เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก หน้า ๑๐๒ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา พระราชบญั ญัติ พน้ื ทีน่ วตั กรรมการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๒ สมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั มหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู ให้ไว้ ณ วนั ท่ี ๒๖ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นปที ี่ ๔ ในรัชกาลปัจจบุ ัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศวา่ โดยทเ่ี ปน็ การสมควรมกี ฎหมายว่าด้วยพ้นื ท่นี วตั กรรมการศึกษา จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของ สภานิตบิ ัญญตั แิ หง่ ชาติทาหน้าท่รี ัฐสภา ดงั ต่อไปน้ี มาตรา ๑ พระราชบัญญตั นิ เี้ รยี กวา่ “พระราชบญั ญตั พิ ้ืนที่นวตั กรรมการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๒” มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับต้ังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป เป็นเวลาเจด็ ปี การขยายเวลาใช้บังคับพระราชบัญญัติน้ี ให้กระทาได้โดยตราเป็นพระราชกฤษฎีกา โดยให้กระทาไดเ้ พยี งหนงึ่ ครั้งแต่ไม่เกินเจ็ดปี มาตรา ๓ ในพระราชบัญญตั นิ ้ี “นวัตกรรมการศึกษา” หมายความว่า แนวคิด วิธีการ กระบวนการ ส่ือการเรียนการสอน หรือการบริหารจดั การในรปู แบบใหม่ ซึง่ ได้มีการทดลองและพฒั นาจนเปน็ ที่นา่ เชอ่ื ถอื วา่ สามารถสง่ เสรมิ การเรียนรู้ของผู้เรียนและการจัดการศึกษา และให้หมายความรวมถึงการนาสิ่งดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ ในพืน้ ทีน่ วัตกรรมการศกึ ษาด้วย
เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก ราชกหิจนจ้ าานุเ๑บ๐ก๓ษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ “พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา” หมายความวา่ พ้ืนที่ท่ีคณะรัฐมนตรีประกาศกาหนดให้เป็นพื้นท่ี ปฏริ ปู การบรหิ ารและการจัดการศึกษาเพ่อื สนบั สนุนการสรา้ งนวัตกรรมการศกึ ษา “ผลสมั ฤทธทิ์ างการศึกษา” หมายความว่า พัฒนาการของผเู้ รียนท้งั ในด้านความรู้ สมรรถนะ ทักษะ และเจตคติ “สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน” หมายความว่า โรงเรียนที่จัดการศึกษาในระบบ ระดับการศึกษา ขัน้ พน้ื ฐาน ประเภทสามญั ศกึ ษา “สถานศกึ ษานาร่อง” หมายความวา่ สถานศกึ ษาขั้นพื้นฐานในสงั กดั สานกั งานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพน้ื ฐานหรอื องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ หรือของเอกชน ที่อยู่ในพื้นท่ีนวัตกรรมการศกึ ษา ทคี่ ณะกรรมการขบั เคลื่อนพื้นที่นวตั กรรมการศึกษาอนุมตั ิให้เปน็ สถานศกึ ษานาร่อง “คณะกรรมการนโยบาย” หมายความวา่ คณะกรรมการนโยบายพน้ื ท่นี วัตกรรมการศกึ ษา “คณะกรรมการขับเคลื่อน” หมายความว่า คณะกรรมการขับเคล่อื นพนื้ ท่นี วตั กรรมการศกึ ษา “คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พน้ื ฐาน” หมายความว่า คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการศึกษาแหง่ ชาติ “ก.ค.ศ.” หมายความวา่ คณะกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาตามกฎหมาย ว่าด้วยระเบยี บข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา “รฐั มนตรี” หมายความวา่ รัฐมนตรผี ู้รักษาการตามพระราชบญั ญัตินี้ มาตรา ๔ ให้รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารรักษาการตามพระราชบญั ญัติน้ี หมวด ๑ การจดั ตั้งพน้ื ที่นวตั กรรมการศกึ ษา มาตรา ๕ พืน้ ทีน่ วตั กรรมการศึกษาจัดตง้ั ข้ึนเพอื่ วตั ถปุ ระสงค์ ดังตอ่ ไปน้ี (๑) คดิ ค้นและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาและการเรียนรู้เพอ่ื ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการศกึ ษา ของผู้เรยี น รวมทั้งเพ่ือดาเนินการให้มีการขยายผลไปใชใ้ นสถานศึกษาขัน้ พนื้ ฐานอ่ืน (๒) ลดความเหลือ่ มล้าในการศกึ ษา
เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก ราชกหจิ นจ้าานุเ๑บ๐ก๔ษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ (๓) กระจายอานาจและให้อิสระแก่หน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษานาร่องในพ้ืนท่ี นวัตกรรมการศึกษาเพื่อเพิ่มความคล่องตัวในการบริหารและการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและ ประสิทธิภาพยิ่งขน้ึ และ (๔) สร้างและพัฒนากลไกในการจัดการศึกษารว่ มกันระหว่างภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในพน้ื ทีน่ วัตกรรมการศกึ ษา ในกรณีที่มีปัญหาเร่อื งการตีความหรือการวินจิ ฉยั ปัญหาอันเกิดจากการใช้บงั คับพระราชบญั ญัตินี้ การตีความจะต้องเอื้ออานวยให้เกิดการสร้างนวัตกรรมการศึกษา และมุ่งเน้นให้เกิดสัมฤทธิผลของ การจัดตง้ั พืน้ ทน่ี วัตกรรมการศึกษาเป็นสาคญั มาตรา ๖ คณะรัฐมนตรโี ดยคาแนะนาของคณะกรรมการนโยบายมีอานาจกาหนดให้จังหวัดใด เปน็ พนื้ ที่นวตั กรรมการศึกษาโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา การดาเนินการตามวรรคหนง่ึ ใหค้ ณะกรรมการนโยบายพจิ ารณาความเหมาะสมของการเป็นพ้ืนที่ นวัตกรรมการศึกษาโดยคานึงถึงความพร้อม ตลอดจนการมีส่วนรว่ มของผู้เก่ียวข้อง และโอกาสท่ีจะประสบ ความสาเร็จอย่างยั่งยืนประกอบด้วย โดยอย่างน้อยจะต้องคานึงถึงผลการดาเนินการที่ผ่านมาของพน้ื ท่ี นวตั กรรมการศกึ ษาอน่ื ทม่ี กี ารจัดตั้งอยกู่ อ่ นแล้ว การพิจารณาว่าจังหวดั ใดมคี วามพรอ้ มเป็นพื้นท่ีนวตั กรรมการศึกษา ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วธิ ีการ และเงือ่ นไขท่คี ณะกรรมการนโยบายประกาศกาหนด มาตรา ๗ จังหวัดใดประสงค์จะเป็นพ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษา ให้คณะผู้เสนอโดยความเห็นชอบ ของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดเสนอต่อคณะกรรมการนโยบายเพื่อดาเนินการตามมาตรา ๖ โดยแสดงให้เห็นถึงการมีส่วนร่วมขององค์กรภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และ ภาคประชาสงั คมทเี่ กย่ี วขอ้ ง และแสดงใหเ้ ห็นวา่ จังหวัดนัน้ มคี วามพรอ้ มท่จี ะดาเนนิ การตามวตั ถปุ ระสงค์ ของพื้นทนี่ วัตกรรมการศกึ ษา จานวนและคุณสมบัติของคณะผู้เสนอ หลักเกณฑ์และวิธีการเสนอตามวรรคหน่ึงให้เป็นไปตามท่ี คณะกรรมการนโยบายประกาศกาหนด ทง้ั นี้ คณะกรรมการนโยบายอาจกาหนดใหแ้ ตกต่างกนั ในแต่ละพื้นท่ี นวัตกรรมการศึกษากไ็ ด้ มาตรา ๘ การเสนอให้จัดต้ังพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาตามมาตรา ๗ วรรคสอง ต้องกระทา อย่างเปิดเผย และอย่างน้อยตอ้ งมรี ายละเอยี ด ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) รายชอ่ื คณะผเู้ สนอ
เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก หน้า ๑๐๕ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา (๒) สถานศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานทปี่ ระสงคจ์ ะเขา้ ร่วมเป็นสถานศกึ ษานาร่อง (๓) องค์ประกอบของคณะกรรมการขบั เคล่อื น (๔) แนวทางการดาเนินงานเพอื่ ใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงค์ตามมาตรา ๕ (๕) แนวทางการประสานความร่วมมือระหว่างภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ภาคเอกชน และภาคประชาสงั คมทีเ่ ก่ียวขอ้ ง (๖) ผลการรับฟังความคิดเห็นของผู้ที่เก่ียวข้อง และการวิเคราะห์ความพร้อมในการจัดต้ัง พน้ื ท่นี วตั กรรมการศึกษาอยา่ งรอบด้าน องค์ประกอบของคณะกรรมการขับเคลื่อนตาม (๓) ในแต่ละพ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษาอาจมี ความแตกตา่ งกันตามวตั ถปุ ระสงค์ ความพรอ้ ม และความจาเป็นของแตล่ ะพน้ื ท่ีนวัตกรรมการศกึ ษา มาตรา ๙ ในกรณีที่คณะกรรมการนโยบายเห็นว่าจังหวัดใดมีความจาเป็นอย่างย่ิงที่จะพัฒนา นวัตกรรมการศึกษาเพ่ือลดความเหล่ือมล้า คณะกรรมการนโยบายอาจให้คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด สารวจความพร้อมของภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมที่เก่ียวข้อง ในการดาเนนิ การขอเป็นพื้นที่นวัตกรรมการศกึ ษาตามมาตรา ๗ และมาตรา ๘ ในกรณที ่มี ีความพรอ้ ม ตามมาตรา ๖ ให้คณะกรรมการนโยบายเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือประกาศให้จังหวัดนั้นเป็นพื้นท่ี นวตั กรรมการศกึ ษาตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี หมวด ๒ คณะกรรมการนโยบายพ้ืนทนี่ วตั กรรมการศกึ ษา มาตรา ๑๐ ให้มีคณะกรรมการคณะหน่งึ เรียกวา่ “คณะกรรมการนโยบายพื้นท่นี วัตกรรม การศึกษา” ประกอบดว้ ย (๑) นายกรัฐมนตรี หรอื รองนายกรัฐมนตรซี ึง่ นายกรฐั มนตรมี อบหมาย เปน็ ประธานกรรมการ (๒) รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ เปน็ รองประธานกรรมการ (๓) กรรมการโดยตาแหน่ง จานวนเจ็ดคน ได้แก่ ปลัดกระทรวงการคลงั ปลัดกระทรวงดิจิทลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคม ปลัดกระทรวงมหาดไทย ปลดั กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ปลดั กระทรวง ศกึ ษาธิการ ผู้อานวยการสานักงบประมาณ และประธานทป่ี ระชมุ อธกิ ารบดีแหง่ ประเทศไทย เป็นกรรมการ
เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก ราชกหิจนจ้ าานเุ ๑บ๐ก๖ษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ (๔) กรรมการผูท้ รงคณุ วฒุ ซิ งึ่ คณะรฐั มนตรแี ตง่ ตงั้ จากบคุ คลซึง่ มีความรู้ ความเชีย่ วชาญ และ ประสบการณท์ ี่เกีย่ วข้องกบั การพัฒนาการศกึ ษา การพัฒนานวตั กรรมการศกึ ษา การพฒั นาทรพั ยากรมนุษย์ การบริหาร การเงิน การพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม การประเมินผล กฎหมาย เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม หรือด้านอ่ืนอันจะเป็นประโยชน์แก่การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพใน การจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๕ จานวนไม่เกิน แปดคน เปน็ กรรมการ ให้เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐานเป็นกรรมการและเลขานกุ าร และให้ผู้อานวยการ สานักงานบริหารพนื้ ทีน่ วัตกรรมการศึกษาและผู้แทนกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิน่ เป็นผูช้ ่วยเลขานุการ การสรรหากรรมการผ้ทู รงคุณวฒุ ิให้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์ วธิ ีการ และเงื่อนไขท่ีคณะกรรมการ นโยบายประกาศกาหนด มาตรา ๑๑ กรรมการผูท้ รงคุณวุฒติ ้องมคี ณุ สมบตั ิและไมม่ ลี ักษณะตอ้ งหา้ ม ดังต่อไปน้ี (๑) มีสัญชาติไทย (๒) ไมเ่ ป็นบุคคลล้มละลายหรือเคยเปน็ บคุ คลล้มละลายทจุ ริต (๓) ไมเ่ ป็นคนไรค้ วามสามารถหรือคนเสมอื นไรค้ วามสามารถ (๔) ไม่เคยได้รับโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่เป็นโทษสาหรับความผิด ทไี่ ด้กระทาโดยประมาทหรอื ความผิดลหุโทษ (๕) ไมเ่ คยถกู ไลอ่ อก ปลดออก หรอื ใหอ้ อกจากราชการ หนว่ ยงานของรฐั หรอื หนว่ ยงานเอกชน เพราะทุจรติ ต่อหนา้ ท่หี รอื ถือวา่ กระทาการทจุ รติ หรือประพฤติมชิ อบ (๖) ไม่เคยต้องคาพิพากษาหรือคาส่ังของศาลอันถึงที่สุดให้ทรัพย์สินตกเป็นของแผ่นดนิ เพราะ ร่ารวยผิดปกติ หรือเคยต้องคาพิพากษาอันถึงท่ีสุดให้ลงโทษจาคุกเพราะกระทาความผิดตามกฎหมาย ว่าด้วยการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ รติ มาตรา ๑๒ กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ มิ ีวาระการดารงตาแหน่งคราวละสี่ปีและอาจได้รับแต่งตั้ง อีกได้ แต่จะดารงตาแหนง่ ตดิ ต่อกันเกนิ สองวาระไม่ได้ เมื่อครบกาหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังไม่ได้มีการแต่งต้ังกรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิข้นึ ใหม่ ให้กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซงึ่ พ้นจากตาแหน่งตามวาระน้ันอยู่ในตาแหนง่ เพ่ือดาเนินงานต่อไปจนกว่ากรรมการ ผทู้ รงคุณวุฒซิ ง่ึ ไดร้ ับแต่งตั้งใหมเ่ ข้ารับหน้าท่ี
เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก ราชกหจิ นจ้าานุเ๑บ๐ก๗ษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ มาตรา ๑๓ นอกจากการพ้นจากตาแหน่งตามวาระตามมาตรา ๑๒ กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิ พ้นจากตาแหน่ง เม่อื (๑) ตาย (๒) ลาออก (๓) ขาดคุณสมบัตหิ รอื มลี ักษณะตอ้ งห้ามตามมาตรา ๑๑ (๔) คณะรัฐมนตรีให้ออกเพราะบกพร่องต่อหน้าที่ มีความประพฤติเสื่อมเสีย หรือ หยอ่ นความสามารถ มาตรา ๑๔ ในกรณีทีก่ รรมการผูท้ รงคุณวุฒพิ ้นจากตาแหนง่ ก่อนครบวาระ ให้แต่งตั้งกรรมการ ผทู้ รงคณุ วุฒแิ ทนตาแหนง่ ทว่ี ่าง หรือในกรณีที่แต่งตงั้ กรรมการผู้ทรงคณุ วฒุ เิ พ่มิ ข้ึนในระหวา่ งท่กี รรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิซง่ึ แต่งตัง้ ไว้แล้วยังมีวาระอยู่ในตาแหน่ง ให้ผู้ได้รับแตง่ ตัง้ ให้ดารงตาแหน่งแทนตาแหนง่ ที่ว่าง หรือเป็นกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเพ่ิมข้ึน อยู่ในตาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ซึ่งได้แต่งต้ังไว้แล้ว เว้นแต่วาระของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิเหลือไม่ถึงเก้าสิบวันจะไม่แต่งต้ังกรรมการ ผ้ทู รงคณุ วุฒแิ ทนหรือเพิม่ ข้นึ ก็ได้ และใหค้ ณะกรรมการประกอบดว้ ยกรรมการทัง้ หมดท่มี ีอยู่ มาตรา ๑๕ คณะกรรมการนโยบายมีหน้าท่ีและอานาจ ดงั ต่อไปนี้ (๑) กาหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ระดับประเทศในการดาเนินการส่งเสริมให้มีพ้ืนท่ีนวัตกรรม การศึกษา (๒) ให้คาแนะนาแก่คณะรัฐมนตรีในการประกาศกาหนดให้จังหวัดใดเป็นพ้ืนท่ีนวัตกรรม การศกึ ษา รวมทง้ั ประกาศยุบเลิกพื้นท่ีนวตั กรรมการศกึ ษา (๓) กาหนดนโยบาย และกากับดแู ลการดาเนนิ งานของคณะกรรมการขบั เคลือ่ น เพือ่ ให้บรรลุ วัตถุประสงคใ์ นการจัดต้งั พ้ืนท่ีนวตั กรรมการศึกษาตามมาตรา ๕ (๔) กาหนดหลักเกณฑ์การประเมินผลการดาเนินงานและการบริหารจัดการในพื้นท่นี วัตกรรม การศกึ ษา (๕) กาหนดแนวทางให้คณะกรรมการขับเคล่ือนปรับปรุงแก้ไขการดาเนินงานของหน่วยงาน ทางการศึกษาหรอื สถานศึกษานารอ่ งในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา (๖) กาหนดมาตรฐานข้อมูลและมาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูลการจัดการศึกษาของพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาและสถานศกึ ษานาร่อง
เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก ราชกหิจนจ้ าานุเ๑บ๐ก๘ษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ (๗) เสนอแนะต่อรัฐมนตรีใหม้ กี ารนาแนวปฏบิ ตั ทิ ่ีดใี นการจัดการศกึ ษาในพนื้ ทีน่ วัตกรรมการศึกษา ไปใชใ้ นการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานของรฐั และของเอกชน (๘) เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีในการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือ คาส่ังที่เกี่ยวกับการจัดการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ และกฎหมายอ่ืนท่ีเกี่ยวข้อง โดยนาผลสัมฤทธ์ิในการดาเนินงานของพ้ืนที่นวัตกรรม การศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการปรบั ปรงุ แก้ไขดงั กล่าว (๙) เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีในการตราพระราชกฤษฎกี าขยายเวลาใชบ้ งั คบั พระราชบญั ญตั นิ ้ี (๑๐) กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษานาร่อง (๑๑) ออกระเบยี บเกี่ยวกับการปฏบิ ตั ิงานทวั่ ไปเกี่ยวกับการบรหิ ารจดั การ การปฏิบัตงิ าน การเงิน สทิ ธปิ ระโยชน์ และการประเมินผล ภายในสถานศกึ ษานารอ่ ง (๑๒) แต่งต้ังคณะอนุกรรมการเพื่อทาการแทนหรือปฏิบัติงานตามที่คณะกรรมการนโยบาย มอบหมาย (๑๓) ออกระเบียบหรือประกาศเพ่ือปฏบิ ัติการให้เปน็ ไปตามพระราชบญั ญัตนิ ี้ (๑๔) หน้าที่และอานาจอ่ืนใดตามที่พระราชบัญญัติน้ีหรือกฎหมายอื่นกาหนดให้เป็นหน้าทแ่ี ละ อานาจของคณะกรรมการนโยบาย หลกั เกณฑ์การประเมินผลการดาเนินงานและการบรหิ ารจัดการพ้ืนทนี่ วัตกรรมการศึกษาตาม (๔) ตอ้ งสอดคลอ้ งกับวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๕ มาตรา ๑๖ การประชุมคณะกรรมการนโยบายต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกวา่ กึ่งหนงึ่ ของจานวนกรรมการท้งั หมด จึงจะเปน็ องคป์ ระชมุ ในการประชุมคณะกรรมการนโยบาย ถ้าประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจปฏิบัตหิ นา้ ทไ่ี ด้ ให้รองประธานกรรมการเป็นประธานในท่ีประชุม ถ้ารองประธานกรรมการไม่มาประชุมหรือไม่อาจ ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ได้ ให้ทป่ี ระชุมเลอื กกรรมการคนหนึง่ เป็นประธานในท่ปี ระชุม การวินิจฉัยช้ขี าดของท่ีประชุมให้ถือเสียงข้างมาก กรรมการคนหน่ึงให้มีเสียงหนง่ึ ในการลงคะแนน ถา้ คะแนนเสียงเทา่ กนั ใหป้ ระธานในท่ปี ระชุมออกเสยี งเพมิ่ ข้ึนอีกเสยี งหน่งึ เปน็ เสยี งช้ขี าด คณะกรรมการนโยบายตอ้ งมกี ารประชุมอยา่ งน้อยปลี ะสค่ี ร้ัง
เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก ราชกหจิ นจ้าานเุ๑บ๐ก๙ษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ มาตรา ๑๗ ให้ประธานกรรมการนโยบาย รองประธานกรรมการนโยบาย กรรมการนโยบาย และอนุกรรมการที่คณะกรรมการนโยบายแต่งต้ัง ได้รับค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ตามที่ คณะรัฐมนตรกี าหนด มาตรา ๑๘ ให้จัดตั้งสานักงานบริหารพื้นที่นวตั กรรมการศกึ ษา ในสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ทาหน้าที่เก่ียวกับงานวิชาการและงานธุรการของคณะกรรมการนโยบาย รวมทั้ง ให้มหี น้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) เป็นหน่วยงานกลางในการดาเนินการ ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานของพื้นที่ นวตั กรรมการศกึ ษา และรับผิดชอบงานธรุ การของคณะกรรมการนโยบาย (๒) จัดทานโยบายและยทุ ธศาสตรร์ ะดับประเทศในการดาเนินการส่งเสริมให้มีพ้ืนท่นี วัตกรรม การศึกษา เพ่ือเสนอต่อคณะกรรมการนโยบาย (๓) จัดให้มีการวิเคราะห์และวิจัยเก่ียวกับการพัฒนานวัตกรรมการศึกษาในพ้ืนท่ีนวัตกรรม การศึกษา (๔) จัดทามาตรฐานข้อมูลและมาตรฐานการแลกเปล่ียนข้อมูลการจัดการศึกษาของพื้นท่ี นวัตกรรมการศกึ ษาและสถานศึกษานาร่องเพ่ือเสนอต่อคณะกรรมการนโยบาย (๕) รวบรวมข้อมูล ศึกษา และวิเคราะห์แนวทางการจัดการศึกษาของพ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษา รวมท้ังนาเสนอแนวทางการขยายผลแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดการศึกษาของพ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษา ต่อคณะกรรมการนโยบาย (๖) กากบั ติดตาม และตรวจสอบการจดั การศึกษาในพ้นื ทีน่ วตั กรรมการศกึ ษา (๗) จัดทารายงานประจาปีเก่ียวกับการจัดการศกึ ษาในพนื้ ท่นี วตั กรรมการศกึ ษา (๘) ปฏิบัติงานอ่ืนใดตามพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นท่ีบัญญัติให้เป็นหน้าท่ีและอานาจ ของสานักงาน หรือตามที่คณะกรรมการนโยบายมอบหมาย หมวด ๓ การบรหิ ารพืน้ ทนี่ วตั กรรมการศกึ ษา มาตรา ๑๙ ในแต่ละพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษาให้มีคณะกรรมการขับเคล่ือนพ้ืนที่นวัตกรรม การศึกษา คณะหน่ึง จานวนไม่เกินย่ีสิบเอ็ดคน ประกอบด้วย ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานกรรมการ และกรรมการอื่นซง่ึ อยา่ งนอ้ ยตอ้ งประกอบดว้ ย กรรมการโดยตาแหนง่ จากหนว่ ยงานท่ีเกย่ี วขอ้ ง ผู้แทน
เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก ราชกหจิ นจ้าานุเ๑บ๑ก๐ษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ สถานศึกษาข้ันพนื้ ฐานในพ้ืนที่นวตั กรรมการศึกษา ผู้แทนสถาบันอดุ มศกึ ษาที่มีความเช่ียวชาญด้านการผลติ และพัฒนาครู ผู้แทนองค์กรเอกชน และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ โดยให้ศกึ ษาธิการจังหวัดเปน็ กรรมการ และเลขานกุ าร องค์ประกอบของคณะกรรมการ จานวน คุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม หลักเกณฑ์และ วิธีการได้มา วาระการดารงตาแหน่งและการพ้นจากตาแหน่งของกรรมการขับเคล่ือน ให้เป็นไปตามท่ี คณะกรรมการนโยบายประกาศกาหนดตามความเหมาะสมในแต่ละพื้นท่ีนวัตกรรมการศึกษา โดยให้ พิจารณาจากคาขอจัดต้ังพื้นท่ีนวตั กรรมการศึกษาตามมาตรา ๗ และให้คานึงถึงความหลากหลายและ การมสี ว่ นรว่ มของภาคสว่ นตา่ ง ๆ เมื่อคณะรัฐมนตรีประกาศให้จังหวัดใดเป็นพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาแล้ว ให้สานักงาน ศึกษาธิการจังหวัดของจังหวัดน้ัน ดาเนินการให้ได้มาซ่ึงกรรมการขับเคล่ือนตามวรรคหน่ึง เพ่ือเสนอ คณะกรรมการนโยบายแต่งตง้ั มาตรา ๒๐ เพื่อบรรลุวัตถุประสงคต์ ามมาตรา ๕ ให้คณะกรรมการขับเคลื่อนมีหน้าท่ีและ อานาจ ดงั ต่อไปนี้ (๑) กาหนดยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนการดาเนนิ งานเพอื่ ขบั เคล่ือนพน้ื ท่นี วตั กรรมการศึกษา (๒) ประสานให้หนว่ ยงานทางการศกึ ษา องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น หน่วยงานอน่ื ของรัฐและ เอกชน ดาเนินการร่วมกันเพื่อขับเคล่ือนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาตามยุทธศาสตร์และแผนการดาเนินงาน ตาม (๑) (๓) ประสานให้หน่วยงานที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะให้การสนับสนุนทางเทคนิคในการจัดทา ส่ือการสอน จัดการเรยี นรใู้ นรูปแบบใหม่ พัฒนาบุคลากร จดั ระบบการประเมินและวดั ผล และการอื่น ท่จี าเป็นสาหรบั พัฒนานวัตกรรมการศึกษาในพ้ืนทน่ี วัตกรรมการศึกษา (๔) นาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ ไปปรบั ใชก้ บั การจดั การศึกษาในสถานศกึ ษานารอ่ งให้เหมาะสมกับพ้ืนท่ีนวตั กรรมการศึกษา (๕) ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพและศักยภาพของครูและบุคลากรทางการศึกษาของสถานศึกษา นาร่องอย่างต่อเน่ือง เพื่อให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีคุณภาพและเหมาะสมกับสภาพใน พืน้ ทน่ี วัตกรรมการศึกษา (๖) จัดให้มีการออกแบบการทดสอบผู้เรียนเพ่ือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาในพื้นท่ีนวัตกรรม การศึกษา
เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก ราชกหจิ นจ้าานเุ๑บ๑ก๑ษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ (๗) ส่งเสริม สนับสนุน ใหค้ วามชว่ ยเหลือ และติดตามสถานศึกษานารอ่ งเพื่อใหจ้ ดั การเรียน การสอนท่มี คี ณุ ภาพและเกดิ การพฒั นานวัตกรรมการศึกษา (๘) เสริมสร้างและเตรียมความพร้อมให้สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานในพ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษา ในการเป็นสถานศกึ ษานารอ่ งหรอื ในการนานวัตกรรมการศึกษาไปใชใ้ นการจดั การศึกษา (๙) เพ่ิมขีดความสามารถให้แก่หน่วยงานทางการศึกษาในพื้นท่ีนวัตกรรมการศึกษา เพอ่ื ทาการพัฒนานวตั กรรมการศึกษาหรอื นานวตั กรรมการศกึ ษาไปใช้ (๑๐) จัดให้มีการประเมินผลการจดั การศึกษาของสถานศึกษานารอ่ ง (๑๑) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อทาการแทนหรือปฏิบัติงานตามท่ีคณะกรรมการขับเคลื่อน มอบหมาย (๑๒) รายงานผลสมั ฤทธิท์ างการศึกษารวมทั้งปญั หาและอปุ สรรคในพ้ืนทีน่ วตั กรรมการศกึ ษาตอ่ คณะกรรมการนโยบาย (๑๓) หน้าท่แี ละอานาจทพี่ ระราชบัญญัติน้ีหรือกฎหมายอนื่ กาหนดใหเ้ ปน็ หน้าทแี่ ละอานาจของ คณะกรรมการขบั เคล่ือน (๑๔) ปฏิบัติงานอนื่ ตามที่คณะกรรมการนโยบายมอบหมาย การดาเนินการตาม (๑) (๒) (๔) (๖) และ (๑๐) ใหค้ ณะกรรมการขบั เคลือ่ นปรึกษาหารอื กบั หนว่ ยงานที่เกีย่ วข้องประกอบดว้ ย การออกแบบทดสอบตาม (๖) และการประเมินผลตาม (๑๐) ต้องสอดคล้องกับหลักสูตร ตามมาตรา ๒๕ ในกรณที ่คี ณะกรรมการขับเคลอ่ื นเหน็ วา่ สถานศกึ ษานารอ่ งใดมคี วามพร้อม อาจมอบหมายหนา้ ท่ี และอานาจตาม (๖) ให้แกส่ ถานศกึ ษาดงั กลา่ วดาเนินการในสว่ นของตนได้ มาตรา ๒๑ ใหน้ าความในมาตรา ๑๒ วรรคสอง และมาตรา ๑๔ มาใช้บังคบั แก่การพน้ จาก ตาแหน่งของกรรมการอนื่ นอกจากกรรมการโดยตาแหนง่ ในคณะกรรมการขับเคล่อื นโดยอนุโลม มาตรา ๒๒ ให้นาความในมาตรา ๑๖ มาใชบ้ งั คับแกก่ ารประชมุ ของคณะกรรมการขับเคลื่อน โดยอนุโลม มาตรา ๒๓ ให้ประธานกรรมการขับเคลื่อน กรรมการขับเคล่ือน และอนุกรรมการที่ คณะกรรมการขับเคล่ือนแต่งตั้ง ได้รับค่าตอบแทนและสิทธิประโยชน์ตามระเบียบท่ีคณะกรรมการนโยบาย กาหนดโดยความเหน็ ชอบของกระทรวงการคลงั
เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก ราชกหจิ นจ้าานเุ๑บ๑ก๒ษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ มาตรา ๒๔ ใหส้ านกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดในพ้ืนทีน่ วตั กรรมการศกึ ษา ทาหน้าท่รี บั ผดิ ชอบ งานธุรการของคณะกรรมการขบั เคล่อื น และให้มีหนา้ ท่ีและอานาจ ดังตอ่ ไปน้ี (๑) จัดให้มีระบบข้อมูลตามมาตรฐานที่คณะกรรมการนโยบายกาหนด รวมท้ังศึกษาและ วเิ คราะหแ์ นวทางการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษานาร่องในพื้นที่นวตั กรรมการศึกษา (๒) จัดให้มีการวิเคราะห์และวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนานวัตกรรมการศึกษาในพ้ืนท่ีนวัตกรรม การศึกษา (๓) จัดทารายงานการดาเนินงานของคณะกรรมการขับเคล่ือนเพื่อเสนอต่อคณะกรรมการ ศกึ ษาธกิ ารจังหวดั โดยใหแ้ จง้ สานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาในพื้นท่นี วัตกรรมการศกึ ษาทราบด้วย (๔) ปฏบิ ัตงิ านอื่นตามทค่ี ณะกรรมการนโยบายหรือคณะกรรมการขับเคลอ่ื นมอบหมาย ให้สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและหน่วยงานทางการศึกษาท่ีเกี่ยวข้องให้ความร่วมมือแก่ สานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดในการดาเนนิ การตามวรรคหนงึ่ มาตรา ๒๕ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ได้รับการปรับเพื่อนาไปใช้ ตามมาตรา ๒๐ (๔) ต้องครอบคลุมสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ มาตรฐานการเรยี นรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ โดยต้องจัดสาระการเรียนรู้รายวิชาให้หลากหลายและสอดคล้องกับความสามารถ ความถนัดหรือ ความสนใจของผเู้ รียน และสภาพภมู สิ งั คม ในกรณีท่ีสถานศึกษานาร่องต้องการปรับหลักสูตรเพิ่มเติมจากหลักสูตรตามมาตรา ๒๐ (๔) ต้องขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานและคณะกรรมการขับเคล่ือน ให้ถือว่าการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรตามวรรคหนึ่งและวรรคสองเป็นการจัดการเรียน การสอนตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการศึกษาแห่งชาติ สถานศึกษานาร่องท่ีประสงค์จะจัดการเรียนการสอนโดยไม่ใช้หลักสูตรตามมาตรา ๒๐ (๔) หรือโดยใช้หลักสูตรต่างประเทศต้องเสนอคณะกรรมการขับเคลื่อนเพื่อขอความเห็นชอบจาก คณะกรรมการนโยบาย การเทยี บโอนผลการเรยี นและการเทยี บวุฒกิ ารศึกษาของผูเ้ รยี นระหวา่ งสถานศกึ ษานารอ่ งและ สถานศกึ ษาอื่นใหเ้ ป็นไปตามทีค่ ณะกรรมการนโยบายกาหนด
เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก ราชกหิจนจ้ าานเุ ๑บ๑ก๓ษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ มาตรา ๒๖ ในการดาเนินการตามมาตรา ๒๕ คณะกรรมการขับเคล่ือน หรือสถานศึกษา นาร่อง แล้วแต่กรณี ต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นจากผู้เรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทาง การศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ผู้แทนภาคเอกชน และผู้แทนภาคประชาสังคม ในพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาดว้ ย หมวด ๔ สถานศกึ ษานารอ่ ง มาตรา ๒๗ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานในพ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษาแห่งใดประสงค์จะเป็น สถานศึกษานารอ่ ง ใหด้ าเนนิ การ ดังต่อไปนี้ (๑) สถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ให้ขอ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐานและสานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษา (๒) สถานศึกษาข้ันพื้นฐานในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ให้ขอความเห็นชอบจาก คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพื้นฐานและองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ ท่ีเป็นต้นสงั กดั (๓) สถานศึกษาข้ันพื้นฐานของเอกชน ให้ขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการบรหิ ารสถานศึกษา และกลุ่มส่งเสริมการศึกษาเอกชนในสานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดหรือสานักงานการศึกษาเอกชนจังหวัด แล้วแต่กรณี เมอ่ื ไดด้ าเนินการตามวรรคหน่งึ แล้ว ให้ขออนมุ ัตติ อ่ คณะกรรมการขับเคลือ่ น ทง้ั นี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงอื่ นไขท่คี ณะกรรมการขับเคลื่อนกาหนด มาตรา ๒๘ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๕ การจัดสรรงบประมาณเฉพาะใน ส่วนของเงินอุดหนุนรายการค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานและค่าใช้จ่ายดาเนินงานให้แก่ สถานศกึ ษานาร่องตามมาตรา ๒๗ (๑) เพอ่ื พฒั นานวัตกรรมการศกึ ษา ใหจ้ ัดสรรเป็นเงนิ อุดหนนุ ทวั่ ไป ให้สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพ่ือจัดสรรให้แก่สถานศึกษานาร่องแต่ละแห่งโดยตรง ทง้ั นี้ ต้องเป็นไปตามความจาเป็นและความตอ้ งการของสถานศกึ ษานาร่อง การจัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไปซึ่งเป็นค่าใช้จ่ายดาเนินงานตามวรรคหนงึ่ ให้แก่สถานศึกษานารอ่ ง แต่ละแห่ง ให้คานวณตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการท่ีคณะกรรมการนโยบายกาหนดโดยความเห็นชอบของ สานกั งบประมาณ
เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก ราชกหิจนจ้ าานเุ ๑บ๑ก๔ษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ มาตรา ๒๙ การรับและการใช้จ่ายเงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคเพ่ือการศึกษาให้แก่ สถานศึกษานารอ่ งท่เี ปน็ สถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐานในสังกดั สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานหรอื องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้เป็นไปตามระเบียบที่คณะกรรมการนโยบายกาหนด โดยไม่ต้องนาส่งคลัง เป็นรายได้แผ่นดิน การรับและการใช้จ่ายเงินหรอื ทรัพย์สนิ ตามวรรคหนงึ่ จะต้องเปน็ ไปเพือ่ การพัฒนาสถานศกึ ษา หรือเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของผู้บริจาค และต้องไม่มีเงื่อนไขเลือกปฏิบัติต่อผู้เรียนในการเข้าร่วม กจิ กรรม มาตรา ๓๐ เพื่อประโยชน์ในการบริหารงานของสถานศึกษานาร่องในสังกัดสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพืน้ ฐานหรอื องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ให้คณะกรรมการนโยบายประสานงาน กบั กระทรวงการคลังเพ่ือใหค้ ณะกรรมการนโยบายสามารถดาเนินการจัดให้มีระเบียบหรือข้อบงั คับเก่ียวกับ การจัดซ้ือจัดจ้างของสถานศึกษานาร่องทั้งหมดหรือแต่บางส่วนได้เอง ท้ังนี้ ตามกฎหมายว่าด้วย การจดั ซ้ือจดั จ้างและการบริหารพัสดภุ าครฐั มาตรา ๓๑ ให้คณะกรรมการนโยบายเสนอแนะต่อ ก.ค.ศ. เพ่ือให้มีการออกกฎ ก.ค.ศ. หรือหลักเกณฑ์ วิธีการ หรือเง่ือนไข สาหรับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศกึ ษาเกีย่ วกบั การคัดเลอื ก การบรรจุแตง่ ตั้ง การโยกย้าย การเล่อื นเงนิ เดอื น และการประเมนิ วทิ ยฐานะ ให้เกิดความเหมาะสมกบั การบรหิ ารงานของสถานศึกษานาร่องในพื้นท่นี วตั กรรมการศึกษา ในการดาเนินการตามวรรคหน่ึง ให้สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานประสานกับ สานกั งาน ก.ค.ศ. เมอ่ื ไดม้ กี ารดาเนนิ การตามวรรคหนึ่งแลว้ ใหก้ รมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถนิ่ นากฎ ก.ค.ศ. หรอื หลักเกณฑ์ วิธีการ หรือเง่ือนไขดงั กล่าวไปใช้กบั สถานศึกษานารอ่ งในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ด้วย โดยอนโุ ลม มาตรา ๓๒ ในกรณีท่ีมีความจาเปน็ เพ่ือประโยชน์ในการบริหารงานบุคคลในพ้ืนท่ีนวัตกรรม การศึกษา คณะกรรมการนโยบายอาจเสนอแนะต่อ ก.ค.ศ. ให้ตั้ง อ.ก.ค.ศ. ตามกฎหมายว่าด้วย ระเบียบข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาสาหรับพนื้ ท่นี วตั กรรมการศึกษาโดยเฉพาะกไ็ ด้
เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก ราชกหจิ นจ้าานเุ๑บ๑ก๕ษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ มาตรา ๓๓ ในกรณีที่หน่วยงานใดประสงค์จะดาเนินโครงการ กิจกรรม หรือภารกิจใด ซ่ึงให้สถานศึกษานาร่องเป็นผู้ดาเนินการหรือร่วมดาเนินการ ให้หน่วยงานนั้นขอความเห็นชอบจาก คณะกรรมการขับเคล่อื นก่อนดาเนินการ มาตรา ๓๔ ในการจดั การเรยี นการสอน สถานศกึ ษานารอ่ งอาจดาเนนิ การรว่ มกับหนว่ ยงาน ของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคเอกชน หรือภาคประชาสงั คม ท้ังในประเทศและตา่ งประเทศได้ ตามทเี่ หน็ สมควร ในกรณีทีเ่ ปน็ การจัดการเรียนการสอนร่วมกับหน่วยงานตา่ งประเทศจะตอ้ งได้รบั ความเห็นชอบ จากคณะกรรมการขับเคลื่อนกอ่ น มาตรา ๓๕ สถานศกึ ษานาร่องอาจใชเ้ งินงบประมาณทีไ่ ดร้ ับจดั สรรในกรณดี งั ต่อไปน้ีได้ (๑) จัดทา คัดเลือก จัดหา หรือใช้ตารา สื่อการเรียนการสอน หรือฐานข้อมูลในระบบ เทคโนโลยสี ารสนเทศสาหรบั สถานศึกษาน้นั โดยอสิ ระ ทั้งนี้ ต้องสอดคลอ้ งกบั หลกั สตู รตามมาตรา ๒๕ (๒) ร่วมกันจัดซื้อตารา ส่ือการเรียนการสอน หรือฐานข้อมูลในระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพอ่ื นามาใช้รว่ มกนั ในพืน้ ท่ีนวตั กรรมการศึกษา ทง้ั นี้ โดยความเหน็ ชอบของคณะกรรมการขบั เคลื่อน มาตรา ๓๖ เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา คณะกรรมการขับเคล่ือนอาจ ดาเนนิ การทดสอบทางการศกึ ษาโดยรว่ มกับสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน สถาบนั อดุ มศึกษา หรือสถาบนั ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) กไ็ ด้ มาตรา ๓๗ ให้สถานศกึ ษานาร่องจัดให้มีระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา และมีการประเมินเพ่ือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียนและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศกึ ษาเปน็ ประจาทกุ ปี ท้ังนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการนโยบายกาหนด ให้สถานศึกษานาร่องรายงานผลการประเมินและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ต่อคณะกรรมการขับเคลื่อน และให้คณะกรรมการขับเคล่ือนให้คาปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะนา สถานศึกษา เพ่ือให้การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาพัฒนาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง มาตรา ๓๘ สถานศึกษานาร่องท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียนตามหลักเกณฑ์ ท่ีคณะกรรมการนโยบายประกาศกาหนด ให้ถือว่าเป็นการผ่านการประเมินคุณภาพการศึกษาภายนอก ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการศกึ ษาแห่งชาตแิ ลว้
เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก ราชกหจิ นจ้าานเุ๑บ๑ก๖ษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ สถานศกึ ษานาร่องท่ีมผี ลสมั ฤทธิท์ างการศึกษาของผู้เรียนไม่เป็นไปตามวรรคหนง่ึ ใหค้ ณะกรรมการ ขับเคลื่อนขอให้สานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน) หนว่ ยงาน องค์กร หรือสถาบนั ท่มี ผี ลงานด้านการรบั รองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษา ให้คาแนะนาใน การปรับปรุงคุณภาพการศกึ ษาแกส่ ถานศึกษานาร่องและแจ้งให้คณะกรรมการขบั เคลือ่ นทราบ มาตรา ๓๙ สถานศกึ ษานารอ่ งจะพ้นจากการเป็นสถานศึกษานาร่องในกรณี ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) สถานศึกษานาร่องร้องขอต่อคณะกรรมการขับเคล่ือน และคณะกรรมการขับเคลื่อน ให้ความเหน็ ชอบ (๒) คณะกรรมการขับเคล่ือนมีมติให้พ้น เพราะสถานศึกษานาร่องแห่งนัน้ ไม่สามารถดาเนินการ ให้เป็นตามวัตถุประสงค์ของพื้นท่ีนวัตกรรมการศึกษา หรือไม่ปฏิบัติตามเง่ือนไขในการเข้าร่วมเป็น สถานศึกษานารอ่ ง (๓) ครบกาหนดระยะเวลาตามเงื่อนไขในการเข้าร่วมเป็นสถานศึกษานาร่องและไม่ประสงค์ จะเปน็ สถานศกึ ษานารอ่ งตอ่ ไป (๔) กรณีอ่ืนตามทค่ี ณะกรรมการนโยบายประกาศกาหนด ในการพิจารณาตาม (๑) และ (๒) ให้คณะกรรมการขับเคล่ือนรับฟังความคิดเห็นจากนักเรียน ผปู้ กครอง ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ในสถานศกึ ษานาร่อง และคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน และจะตอ้ งคานึงถงึ ผลกระทบตอ่ นักเรียนด้วย ใหค้ ณะกรรมการขับเคลื่อนกาหนดเง่ือนไขใหส้ ถานศึกษานารอ่ งปฏิบตั ิเพอ่ื ไมใ่ ห้นักเรียนและครู และบุคลากรทางการศึกษาได้รับผลกระทบจากการพ้นจากการเป็นสถานศึกษานารอ่ ง หมวด ๕ การประเมนิ ผล มาตรา ๔๐ ให้มีการประเมินผลการดาเนินงานและการบริหารจัดการพื้นท่ีนวตั กรรมการศึกษา ตามมาตรา ๑๕ (๔) ทุกสามปี โดยคณะผ้ปู ระเมินอสิ ระซง่ึ คณะกรรมการนโยบายแตง่ ตัง้ และใหจ้ ัดทา รายงานเสนอคณะกรรมการนโยบาย ในกรณีท่ีคณะผู้ประเมินอิสระเห็นว่าผลการดาเนินงานและการบริหารจัดการยั งไม่เป็นไป ตามวตั ถุประสงค์ตามมาตรา ๕ แตย่ งั อยใู่ นวิสัยทจี่ ะปรบั ปรุงได้ ก็ให้เสนอรายงานต่อคณะกรรมการนโยบาย
เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก ราชกหิจนจ้ าานเุ ๑บ๑ก๗ษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ พรอ้ มท้งั ข้อเสนอแนะให้ปรบั ปรุง และใหค้ ณะกรรมการนโยบายแจง้ ให้คณะกรรมการขับเคล่ือนปรับปรงุ ตามข้อเสนอแนะภายในเวลาทกี่ าหนด ในกรณีท่ีคณะผู้ประเมินอิสระเห็นว่าผลการดาเนินงานและการบริหารจัดการยังไม่สามารถ ดาเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๕ ได้ ให้คณะผู้ประเมินอิสระเสนอต่อ คณะกรรมการนโยบายให้มีการยบุ เลกิ พืน้ ท่นี วัตกรรมการศึกษานั้น มาตรา ๔๑ ในกรณีท่คี ณะกรรมการนโยบายเห็นว่าพื้นท่นี วัตกรรมการศึกษาใดมีเหตุควรยุบเลิก เน่ืองจากไม่อาจดาเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๕ ได้ ให้คณะกรรมการนโยบายเสนอต่อ คณะรัฐมนตรีเพื่อยุบเลิกพื้นท่ีนวัตกรรมการศึกษานั้นตามเงื่อนไขและเงื่อนเวลาที่กาหนด ในการน้ี ใหก้ าหนดมาตรการคุ้มครองสทิ ธขิ องนักเรยี นและครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาเพ่ือไม่ใหไ้ ด้รับผลกระทบ จากการยุบเลิกพื้นทนี่ วัตกรรมการศึกษาด้วย การยุบเลิกพนื้ ท่นี วัตกรรมการศกึ ษาตามวรรคหนึง่ ใหป้ ระกาศในราชกิจจานุเบกษา เม่อื มีการยบุ เลกิ พืน้ ที่นวัตกรรมการศึกษาแล้ว ให้สถานศึกษานารอ่ งในพ้นื ทน่ี วตั กรรมการศึกษานน้ั พ้นจากการเป็นสถานศึกษานาร่อง และกลับคืนสู่สถานะสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นอยู่แต่เดิม ตามเงอื่ นไขและเง่ือนเวลาท่ีกาหนดตามวรรคหนึ่ง มาตรา ๔๒ ในกรณีที่มีหลักฐานเชิงประจักษ์จากรายงานของคณะผู้ประเมินอิสระว่า การดาเนินงานและบริหารจัดการพื้นที่นวัตกรรมการศึกษามีผลสัมฤทธ์ิตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดใน มาตรา ๕ ให้คณะกรรมการนโยบายดาเนินการตามมาตรา ๑๕ (๗) และ (๘) เพื่อให้มีการขยาย ผลสมั ฤทธดิ์ งั กล่าวไปใช้ในการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐานอื่น บทเฉพาะกาล มาตรา ๔๓ ในวาระเรมิ่ แรก ใหค้ ณะกรรมการนโยบายพน้ื ท่ีนวัตกรรมการศกึ ษา ประกอบด้วย กรรมการตามมาตรา ๑๐ (๑) (๒) และ (๓) ปฏิบัติหน้าท่ีคณะกรรมการนโยบายพ้ืนที่นวัตกรรม การศึกษาตามพระราชบัญญัติน้ีไปพลางก่อนจนกว่าจะมีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิตามมาตรา ๑๐ (๔) ซึง่ ต้องไม่เกินหนึง่ ร้อยแปดสบิ วันนบั แต่วนั ทพี่ ระราชบัญญัติน้ใี ชบ้ ังคบั ให้เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเป็นกรรมการและเลขานกุ าร และให้ผู้อานวยการ สานักงานบรหิ ารพน้ื ท่นี วัตกรรมการศึกษาและผู้แทนกรมส่งเสริมการปกครองท้องถ่นิ เปน็ ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร
เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก ราชกหจิ นจ้าานเุ๑บ๑ก๘ษา ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ให้มีการประชุมคณะกรรมการนโยบายพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษาภายในหกสิบวันนับแต่วันท่ี พระราชบญั ญัตินใ้ี ชบ้ งั คับ มาตรา ๔๔ ให้พ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษาที่ได้มีการจัดตั้งโดยประกาศกระทรวงศึกษาธิการ อยู่ในวันก่อนวนั ทพ่ี ระราชบญั ญตั ินใี้ ชบ้ งั คับ เป็นพน้ื ทีน่ วตั กรรมการศึกษาที่ไดจ้ ดั ตัง้ ขึ้นตามพระราชบัญญตั นิ ้ี มาตรา ๔๕ ในวาระเร่ิมแรก ให้คณะกรรมการขับเคล่ือนพ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัด ของพน้ื ที่นวัตกรรมการศึกษาตามมาตรา ๔๔ ซ่ึงดารงตาแหนง่ อยู่ในวันกอ่ นวนั ทีพ่ ระราชบัญญตั ินใ้ี ชบ้ งั คบั ปฏิบัติหน้าที่คณะกรรมการขับเคลื่อนพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษาตามพระราชบัญญัติน้ีไปพลางก่อน จนกวา่ จะได้มกี ารแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคล่ือนพ้นื ท่ีนวัตกรรมการศกึ ษาตามพระราชบญั ญัตนิ ้ี มาตรา ๔๖ ให้สถานศกึ ษาข้ันพนื้ ฐานท่ีเปน็ สถานศกึ ษานาร่องตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร อยูใ่ นวนั กอ่ นวนั ทพ่ี ระราชบญั ญัตนิ ใี้ ช้บงั คับ เป็นสถานศึกษานาร่องตามพระราชบัญญตั นิ ี้ มาตรา ๔๗ ในระหวา่ งทย่ี งั ไม่มหี ลกั เกณฑต์ ามมาตรา ๒๘ วรรคสอง ให้สถานศึกษานาร่อง ในสังกดั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ได้รับเงินอุดหนุนทัว่ ไปเพอื่ พฒั นานวตั กรรมการศึกษา เป็นจานวนไม่น้อยกว่าเงินอุดหนุนรายการค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและค่าใช้จ่ายดาเนินงาน ทีส่ ถานศกึ ษาแห่งน้นั ไดร้ ับก่อนเป็นสถานศึกษานารอ่ ง มาตรา ๔๘ ในกรณีที่สถานศึกษานาร่องต้องดาเนินการหรือร่วมดาเนินการในโครงการ กิจกรรม หรือภารกิจใดท่ีไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ตามมาตรา ๕ หรือส่งผลกระทบต่อการเรียน การสอน อยู่ในวันก่อนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ให้ผู้อานวยการสถานศึกษานาร่องแจ้งต่อ คณะกรรมการขบั เคลือ่ นพื้นท่ีนวัตกรรมการศกึ ษาเพ่อื ขอยกเว้นไม่ดาเนินการหรอื ร่วมดาเนนิ การในโครงการ กิจกรรม หรือภารกิจน้ัน ทั้งน้ี หากคณะกรรมการขับเคล่ือนพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษาพิจารณาแล้ว เหน็ ควรให้ยกเวน้ กใ็ หม้ หี นังสือแจง้ ไปยังหนว่ ยงานเจา้ ของโครงการ กจิ กรรม หรอื ภารกจิ นั้น มาตรา ๔๙ ภายในหกสิบวันนับแต่วันท่ีพระราชบัญญัติน้ีใช้บังคับ ให้รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการสั่งให้ขา้ ราชการ พนักงานราชการ หรือลูกจา้ งของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพื้นฐานตามที่เห็นวา่ จาเปน็ และเหมาะสม มาปฏิบัติหนา้ ที่ในสานกั งานบริหารพ้ืนที่นวตั กรรมการศึกษา ตามพระราชบญั ญตั นิ ้ี
เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๕๖ ก หน้า ๑๑๙ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา ในระหวา่ งท่ียังไม่มกี ารดาเนินการตามวรรคหนึง่ ให้เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ส่งั ให้ขา้ ราชการ พนักงานราชการ หรอื ลูกจ้างของสานกั พฒั นานวตั กรรมการจดั การศกึ ษา ในสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน มาปฏิบัติหน้าที่ในสานักงานบริหารพื้นท่ีนวัตกรรมการศึกษา ตามพระราชบัญญตั นิ ไี้ ปพลางก่อน มาตรา ๕๐ ในวาระเริ่มแรก ให้สานักงบประมาณจัดสรรงบประมาณให้แก่สานักงาน ศึกษาธิการจังหวัด สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือปฏิบัติการตามพระราชบัญญัติน้ีในพื้นท่ี นวัตกรรมการศกึ ษา มาตรา ๕๑ ก่อนพระราชบัญญตั ินจ้ี ะส้นิ ผลใช้บงั คับอย่างนอ้ ยหนงึ่ ปี ใหค้ ณะกรรมการนโยบาย พื้นท่ีนวัตกรรมการศึกษากาหนดมาตรการให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง คณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นท่ี นวัตกรรมการศกึ ษา และสถานศึกษานาร่องเตรียมความพร้อมในการสิ้นสดุ การเปน็ พน้ื ที่นวตั กรรมการศึกษา และกาหนดหลักเกณฑ์การคุ้มครองสิทธิเพ่ือไม่ให้นักเรียนและครูและบุคลากรทางการศึ กษาได้รับ ผลกระทบจากการที่พระราชบัญญัตินส้ี น้ิ ผลใช้บังคบั เมื่อพระราชบัญญตั นิ ี้สนิ้ ผลใช้บงั คบั แล้ว ให้สถานศกึ ษานารอ่ งพ้นจากการเป็นสถานศึกษานาร่อง และกลบั คนื สู่สถานะสถานศึกษาข้นั พนื้ ฐานทเ่ี ป็นอยู่แต่เดมิ ผูร้ ับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยทุ ธ์ จันทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี
เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๕๖ ก หน้า ๑๒๐ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานเุ บกษา หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยท่ีสมควรต้องพัฒนาการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐานอันเป็นรากฐานสาคัญของการพัฒนาคนไทย ให้มีคุณภาพ มีความใฝ่รู้ มีความคิดสร้างสรรค์ มีความสามารถในการสื่อสาร สามารถอยู่และทางานร่วมกับผู้อ่ืนซ่ึงมีความแตกต่างหลากหลายได้ มีความรู้ เท่าทันโลก และมีทักษะในการประกอบอาชีพตามความถนัดของผู้เรียนแต่ละคน และให้รัฐ องค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ิน ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ร่วมกันพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพและลดความเหล่ือมล้า ในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานได้อย่างแท้จริง สมควรกาหนดให้มีพ้ืนท่ีนวัตกรรมการศึกษาซ่ึงเป็นพื้นท่ีปฏิรูป การบริหารและการจัดการการศึกษาข้ึนเพื่อสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมการศึกษาอันเป็นการนาร่องใน การกระจายอานาจและให้อิสระแก่หน่วยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ให้เกิดการพัฒนาคุณภาพ และประสิทธิภาพและลดความเหล่ือมล้า รวมทั้งมีการขยายผลนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนและวิธีการ ปฏิบตั ทิ ่ดี ีไปใช้ในสถานศึกษาอนื่ จึงจาเปน็ ตอ้ งตราพระราชบญั ญัตินี้
แผนการปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศกึ ษาท่เี ก่ยี วกบั พ้นื ท่ีนวัตกรรมการศึกษา คณะรัฐมนตรีได้แต่งต้ังคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูป การศึกษา เม่ือวันที่ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ตามมาตรา ๒๖๑ แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เพื่อทาหน้าที่ในการศึกษา และจัดทาข้อเสนอแนะและร่างกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิรูป ตามมาตรา ๒๕๘ จ.ด้านการศึกษา คณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูป การศึกษาจึงได้จัดทาแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา เพ่ือเสนอ ต่อคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ และคณะรัฐมนตรีตามมาตรา ๑๒ แห่ง พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ แ ผ น แ ล ะ ข้ั น ต อ น ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ป ฏิ รู ป ป ร ะ เ ท ศ พ . ศ . ๒ ๕ ๖ ๐ โ ด ย ค ณ ะ รั ฐ ม น ต รี มี ม ติ เ ห็ น ช อ บ ใ น ห ลั ก ก า ร (รา่ ง) แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา เมือ่ วนั ที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒ แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาประกอบด้วยวัตถุประสงค์ ของการปฏิรูป ๔ ด้าน ได้แก่ ๑. ยกระดับคุณภาพของการจัดการศึกษา (enhance quality of education) ๒. ลดความเหลื่อมล้าทางการศึกษา (reduce disparity in education) ๓. มุ่งความเป็นเลิศและสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (leverage excellence and competitiveness) ๔. ปรับปรุงระบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพใน การใช้ทรัพยากร เพ่ิมความคล่องตัวในการรองรับความหลากหลายของ การจัดการศึกษา และสร้างเสริมธรรมาภิบาล (improve efficiency agility and good governance) โดย แผนการปฏิรูปด้านการศึกษา ได้จัดทาเป็น ๗ เรื่อง ท่ีจาแนกในรายละเอียดเป็น ๒๙ ประเด็นปฏิรูป และมีสาระท่ีเกี่ยวข้องกับพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาอยู่ในเร่ืองที่ ๖ ประเด็น การปฏิรูปที่ ๖. ๒ ของแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา ดงั รายละเอียดตอ่ ไปน้ี
เร่ืองที่ ๖ : การปรับโครงสรา้ งของหนว่ ยงานในระบบการศึกษา เพื่อบรรลุเป้าหมายในการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน และ ยกระดับคณุ ภาพของการจดั การศกึ ษา ประเดน็ การปฏิรูปที่ ๖.๒ : พนื้ ท่นี วตั กรรมการศกึ ษา เปา้ หมายหรือผลอันพึงประสงคแ์ ละผลสัมฤทธิ์ เปา้ หมายรวม ๑) ผู้เรียนในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาได้รับการศึกษา ท่มี ีคุณภาพ เหมาะสมสอดคลอ้ งกบั อตั ลกั ษณ์ของชุมชนและพืน้ ท่ี ๒) มี ก า ร เ รี ย น รู้ แ ล ะ ข ย า ย ผ ล ข อ ง น วั ต ก ร ร ม ท่ี ไ ด้ จ า ก พื้นท่นี วัตกรรมการศึกษาสกู่ ารจัดการศึกษาในพื้นท่ีอน่ื ๆ เป้าหมายเรง่ ด่วน มีข้อเสนอและร่างกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับพื้นที่นวัตกรรม การศึกษาเพื่อผู้เรียนในพื้นที่มีความเฉพาะด้านในเรื่องวัฒนธรรมและ ภาษา ครอบคลุมประเด็นเรื่องครู หลักสูตร สถานศึกษา การพัฒนาคุณภาพ และการกากบั ดแู ลสถานศึกษา เปา้ หมายระยะส้นั ๑) นโยบายและกฎระเบียบที่มีความคล่องตัว และเอื้อต่อ การพัฒนา นวตั กรรมการเรียนการสอน และการบรหิ ารของโรงเรียน ๒) มีหลักสูตรสถานศึกษาและการจัดการเรียนการสอนให้ แก่ผู้เรียนในพ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษามีความสอดคล้องกับอัตลักษณ์ และ ความต้องการของชมุ ชนและพนื้ ท่ี
เปา้ หมายระยะกลาง - ระยะยาว ผู้เรียนในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ เหมาะสม สอดคล้องกับอัตลักษณ์ และความต้องการของชุมชนและพื้นที่ ตลอดจนบรรลตุ ามความมุง่ หมายของกฎหมายการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ กรอบระยะเวลาในการดาเนินการ ระยะเรง่ ดว่ น ภายในเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๒ ระยะสน้ั ภายในปี ๒๕๖๔ ระยะกลาง - ยาว ภายใน ๕ – ๑๐ ปี ตัวชวี้ ัด ๑) ร้อยละของนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับเป้าหมายของพ้ืนท่ีนวตั กรรมการศกึ ษา ๒) จานวนเร่ืองของนวัตกรรมการศึกษาด้านต่างๆ ท่ีมีการขยาย ผลมาสูพ่ น้ื ท่อี ่ืนๆ หรือนามาประยุกตใ์ ชใ้ นระดบั ประเทศ วงเงินและแหล่งเงิน งบประมาณแผ่นดิน ๑๐.๕ ลา้ นบาท
Search
Read the Text Version
- 1 - 30
Pages: