหา กัน การใสน่ า้ ให้ใสน่ ้าตรงรูสาหรบั ดดู นา้ มันรูใหญ่ ประมาณครึ่งถงั อยา่ ใสม่ ากกว่าน้ัน วัสดุ อุปกรณ์ท่ีจำเปน็ ในกำรเพำะเห็ดฟำงแบบกองเตย้ี 1. วัตถุดิบที่ใช้ในการเพาะ ใช้ฟางตากแห้งสนิทซึ่งเก็บไว้โดยไม่เปียกช้ืนหรือ ขึ้นรามาก่อน ใช้ได้ท้ัง ฟางข้าวเหนียว ฟางข้าวจ้าว ฟางข้าวที่นวดเอาเมล็ดออกแล้ว และส่วนของตอซังเกี่ยวหรือถอนก็ใช้ ได้ ดีถ้า เปรียบเทยี บวสั ดุทใ่ี ช้ ในการเพาะต่าง ๆ แลว้ ตอซังจะดีกว่าปลายฟางข้าวและวสั ดอุ น่ื ๆ มาก เนื่องจากตอซังมี อาหารมากกว่าและ อมุ้ น้าไดด้ กี วา่ ปลายฟางข้าว 2. อาหารเสริม การใส่อาหารเสริมเป็นส่วนช่วยให้เส้นใยของเห็ดฟางเจริญได้ดี และทาให้ได้ดอกเห็ด มากกว่าท่ีไม่ได้ใส่ถึงประมาณเท่าตัว อาหารเสริมท่ีนิยมใช้อยู่เป็นประจา ได้แก่ ละอองข้าว ปุ๋ยมูลสัตว์หรือปุ๋ย หนังสือประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเหด็ ฟำง (รหสั วิชำ อช 02006)
24 คอกแห้ง ไส้นุ่น ไส้ ฝ้ายผักตบชวาสับให้เป็น ช้ินเล็ก ๆ แล้วตากแห้ง จอกแห้ง และเศษพืชชิ้นเล็ก ๆ ท่ีน่ิมและ อ้มุ นา้ ไดด้ ีเหล่าน้กี ็ใช้ เปน็ อาหารเสริมไดเ้ ช่นกนั 3. เชือ้ เหด็ ฟางทจี่ ะใช้เพาะ การเลือกซื้อเช้อื เห็ดฟางเพ่ือให้ไดเ้ ช้อื เหด็ ที่มี คุณภาพดีและเหมาะสมกบั ราคามหี ลักเกณฑก์ ารพจิ ารณาประกอบดังนี้คอื - เมอื่ จบั ดทู ่ีถุงเชอื้ เหด็ จะตอ้ งมลี ักษณะเปน็ ก้อนแน่นมเี ส้นใยของเช้ือเห็ด เดินเต็มก้อนแลว้ - ไมม่ ี เชอ้ื ราชนดิ อืน่ ๆ หรือเป็นพวกแมลง หนอน หรอื ตัวไร เหลา่ นเ้ี จอื ปนและไม่ควรจะมีน้าอยู่กน้ ถุง ซง่ึ แสดงว่าชนื้ เกนิ ไป ความงอกจะไม่ดี - ไมม่ ดี อกเห็ดอย่ใู นถุงเช้ือเห็ดนั้น เพราะนัน่ หมายความว่าเชอ้ื เร่ิมแก่ เกนิ ไปแล้ว - ควรผลติ จากปุ๋ย หมักของเปลอื กเมลด็ บัวผสมกบั ขี้มา้ หรือไส้นนุ่ กบั ข้มี า้ - เสน้ ใยไม่ฟูจัดหรือละเอียดเลก็ เปน็ ฝอยจนผดิ ธรรมดาลกั ษณะของเสน้ ใย ควรเป็นสีขาวนวล เจรญิ คลุมท่ัวทั้งก้อนเชื้อเห็ดนั้น - ตอ้ งมีกลิ่นหอมของเห็ดฟางดว้ ย จึงจะเปน็ กอ้ นเช้อื เห็ดฟางท่ดี ี - เชอ้ื เห็ดฟางที่ซื้อต้องไมถ่ ูกแดด หรือรอการขายไว้นานจนเกินไป - เชอ้ื เห็ดฟางที่ซอ้ื มานน้ั ควรจะทาการเพาะภายใน 7 วัน - อยา่ หลงเชือ่ คาโฆษณาใด ๆ ของผู้ขาย ควรสอบถามจากผทู้ ีเ่ คยทดลอง เพาะมาก่อนจะดีกวา่ นอกจากน้ีควรมีการตรวจสอบเช้อื เห็ดฟางจาก หลายยี่ห้อ เชอื้ เหด็ ฟางยหี่ ้อใดใหผ้ ลผลติ สงู กค็ วรเลอื กใช้ยีห่ ้อ นน้ั มาเพาะ จะดกี วา่ - ราคาของเช้ือเหด็ ฟางไมค่ วรจะแพงจนเกินไป ควรสบื ราคาจากเช้อื เห็ด หลาย ๆ ยหี่ ้อ เพ่ือ เปรยี บเทยี บดดู ว้ ย 4. สถานท่ีเพาะเห็ด ควรเป็นสถานท่ีท่ีโล่งแจ้ง และท่ีสาคัญอีกประการหน่ึงก็คือ สภาพดินบริเวณน้ัน จะต้องไม่เค็ม เพราะความเค็มของดินจะทาให้เส้นใยเห็ดไม่รวมตัวกัน เป็นดอกเห็ดได้เน่ืองจากการเพาะเห็ด ฟางเป็นการเพาะบนดิน ดังนั้นเราต้องคานึงถึงสภาพแวดล้อมแปลงเพาะน้ันด้วย โดยเฉพาะต้องเป็นบริเวณท่ี ไม่มีสารฆ่าแมลง หรือ สารฆ่าเชื้อรา น้าไม่ท่วมขัง มีการระบายน้าไดดีและต้องเป็นท่ีไม่เคยเพาะเห็ดฟางมา ก่อน ถ้าเคยเพาะเห็ดฟางมาก่อนก็ควรทาความสะอาดท่ีบริเวณน้ัน โดยการขุดพลิกดิน ตากแดดจัด ๆ ไว้สัก 1 อาทิตย์เพื่อฆ่าเช้อื โรคตา่ ง ๆ บนดินท่ีจะเป็นพาหะของโรคและ แมลงต่อเชือ้ เห็ดที่เราจะเพาะ 5. ไม้แบบ ใช้ไม้กระดานนามาตอกเป็นกรอบแบบลังไม้รูปสี่เหล่ียมคางหมูเพื่อทาเป็น แม่พิมพ์ใน ปัจจุบันนิยมให้ด้านบนกว้าง 30 เซนติเมตร ด้านล่างกว้าง 35 เซนติเมตร ความสูง 30 เซนติเมตร ความยาว 80-120 เซนตเิ มตร นิยมทาให้ ด้านบนสอบเข้าคือ แคบลงหรือเอียงเข้า หากันเล็กน้อย เพ่ือความสะดวกเวลา ทาเสรจ็ แต่ละกองแล้ว จะยกออกจาก กองได้ง่าย 6. วัสดุคลุมแปลงเพาะเห็ด โดยท่ัวไปจะใช้ผ้าพลาสติกคลุม เป็นการควบคุมความช้ืนและรักษา อุณหภูมิให้ เหมาะสมต่อการเจริญของเห็ด ถ้าเพาะ ในท่ีโล่งแจ้งให้ใช้ฟางแห้ง ทางมะพร้าว คลุมทับชั้นบน เพอ่ื ป้องการแสงแดด หนงั สือประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเห็ดฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
25 วสั ดุและอุปกรณใ์ นกำรเพำะเหด็ ฟำงในตะกรำ้ วสั ดุเพำะ 1. หัวเช้อื เห็ดฟาง อายุ 7 วัน (สังเกตจากมเี สน้ ใยสขี าวข้ึนบนก้อนเช้อื ) 2. กอ้ นเชอ้ื เหด็ เกา่ 3. ฟางขา้ ว 4. ตน้ กล้วย 5. ชานอ้อย 6. อาหารเสริม เชน่ ผักตบชวา มูลวัว ไสน้ ุ่น ราละเอียด 7. อาหารกระตุ้นหัวเชอ้ื ไดแ้ ก่ แปง้ สาลี หรอื แป้งขา้ วเหนียว 8. นา้ สะอาด 9. ตะกร้าเพาะเห็ดฟาง ขนาดเส้นผ่าศนู ย์กลางประมาณ 18 นิ้ว สงู 11 น้วิ มีช่องขนาด 1 ตารางนว้ิ ด้านลา่ งเจาะรูทาช่องระบายน้า 10. พลาสติกคลุม 11. สุ่มไก่ หรือวสั ดุอน่ื ๆ สาหรบั ทาเป็นโครง หนังสอื ประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเห็ดฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
26 กิจกรรมท้ำยบทที่ 3 เรอื่ ง วัสดุ อปุ กรณแ์ ละกำรสรำ้ งโรงเรอื นเพำะเห็ดฟำง 1. ให้อธบิ ายหลักในการเลือกใชว้ สั ดุ อุปกรณใ์ นการสรา้ งโรงเรือนเพาะเหด็ ฟางได้อยา่ งเหมาะสม ......................................................................................................................................................................... ..... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................... ............... .................................................................................................................... .......................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................... .......................... ......................................................................................................... ..................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................... .................................... 2. ใหอ้ ธิบายหลกั ในการเลือกสถานทใี่ นการสร้างโรงเรอื นเพาะเหด็ ฟาง ............................................................................................................................................................ .................. ................................................................................................................. ............................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................. ............................ ....................................................................................................... ....................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................... ....................................... ............................................................................................ .................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 3. ใหน้ ักศกึ ษายกตวั อย่างของการเลือกสถานทส่ี ร้างโรงเรือนเพาะเห็ดฟางท่เี หมาะสมและไม่เหมาะสม ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. หนงั สือประกอบกำรเรยี น วิชำ กำรเพำะเห็ดฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
27 บทที่ 4 พันธ์ุและกำรเพำะเลย้ี งเชอ้ื เห็ดฟำง ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- หนังสอื ประกอบกำรเรยี น วิชำ กำรเพำะเห็ดฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
28 แผนกำรเรยี นรู้ประจำบท รำยวชิ ำ กำรเพำะเห็ดฟำง บทที่ 4 พนั ธ์แุ ละการเพาะเล้ียงเช้ือเหด็ ฟาง สำระสำคัญ สายพนั ธ์ุเหด็ ฟางทีเ่ หมาะสมกับสภาพแวดล้อมเมอื งไทยและข้ันตอนการเพาะเชอ้ื เห็ดฟาง ผลกำรเรยี นรูท้ ่ีคำดหวัง อธิบายพันธุ์และสามารถเพาะเลีย้ งเชือ้ เหด็ ฟางได้ ขอบข่ำยเน้อื หำ เรื่องท่ี 4.1 พนั ธ์ุและการเพาะเลีย้ งเช้ือเห็ดฟาง กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ 1. ศึกษาเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง จากครู วิทยากร ผรู้ ู้ ภูมปิ ญั ญา และส่อื การเรียนการสอน เอกสาร และส่ือ อิเล็กทรอนกิ ส์ 2. ศกึ ษาจากแหลง่ เรียนรู้ ทรัพยากร และภมู ปิ ัญญาในทอ้ งถิน่ และชุมชน 3. ฝึกปฏิบตั จิ ริง เรียนรูจ้ ากประสบการณจ์ ริง จากแหล่งเรียนร้สู มั พันธแ์ ละเชอ่ื มโยงกบั ธรรมชาติและ ส่งิ แวดล้อม ส่ือกำรสอน 1. เอกสารทางวชิ าการ 2. Internet 3. ผู้รแู้ ละภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ ประเมินผล 1. แบบทดสอบความรู้ 2. ใบงาน 3. สังเกตการณ์ 4. ปฏิบัติจริง หนงั สอื ประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเหด็ ฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
29 เรอื่ งท่ี 4.1 พนั ธ์ุและกำรเพำะเล้ียงเชือ้ เห็ดฟำง สำยพนั ธุ์เห็ดฟำง 1. เห็ดฟำงสำยพันธุ์ TBKH 1 เปน็ พันธุ์ท่ีเหมาะสมสาหรับเพาะในสภาพแวดล้อมเมืองไทยปรับตัว เข้ากับสภาพการเพาะแบบพ้ืนดินกลางแจ้งได้ดี และออกดอกเจริญเติบโตได้ดีในฤดูฝน ออกดอกเร็วภายใน 9 วันหลังจากเริ่มเพาะ ดอกมีขนาดปานกลางถึงใหญ่ หมวกสีเทา รูปร่างมีทั้งรูปไข่ และยอดแหลม เกิดเด่ียว หรือเป็นกลุ่ม ๆ และ 4-15 ดอก ให้ผลผลิตสูงสม่าเสมอเฉล่ีย 700 กรัม ต่อกองในช่วงฝนตกหนัก และ1,100 กรัมต่อกองในฝนตกปานกลาง ในขณะที่เห็ดฟางท่ัวไปให้ผลผลิต 200-300 กรัมต่อกองเท่าน้ัน คุณภาพดอก เหด็ ทเี่ กบ็ ไดต้ รงตามความต้องการของตลาดเห็ดสด แต่ข้อจากัดของเห็ดฟางสายพันธ์ุน้ีคือ ไม่เหมาะท่ีจะใช้ เพาะในฤดูรอ้ นเพาะได้ผลผลติ ตกต่า 2. เห็ดฟำงสำยพันธ์ุ TBKH 2 ลักษณะประจาพันธุ์คือ สามารถเจริญได้ดี ให้ผลผลิตสูงสม่าเสมอใน สภาพการเพาะและดูแลรักษาท่ีแตกต่างกันในแต่ละท้องที่ ปรับตัวเข้าสภาพแวดล้อมที่แปรปรวนได้ดีทาให้ สามารถเพาะได้ทุกฤดูกาล ไม่ต้องดูแลรักษามากและทนร้อนได้ดีตลอดทั้งปี ให้ผลผลิตเฉลี่ยไม่ต่ากว่า 1 กิโลกรัมต่อกองเต้ยี มาตรฐาน ยกเว้นในฤดูฝนผลผลิตจะลดลงบ้าง 3. เห็ดฟำงสำยพันธ์ุ TBKH 3 ในช่วงหลังปี 2530 ภาคเอกชนมีการไหวตัวเพ่ือหาดอกเห็ดมาบรรจุ กระป๋องส่งออกขายยังตา่ งประเทศ ซงึ่ เป็นผลตอ่ เนือ่ งมาจาก ประเทศไต้หวนั ลดการผลิตเห็ดฟางบรรจุกระป๋อง ลง แต่ตลาดโลกต้องการเห็ดฟางบรรจุกระป๋อง ที่มีคุณภาพของดอกเห็ดที่แตกต่างจากดอกเห็ดสดที่ตลาด ภายในประเทศต้องการ กล่าวคือ ตลาดโลกตอ้ งการดอกเห็ดท่ีมีขนาดสมา่ เสมอขนาดปานกลางหรือขนาดเล็กสี ดา ในขณะท่ีตลาดสดในประเทศต้องการเห็ดดอกใหญ่มีสีขาว จึงได้มีการนาเข้าสายพันธุ์พันธ์ุเห็ดชนิดน้ีจาก ประเทศไตห้ วนั ซงึ่ เป็นสายพันธ์ทุ เ่ี หมาะสาหรบั เพาะป้อนโรงงานอตุ สาหกรรมกระป๋อง เน่ืองจากมีคุณภาพของ ดอกเห็ดตรงตามความต้องการตลาดโลก อีกท้ังในผลผลิตสูง กรมวิชาการเกษตรได้ทาการเก็บรักษาสายพันธ์ุ และจาหน่าย เผยแพรใ่ หแ้ ก่ผู้ผลิตเชื้อเห็ด นาไปขยายพนั ธจุ์ าหน่ายให้แกเ่ กษตรกรผ้เู พาะเห็ดท่วั ไป กำรเพำะเล้ียงเชอ้ื เห็ดฟำง กำรผลิตเชือ้ ''เหด็ ฟำง''บรสิ ุทธบิ์ นอำหำรว้นุ การผลิตเชื้อเห็ดฟางเป็นข้ันตอนที่มีความสาคัญมาก หากสามารถฝึกปฏิบัติได้จนชานาญแล้วจะ สามารถผลิตเช้ือเห็ดฟางได้เอง แต่เช้ือเห็ดฟางจะมีความแปรปรวนทางพันธุกรรมและเช้ือมีความเส่ือม คอ่ นข้างสงู ผ้ผู ลติ เชื้อจาเป็นต้องรู้จกั การคดั เลือกดอกเห็ดและเส้นใยท่ีจะนาไปทาเป็นหัวเช้ือให้ถูกต้องและไม่ ควรต่อเช้ือบ่อยนัก เพราะจะทาใหผ้ ลผลิตของเหด็ ที่ไดล้ ดลง หนงั สือประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเห็ดฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
30 สว่ นประกอบตำ่ ง ๆ ของเห็ด 1. หมวกเหด็ เป็นส่วนปลายสุดของดอกท่ีเจรญิ เติบโตข้นึ ไปในอากาศ เมอื่ ดอกบานเตม็ ทจี่ ะกางออก มีลักษณะรปู ทรงเหมอื นร่มกาง ขอบคุ้มลงหรือแบนราบ หรอื กลางหมวกเวา้ เป็นแอ่งมรี ปู เหมอื นกรวยปากกวา้ ง ผวิ หมวกเหด็ ด้านบนอาจจะเรียบ ขรุขระ มีเกลด็ หรอื มขี นแตกต่างกนั แล้วแต่ชนิดของเห็ด เนื้อหมวกเห็ดหนา บางตา่ งกนั อาจจะเหนยี วหรือฉีกขาดไดง้ ่าย เน้ือเย่อื ของหมวกเห็ดบางชนดิ อาจเปลีย่ นสไี ดเ้ ม่ือถูกอากาศ 2. ครีบ หรือซห่ี มวดเห็ด เรยี งเปน็ รัศมรี อบกา้ นดอก ดา้ นล่างของหมวกเห็ด เหด็ แต่ละชนดิ มจี านวน ครีบหมวกแตกต่างกันและความหนาบางไมเ่ ท่ากนั จานวนของครีบหมวกจึงใชเ้ ป็นลักษณะประกอบการจาแนก เหด็ ดว้ ย สขี องครีบหมวกส่วนมากจะเปน็ สีเดยี วกับสเปอรข์ องเหด็ ซึง่ จัดเป็นลกั ษณะแตกต่างของเห็ดแต่ละ ชนิดด้วย 3. ก้ำนดอก มีขนาดใหญแ่ ละยาวแตกต่างกัน ส่วนมากเป็นรปู ทรงกระบอก ตอนบนยึดติดกับหมวก เห็ดหรือครีบหมวกดา้ นใน ก้านดอกเห็ดมผี ิวเรียบขรุขระหรอื มีขน หรือมีเกลด็ 4. วงแหวน เปน็ เน้ือเย่ือบาง ๆ ยึดก้านดอกและขอบหมวกของเห็ดใหต้ ิดกนั เมอื่ หมวดเหด็ กางออก เยือ่ จงึ จะขาดจากขอบหมวก แต่ยงั มีเศษส่วนยดึ ตดิ กับกา้ นดอกใหเ้ ห็นรอบก้านดอกเหมือนมีวงแหวนหรือแผ่น เหยือ่ บางสวมอยู่ 5. เปลือกหุ้ม เป็นเน้ือเยื่อหนาหรือบางชั้นนอกสุดท่ีหุ้มดอกเห็ดทั้งดอกไว้ ในระยะท่ีเป็นดอกตูม เปลอื กหุม้ จะมีเน้อื เย่อื และสีคลา้ ยคลงึ กับหมวกเหด็ แต่ส่วนมากจะมสี ขี าว 6. กลุ่มเสน้ ใย บรเิ วณทด่ี อกเหด็ จะขนึ้ ปรากฏเส้นใยราสีขาวขน้ึ อยู่กอ่ น เส้นใยนจี้ ะก่อตวั หรอื รวมตวั กันเป็นก้อนใหญ่ เห็ดบางชนดิ จะมเี สน้ ใยรวมตวั กนั เป็นก้อนแข็งอยู่ท่ีโคนกา้ นดอก หรอื เปน็ เสน้ หยาบมองเหน็ ด้วยตาเปลา่ แตเ่ หด็ บางชนดิ มเี สน้ ใยละเอียดเลก็ มาก มองไมเ่ ห็นลกั ษณะดงั กลา่ ว โดยปกติเส้นใยของเหด็ จะ เป็นสีขาวนวลแทรกซมึ อยตู่ ามที่บรเิ วณท่จี ะเกดิ ดอกเห็ด วงจรชีวติ ของเห็ดฟำง วงจรชีวติ ของเหด็ ฟางกเ็ หมือนกับวงจรชีวิตของส่ิงที่มีชีวิตทั่ว ๆ ไป เห็ดฟางเป็นพืชชั้นต่า ซึ่งเกิด จาก เมล็ด (สปอร์) ท่ีตกลงในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เช่น มีความชื้น อุณหภูมิและอาหารดีก็จะงอกออกมาเป็น เส้นใยเห็ด แล้วเส้นใยเหด็ จะมารวมตวั กันเป็นดอกเหด็ ดอกเหด็ จะเจรญิ เติบโตเรอ่ื ย ๆ เป็นหมวก เป็นครีบและ เปน็ ก้านดอกที่เราเหน็ และนามารับประทาน หนงั สือประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเห็ดฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
31 วงจรชีวิตเหด็ สภำพแวดลอ้ มทเ่ี หมำะสมต่อกำรเพำะเห็ด อุณหภูมิ อุณหภูมิมีส่วนสาคัญต่อการเจริญเติบโตของเห็ดฟางเป็นอย่างมาก ท่ีอุณหภูมิ 38-40 องศา เซลเซยี ส เป็นช่วงทีเ่ หมาะสมทสี่ ุดสาหรบั การงอกของสปอรเ์ ห็ด เสน้ ใยเจริญดที ่อี ณุ หภมู ิ 35-38 องศาเซลเซียส และเกิดดอกได้ท่ีอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส ถ้าร้อนเกินไปดอกเห็ดจะเล็กและบานเร็วกว่าธรรมดา ถ้าเย็น เกนิ ไปเสน้ ใยเจริญช้าลงจนหยดุ เจรญิ กม็ ี ขอ้ สังเกตคือ หน้าร้อนเพาะเห็ดฟางราวๆ 7 วันก็เป็นดอก หน้าฝนกิน เวลา 8-12 วนั ส่วนหนา้ หนาว 15-18 วัน หรอื กวา่ นนั้ หรือไม่ออกดอกเห็ดเลย ควำมชื้น ความชืน้ จาเปน็ ต่อการเจริญเตบิ โตของเส้นใย การเกิดดอกและการเจริญเติบโตของดอกเห็ด แตภ่ ายในดอกเหด็ ถา้ ความช้นื มากเกนิ ไป เสน้ ใยจะชุ่มน้ามากและตายได้ ดอกเห็ดเล็ก ๆ ท่ีถูกรดน้าจะไปชุ่มอยู่ บริเวณรอยต่อของเส้นใยกับดอกเห็ด ทาให้ส่งอาหารไปยังดอกเห็ดไม่ได้จึงฝ่อและตายลงได้ แต่ถ้าแห้งไปดอก เห็ดจะกระดา้ งหรอื มรี อยแตก และดอกเหด็ ไมเ่ จรญิ เตบิ โต แสง แม้ว่าแสงมีความจาเป็นต่อการเจริญเติบโตและการรวมตัวของเส้นใยเห็ดเพื่อเกิดเป็นดอก แต่แสงก็ไม่มีความจาเป็นต่อการเจริญเติบโตของดอกเห็ด และในทางตรงกันข้ามแสงจะเป็นตัวทาให้ดอกเห็ด เปล่ยี นสคี ล้าขึน้ ตา่ งกับเห็ดที่ขึน้ ในทม่ี ืดซง่ึ จะมีสขี าวเปน็ ทน่ี ิยมของผู้บริโภค ควำมเป็นกรดด่ำง (pH) ผลของกรดด่างมีผลที่สาคัญต่อการผลิตเห็ดเช่นกัน เห็ดฟางชอบสภาพเป็น กลางหรือกรดเล็กน้อย ถ้าเป็นกรดมากหรือเปรี้ยวไปจะทาให้บักเตรีในกองฟางไม่เจริญ ไม่ยอมสลายโมเลกุล โตๆ ให้เล็กลงได้ เส้นใยเห็ดฟางก็จะได้รับอาหารน้อยกว่าที่ควร จะเป็นดอกเห็ดก็จะขึ้นน้อยไปด้วย ความเป็น กรดเปน็ ดา่ งท่เี หมาะสมสาหรับเหด็ ฟางควรอยู่ในระดับ 5-8 อำกำศ ทุกระยะของการเจริญเติบโตของเห็ดล้วนแต่ต้องการอากาศในการหายใจทั้งสิ้น โดยเฉพาะ อย่างย่ิงในระยะที่กาลังจะเกิดดอกและเกิดดอกแล้ว ถ้าภายในแปลงเห็ดมีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มากเกินไป เส้นใยจะเจริญเติบโตช้าลงหรือชะงัก ดอกเห็ดจะยืดยาวออกในลักษณะผิดปกติ ส่วนผิวของดอกเห็ดจะหยาบ ขรุขระ คล้ายหนงั คางคก หนงั สอื ประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเหด็ ฟำง (รหสั วิชำ อช 02006)
32 กำรผลติ เช้ือเหด็ ฟำงบรสิ ุทธ์ิบนอำหำรวนุ้ : ควรปฏิบัติตามข้นั ตอน ดังน้ี 1. กำรคดั เลอื กดอกเหด็ ไวท้ ำพนั ธุ์ - ควรคดั เลอื กดอกเห็ดทขี่ ้นึ เองตามธรรมชาติจะดีทสี่ ุด เพราะจะได้เสน้ ใยเหด็ ท่แี ข็งแรงและใหผ้ ลผลิต สูง หรืออาจจะคัดเลือกเอาจากดอกเห็ดในแปลงเพาะท่ีมลี ักษณะดังน้แี ทนก็ไดเ้ ชน่ กัน - เลือกดอกเห็ดจากแปลงทใ่ี ห้ผลผลิตสูงสดุ - ควรเปน็ ดอกตมู อาจเป็นรปู ทรงกลมหรือทรงรี - เลอื กดอกเหด็ ท่ีมเี ปลือกหมุ้ ดอกเหด็ หนาเพราะจะได้นา้ หนกั ดีบานช้าและแข็งแรง - ไม่ควรเลือกดอกท่เี ล็กหรือใหญ่เกนิ ไปเลือกขนาดเหมาะสมกับความตอ้ งการของตลาด - อาจเปน็ สขี าวหรือสเี ทา เลอื กโดยอิงตามความต้องการของตลาดเปน็ หลกั แต่เหด็ สีเทาเข้ม จะให้ ผลผลิตสงู กว่าดอกเหด็ สีขาว 2. กำรทดสอบเช้ือเห็ดฟำง ก่อนจะนาเชื้อเห็ดไปขยายพันธ์ุ ผู้ผลิตหัวเช้ือควรทาการทดสอบเชื้อเห็ดฟางก่อน เพ่ือให้ได้หัวเช้ือที่ดี และให้ผลผลติ สูง ใหป้ ฏิบัตดิ ังนี้ เม่อื แยกเนื้อเยอื่ จากดอกเหด็ ไปเล้ยี งบนอาหารวนุ้ เสน้ ใยของเหด็ ฟางจะเจริญอย่างรวดเร็วหากเส้นใยมี ลักษณะค่อนข้างฟู มีสีขาว แสดงว่า เป็นเส้นใยท่ีเป็นหมัน หากนาไปขยายพันธุ์จะมีการสร้างดอกน้อยและให้ ผลผลติ ตา่ จึงไม่ควรใช้เส้นใยลกั ษณะดงั กลา่ วน้ี เส้นใยท่เี หมาะสมแก่การนาไปทาหัวเชื้อ ควรเป็นเส้นใยที่เจริญเติบโตเร็วเส้นใยจะเจริญในแนวราบติด กบั อาหารวนุ้ เสน้ ใยทด่ี ีควรมีลักษณะหยาบอยา่ งเหน็ ไดช้ ัด เมื่อเส้นใยเดินเต็มผิวอาหารวุ้นแล้ว ท้ิงไว้ประมาณ 5-7 วัน เส้นใยจะเปลี่ยนจากสีขาวเป็นสีน้าตาล ออ่ นและมกี ารสร้างคลามัยโดสปอร์ โดยเส้นใยจะรวมตัวกนั เป็นจดุ เลก็ ๆ เหน็ ไดช้ ดั แสดงว่าเป็นเช้ือเห็ดฟางที่ดี แขง็ แรง ถา้ นาไปเพาะในแปลงจะเกิดดอกแน่นอน ถ้าเส้นใยไม่เปล่ียนสี ไม่สร้างคลามัยโดสปอร์ไม่ควรนาไปใช้ ทาพันธุ์ หนงั สือประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเห็ดฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
33 3. สูตรอำหำรเลีย้ งเชื้อเหด็ ฟำง มหี ลายสตู รแตท่ ี่นิยมมากทสี่ ุด คอื สตู ร พีดีเอ (Potato Dextrose Agar) และเส้นใยเห็ดฟางจะเจริญ ได้ดีในอาหารท่มี ี pH 6.8-7.8 4. กำรเขยี่ เชือ้ เห็ดฟำง วิธีการเลี้ยงเช้ือบนอาหารวุ้นท่ีนิยมใช้มี 2 วิธี คือ การเพาะเล้ียงสปอร์กับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ดอกเหด็ การเพาะเลี้ยงเชอ้ื เหด็ บรสิ ุทธแิ์ ละการเขี่ยเช้อื 5. กำรขยำยเช้ือเห็ดฟำงหรือกำรผลิตหัวเชือ้ เหด็ ฟำง (Spawn production) เพ่ือเพิ่มปริมาณของเส้นใยให้มากขึ้นภายหลังจากที่เส้นใยเห็ดฟางเจริญเต็มผิวอาหารวุ้นแล้ว ควร ขยายเช้อื เหด็ ฟางลงในเมล็ดธัญพืชซ่ึงนิยมใช้ข้าวฟ่าง และในปุ๋ยหมักสาหรับขยายเช้ือเห็ดฟาง การผลิตหัวเช้ือ เห็ดจากธัญพืชและปุ๋ยหมกั **การเข่ียเสน้ ใยเหด็ ฟางจากอาหารวนุ้ ลงเลยี้ งขยายในเมล็ดธัญพืชตอ้ งเขีย่ ในตูเ้ ข่ียเช้อื ประมาณ 5-7 วัน เชอ้ื เห็ดฟางจะเดนิ เตม็ เมล็ดในขวด จากนัน้ จะนาขยายลงในถุงปุ๋ยหมัก ไม่ควรนาเชือ้ เหด็ จากเมล็ดธัญพชื ลงใน แปลงเพาะ เพราะเมลด็ ธัญพืชยังมอี าหารเหลอื อีกมากอาจมีจลุ นิ ทรีย์อื่น แมลงหรอื มดใช้เป็นอาหารและมกี าร สิน้ เปลืองมาก จึงควรขยายเช้ือเห็ดลงบนปยุ๋ หมักก่อนนาไปเพาะในแปลง ***ข้อควรระวังในการผลติ เชื้อเห็ดฟางคือ การต่อเชอ้ื หลายๆ ครั้ง เช้ือเหด็ จะอ่อนแอและผลผลิตลดลงได้ หนังสอื ประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเหด็ ฟำง (รหสั วิชำ อช 02006)
34 กิจกรรมทำ้ ยบทที่ 4 เรือ่ ง พนั ธ์แุ ละกำรเพำะเล้ยี งเช้ือเห็ดฟำง 1. ใหบ้ อกสายพนั ธ์ุเหด็ ฟางท่ีมีอยูใ่ นทอ้ งถิน่ และทนี่ ิยมเพาะเพื่อขายในท้องตลาด ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................ .............................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. 2. อธิบายหลกั การเลือก เหด็ ฟางทจ่ี ะนามาใช้ในการเพาะเลีย้ งเชื้อเหด็ ฟาง ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................................... ... ............................................................................................................................. ................................................. 3. อธบิ ายขั้นตอนและวิธกี ารเพาะเลยี้ งเชื้อเหด็ ฟาง ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................................ .. หนงั สือประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเห็ดฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
35 4. ใหอ้ ธิบายขน้ั ตอนการเตรียมการเพาะเหด็ ฟางแบบโรงเรือน ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................ .................. ................................................................................................................. ............................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................. ............................. ...................................................................................................... ........................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................... ....................................... ............................................................................................ .................................................................................. 5. ให้อธิบายขนั้ ตอนอบไอนา้ ฆ่าเชื้อในโรงเรอื นเพาะเห็ดฟาง ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................................... .................... ............................................................................................................... ............................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................ .............................. ..................................................................................................... ......................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ...................................................................................................................................... ........................................ .......................................................................................... .................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. 6. ให้อธบิ ายขนั้ ตอนการจัดเตรยี มเชอื้ เห็ดฟางและการโรยเชือ้ เห็ดฟางลงในวสั ดุเพาะในโรงเรือน ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. หนงั สือประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเห็ดฟำง (รหสั วิชำ อช 02006)
36 บทที่ 5 วธิ ีกำรและข้ันตอนกำรเพำะเห็ดฟำง หนงั สือประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเหด็ ฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
37 แผนกำรเรียนรปู้ ระจำบท รำยวชิ ำ กำรเพำะเหด็ ฟำง บทท่ี 5 วิธีกำรและข้ันตอนกำรเพำะเห็ดฟำง สำระสำคัญ การเพาะเหด็ ฟางเป็นอาชีพท่ีน่าสนใจ สามารถทาไดใ้ นครัวเรือน สาหรับการบรโิ ภค การทาเปน็ อาชีพเสรมิ ซึ่งมวี ธิ ีการในการเพาะท่หี ลากหลาย สามารถเลือกทาไดต้ ามความสนใจ ผลกำรเรยี นรู้ท่คี ำดหวงั เมื่อศึกษาบทท่ี 5 จบแลว้ นักศึกษาสามารถ 1. อธบิ ายวธิ ีการและขัน้ ตอนการเพาะเห็ดฟางในโรงเรือนได้ 2. อธบิ ายวิธีการและขนั้ ตอนการเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ยได้ 3. อธบิ ายวิธีการและข้นั ตอนการเพาะเห็ดฟางในตะกรา้ ได้ ขอบข่ายเนื้อหา เรือ่ งท่ี 5.1 การเพาะเห็ดฟางในโรงเรือน เรือ่ งท่ี 5.2 การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ย เรอื่ งท่ี 5.3 การเพาะเห็ดฟางในตะกร้า กจิ กรรมกำรเรียนรู้ 1. ศึกษาเอกสารการสอนบทท่ี 5 2. ปฏิบัติกจิ กรรมตามที่ไดร้ บั มอบหมายในเอกสารการสอน 3. ฝกึ ปฏบิ ตั ิ 4. สือ่ กำรสอน 1. เอกสารการสอนบทที่ 5 2. วสั ดุอุปกรณ์ในการเพาะเห็ดฟางในตะกร้า ประเมินผล 1. ประเมินผลจากการทากจิ กรรมทา้ ยบท หนังสอื ประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเห็ดฟำง (รหสั วิชำ อช 02006)
38 เร่อื งท่ี 5.1 กำรเพำะเห็ดฟำงในโรงเรือน 5.1.1 กำรเพำะเหด็ ฟำงในโรงเรือน การเพาะเห็ดฟางแบบกองเต้ียและแบบกองสูง เป็นการเพาะเห็ดที่เรียบง่าย เหมาะสาหรับ เกษตรกรรายย่อย เพราะไม่ต้องลงทุนมาก แต่เป็นวิธีที่ให้ผลผลิตไม่แน่นอนต้องอาศัยสภาพดินฟ้าอากาศไม่ สามารถผลิตเห็ดให้มีคุณภาพสูงพอที่จะส่งออกเป็นอุตสาหกรรมได้ จึงได้มีการศึกษาวิธีเพาะเห็ดฟางให้ได้ ผลผลติ สงู มีความสมา่ เสมอแนน่ อนตามเวลาทต่ี อ้ งการ และสามารถผลิตเห็ดได้ตลอดปี สามารถทาเป็นการค้า โดยวธิ ีการเพาะเห็ดแบบโรงเรือน การเพาะเห็ดฟางแบบโรงเรือน เป็นการใช้ความรู้ทางด้านการเกษตรแผนใหม่เข้าช่วยในทุก ขั้นตอนของการเจริญเติบโต จนกระท่ังเกิดดอกและเก็บเก่ียว ผู้ท่ีจะเพาะเห็ดฟางแบบโรงเรือน จึงควรจะผ่าน การเพาะเห็ดแบบกองสูงหรือกองเต้ียมาแล้ว เพื่อจะได้ทราบถึงความต้องการปัจจัยต่าง ๆ ในการเจริญเติบโต ของเห็ดฟางทุกข้ันตอนตั้งแต่เร่ิมแรกจนกระท่ังเก็บเก่ียวผลผลิต ท้ังน้ีเพราะการเพาะเห็ดฟางด้วยวิธีนี้ต้อง ลงทุนคร้ังแรกสูงมากในด้านการก่อสร้างโรงเรือน เคร่ืองกาเนิดไอน้า และอุปกรณ์อื่น ๆ มีขั้นตอนในการเพาะ เห็ดมากขึ้น โดยจะต้องหมักปุ๋ยที่จะใช้เพาะ, นามาตีให้ละเอียด, ใส่ในโรงเรือน, เลี้ยงเช้ือรา, อบฆ่าเชื้อ, ปรับ อณุ หภมู ิความชนื้ และแสง เปน็ ตน้ หากปรับสภาพแวดล้อมไม่ถกู วธิ ีอาจทาใหเ้ สยี ทั้งหมดได้ ในการเพาะเห็ดฟางในโรงเรือน วัสดุเพาะนิยมใช้และได้ดีท่ีสุดก็คือ ขี้ฝ้าย (อาจผสมไส้นุ่นด้วยก็ ได)้ โดยใช้ฟางเป็นวัสดุรองเพาะ อย่างไรก็ดีเรายังสามารถใช้วัสดุอ่ืน ๆ เพาะได้เช่นกัน ซ่ึงได้แก่ ไส้นุ่น เปลือก ถวั่ เขียว เปลอื กถวั่ เหลือง ผักตบชวาแห้ง ต้นกล้วยแห้ง ฟาง เศษหญ้าแห้ง ชานอ้อย และต้นข้าวโพดแห้ง เป็น ตน้ แต่วสั ดดุ ังกล่าวน้ยี งั ไมเ่ ป็นทีน่ ยิ ม เพราะไดผ้ ลไม่ดเี ทา่ ทคี่ วร ข้นั ตอนในการเพาะเหด็ ฟางในโรงเรอื นทส่ี าคัญก็มีดังนี้ 1. การจัดโปรแกรมการเพาะเห็ดฟางในโรงเรือน 2. การหมักวัสดทุ ี่ใช้เพาะ (การหมักขีฝ้ า้ ย, ไส้นนุ่ ) 3. การตีป่นขฝ้ี า้ ยและการเตมิ ธาตอุ าหารเสริม 4. การนาขฝ้ี ้ายขนึ้ ชั้นเพาะเหด็ 5. การเลี้ยงเชือ้ ราอาหารเหด็ 6. การอบไอนา้ ฆา่ เชอ้ื ราและศตั รเู หด็ 7. การจัดเตรียมเช้อื เห็ดฟางและการโรยเชื้อเหด็ ฟาง 8. การปรบั อุณหภมู แิ ละสภาพอากาศภายในโรงเรือน หนงั สือประกอบกำรเรยี น วิชำ กำรเพำะเห็ดฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
39 9. การดแู ลการพัฒนาของดอกเหด็ และการเก็บผลผลติ 10.การทาความสะอาดโรงเรือนเพ่ือเตรียมการเพาะครัง้ ต่อไป 5.1.2 ข้ันตอนกำรเพำะเห็ดฟำงในโรงเรอื น กำรดำเนนิ งำน (ใช้กบั โรงเรือน ขนำด 4 X 6 X 2.5 เมตร) วนั ที่ 1 หมักขฝี้ า้ ย 200 กโิ ลกรัม แช่นา้ 1 คืน เอาข้ึนเพ่ือให้สะเด็ดนา้ เติมยูเรีย 1-2 กิโลกรัม ต้งั กอง สามเหลยี่ มสูง 70 เซนตเิ มตรกว้าง ยาวไม่จากัด หมกั 1 คืน วนั ที่ 2 กลับกอง เติมราละเอียด 10 กโิ ลกรัม ต้ังกองเติมปูนขาว 2 กโิ ลกรัม ตั้งกองสามเหล่ียมหมักต่อ 1 วัน (เอาฟางแชน่ า้ 1-2 คนื 30 กโิ ลกรมั ) วนั ที่ 3 กลบั กอง ตปี น่ เติมยิบชม่ั 2 กิโลกรมั เตรียมเอาข้ึนชัน้ โรงเพาะ - เอาฟางรองบนชนั้ 30 กิโลกรัม ความหนาของแตล่ ะชน้ั 4, 5 นิว้ - เอาขี้ฝา้ ยหมักขึ้นทับบนฟางหนา 4, 5 นิ้ว จนหมดข้ฝี ้าย 200 กโิ ลกรัม - ใชไ้ อน้า รักษาอุณหภมู ิท่ี 45 นาน 24 ชวั่ โมง วนั ที่ 4 อบไอนา้ ฆา่ เชอ้ื จลุ นิ ทรีย์ที่ 70 องศาเซลเซียส นาน 6 ชว่ั โมง พักใหเ้ ยน็ ประมาณ 1 คืนโดยให้อณุ หภมู ิประมาณ 35 องศาเซลเซียส วันท่ี 5-8 เมอ่ื ภายในโรงเรือนอุณหภมู ิ 35 องศาเซลเซียส หว่านเช้อื เหด็ ฟางท่คี ัดแล้ว 30-50 หอ่ (5-10 กิโลกรมั ) ปิดประตูรกั ษาอุณหภมู ิ 32-38 องศาเซลเซยี ส นาน 3วัน วันท่ี 8-10 ระบายอากาศใยเหด็ ฟู คลมุ ผิวหน้าวสั ดเุ พาะ รักษาอุณหภูมิ 32-38 องศาเซลเซียส นาน 2 วัน วันท่ี 10-12 ระบายอากาศเพิ่ม (เส้นใยกับปุย๋ หมักหมด) พ่นสเปรยน์ ้าให้เสน้ ใยยบุ ตวั ลง ชว่ ยลดอณุ หภูมเิ ปดิ แสง เหด็ จะจับตุ่มดอกรักษาอณุ หภมู ิ 28-32 องศาเซลเซียส ไปเร่ือย ๆ จนเก็บดอกหมดคือประมาณ 5-7 วนั (ดอกโตข้ึน ตอ้ งเพิ่มอากาศโดยใชโ้ บเวอร์ ระบายทางช่องระบายอากาศ) วนั ที่ 12-17 เร่ิมเกบ็ ดอกได้และเกบ็ ไดน้ านประมาณ 5 วนั ผลผลิตรนุ่ แรกประมาณ 25 %ของทั้งหมด วันที่ 17-20 เกบ็ ดอกรนุ่ แรกหมด พักใยประมาณ 2-3 วนั จะเกดิ ตุ่มดอกเหด็ เก็บผลผลติ รนุ่ สองประมาณ 3 วนั วนั ท่ี 20 เกบ็ ผลผลติ รุน่ 2 หมด ผลผลติ ทีไ่ ดป้ ระมาณ 50-60 กิโลกรมั หนังสือประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเห็ดฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
40 เร่ืองที่ 5.2 กำรเพำะเหด็ ฟำงแบบกองเต้ยี 5.2.1 กำรเพำะเห็ดฟำงแบบกองเตี้ย การเพาะเหด็ ฟางแบบกองเต้ีย เป็นวิธีการที่ได้ประยุกต์มาจากการเพาะเห็ดฟางแบบกองสูง ข้อดี ของการเพาะเห็ดฟางแบบกองเต้ียก็คือ สามารถจะใช้วัสดุเพาะได้หลายอย่าง เช่น ฟาง ผักตบชวา ต้นถ่ัว ต้น กล้วย ข้ีเลื่อยท่ีผุแล้ว ชานอ้อย เหล่าน้ีเป็นต้น เป็นการเพาะที่ใช้วัสดุน้อยแต่ให้ผลผลิตดอกเห็ดได้สูง แต่เม่ือ เหด็ ออกดอกแล้วใช้เวลาการเก็บผลผลิตท้ังหมดได้ในระยะเวลาสั้นมาก สามารถรู้ผลผลิตค่อนข้างแน่นอน และ เหมาะในการเพาะเป็นอาชีพหรือทาไว้เพ่ือใช้กินเองในครัวเรือน เน่ืองจากการเพาะเห็ดฟางแบบกองเต้ียน้ี ขนาดกองเล็กมาก ดังนนั้ เพ่อื สะดวกในการเพาะจึงนยิ มทาไมแ้ บบเพื่อจะอัดวัสดทุ จ่ี ะเพาะให้เป็นรปู กองเล็กได้ 5.2.2 ข้นั ตอนในกำรเพำะเหด็ ฟำงแบบกองเตยี้ 1. เตรียมดินให้เรียบ พลิกหน้าดินตากแดดไว้ 3-4 วัน เพ่ือฆ่าเชอื้ โรค หนังสอื ประกอบกำรเรยี น วิชำ กำรเพำะเห็ดฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
41 2. การเพาะเห็ดฟางแบบกองเตี้ยใช้ได้ทั้งตอซังและปลายฟางข้าว ถ้าเป็นตอซังแช่น้าพออ่อนตัวก็ นามาเพาะได้ ปกติประมาณ 1 ช่ัวโมง แต่ถ้าเป็นปลายฟางแข็ง ๆ ควรแช่น้าประมาณ 1-2 วัน หรือจุ่มน้าแล้ว นามากองสุมกันไว้ประมาณ 1 คืน ให้อิ่มตัวนิ่มดีเสียก่อนจึงจะใช้ได้ดี ถ้าเป็นผักตบชวาหรือต้นกล้วยจะสับ หรือไมส่ บั กไ็ ด้ แต่ต้องแช่นา้ พอนิ่ม ปกติแชน่ า้ ประมาณ 1-2 ช่วั โมง แลว้ นามาใช้กองไดเ้ ลย 3. หลังจากแช่น้าวัสดุที่จะใช้เพาะได้ที่แล้ว ให้นาวัสดุท่ีใช้เพาะนั้น ใส่ลงในกระบะไม้ท่ีวางเอาด้าน กวา้ งซง่ึ มีลักษณะป้านลงสัมผัสพ้ืน ให้ด้านแคบอยู่ข้างบนใส่ให้สูงประมาณ 4-6 น้ิว ถ้าเป็นตอซังให้วางโคนตอ ซังหันออกด้านนอก สว่ นปลายอยู่ดา้ นในใชม้ ือกดฟางให้แน่นพอสมควร แต่ถา้ เป็นปลายฟางควรขึ้นไปย่าพร้อม ท้งั รดน้าใหช้ มุ่ ข้อควรระวังอยา่ ใหแ้ ฉะหรอื แห้งจนเกินไป 4. นาอาหารเสริมท่ีชุบน้าแล้วโรยเป็นแถบกว้างประมาณ 2 นิ้ว รอบ ๆ ด้านท้ังสี่ด้านหนาประมาณ 1 นิว้ 5. แบ่งเช้ือเห็ดฟางจากถุงซ่ึงปกติเช้ือเห็ดฟาง 1 ถุง หนักประมาณ 200 กรัม ออกเป็น 3-4 ส่วน เทา่ ๆ กนั จากนนั้ โรยเช้ือเห็ดฟาง 1 สว่ น โดยโรยลงบนอาหารเสริมใหท้ ั่วและชดิ กบั ขอบของแบบไม้ท้ังส่ีด้านก็ เป็นการเสร็จช้นั ท่ี 1 6. ทาชั้นที่ 2 และ 3 หรือ 4 ต่อไปก็ทาเช่นเดียวกับช้ันที่ 1 ทุกอย่าง เมื่อทามาถึงขั้นสุดท้าย ให้โรย อาหารเสริมและเชอ้ื เหด็ ใหเ้ ต็มทว่ั หลงั แปลง หนงั สอื ประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเห็ดฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
42 7. นาฟางท่ีแช่น้ามาปิดทับให้หนา 1-2 น้ิว แล้วเอาแบบไม้ออกโดยใช้มือข้างหน่ึงกดกองฟางไว้และ ทากองอนื่ ต่อ ๆ ไป 8. ทากองอืน่ ๆ ตอ่ ไปใหข้ นานกบกองแรก โดยเวน้ ระยะห่างประมาณ 6-12 นวิ้ 9. ช่องวา่ งระหว่างกองแต่ละกองสามารถใช้ให้เกิดประโยชน์ในการเพ่ิมผลผลิตได้อีก โดยอาจจะโรย เช้ือเห็ดฟางลงไปบนช่องว่างระหว่างกอง เพราะบริเวณน้ีก็สามารถทาให้เกิดดอกเห็ดได้ จากนั้น รดน้าดิน รอบ ๆ กองให้เปียกช้ืน 10. คลมุ กองฟางดว้ ยผา้ พลาสตกิ โดยใช้ 2 ผืนเกยทับกันตรงกลางคลุมให้สูงกว่ากองฟางเล็กน้อยโดย คลุมเป็นแถว ๆ ถ้าอากาศร้อน ให้คลุมห่าง อากาศเย็นให้คลุมชิดหรืออาจคลุมติดกองเลย ในกรณี อากาศเย็น จัด การคลมุ พลาสติกเป็นเรื่องสาคัญท่ีแต่ละแห่งในแต่ละ ฤดูจะต้องดัดแปลงไปตามความต้องการของเห็ด คือ ช่วงระยะแรก ราววันท่ี 1-2 เชื้อเห็ดต้องการอุณหภูมิประมาณ 35-38ซ. และ ในวันต่อ ๆ มาต้องการอุณหภูมิ ต่าลงเรื่อย ๆ จนราววนั ท่ี 8-10 ซึง่ เป็นวันทเี่ กบ็ ผลผลิตน้นั ต้องการอณุ หภมู ิราว 30 องศาเซลเซียส 11. นาฟางแหง้ มาคลุม ทับผ้าพลาสติกอีกคร้ังหนึ่งจนมิดเพื่อป้องกันแสงแดด แล้วใช้ของหนัก ๆ ทับ ปลายผ้าให้ตดิ พ้ืนกันลมตี หนงั สอื ประกอบกำรเรียน วิชำ กำรเพำะเหด็ ฟำง (รหัสวิชำ อช 02006)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105