Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

mon

Published by E-book Bang SAOTHONG Distric Public library, 2019-02-21 00:35:43

Description: mon

Search

Read the Text Version

“...พอเพียง มคี วามหมายกวา้ งขวางยง่ิ กว่าน้ีอกี คอื คำาว่าพอ กพ็ อเพยี งน้กี ็พอแค่น้ันเอง คนเราถา้ พอในความต้องการกม็ คี วามโลภน้อย เม่ือมีความโลภน้อยกเ็ บยี ดเบียนคนอน่ื นอ้ ย ถา้ ประเทศใดมีความคิดอนั นี้ มีความคิดวา่ ทาำ อะไรต้องพอเพยี ง หมายความวา่ พอประมาณ ซือ่ ตรง ไมโ่ ลภอยา่ งมาก คนเรากอ็ ยู่เปน็ สขุ พอเพยี งนอี้ าจมีมากอาจจะมีของหรูหรากไ็ ด้ แต่วา่ ต้องไมเ่ บียดเบยี นคนอ่นื ...” พระราชดาำ รสั เน่อื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสดิ าลยั วนั ท่ี 4 ธนั วาคม 2551

ค�ำนำ� กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไดจ้ ดั ทำ� หนงั สอื “๑๒๒ อาชพี เกษตรกรรมทางเลอื ก” เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ในการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรมที่เหมาะสมใน การดำ� เนนิ ชีวติ และการพ่งึ พาตนเอง ตามแนวทางปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ซงึ่ กองนโยบายเทคโนโลยเี พอื่ การเกษตรและเกษตรกรรมยง่ั ยนื สำ� นกั งานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ไดด้ ำ� เนนิ การปรบั ปรงุ และจำ� แนกเนอื้ หาในแตล่ ะ อาชพี เพอ่ื เผยแพรใ่ หเ้ กษตรกร และผทู้ สี่ นใจใชเ้ ปน็ แนวทางในการประกอบอาชพี ประกอบด้วย ทางเลือกอาชีพด้านหม่อนไหม ทางเลือกอาชีพด้านปศุสัตว์ ทางเลอื กอาชพี ด้านการผลติ อาหารสตั ว์ ทางเลอื กอาชพี ด้านประมง ทางเลอื ก อาชีพด้านการแปรรูปอาหาร ทางเลือกอาชีพด้านพืช ทางเลือกอาชีพด้าน การแปรรปู ผลติ ภณั ฑ์อน่ื ๆ และทางเลือกอาชพี สมุนไพรไทย ปัจจุบันประเทศไทยมีการเปล่ียนแปลงการเล้ียงไหมแบบอุตสาหกรรม ครัวเรือนมาเป็น อุตสาหกรรมเชิงพาณิชย์ ดังน้ัน จึงต้องมีการพัฒนาวิธีการ เลี้ยงไหมให้มีคุณภาพ และปัจจัยที่สำ� คญั ที่สดุ ในการเล้ยี งไหม นนั่ ก็คือ หม่อน เน่อื งจากใบหม่อนเปน็ พชื ชนิดเดยี วทีห่ นอนไหมกินเป็นอาหาร เพอื่ น�ำมาสร้าง เสน้ ไหมหอ่ หมุ้ ตวั เปน็ รงั ไหม การจดั ทำ� หนงั สอื “ทางเลอื กอาชพี ดา้ นหมอ่ นไหม” เป็นการรวบรวมองค์ความรู้ และข้อมูลเชิงวิชาการที่พัฒนาเทคนิควิธีการใน การปลกู ใบหม่อน-เลย้ี งไหม อาทิ พนั ธ์หุ ม่อนทนี่ ยิ มปลกู เลย้ี งไหมอตุ สาหกรรม การขยายพนั ธห์ุ มอ่ น การดแู ลรกั ษา โรคแมลงศตั รหู มอ่ น และการปอ้ งกนั กำ� จดั หลักการดูแลไข่ไหมขณะเดินทาง การเล้ียงไหมวัยอ่อน การเล้ียงไหมวัยแก่ การแกะรังไหมออกจากจ่อ-การลอกปุยไหม เป็นต้น ส�ำหรับเผยแพร่ให้แก่ เกษตรกรและผทู้ ส่ี นใจไดน้ ำ� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ หมาะสม เพอ่ื เสรมิ สรา้ งความมน่ั คง ทางอาชีพและรายได้ต่อไป ในการจัดท�ำหนังสือ “ทางเลือกอาชีพด้านหม่อนไหม” เล่มน้ี ได้รับ ความอนเุ คราะหข์ อ้ มลู เปน็ อย่างดจี ากกรมหมอ่ นไหม ซงึ่ กองนโยบายเทคโนโลยี เพอ่ื การเกษตรและเกษตรกรรมยง่ั ยนื สำ� นกั งานปลดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ขอขอบคณุ มา ณ โอกาสนด้ี ้วย กองนโยบายเทคโนโลยเี พ่ือการเกษตรและเกษตรกรรมยั่งยืน มนี าคม 2556

สารบญั หน้า 4 คำ� นำ� 4 5 การปลูกหม่อนเลี้ยงไหมอตุ สาหกรรม 6 6 หมอ่ น 8 13 พนั ธุห์ มอ่ นทน่ี ยิ มปลูกเล้ียงไหมอุตสาหกรรม 14 การขยายพนั ธห์ุ ม่อน 15 การปลูกหม่อน การดูแลรกั ษาสวนหม่อน 21 การตัดแต่งกิ่งหมอ่ น 22 โรคแมลงศัตรูหมอ่ นและการปอ้ งกันกำ� จดั 23 แมลงศตั รหู ม่อนท่สี ำ� คัญและการปอ้ งกนั กำ� จดั 23 25 ไหม 26 28 หลกั การดูแลไขไ่ หมขณะเดนิ ทาง 31 หลกั การเลี้ยงไหมวัยออ่ น 32 การเลย้ี งไหมวยั อ่อน 35 การเลยี้ งไหมวัย 1 39 การเลย้ี งไหมวัย 2 การเลย้ี งไหมวัย 3 การเล้ยี งไหมวัย 4 การเลี้ยงไหมวัย 5 หลักการเกบ็ ไหมสกุ - น�ำไหมเขา้ จอ่ การแกะรังไหมออกจากจอ่ -การลอกปยุ ไหม

4 ทางเลอื กอาชีพดา้ นหม่อนไหม การปลกู หมอ่ นเลย้ี งไหมอตุ สาหกรรม ไหมอตุ สาหกรรม เปน็ การเลีย้ งไหมเชงิ พาณชิ ย์ทเี่ กษตรกรผู้ปลกู หม่อน เล้ียงไหมประกอบเป็นอาชีพหลักโดยส่วนใหญ่เป็นคู่ค้าหรือสมาชิกของบรษิ ัท/ โรงสาวไหม มกี ารทำ� สญั ญาหรอื ขอ้ ตกลงระหวา่ งกนั (contract farming) เกษตรกร มีพ้ืนท่ีปลูกหม่อน หม่อนให้ผลผลิตสูงไม่น้อยกวา่ 3 ไร่ และมีการดูแลรักษา จดั การแปลงหม่อนดี กล่าวคือ มีการใส่ปุ๋ย กำ� จดั วชั พชื และป้องกันกำ� จัดโรค และแมลงศตั รูหม่อน รวมท้งั การตดั แต่งกง่ิ หม่อนตามหลักวชิ าการ นอกจากน้ี เกษตรกรจำ� เปน็ ตอ้ งมโี รงเรอื นสำ� หรบั เลย้ี งไหมพรอ้ มวสั ดอุ ปุ กรณก์ ารเลย้ี งไหม ทจี่ ำ� เปน็ ในการเลยี้ งไหม ส่วนปจั จยั การผลติ อาทิ ไข่ไหม ป๋ยุ หรอื สารเคมตี ่างๆ บรษิ ทั /โรงสาวไหมค่สู ญั ญาจะเปน็ ผ้จู ดั หาหรอื สนบั สนนุ ใหก้ อ่ น และเมอ่ื สง่ ขาย ผลผลติ รงั ไหม จงึ จะทำ� การหกั เงนิ คา่ ปจั จยั การผลติ เหลา่ นนั้ ปจั จบุ นั มเี กษตรกร ผู้ปลูกหม่อนเลีย้ งไหมอุตสาหกรรมประมาณ 2,500 คน หม่อน หมอ่ น เปน็ ปจั จยั สำ� คญั ในการประกอบอาชพี ปลกู หมอ่ น – เลย้ี งไหมเพราะ ใบหมอ่ นเปน็ พชื ชนดิ เดยี วทห่ี นอนไหมกนิ เปน็ อาหารเพอ่ื นำ� มาสรา้ งเสน้ ไหมหอ่ หมุ้ ตวั เปน็ รงั ไหมดงั นนั้ การทำ� ใหใ้ บหมอ่ นมคี ณุ ภาพดจี ะทำ� ให้เกษตรกรมใี บหม่อน ท้ังปริมาณและคุณภาพเหมาะสมส�ำหรับเล้ียงไหมท�ำให้ผลผลิตรังไหมสูง ย่อมส่งผลให้เกษตรกรมีรายได้ดีและประสบความสำ� เรจ็ ในอาชพี การปลกู หมอ่ นการดแู ลบำ� รงุ รกั ษาสวนหมอ่ นเปน็ สงิ่ ทเ่ี กษตรกรตอ้ งคำ� นงึ ถึงตลอดเวลาเพราะ 80% ของการประสบความส�ำเร็จในอาชีพนี้จะมาจาก สวนหม่อน ส่วน 20% ท่ีเหลอื จะเปน็ เทคนิคการเลยี้ ง,ไข่ไหมและสภาพดินฟ้า – อากาศ ซึ่งเปน็ สงิ่ ทสี่ ามารถแก้ไขปญั หาได้แต่สวนหม่อนเราจะต้องมกี ารเตรี ยมการล่วงหน้าและมีการวางแผนที่เหมาะสมจึงจะสามารถท�ำให้เล้ียงไหมได้ ผลดีตลอดทง้ั ปี

ทางเลอื กอาชีพดา้ นหม่อนไหม 5 พนั ธุ์หมอ่ นทน่ี ิยมปลกู เลย้ี งไหมอุตสาหกรรม หม่อนเปน็ อาหารเพยี งอย่างเดียวของหนอนไหม หากสามารถดแู ล สวนหม่อนให้ดีเท่ากบั ประสบความสำ� เรจ็ ไปแล้วกว่าครึ่ง พนั ธุ์หม่อนท่นี ยิ มใช้ อยู่ขณะนีม้ ี 3 พนั ธ์ุคือ 1. พนั ธ์บุ รุ ีรัมย์ 60 ผลผลติ ใบหมอ่ น : เฉลย่ี 4,328 กโิ ลกรมั ตอ่ ไรต่ อ่ ปี ลักษณะดีเดน่ : ทนทานต่อโรคใบด่าง การขยายพันธ ์ุ : ปักช�ำหรือปลูกด้วยท่อนพันธุ์ใน แปลงโดยตรง ใช้กิง่ พนั ธ์ุ อายุ 6-10 เดือน สภาพพน้ื ทปี่ ลกู : ปลกู ไดใ้ นทกุ สภาพพนื้ ที่ แตเ่ หมาะสม ในพืน้ ทเี่ ขตชลประทานหรือมีระบบการให้น้�ำ 2. พนั ธุ์สกลนคร ผลผลติ ใบหมอ่ น : เฉลย่ี 2,500 กโิ ลกรมั ตอ่ ไรต่ อ่ ปี ลกั ษณะดเี ดน่ : ทนแลง้ และโรครากเนา่ ไดด้ กี วา่ พนั ธ์ุ บุรรี มั ย์ 60 การขยายพันธุ์ : ปักช�ำหรือปลูกด้วยท่อนพันธุ์ใน แปลงโดยตรง ใช้ก่งิ พันธุ์ อายุ 6-10 เดือน สภาพพื้นท่ีปลูก : ปลูกได้ในทุกสภาพพื้นท่ีทนต่อ สภาวะแห้งแล้งได้ดกี ว่าพันธุ์บุรีรัมย์ 60 3. พนั ธ์คุ ณุ ไพ ผลผลิตใบหม่อน : เฉลย่ี 2,000 กโิ ลกรมั ตอ่ ไรต่ อ่ ปี ลักษณะดเี ดน่ : ทนแล้ง ทนทานโรครากเน่า และ ตอบสนองต่อปุ๋ยสูง การขยายพันธุ์ : ปักช�ำหรือปลูกด้วยท่อนพันธุ์ใน แปลง โดยตรง ใช้กิ่งพันธ์ุ อายุ 6-10 เดือน สภาพพ้ืนทปี่ ลกู : ปลูกได้ในทกุ สภาพพื้นท่ี

6 ทางเลอื กอาชพี ดา้ นหม่อนไหม 1.2 การขยายพนั ธุ์หม่อน แนะนำ� 2 วธิ ี คือ 1. การปักช�ำลงในแปลงเพาะช�ำ ช�ำไว้ในแปลงเพาะช�ำ เมอ่ื กงิ่ ช�ำ มอี ายุ 4 เดอื นขึน้ ไป ย้ายลงปลูกในแปลง ก่อนปลกู ควรมกี ารตัดแต่งรากและ ก่ิงทีแ่ ตกใหม่ให้เหลือประมาณ 20 เซนติเมตร 2. การปกั ช�ำลงถุง การขยายพนั ธ์ุหม่อนด้วยวิธีการปักชำ� ในถุง ควรท�ำในช่วงหน้าแล้งเนื่องจากน้�ำในกิ่งหม่อนจะน้อยและติดง่ายกว่าหน้าฝน แต่ท่อนพันธุ์ท่จี ะนำ� มาปกั ช�ำต้องมีอายุ 8 เดือนข้นึ ไปและช่วงช�ำอยู่ในถุงต้อง 4 เดือนจึงน�ำไปปลกู ในแปลงได้ วธิ ีการปักช�ำ - การเตรียมท่อนพนั ธุ์ น�ำก่งิ พนั ธ์ุ อายุ 6-10 เดอื น ทป่ี ราศจากโรคและ แมลง ตัดเป็นท่อน แต่ละท่อนมีตา 4-5 ตา หรือความยาวประมาณ 15-20 เซนติเมตร ส่วนปลายของท่อนพันธุ์ที่ปักลงในดินให้ตัดเฉียงเป็นปากฉลาม (45 องศา) - เสียบก่ิงลงในแปลงเพาะชำ� หรอื เสยี บใส่ถงุ ท่ีเตรียมไว้ให้ตาหม่อนโผล่ เหนือดิน 1 ตา - หลงั จากปกั ชำ� เสรจ็ 1 เดอื นใหใ้ สป่ ยุ๋ สตู ร 16 – 8 – 8 ประมาณ 15 กรมั ต่อต้นแล้วดแู ลตามปกตจิ นอายุหม่อนได้ 4 เดือนจึงน�ำลงปลกู ในแปลงได้ 1.3 การปลกู หมอ่ น 1. การเลือกพืน้ ทปี่ ลูกหมอ่ น - ใกลแ้ หลง่ นำ้� เพอ่ื สะดวกในการใหน้ ำ้� แปลงหมอ่ นชว่ งฤดแู ลง้ แตเ่ ปน็ พนื้ ท่ี ไม่มนี ้ำ� ท่วมขัง - ใกล้โรงเล้ียงไหมเพ่ือสะดวกในการเก็บหม่อนและรักษาความสดใน การนำ� มาเลีย้ งไหม - ไม่ควรอยู่ใกล้โรงงานอุตสาหกรรม แปลงยาสูบ สวนผลไม้ พชื ไร่ทใี่ ช้ สารเคมีอันตรายต่อหนอนไหม - ดินดีเหมาะแก่การปลูกหม่อนคือดินร่วนปนทราย สามารถระบายน�้ำ ได้ดมี ีอนิ ทรยี ์วัตถุ

ทางเลือกอาชีพด้านหมอ่ นไหม 7 - ความเป็นกรดเปน็ ด่างของดินระหว่าง 6.0 – 6.5 - ดนิ ไม่ดีควรปรับปรงุ ดนิ โดยการเพม่ิ อินทรีย์วตั ถุ เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยเคมีสูตร 16–8–8 และปรับปรุงความเป็นกรดเป็นด่างโดยใส่ ปูนขาวลงในดนิ 2. การเตรียมพืน้ ที่ 1. ไถดนิ 2 ครงั้ โดยครง้ั ท1ี่ ไถลกึ 30 – 40 เซนตเิ มตรตากดนิ ไว้ 5 – 7 วนั แล้วไถพรวนครั้งที่ 2 เพื่อก�ำจัดวัชพืชให้เก็บเหง้าหญ้าออกเป็นการลดวัชพืช ข้ามปี 2. ให้หว่านเมล็ดปอเทือง 4 – 5 ก.ก./ไร่อายุได้ 35 – 45 วันท�ำการล้ม และไถกลบเปน็ การเพิ่มอินทรีย์วตั ถเุ พ่มิ ความอุดมสมบรู ณ์ให้แก่ดิน 3. รองก้นหลุมด้วยปุ๋ยอินทรยี ์ (ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมกั ) อัตรา 1,000 – 3,000 กโิ ลกรัมต่อไร่ 3. การจดั ระยะปลกู ใหเ้ หมาะสมขนึ้ อยกู่ บั การใชเ้ ครอื่ งทนุ่ แรงขนึ้ อยู่ กบั การใชง้ าน เคชรนื่อดิ ง/ทขน่นุ าแดรง ระ(เยมะตแรถ)ว ร(ะเมยตะตร)น้ จ�ำน/วไรน่ ต้น 1. รถแทรกเตอรไ์ มต่ ำ�่ กวา่ 75 แรงมา้ 3.0 0.75 711 2. รถแทรกเตอรไ์ มต่ ำ่� กวา่ 25 แรงมา้ 2.5 0.75 853 3. รถไถเดนิ ตาม 2.0 0.75 1,066 4. ใช้แรงคนและสัตว์ 1.5 0.75 1422 4. ระยะเวลาการปลูกหม่อน ฤดกู าลปลกู หมอ่ นทเ่ี หมาะสมคอื ชว่ งตน้ ฤดฝู นเพราะเปน็ ชว่ งทดี่ นิ มคี วาม ชุ่มชื้นสงู หม่อนสามารถเจรญิ เติบโตได้ดี แตบ่ างพนื้ ทป่ี ลกู หมอ่ นตน้ ฤดฝู นแลว้ พบปญั หานำ้� ขงั หมอ่ นตายเปอรเ์ ซน็ ต์ รอดต�่ำต้องปลูกช่วงปลายฤดูฝนเดอื นพฤศจิกายนถึงเดอื นมกราคม

8 ทางเลอื กอาชพี ด้านหม่อนไหม 5. วธิ ีการเตรียมหลุมปลกู มี 2 วิธี 1. การปลกู เปน็ หลุมตามระยะปลูกขนาดกว้าง X ยาว X ลึกประมาณ 50 X 50 X 50 เซนตเิ มตร รองก้นหลมุ ด้วยอนิ ทรีย์วตั ถุ 2. ขดุ หลมุ เปน็ ร่องยาวตามแนวปลกู ขนาดกว้างและลกึ 50 เซนติเมตร รองก้นหลมุ ด้วยอนิ ทรีย์วตั ถุ 6. วิธีปลกู 1. นำ� ทอ่ นพนั ธท์ุ ผี่ า่ นการปกั ชำ� ในแปลง หรือในถุงจนกระท่ังมีรากแข็งแรงพร้อมย้ายไป ปลูกในหลุมที่เตรียมไว้ให้มีตาอยู่เหนือพื้นดิน 2–3 ตา (สงู 15 เซนตเิ มตร จากพ้นื ดิน) 2. หลังจากปลูกหม่อน 1 เดือนให้ดูแล วัชพชื รอบๆ ต้นหม่อน โดยการใช้จอบถางหญ้า หรอื ใชย้ าฆา่ หญา้ ฉดี พน่ แตค่ วรมฝี าครอบปอ้ งกนั ไมใ่ หย้ าฆา่ หญา้ ไปสมั ผสั โดนตน้ หมอ่ นทป่ี ลกู ใหม่ และใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 16–8–8 ต้นละ 15 กรัม ถ้าต้องผ่านช่วงแล้งควรให้น�้ำแล้วคลุมโคนด้วย ฟางข้าว 3. เกบ็ ใบหมอ่ นมาเลยี้ งไหมไดห้ ลงั ปลกู 4 เดอื นโดยวิธีรดิ ใบมาเลย้ี งไหมและตัดกิ่งแขนงออก 1.4 การดแู ลรักษาสวนหมอ่ น การดูแลรักษาสวนหม่อนอย่างถูกต้องและสม่�ำเสมอจะท�ำให้ต้นหม่อน มีอายุยืนยาวให้ผลผลติ ต่อไร่สูงและมคี ุณภาพดเี มอ่ื นำ� ไปเล้ียงไหม หนอนไหม จะแขง็ แรงให้ผลผลิตใบสงู ฉะน้นั จงึ ควรปฏิบัติดังนี้

ทางเลอื กอาชพี ดา้ นหม่อนไหม 9 1. การไถพรวน ควรมีการไถพรวนดินระหว่างแถวหม่อนเพื่อให้ดินร่วนโปร่งเป็นการ ระบายอากาศเพมิ่ ออกซเิ จนในดนิ และสามารถอมุ้ นำ้� ไดด้ ขี นึ้ การไถพรวนเปน็ การ ตดั รากหมอ่ นเกา่ เพอ่ื เปน็ การสรา้ งรากใหม่ทสี่ ามารถหาอาหารได้ดขี นึ้ เปน็ การ กระตนุ้ ใหม้ กี ารแตกใบใหมเ่ รว็ ขนึ้ นอกจากนนั้ ยงั เปน็ การกำ� จดั วชั พชื และเปน็ การ กลบปุ๋ยทใี่ ส่ในแปลงหม่อนอีกทางหนึง่ ด้วยโดยใช้รถไถหรือจอบ ระยะเวลาใน การไถพรวนดนิ ท่ีเหมาะสมคอื หลงั ตัดแต่งหม่อนและใส่ปุ๋ยทกุ ครงั้ ขอ้ ควรระวงั ในช่วงฤดฝู นไม่ควรไถพรวนลกึ เพราะเปน็ ช่วงทห่ี ม่อนกำ� ลงั เจรญิ เตบิ โตหรอื ขณะทร่ี ากใหม่กำ� ลงั หาอาหารจะทำ� ให้เกดิ การชะงกั หรอื รถไถ อาจท�ำให้ก่งิ หม่อนหกั เสยี หายได้ 2. การก�ำจัดวชั พชื วชั พชื เปน็ ศตั รหู ม่อนชนดิ หนง่ึ เพราะจะแย่งธาตอุ าหารและความชนื้ ในดนิ นอกจากน้ันยังเปน็ ทหี่ ลบซ่อนของโรคและแมลงศัตรูหม่อน วิธกี ารก�ำจัดวัชพชื 1. ปลกู พชื ตระกลู ถั่วคลมุ ดิน หรอื ปลูกปอเทือง 2. การใช้จอบเครอ่ื งตัดหญ้า หรือการไถพรวน 3. การใช้ยาฆ่าหญ้าแบบสัมผัสตายตาม คำ� แนะนำ� บนสลากก�ำกบั ข้างขวด

10 ทางเลือกอาชีพด้านหม่อนไหม วธิ ีการใช้ 1. หลงั ตัดหม่อนไปเลี้ยงไหมแล้วให้ท�ำการตดั แต่งกิ่ง 2. กรณหี ญ้าหนาให้ฉีดพ่นยาฆ่าหญ้าโดยฉดี คลมุ ตอหม่อนไม่เกิน 3 วนั หลังตดั แต่งกง่ิ หม่อนหรือก่อนแตกใบอ่อน หา้ มใช้ ยาฆ่าหญ้าประเภทดดู ซมึ ในสวนหม่อนโดยเดด็ ขาดเพราะ 1. สารดูดซึมตกค้างในดินจะท�ำให้ต้นหม่อนชะงักการเจรญิ เตบิ โต 2. ใบหม่อนท่ีนำ� มาเลีย้ งไหมจะท�ำให้ไหมอ่อนแอและตาย 3. การใสป่ ุ๋ย ประโยชน์ของการใส่ปยุ๋ 1. เพือ่ เพิ่มธาตุอาหารให้แก่ต้นหม่อนช่วยให้ต้นหม่อนแข็งแรง 2. เพอ่ื รักษาความอดุ มสมบรู ณ์ให้แก่ดนิ 3. เพอื่ ปรบั สภาพโครงสร้างของดนิ ให้ดีขึน้ 4. เพื่อเพมิ่ อินทรยี ์วตั ถุและจลุ ินทรีย์ทเ่ี ปน็ ประโยชน์แก่ดนิ ควรมกี ารใส่ปุ๋ยทุกครง้ั หลงั ตัดแต่งก่งิ หม่อน ปุ๋ยแบง่ ออกเป็น 2 แบบ คือ 1. ปยุ๋ อินทรยี ์ ได้แก่ ปุ๋ยคอก (มูลสตั ว์) ปุ๋ยหมกั และปุ๋ยพืชสด อตั ราการใช้ควรใส่อย่างน้อย 1,000 ก.ก. / ไร่/ ปี - ปุ๋ยคอก (มูลสัตว์) เช่น ขไี้ ก่ - ปุ๋ยหมกั เช่น หมกั จากกงิ่ หม่อน มูลไหม - ปุ๋ยพชื สดได้จากการนำ� เมล็ดพืชตระกลู ถว่ั และปอเทือง 3–4 ก.ก./ ไร่ ปลกู ระหว่างแถวหม่อนเม่อื อายุ 45 วนั แล้วไถกลบ 2. ป๋ยุ เคมี ได้แก่ ปุ๋ยสตู ร 16–8–8 อัตราการใช้ 50 ก.ก. / ไร่/ ครง้ั ใส่ปีละ 3 ครั้งหลังจากตัดหม่อนไปเลี้ยงไหมแล้ว

ทางเลือกอาชพี ด้านหม่อนไหม 11 4. การรักษาความชื้นในดิน ในช่วงฤดูแล้งควรมีการคลุมบริเวณโคนต้นและร่องหม่อน เพื่อป้องกัน การสูญเสียความชื้นในดินด้วยวัสดุท่ีหาง่ายในท้องถ่ิน เช่น ฟางข้าว เปลือก มะพร้าว เปลือกถั่ว ซังข้าวโพด ใบตอง หรือปลูกพืชตระกูลถ่ัวคลุมดิน เช่น ถว่ั พร้า และปอเทือง 5. การให้น้ำ� หม่อนต้องการนำ�้ ไม่มากนกั ควรให้นำ้� ช่วงฤดแู ล้ง อาจจะให้นำ้� แบบปล่อย ตามร่อง แบบระบบน้ำ� หยอด และระบบสปรงิ เกอร์อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 คร้ัง

12 ทางเลือกอาชีพด้านหมอ่ นไหม 6. การระบายน้ำ� หมอ่ นเปน็ พชื ทไี่ มช่ อบใหร้ ากแชน่ ำ้� จะทำ� ใหร้ ากขาดออกซเิ จนรากเนา่ ชะงกั การเจริญเติบโตใบเหลอื งและอาจเห่ียวเฉาตายในทีส่ ุด ดังนั้น การเลือกพื้นที่ปลูกหม่อนควรหลีกเลี่ยงที่ต่�ำน�้ำท่วมขัง และ ควรมีการระบายน้�ำในสวนหม่อนโดยเฉพาะในฤดูฝน 7. การดูแลและบ�ำรุงรักษาสวนหม่อนหลังตัดหม่อนไปเล้ียงไหมมี ขัน้ ตอนดงั น้ี ข้ันตอนท่ี 1 ตัดแต่ง ให้ตัดแต่งโดยเร็วที่สุดเพ่ือหม่อนจะแตกใหม่ได้ โดยเรว็ เกษตรกรไมเ่ สยี โอกาสการตดั แตง่ ทด่ี ที สี่ ดุ คอื “กนิ ไป – แตง่ ไป” หมายถงึ ทุกวนั ทมี่ าตัดหม่อนไปเลี้ยงไหมให้ทยอยแต่งหม่อนทกุ วันซึ่งในวัย 5 ช่วงวนั ที่ ไหมกินหม่อนเพ่ิมขึ้นให้ทยอยแต่งให้ใช้เวลาว่างของแต่ละวันช่วงไหมท�ำรัง ทยอยแต่งจนเสร็จหากท�ำได้ตามนี้ก็จะสามารถเล้ียงไหมได้เร็วข้ึนเพิ่มจ�ำนวน ในการเล้ียงได้ 1 – 2 ครง้ั / ปี ข้ันตอนท่ี 2 ใส่ปุ๋ย – หยอดเมล็ดปอเทือง การปลูกปอเทืองใน รอ่ งหมอ่ นเปน็ การควบคมุ วชั พชื และเพมิ่ ปยุ๋ พชื สดใหแ้ กต่ น้ หมอ่ นดว้ ยตน้ ปอเทอื ง ในพนื้ ที่ 1 ไร่ จะให้ป๋ยุ พชื สดถงึ 2-3 ตนั หรอื เปน็ นำ้� หนกั แห้ง 1-1.5 ตนั สามารถ ช่วยลดค่าใช้จ่ายปุ๋ยขี้ไก่ได้ไร่ละ 1,000 บาท/ปี ขณะเดียวกันให้ใส่ปุ๋ยสูตร 16 – 8 – 8 จำ� นวน 1 กระสอบ/ ไร่ ไปพรอ้ มกบั การหยอดเมลด็ ปอเทอื งแลว้ ไถกลบ

ทางเลือกอาชีพดา้ นหมอ่ นไหม 13 ขนั้ ตอนที่ 3 ไถพรวน ควรไถพรวนรอ่ งหมอ่ นหลงั การตดั แตง่ แล้วทกุ ครงั้ เพ่ือให้ดินร่วนซุยอุ้มน้�ำได้ดีท้ังยังเป็นการกระตุ้นให้ต้นหม่อนแตกรากใหม่ แตกใบใหม่และเปิดหน้าดินให้ดนิ มีออกซเิ จนมากขึ้น ข้ันตอนท่ี 4 พ่นยาฆ่าแมลง หากสังเกตเห็นมีแมลงรบกวนเม่ือหม่อน แตกยอดประมาณ 1-2 เซนตเิ มตร ให้พ่นยาฆ่าแมลงคลมุ ตอหม่อนและพ่นอกี ครง้ั ภายใน 7 วนั เพอ่ื ฆ่าทงั้ แมลงและไขท่ จ่ี ะเปน็ ปญั หาของสวนหม่อนในวนั ข้าง หน้าการทำ� วธิ นี จ้ี ะสามารถทำ� ได้ง่ายมคี ่าใช้จ่ายน้อยและได้ผลดจี รงิ หากแปลง หม่อนท่ีต้องพ่นยาอยู่ติดกับแปลงท่ีจะต้องใช้ให้เว้นต้นหม่อนแถวติดกันไว้ 2-3 แถว แล้วใช้ผ้าพลาสติกกัน้ ระหว่างแถวเพื่อป้องกนั ยาโดยใช้หัวสเปรย์ยา แบบมหี มวกครอบช่วยอกี ทางหนึง่ ด้วย ขนั้ ตอนที่ 5 พน่ ไคโตซาน ซง่ึ เปน็ สารชวี ภาพมฤี ทธกิ์ ระตนุ้ ใหห้ ม่อนสรา้ ง ภมู คิ ุ้มกนั แมลง หากสงั เกตเหน็ มแี มลงรบกวนในช่วงทห่ี ม่อนแตกยอดอ่อนหลงั จากพ่นยาฆ่าแมลงแล้วให้ตามด้วยไคโตซานเมื่อหม่อนยาว 15-20 เซนตเิ มตร และหากยงั มแี มลงรบกวนอยอู่ กี ใหพ้ น่ ซำ�้ อกี ครงั้ หนงึ่ แมลงกจ็ ะหายไปและหมอ่ น จะเติบโตได้อย่างสมบรู ณ์และรวดเรว็ การตดั แตง่ กิ่ง การตัดแตง่ ก่งิ หมอ่ นแบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. การตดั แต่งก่ิงประจ�ำปี การตัดแต่งก่งิ ประจำ� ปี หมายถึง การตัดแต่งกิ่งหม่อนในช่วงปลายฝน – ต้นหนาว (เดอื นตุลาคม – มกราคม) หรือ จะตดั กอ่ นการเลยี้ งไหมรนุ่ แรก 2 – 3 เดอื น โดยจะท�ำการตดั แต่งกิง่ ปีละ 1 ครั้ง ซึ่งมี วิธกี ารตดั แต่งกง่ิ ดังน้ี - หมอ่ นแถวเดย่ี วควรตดั ใหต้ อหมอ่ น สงู จากพ้นื ดิน 50 เซนตเิ มตร

14 ทางเลือกอาชพี ดา้ นหม่อนไหม - จากหม่อน 1 ต้น หากมีจำ� นวน ตอมากเกินไปให้ตัดตอที่มีขนาดเล็กท้ิงให้ เหลือตอหม่อนท่ีสมบูรณ์และมีขนาดใหญ่ ไว้เพยี ง 1 ตอ โดยใช้กรรไกรหรอื เล่ือย - ตัดแต่งก่ิงเล็ก กิ่งฝอยออกให้ หมดให้เหลือแต่ตอหม่อน - หลงั จากนน้ั บำ� รงุ รกั ษาตน้ หมอ่ น โดยการใส่ปุ๋ยและคลุมโคนหม่อนด้วยวัสดฟุ างข้าวเพือ่ รักษาความชนื้ 2. การตดั แตง่ กง่ิ หลังการเลี้ยงไหม การตดั แตง่ กงิ่ หลงั การเลย้ี งไหม หมายถงึ การตดั แตง่ กง่ิ หมอ่ นใหม้ คี วามสงู ชดิ รอยเดมิ หรือ 2 – 3 ตาจากรอยเดิม พร้อมท้ังมีการแต่งกง่ิ ฝอยออกให้หมด หลังจากตัดแต่งไปเลี้ยงไหมทุกครั้งเพ่ือให้ได้ใบหม่อนทั้งปริมาณและคุณภาพ ที่เหมาะสมกบั การเลีย้ งไหมและสามารถเล้ียงไหมได้อย่างต่อเนอื่ ง โรคแมลงศัตรหู มอ่ นและการปอ้ งกันก�ำจัด โรคและแมลงศัตรูหม่อนเป็นปัญหาส�ำคัญอีกอย่างหน่ึงของอาชีพน้ีหาก เกษตรกรมกี ารดแู ลสวนหมอ่ นบำ� รงุ รกั ษาและปฏบิ ตั อิ ย่างถกู ตอ้ งเหมาะสมแลว้ ปญั หาเรอ่ื งโรคและแมลงศตั รหู มอ่ นกจ็ ะไมเ่ ปน็ ปญั หาสำ� หรบั อาชพี นเ้ี พอื่ ปอ้ งกนั การระบาดของโรคและแมลงศัตรูหม่อน เกษตรกรควรปฏบิ ัติ ดังนี้

ทางเลอื กอาชีพด้านหม่อนไหม 15 1. การป้องกันการเกิดโรคคือ การลดความเสี่ยงในการน�ำเช้ือโรคเข้าสู่ สวนหม่อน เช่น ไม่ควรนำ� มลู ไหมสดใส่ในสวนหม่อน ควรน�ำไปทำ� ปุ๋ยหมักก่อน หรือการทไ่ี ม่ปล่อยให้สวนหม่อนอยู่ในสภาพที่รกร้างเพราะจะเป็นแหล่งสะสม ของเชือ้ โรคและแมลง ต้องมกี ารปราบวัชพืชและตดั แต่งก่ิงหม่อนทกุ คร้ัง 2. กำ� จดั ส่วนทเี่ ปน็ โรคทนั ทีโดยการขดุ ทง้ิ หรือเผาทำ� ลาย 3. การใชส้ ารเคมคี วรเปน็ วธิ สี ดุ ทา้ ยทจ่ี ะปฏบิ ตั เิ นอ่ื งจากอาจเกดิ ผลกระทบ กบั การเลยี้ งไหมได้ เช่น เกดิ พิษตกค้างในใบหม่อนส่งผลให้หนอนไหมตายได้ โรคหม่อนทส่ี �ำคญั โรคหม่อนทสี่ ำ� คญั มหี ลายชนดิ ทท่ี ำ� ลายกง่ิ ใบ ลำ� ต้น และราก ซงึ่ จะทำ� ให้ ผลผลติ ใบลดลง หากโรคระบาดรุนแรง หม่อนจะตายท้ังต้น โรคที่พบระบาด รนุ แรง จะพบระบาดในช่วงฤดูกาลต่างๆ กนั มีดงั นี้ โรคหมอ่ นที่สำ� คญั และการปอ้ งกนั ก�ำจดั โรครากเนา่ สาเหต ุ : ยังไม่ทราบเช้อื สาเหตทุ ีแ่ น่ชัด ช่วงเวลาระบาด ตลอดปีและระบาดรนุ แรงในฤดฝู น อาการของโรค ใบเหยี่ วจากสว่ นยอดลงมาคลา้ ยนำ�้ รอ้ น ลวก รากเปื่อยเน่า สนี ้�ำตาลปนดำ� การปอ้ งกันกำ� จดั ปลูกพันธุ์หม่อนท่ีทนทานโรครากเน่า เชน่ สกลนคร หมอ่ นไผ่ และคณุ ไพ ในเขตพน้ื ทท่ี มี่ กี ารระบาด กรณที เ่ี กษตรกร ต้องการเพม่ิ ผลผลติ ให้ตดิ ตาพนั ธุ์ดี

16 ทางเลอื กอาชีพดา้ นหม่อนไหม โรคราสนิม สาเหต ุ : เชอ้ื รา ชว่ งเวลาระบาด ปลายฤดฝู นถงึ ฤดูหนาวท่ีมีอากาศเย็น และชน้ื อาการของโรค เป็นแผลรูปวงกลมหรือรูปไข่บริเวณผิวดา้ น ลา่ ง ของใบหมอ่ น ถา้ ระบาดรนุ แรงใบจะมสี เี หลอื ง และร่วงหล่น การปอ้ งกนั ก�ำจดั - ช่วงทมี่ ีการระบาดรุนแรงตัดแต่งก่ิงให้ทรงพุ่มโปร่ง - ในพ้ืนท่ีท่ีมีการระบาดควรปลูกหม่อนให้มีระยะปลูกหา่ งมากกว่าปกติ หรอื ใช้พนั ธ์ุหม่อนทีท่ นทาน ได้แก่ หม่อนคุณไพ โรคใบดา่ ง สาเหตุ : เชือ้ ไวรัส ช่วงเวลาระบาด ตลอดปี อาการของโรค ใบมีลักษณะด่างและบิดเบ้ยี ว การปอ้ งกันก�ำจัด - ควรเลือกกง่ิ พนั ธุ์ทป่ี ลอดโรค - ทำ� ลายต้นหม่อนท่แี สดงอาการของโรคใบด่าง - ปลูกพันธุ์หม่อนที่ทนทานโรคใบด่าง เช่น พันธุ์บุรีรัมย์ 60 และพันธุ์ ศรสี ะเกษ 33 - กำ� จดั แมลงทเี่ ปน็ พาหะของโรคใบดา่ ง เชน่ เพลย้ี อ่อน และแมลงหวข่ี าว - ควรท�ำความสะอาด ฆ่าเชื้อโรคเครือ่ งมอื ตดั แต่งก่ิง

ทางเลอื กอาชพี ด้านหมอ่ นไหม 17 โรคไหม้ สาเหต ุ : เชื้อแบคทเี รยี ช่วงเวลาระบาด ฤดูฝน อาการของโรค ใบท่ีเป็นโรคจะเป็นจุดสีเทาเล็กๆ ฉ่�ำน้�ำ และ ขยายเป็นแผลสีเหลืองปนน้�ำตาล ใบจะเหลืองแห้ง ร่วง หล่น ถ้าเกิดบนกิง่ เป็นรอยแผลสีน�้ำตาลปนดำ� เม่ือมีอาการรุนแรงก่ิงจะหัก เกิดรอยจุดเป็นขุย สนี ้�ำตาล การปอ้ งกนั กำ� จดั - ตดั แต่งกงิ่ ให้ทรงพุ่มโปร่ง ทำ� ให้การถ่ายเทอากาศดี แสงแดดส่องถึง - เก็บใบและกิง่ ทีเ่ ป็นโรค เผาทำ� ลาย โรคราแป้ง สาเหตุ : เชอ้ื รา ช่วงเวลาระบาด ปลายฤดฝู นจนถงึ ตน้ ฤดหู นาวทม่ี อี ากาศชนื้ อาการของโรค เปน็ ผงสขี าวคลา้ ยแปง้ อยใู่ ตใ้ บตอ่ มาจะกลาย เป็นจุด สเี หลอื ง และน้ำ� ตาล ใบร่วง การป้องกนั กำ� จัด - ปลูกพันธุ์หม่อนที่ทนทานต่อโรค ได้แก่ พันธุ์นครราชสมี า 60

18 ทางเลือกอาชพี ด้านหม่อนไหม แมลงศัตรูหมอ่ นทส่ี ำ� คญั และการป้องกนั กำ� จดั เพลี้ยไฟ ช่วงเวลาระบาด : ช่วงหน้าแล้งหรือฝนทิ้งช่วง ลักษณะการทำ� ลาย ดูดกินน้�ำเล้ียงบริเวณใบอ่อน ท�ำให้ใบ หยาบกร้าน ขอบใบม้วนข้ึนบน การปอ้ งกนั ก�ำจดั - ระยะฝนทงิ้ ชว่ งควรใชน้ ำ�้ ฉดี พน่ บรเิ วณ ใตใ้ บเพอื่ ใหต้ วั ออ่ นหลน่ ออกจากใบ จะลดความ เสียหายได้มาก - ใชใ้ บกระเพราหรอื ใบโหระพา 1 กโิ ลกรมั ตำ� ใหล้ ะเอยี ดผสมกบั นำ้� 1 ปบ๊ี (20 ลติ ร) หมกั ทงิ้ ไว้ 1 คนื กรองเอากากออก นำ� นำ�้ หมกั ไปฉดี พน่ ในแปลงหมอ่ น - ปลกู หมอ่ นพนั ธท์ุ ที่ นทาน เชน่ พนั ธน์ุ ครราชสมี า 60 และพนั ธศ์ุ รสี ะเกษ 33 - ใช้ด้วงเต่าลายกำ� จัดตัวอ่อนของเพลย้ี ไฟ แมลงหวข่ี าว ช่วงเวลาระบาด : ช่วงหน้าแล้ง ลกั ษณะการทำ� ลาย ดูดกินน�้ำเลี้ยงใต้ใบอ่อน ท�ำให้ใบเป็น สีเหลืองซีด และขับถ่ายน้�ำหวานออกมา ซง่ึ เป็นอาหารของเชอ้ื รา ทำ� ให้ใบแก่มีสีด�ำ การป้องกนั กำ� จดั - ใช้กับดักกาวเหนียวสีเหลืองขนาด 30 x 30 ตารางเซนติเมตร น�ำไปปกั ไว้ระหว่าง แถวหม่อน ระยะห่าง 5 - 10 เมตร สงู เท่าระดบั ยอดหม่อน - ใช้ใบกระเพราหรอื ใบโหระพา 1 กโิ ลกรมั ตำ� ให้ละเอยี ดผสมกบั นำ้� 1 ปบ๊ี (20 ลติ ร) หมกั ทง้ิ ไว้ 1 คนื กรองเอากากออก นำ� นำ�้ หมกั ไปฉดี พ่นในแปลงหม่อน

ทางเลอื กอาชพี ด้านหมอ่ นไหม 19 เพล้ยี แปง้ ช่วงเวลาระบาด : ฤดูฝน ลักษณะการท�ำลาย ดูดกินน�้ำเลี้ยงส่วนยอดและเส้นใบท�ำให้ ใบหงกิ งอ และแคระแกร็น การปอ้ งกันกำ� จดั - ตดั ก่ิงท่ีมเี พล้ยี แป้งเผาท�ำลาย - พยายามอย่าให้มดขน้ึ ต้นหม่อน - ปล่อยด้วงเต่าลายกำ� จดั ตวั อ่อนของเพล้ียแป้ง ปลวก ช่วงเวลาระบาด : ตลอดปี ลกั ษณะการท�ำลาย กัดกินเน้ือไม้และราก การป้องกันกำ� จดั - ท�ำลายรังปลวกและใช้สารเคมีก�ำจัด ปลวก ในระยะการเตรยี มดินก่อนปลกู หม่อน ด้วงเจาะลำ� ต้นหมอ่ น ช่วงเวลาระบาด : ฤดฝู น ลักษณะการทำ� ลาย ตวั เตม็ วยั กดั กนิ และวางไขท่ กี่ งิ่ หมอ่ น เมอื่ ไข่ฟักเป็นตัวหนอนจะกินเนื้อไม้ภายในล�ำต้น สงั เกตได้จากขุยของเนอ้ื ไม้ทีบ่ รเิ วณโคนต้น การปอ้ งกนั กำ� จดั - ตรวจดแู ปลงหมอ่ นในชว่ งทม่ี กี ารระบาด ถ้าพบไข่ใช้ไม้แหลมท�ำลาย - ในชว่ งทเี่ ปน็ ตวั หนอนอยใู่ นลำ� ตน้ ใหใ้ ชน้ ำ�้ เกลอื ฉดี เข้าไปในรทู ห่ี นอนเจาะ ท�ำลาย

20 ทางเลือกอาชีพด้านหมอ่ นไหม หอยทาก ชว่ งเวลาระบาด : ฤดฝู น ลกั ษณะการท�ำลาย กดั กินใบอ่อนและตาท่แี ตกใหม่ การปอ้ งกนั ก�ำจัด - เก็บทำ� ลาย - โรยปูนขาว - ใช้เหยื่อพิษเช่น เมทัลดไี ฮด์ แมลงค่อมทอง ชว่ งเวลาระบาด : พบตลอดปี ลกั ษณะการท�ำลาย กัดกินใบอ่อนและยอด การป้องกนั ก�ำจดั - หมั่นส�ำรวจแปลงหม่อน หากพบเก็บ ตวั แมลงค่อมทองนำ� ไปเผาท�ำลาย - หากพบการระบาดมากควรพ่นด้วยสารคาร์บาริล (เซฟวนิ 85% WP) อตั รา 40 กรมั น�้ำ 20 ลิตร หลังพ่นควรทง้ิ ไว้ 20-30 วัน ก่อนเกบ็ ใบไปเลย้ี ง ไหม

ทางเลือกอาชีพด้านหม่อนไหม 21 หนอนกระท ู้ ชว่ งเวลาระบาด : พบมากช่วงฤดูหนาว (พ.ย.-ธ.ค.) ลักษณะการทำ� ลาย กัดกนิ ผวิ ใบและใบอ่อน การปอ้ งกันก�ำจัด - หมัน่ สำ� รวจแปลงหม่อน หากพบกลุ่มไข่ หรือตัวหนอนเก็บท�ำลาย - สารสกดั สะเดา อัตรา 100 มล./น�้ำ 20 ลติ ร - ปลอ่ ยมวนพฆิ าตหรอื มวนเพชฌฆาต เพอ่ื ใหด้ ดู กนิ หนอนกระทใู้ นแปลง หม่อน - ปลอ่ ยแตนเบยี นหนอน และแตนเบยี นไข่ เพอ่ื ทำ� ลายไข่ และหนอนกระทู้ ในแปลงหม่อน - กรณที ม่ี กี ารระบาดมาก ใชส้ ารเคมี คารบ์ ารลิ อตั รา 50 กรมั ตอ่ นำ�้ 20 ลติ ร หรือสารเคมีพวกเมทโธมลิ ไหม หลักการดูแลไข่ไหมขณะเดินทาง วตั ถปุ ระสงค์เพอื่ ให้ไข่ไหมแขง็ แรงและฟกั ออกเปน็ ตัวพร้อมเพรยี งกันโดยควรให้ความส�ำคัญเรอ่ื ง 1. รกั ษาสภาพอุณหภมู ิที่ 25 องศาเซลเซยี ส 2. รกั ษาสภาพความชนื้ สมั พทั ธท์ ่ี 85 เปอรเ์ ซน็ ต์ 3. ไข่ไหมต้องอยู่ในห่อผ้าด�ำเพื่อไม่ให้ไข่ไหม ได้รับแสงสว่างก่อนกำ� หนด

22 ทางเลือกอาชีพดา้ นหมอ่ นไหม การดแู ลไข่ไหมขณะเดนิ ทางและการใหแ้ สงสวา่ งแกไ่ ขไ่ หม หอ่ ไขไ่ หมทเี่ กษตรกรไดร้ บั เกษตรกรควรใหค้ วามสำ� คญั เพราะในหอ่ ไขไ่ หม น้นั มไี ข่ไหมบางส่วนซ่งึ มากกว่า 50% ได้ฟักออกเป็นตวั แล้ว ดังนน้ั เกษตรกร ควรระมัดระวังในการขนส่งไข่ไหมและดูแลไข่ไหมให้ดีจะได้ไม่ท�ำให้ไหมที่ฟัก ออกมาแล้วบางส่วนนนั้ อ่อนแอ 1. การดแู ลไข่ไหมขณะเดนิ ทาง 1. ดูแลห่อไข่ไหมให้ผ้าด�ำมีความช้ืนตลอดเวลาโดยหมั่นตรวจห่อไข่ ไหมหากห่อไข่ไหมแห้งให้ฉีดน�ำ้ ทผ่ี ้าดำ� 2. ควรเดินทางในช่วงเช้าหรือเย็นหรือช่วงท่ีอากาศเย็นเว้นกรณีใช้ รถขนไข่ไหมท่ตี ิดแอร์สามารถเดนิ ทางได้ตลอดทงั้ วนั 3. ระวงั อย่าให้ห่อไข่ไหมถูกแสงแดดโดยตรง 4. หลีกเล่ียงการห่อไข่ไหมเข้าไปในเขตชุมชนท่ีมีการสูบบุหร่ี หรือ สารเคมี 2. การให้แสงสวา่ งแก่ไข่ไหม 1. เกษตรกรรับไข่ไหมไปแล้ว ควรน�ำไข่ไหมไปไว้ที่โรงเลี้ยงไหมที่ท�ำ ความสะอาดเรยี บรอ้ ยแลว้ และวางในจดุ ทอี่ ากาศเยน็ ทส่ี ดุ ในโรงเลย้ี งหมนั่ ตรวจ ดูห่อไข่ไหมอย่าให้แห้งและหลกี เลี่ยงแสงสว่างระวงั มดและแมลง 2. เมอื่ ถงึ เวลาใหแ้ สงแกะผ้าดำ� และตะกร้าแลว้ นำ� กล่องไขไ่ หมมาเรยี ง กันบนชนั้ เลย้ี งไหมโดยใช้หลอดนอี อนหรอื หลอดเหลืองโดยให้หลอดไฟอยู่ห่าง จากกล่องไข่ไหม 1.50 เมตร ให้ได้รบั แสงอย่างทัว่ ถงึ 3. ควรให้ไข่ไหมได้รับแสงอย่างน้อย 4 ช่ัวโมง และเวลาให้แสงข้นึ อยู่ กบั ฤดูกาลเช่น • ฤดูร้อน – ฝน เปิดให้แสงเวลา 03.00 น. และให้ใบหม่อนเวลา 07.00 น. • ฤดหู นาว เปดิ ใหแ้ สงเวลา 04.00 น. และใหใ้ บหมอ่ นเวลา 08.00 น. หรือหากอุณหภูมิต่�ำกว่า 20 องศาเซลเซียสให้เลื่อนเวลาเคาะไหมออกไปอีก 1 – 2 ชว่ั โมง

ทางเลือกอาชีพดา้ นหม่อนไหม 23 หลกั การเลีย้ งไหมวัยออ่ น 1. ไหมวัย 1 – 2 เปน็ วัยทีม่ ีภูมิต้านทานตำ่� ต้องเล้ียงในสภาพทส่ี ะอาดเพื่อ ป้องกนั เชอื้ โรค โดยท�ำความสะอาดโรงเลี้ยง และอุปกรณ์อย่างดี 2. ลดจ�ำนวนสูญหายของจ�ำนวนหนอนไหมโดยเลี้ยงไหมให้แข็งแรง ซ่ึง ทำ� ได้โดย - เลอื กใบหมอ่ นเหมาะสมตอ่ วยั หากหมอ่ นแขง็ จะทำ� ใหเ้ กดิ ไหมสญู หาย - ก่อนให้ใบหม่อนควรมกี ารกระจายตวั ไหมให้สม�่ำเสมอ - ขนาดชิน้ หม่อนต้องเหมาะสม 3. ปรบั สภาพอุณหภูมคิ วามชื้นให้ได้ตามทไ่ี หมต้องการ การเลยี้ งไหมวยั อ่อน 1. การเลอื กใบหม่อนทเ่ี หมาะสมกับวยั ัวที่ย 11-ใ3บ}วนั ฟกั }หา้ ม ! ใช้ยอดหม่อน วัย 2 ใบ ใบท่ี 1 ที่ 1-6 ใบท่ี 3 เลีย้ งไหมวยั อ่อน ใบท่ี 2 ใบท่ี 5 ใบที่ 4 ใบท่ี 6 ใบที่ 7 ใบท่ี 8

24 ทางเลือกอาชีพด้านหม่อนไหม 2. เคมภี ัณฑ์ที่ใช้ในการเล้ียงไหมวัยออ่ น 2.1 ปูนขาว คณุ สมบัต ิ เป็นผงสขี าวไม่มีกล่ินใช้ในการดูดซับความชน้ื วิธีการใช ้ ใช้โรยบนตัวหนอนไหมเม่ือหนอนไหมนอนสนิทแล้ว โดยการโรยปูนขาวแล้วท�ำการซาวารีเพ่ือให้ปูนขาวลงไปถึง พ้ืนกองไหมจากนั้นโรยซ�้ำอีกรอบในช่วงที่มีความชื้นสูง เช่น ช่วงฤดูฝนให้โรยปูนขาวก่อนการเลี้ยงไหมม้ือแรกของ วันประมาณ 20 – 30 นาที ในไหมวยั 5 วันที่ 2 เป็นต้นไป อตั ราการใช้ 2 ถุง (6 กก.) ต่อไหม 1 กล่อง หรือข้นึ อยู่กบั สภาพแวดล้อม เช่น ในช่วงทคี่ วามชน้ื สูงควรใช้ปนู ขาวเพ่มิ เปน็ 2 เท่า 2.2 สารโรยตัวไหม เชน่ จลุ เอฟโซล เซฟดี พาฟโู ซล เปน็ ต้น คณุ สมบัต ิ เป็นผงสีขาวมีกล่ินฉุนเป็นเคมีภัณฑ์ในการฆ่าเช้ือโรคบน ตัวหนอนไหม วธิ ีการใช้ ใช้โรยบนตัวหนอนไหมแรกฟักหนอนไหมตื่นใหม่ใน แต่ละวัย และไหมสุกก่อนน�ำเข้าจ่อหรือหนอนไหมที่มีการ ระบาดของเชื้อโรคการโรยสารโรยต้นไหมจะต้องโรยก่อน การให้ใบหม่อนประมาณ 20 - 30 นาที และหลังจากโรย สารโรยตัวไหมไม่ควรเลี้ยงไหมด้วยใบหม่อนท่ีเปียกโดย เดด็ ขาด อตั ราการใช ้ ใช้สารโรยตัวไหม 2 กโิ ลกรัมต่อการเล้ียงไหม 1 กล่อง 3. การเคาะไหมแรกฟกั วสั ดุอปุ กรณ์สำ� หรับการเคาะไหม • กระดาษปชู ั้นเลี้ยง เช่น กระดาษสนี ้�ำตาลหรอื กระดาษขาว • กระดาษพาราฟิน • ตะเกยี บขนไก่ • ผ้าสะอาดส�ำหรับคลมุ ชั้นเล้ยี ง

ทางเลือกอาชพี ดา้ นหมอ่ นไหม 25 • ปนู ขาวสารโรยตวั ไหม • มดี ห่นั หม่อน เขียงห่ันหม่อน เข่งใส่หม่อน ผ้าคลุมหม่อน กะละมังใส่ หม่อน • ตาข่ายถ่ายมลู ไหม วธิ ีการเคาะไหม 1. หลังจากให้แสงไข่ไหมแล้วอย่างน้อย 4 ชั่วโมง หรอื หนอนไหมฟกั ออก เป็นตัวหมดแล้วคลีก่ ระดาษด้านหลังและด้านข้างออก 2. เปิดซองห่อไข่ไหมวางบนกระดาษพาราฟินท่ีปูทับกระดาษสีน้�ำตาล หรอื กระดาษขาวแล้ว โรยสารโยตัวไหมบางๆ ท้งิ ไว้ประมาณ 15 – 25 นาที 3. การหน่ั หมอ่ นจะหนั่ เปน็ รปู สเ่ี หลย่ี มลกู เตา๋ ขนาดความกวา้ งของชนิ้ หมอ่ น เท่ากบั ความยาวของตัวหนอนไหม 4. การให้ใบหม่อนยกแผ่นไข่ไหมขนึ้ โรยใบหม่อนบรเิ วณใต้แผ่นไข่ไหมวาง แผน่ ไขไ่ หมบนกระดาษห่อไขไ่ หมไวท้ เี่ ดมิ แลว้ โรยใบหมอ่ นบนแผ่นไขไ่ หมใหท้ ว่ั ๆ และไม่ควรให้ใบหม่อนมากเกินไป 5. คลมุ หนอนไหมด้วยกระดาษพาราฟินทิ้งไว้ประมาณ 1 – 2 ช่ัวโมงปัด หนอนไหมแรกฟกั ทำ� กองโดยใชข้ นไกป่ ดั ตวั หนอนและใบหมอ่ นออกจากแผน่ ไข่ ไหมคลกุ เคลา้ แลว้ ใช้ตะเกยี บกระจายเปน็ รปู สเ่ี หลย่ี มขนาด 45 x 50 ซ.ม./กล่อง (ครึ่งกระดาษห่อไข่) การเลย้ี งไหมวัย 1 หลังจากท�ำกองไหมเสร็จจะให้ใบหม่อนม้ือที่ 2 ใบหม่อนที่ให้จะเป็นใบ หม่อนทห่ี น่ั เท่ากบั ความยาวของตวั หนอนไหมเพอื่ ให้หนอนไหมขนึ้ มากนิ หม่อน ได้สะดวกและท�ำการขยายพน้ื ทีต่ ่อกล่องโดย • วนั ที่ 2 ขยายพนื้ ทใี่ หไ้ ดข้ นาด 50 x 80 เซนตเิ มตร (1 กระดาษหอ่ ไขไ่ หม) • วันที่ 3 ขยายพื้นท่ีให้ได้ขนาด 80 x 110 เซนติเมตร (1 กระดาษขาว) เมอื่ เลยี้ งไหมวยั 1 ถงึ วนั ท่ี 4 ไหมจะเร่มิ นอนในการให้หม่อนม้ือสุดท้าย อาจจะหนั่ หม่อนคร้ังเดยี วหรอื 2 คร้ังก็ได้

26 ทางเลอื กอาชพี ดา้ นหมอ่ นไหม หลังจากไหมนอนโรยปูนขาวเอากระดาษพาราฟินรองพื้นออกหลังจาก ไหมตื่นขยายพืน้ ทใี่ ห้ได้ขนาด 90 x 160 เซนติเมตร (หรือ 2 กระดาษขาว) ต่อ กล่องเพอื่ ปรบั สภาพกองไหมให้แห้งหลงั จากนน้ั ให้โรยซำ�้ อกี ครง้ั ซงึ่ หนอนไหม จะนอนประมาณ 24 ชว่ั โมง จะชา้ หรอื เรว็ ขน้ึ อยกู่ บั สภาพอณุ หภมู ิ คอื ถา้ อากาศ ร้อนไหมจะตืน่ เร็วกว่าอากาศเยน็ การเล้ียงไหมวัย 2 - เมอื่ หนอนไหมตนื่ เป็นวยั 2 ท้งั หมดจะสงั เกตได้จากปากของหนอน ไหมจะเป็นสดี ำ� ให้ท�ำการโรยสารโรยตัวไหมวางตาข่ายสำ� หรับถ่ายมูลไหม - ให้ใบหม่อนโดยใบหม่อนที่ให้จะห่ันเพียงคร้ังเดียวแบบเส้นยาวให้ ปรมิ าณทนี่ ้อย และคลมุ ด้วยกระดาษพาราฟิน • การถา่ ยมลู ไหมหลงั จากให้หม่อนแล้ว 2 มอื้ ให้ทำ� การวางตาข่ายบนชนั้ ไหมเพอื่ ถา่ ยมลู ไหมทงิ้ และขยายพน้ื ทใี่ หไ้ ด้ 100 x 200 เซนตเิ มตร (หรอื ประมาณ 3 กระดาษขาว) ต่อกล่อง • ให้ใบหม่อนตามปกติ (ไม่มากหรือน้อยเกินไป) • ประมาณวันท่ี 7 ไหมจะเริ่มนอนคร้ังท่ี 2 เม่ือหนอนไหมนอนให้ โรยปนู ขาวแล้วขยายพ้นื ท่ีให้ได้ 4 ตารางเมตร การเล้ยี งไหมวัยออ่ นส่งเกษตรกร ข้อดขี องการให้บริการเลย้ี งไหมวัยออ่ นสง่ เกษตรกร • ผลผลติ รังไหมเพ่ิมขน้ึ และมคี วามแน่นอน • คุณภาพรังไหมดีขนึ้

ทางเลือกอาชีพด้านหมอ่ นไหม 27 • สามารถควบคมุ การแพรก่ ระจายเชอ้ื โรคโดยเฉพาะการเลย้ี งไหมไล่รนุ่ ในฤดฝู นทีม่ ีหม่อนปรมิ าณมาก • ลดเวลาและลดการใชแ้ รงงานเกษตรกรมเี วลาไปดแู ลสวนหมอ่ นเพม่ิ ขน้ึ • เพม่ิ รนุ่ การเลย้ี งไหมสง่ ผลใหเ้ พม่ิ ประสทิ ธภิ าพการใชส้ วนหมอ่ นใหค้ มุ้ คา่ การรบั ไหมวยั ออ่ น (นอน 2) การรบั ไหมวัยอ่อนหรอื ไหมนอน 2 เกษตรกรจะเรมิ่ ในช่วงเช้าหรือเยน็ ซึ่ง เปน็ ช่วงที่อากาศเย็น การเตรียมการรบั ไหมวัยอ่อน 1. เกษตรกรต้องท�ำความสะอาดโรงเล้ียงและวัสดุอุปกรณ์ด้วยคลอรีน 1 กโิ ลกรมั ผสมกบั นำ้� 200 ลติ รหรอื ไลโซน1 ขวดต่อน้�ำ 50 ลิตรฉีดพ่นให้ท่ัว โรงเลย้ี งไหมและอปุ กรณเ์ มอ่ื โรงเลยี้ งและอปุ กรณแ์ หง้ ใหร้ าดคลอรนี 1 กโิ ลกรมั ผสมนำ�้ 200 ลิตร ราดพ้ืนโรงเล้ยี งไหมก่อนการรับไหมวยั อ่อน 1 วนั 2. เตรียมความพร้อมก่อนการรับไหมวัยอ่อนแบ่งออกเปน็ 2 ฤดู คือ 1. ฤดูฝนควรนำ� ไหมวัยอ่อนไว้ชั้นกลางโดยปฏบิ ัติดงั น้ี • ปกู ระดาษหนงั สอื พมิ พ์หรอื กระดาษขาว • ปผู ้าไนล่อนบนชั้นเลี้ยงทบั บนกระดาษหนงั สอื พิมพ์ • น�ำไหมวัยอ่อนมาขยายบนชั้นเลี้ยงที่เตรยี มไว้ 2. ฤดูแล้งควรน�ำไหมวัยอ่อนไว้ช้ันล่างและปฏิบัติเช่นเดียวกันกับฤดูฝน เพอ่ื ป้องกนั ไม่ให้มลู ไหมหล่นมาทพ่ี นื้ โรงเลยี้ งและป้องกนั การแพร่กระจายของ เชอ้ื โรค 3. เตรียมหม่อนสำ� หรับเล้ียงไหมวัย 3 ควรเป็นหม่อนอ่อนที่เกบ็ จากช่วง รอยต่อของล�ำต้นหม่อนระหว่างสีเขียวต่อสีน�้ำตาลขึ้นไปไม่ควรน�ำกิ่งแขนงมา เลีย้ งไหมวยั 3 เมื่อเกษตรกรทราบก�ำหนดวันรับไหมวัยอ่อนแล้วให้ไปรอรับไหมวัยอ่อน ณ จดุ รบั ไหมวยั อ่อนควรไปคอยกอ่ นเวลาทกี่ ำ� หนดโดยต้องเตรยี มกระบะรบั ไหมวัยอ่อนไปด้วยทุกครั้ง หากเกษตรกรไม่มีกระบะให้เตรียมผา้ สะอาดหรือ เส่ือปูบนรถท่ีเตรียมไปรับไหม เมื่อน�ำไหมวัยอ่อนไปถึงโรงเลี้ยงแล้วให้ปฏิบัติ ดังนี้

28 ทางเลอื กอาชพี ด้านหม่อนไหม วธิ ีที่ 1 หากพบไหมไมน่ อนใหแ้ กะหอ่ ไหมขยายใหเ้ ตม็ กระดาษสนี ำ�้ ตาลโรยปนู ขาว คดั แยกไหมไม่นอนออกโดยวางตาข่ายให้หม่อนเพิม่ ทิง้ ไว้ 30 นาทีแล้วทำ� การ ยกตาข่ายแยกไหมไม่นอนออก วิธีที่ 2 หากพบไหมต่นื มากให้แกะห่อหนอนไหมแล้วกระจายไหมให้เต็มกระดาษ สนี ้�ำตาลไม่ต้องโรยปนู ขาวซ้�ำ วิธีที่ 3 หากพบหนอนไหมนอนสนิทหรือตื่นไม่ถึง 10% ให้แกะห่อไหมออกแล้ว ขยายพน้ื ทใ่ี ห้เตม็ • โรยปนู ขาวซ้�ำอีกครง้ั • รอจนกระทง้ั ไหมตนื่ ทง้ั หมดแลว้ จงึ ทำ� การโรยสารโรยตวั ไหมวางตาขา่ ย ถ่ายมลู ไหมหรือเชอื กถ่ายมูลไหมแล้วจึงให้ใบหม่อน การเลย้ี งไหมวยั 3 ไหมวัย 3 เป็นวัยที่ต้องดูแลเป็นพิเศษเน่ืองจากเป็นช่วงรอยต่อระหว่าง วัยอ่อนกับวัยแก่ฉะน้ันเกษตรกรจะต้องให้ความส�ำคัญกับทุกข้ันตอนในการ เลยี้ งไหมตัง้ แต่การเลือกใบหม่อนการเลีย้ งไหมตลอดจนการจดั การอ่นื ๆ

ทางเลือกอาชพี ด้านหมอ่ นไหม 29 วยั 3 - การเลอื กหม่อนส�ำหรับไหมวยั 3 - เลอื กตดั ก่ิงที่สูงท่สี ุดและ สมบรณู ์ที่สดุ ในต้น - ต้นหม่อน 1 ต้นให้เลือกตัด 3-4 ก่ิงเท่านนั้ - สงั เกตจากส่วนยอดลงมาจนสุด สเี ขียวต่อสีน�้ำตาลและตดั ส่วน ก้านสเี ขยี วมาเลยี้ งไหมวยั 3 - หากเปน็ ไปได้ให้เลือกตดั ต้นท่ีไม่ได้ ใช้ยอดเลย้ี งไหมวัย 1 - 2 - หา้ มนำ� กงิ่ แขนงเลย้ี งไหม ตัดรอยต่อ วยั 3 โดยเดด็ ขาด เนอื่ งจาก ระหว่าง คณุ คา่ อาหารตำ่� ถา้ นำ� มา สเี ขียวต่อ เลี้ยงไหมจะท�ำให้ไหม สีนำ้� ตาล ไม่แข็งแรงได้ผลผลิตต่�ำ - ในฤดูฝนควรตดั ยอดท้งิ ก่อนตดั มาเลยี้ งไหม 3 – 5 วนั - เนอื่ งจากฤดฝู นนำ�้ ในใบหมอ่ นมมี าก หากนำ� ยอดไปเลย้ี งไหม อาจจะทำ� ให้ ไหมเปน็ โรคได้ วิธกี ารเล้ียงไหมวยั 3 1. หลงั จากไหมตืน่ หมดให้ท�ำการโรยสารโรยตัวไหมวางตาข่ายหรือเชอื ก เพื่อถ่ายมูลไหม 2. ให้ใบหม่อนมื้อแรกโดยจะให้ท้ังก่ิงหรือเด็ดใบหั่นก็ได้ ทั้งน้ี ข้ึนอยู่กับ อุณหภูมิ ส่วนในมอื้ ต่อไปควรให้ทั้งกงิ่ 3. หลังจากให้ใบหม่อน 2 มื้อท�ำการยกตาข่ายหรือเชือกเพื่อถ่ายมูล ไหมท้งิ และขยายพน้ื ท่ใี ห้ได้ 7 – 10 ตารางเมตรต่อกล่อง (หรือ 7 – 10 ผืนผ้า ไนล่อนปชู ั้นเลี้ยง)

30 ทางเลอื กอาชพี ดา้ นหม่อนไหม 4. ให้ใบหม่อนตามปกติ 5. ประมาณวันท่ี 10 หนอนไหมจะเริ่มนอนเม่ือหนอนไหมนอนมากกว่า 90% ให้ท�ำการโรยปูนขาวและยกกิ่งหม่อนขยับเบาๆ เพ่ือให้ปูนขาวลงไปถึง หนอนไหมทำ� การขยายพื้นท่ีให้ได้ 10 ตารางเมตรต่อกล่อง (10 ผนื ผ้าไนล่อน ปชู ้ันเลีย้ ง) การเลือกชน้ั เลี้ยงไหมสำ� หรบั เลยี้ งไหมวยั 3 1. ฤดูฝน – หนาวให้ใช้ชั้นกลางด้านใน(ด้านทแ่ี สงแดดส่องไม่ถึง) 2. ฤดรู อ้ น – ชว่ งอากาศแหง้ ใหใ้ ชช้ นั้ ลา่ งดา้ นใน (ดา้ นทแี่ สงแดดสอ่ งไมถ่ งึ ) เตรียมใบหม่อนส�ำหรับเลีย้ งไหมวัย 3 ควรเป็นใบหม่อนอ่อนหรอื ใช้เหมอื นกับ หม่อนวยั 2 กไ็ ด้ในมอื้ แรกส่วนมอื้ ต่อไปให้ใช้ใบหม่อนสำ� หรับไหมวัย 3 3. เมอื่ นำ� ไหมวยั อ่อนเขา้ มาในโรงเลย้ี งไหมวยั แก่แลว้ ให้ทำ� การขยายพนื้ ที่ ให้ได้ 4 ตารางเมตร (หรือ 3 กระดาษสีน้ำ� ตาลหรือ 6 กระดาษขาวหรอื 4 ผืน ผ้าไนล่อนปูช้ันเล้ยี งไหม) ต่อกล่อง 4. โรยปูนขาวซ�้ำอีกครงั้ ให้ทั่ว 5. รอจนกวา่ หนอนไหมตนื่ ทงั้ หมดแลว้ จงึ ทำ� การโรยสารโรยตวั ไหมวางตาขา่ ย ถ่ายมลู ไหมหรอื เชอื กถ่ายมูลไหมแล้วท�ำการเลย้ี งไหมต่อไป การเล้ยี งไหมวัยแก่ การเตรียมโรงเลี้ยงไหมวัยแก่หลังจากการขายรังไหมแล้วเกษตรกร ต้องรบี ท�ำความสะอาดโรงเลยี้ งไหมทันทดี ้วยขัน้ ตอน ดังนี้ ขั้นตอนท่ี 1 1. ทำ� การพ่นจ่อลวดจ่อหมนุ เพื่อกำ� จัดใยไหมออกแล้วเกบ็ ให้เรียบร้อย 2. นำ� อปุ กรณแ์ ชใ่ นสารละลายคลอรนี ในอตั ราคลอรนี 1 ก.ก. ตอ่ นำ�้ 200 ลติ ร แช่ทงิ้ ไว้ 1 คืน 3. เก็บกวาดโรงเล้ียงไหมให้สะอาด 4. ราดพื้นโรงเล้ียงไหมด้วยโซดาไฟอัตราการใช้ขึ้นอยู่กับความสกปรก ของโรงเลีย้ ง 5. อบโรงเลยี้ งไหมด้วยคลอรนี ในอตั รา คลอรีน 1 ก.ก. ต่อนำ้� 200 ลติ ร

ทางเลือกอาชพี ด้านหมอ่ นไหม 31 ขน้ั ตอนท่ี 2 1. ล้างท�ำความสะอาดโรงเล้ียงด้วยผงซกั ฟอกและน้ำ� ให้สะอาด 2. นำ� อปุ กรณ์ทแ่ี ช่คลอรนี ไว้ล้างให้สะอาดตากแดดให้แห้งแล้วนำ� เข้าเกบ็ ในโรงเลีย้ งจดั วางเรียงให้เรียบร้อยเตรยี มอบฆ่าเชอ้ื โรค 3. อบโรงเลย้ี งไหมด้วยคลอรีนหรือไลโซล อัตราส่วนผสมไลโซล 1 ขวด ต่อนำ้� 50 ลติ ร ขั้นตอนที่ 3 ในกรณีท่ีการเล้ียงไหมในรุ่นท่ีผ่านมาไหมเกิดโรคระบาดให้อบโรงเล้ียง ไหมด้วยฟอร์มาลนี 37% ผสมกับด่างทับทิม อตั รา 1 ลิตร ต่อ 500 กรัม ต่อ พ้นื ที่ 33 ตารางเมตร การอบโรงเล้ียงไหมที่ไดผ้ ลดที ส่ี ดุ 1. ฉดี พ่นทุกซอกทุกมุมของโรงเลี้ยงไหมทั้งด้านในและด้านนอก (เน้นชน้ั เล้ียงไหม) 2. ภายนอกโรงเลยี้ งไหมไม่ควรฉีดพ่นในขณะทม่ี แี สงแดดจดั ควรอบตอน เชา้ หรอื ตอนเยน็ (แสงแดดจดั อณุ หภมู สิ งู จะทำ� ใหป้ ระสทิ ธภิ าพการฆา่ เชอื้ โรคลดลง) 3. ฉดี พน่ ในขณะทม่ี อี ณุ หภมู สิ งู กว่า 25 องศาเซลเซยี ส (อณุ หภมู ทิ ตี่ ำ่� กว่า 25 องศาเซลเซยี ส หรอื อากาศเย็นประสิทธภิ าพการฆ่าเชอื้ โรคก็ลดลงเช่นกัน) การเลย้ี งไหมวัย 4 การเล้ียงไหมวยั 4 เป็นช่วงไหมวยั แก่ซึ่งจะมีความส�ำคัญมากโดยเฉพาะ การแยกรุ่นไหมเพือ่ ให้หนอนไหมสม่�ำเสมอกัน การเลอื กหม่อนส�ำหรับไหมวยั 4 ให้ใช้ได้ต้ังแต่ยอดจนถึงใบเขียวใบสุดทา้ ยหรือมีความยาวกิ่งต้ังแต่ 1.50 – 2.00 เมตร โดยจะให้ท้ังกงิ่ วิธีการเล้ียงไหมวยั 4 1. หลังจากไหมตื่นท�ำการโรยสารโรยตัวไหมวางตาข่ายหรือเชือกเพ่ือ ถ่ายมลู

32 ทางเลือกอาชพี ดา้ นหม่อนไหม 2. ให้ใบหม่อนโดยจะให้ท้ังก่ิง 3. หลงั จากให้ใบหม่อน 2 – 3 มื้อทำ� การยกตาข่ายหรอื เชอื กเพื่อถ่ายมลู ไหมทิง้ และขยายพน้ื ทใี่ ห้ได้ 14 ตารางเมตร/กล่อง (หรอื 14 ผนื ผ้าไนล่อนปูชัน้ เลี้ยง) 4. ให้ใบหม่อนตามปกตโิ ดยไหมวยั 4 จะกินหม่อนประมาณ 4 วนั 5. ก่อนไหมนอน 4 ควรท�ำการถ่ายมลู ไหมให้บาง 6. ในช่วงไหมนอน 4 หากพบปญั หาหนอนไหมไม่สมำ่� เสมอให้ท�ำการแยก รุ่นไหมโดยวางตาข่ายให้ใบหม่อนทิง้ ไว้ประมาณ 2 ชวั่ โมง จงึ ทำ� การยกตาข่าย แยกเอาตวั หนอนไหมท่ียังไม่นอนออกจากไหมท่ีนอนแล้ว 7. เมื่อไหมนอนให้ท�ำการโรยปูนขาวเขย่าก่ิงหม่อนเบาๆเพ่ือให้ปูนขาวลง ไปถงึ หนอนไหม และขยายพ้ืนทใ่ี ห้ได้ 18 ตารางเมตร (หรือ18 ผนื ผ้าไนล่อนปู ช้ันเล้ยี ง) ไหมนอน 4 เปน็ ช่วงการนอนท่นี านทส่ี ุดประมาณ 1.5 วัน ดังน้ัน การรอ ให้ไหมต่นื ให้หมดก่อนเล้ียงหม่อนมอื้ แรกของวัย 5 จงึ เปน็ เร่ืองส�ำคญั ซ่ึงจะมี ผลถงึ ความแขง็ แรงของหนอนไหมและความสม�่ำเสมอช่วงไหมสุก การเลีย้ งไหมวัย 5 ไหมวยั 5 เปน็ ช่วงวยั แก่ ซง่ึ เกษตรกรจะต้องให้ความสำ� คญั เพราะเปน็ ช่วง ที่ใกล้ให้ผลผลิตและไหมกินหม่อนมากข้ึน หากเกษตรกรสามารถเล้ียงไหมวัย 1 – 3 ได้ดีแล้วการเล้ียงไหมวยั 4 – 5 ก็จะไม่มีความยุ่งยากหรอื ถ้าไหมวยั 1 – 3 มีปัญหาดแู ลไม่ดแี ล้วในวยั 4 – 5 ก็จะเป็นปญั หาอย่างมากในการเลี้ยงไหมรุ่น นน้ั ๆ เช่น ไหมตายมไี หมหลายร่นุ เปน็ ต้น อย่างไรกต็ ามเกษตรกรกจ็ ะต้องเลยี้ ง ไหมในสภาพที่มีอากาศถ่ายเทเพียงพอและให้ใบหม่อนท่ีมีคุณภาพอย่างเพียง พอต่อความต้องการเพราะในวยั 5 จะเป็นช่วงทห่ี นอนไหมเรมิ่ สร้างต่อมเส้นใย เพือ่ พ่นออกเปน็ เส้นไหมต่อไป การเลอื กหม่อนสำ� หรับไหมวัย 5 ให้ใช้ได้ต้ังแต่ยอดจนถึงใบเขียวใบสุดทา้ ยหรือมีความยาวกิ่งตั้งแต่ 1.50 – 2.0 เมตรโดยจะให้ท้งั กงิ่

ทางเลือกอาชีพด้านหม่อนไหม 33 วิธีการเล้ยี งไหมวยั 5 1. หลังจากไหมตื่นหมดและพร้อมท่ีจะกินใบหม่อนโดยสังเกตที่ปากของ หนอนไหมจะเปน็ สดี ำ� ให้ทำ� การโรยสารโรยตัวไหมวางเชอื กเพื่อถ่ายมูลไหม 2. ให้ใบหม่อนโดยจะให้ท้งั ก่งิ 3. หลงั จากใหใ้ บหมอ่ นประมาณ 2 – 3 มอื้ ทำ� การยกเชอื กเพอ่ื ถ่ายมลู ไหม และท�ำการขยายพื้นท่ีให้ได้ 40 – 45 ตารางเมตรต่อกล่อง (หรอื 30 – 35 ผืน ผ้าไนล่อนปชู น้ั เล้ียงไหม) 4. ในไหมวัย 5 ควรมกี ารถ่ายมูลอย่างน้อย 2 ครั้ง คือ ช่วงหลงั จากไหม ต่นื ให้หม่อนประมาณ 2 – 3 ม้ือและในช่วงวนั ที่ 3 – 4 ของวัย 5. ไหมวยั 5 จะกนิ หมอ่ นประมาณ 6 – 7 วนั ทง้ั นขี้ น้ึ อยกู่ บั อณุ หภมู คิ วามชน้ื พนั ธ์ุไหมและปริมาณของใบหม่อนท่ีให้จากน้นั ไหมจะเร่มิ สุก เทคนิคเพม่ิ เตมิ ในการเลี้ยงไหมวยั แก่ 1. การใช้พดั ลมไหมวยั 4–5 ควรเปิดพัดลมตลอดโดยเฉพาะในช่วงฤดฝู น เพอ่ื ช่วยในการถ่ายเทอากาศและระบายความชื้นให้ออกจากโรงเลยี้ งไหมหรอื ชว่ งทอี่ ากาศรอ้ นกจ็ ะชว่ ยระบายความรอ้ น ลดอณุ หภมู ใิ นโรงเลยี้ งไหมใหอ้ ากาศถา่ ยเท ได้ดีขึ้นการถ่ายเทอากาศท่ีดีจึงจ�ำเป็นต่อ การเจริญเติบโตของหนอนไหมวัยแก่ ความเร็วของลมที่เหมาะสมประมาณ 0.1 – 0.3 เมตร/ วนิ าที ถา้ กระแสลมตำ�่ มาก จงึ จ�ำเป็นต้องมีพัดลม **ข้อควรระวัง : ไม่ควรให้พัดลม สมั ผัสตวั ไหมหรอื รังไหมโดยตรง** 2. เทอร์โมมิเตอร์จะเป็นตวั ท่ีจะบอก เราวา่ จะทำ� อะไรกบั ไหมบา้ ง เชน่ ถา้ อณุ หภมู ิ สงู กค็ วรเปดิ มลู่ พี่ ลาสตกิ หรอื ใชพ้ ดั ลมระบาย อากาศหรอื ราดนำ้� ทพี่ นื้ โรงเลยี้ งไหมในชว่ ง ท่คี วามชน้ื ต่ำ� เปน็ ต้น

34 ทางเลอื กอาชพี ดา้ นหมอ่ นไหม ตารางการขยายพื้นท่ไี หม 1 กลอ่ ง ไหมวยั วันท่ี การขยาย อุปกรณ์ หมายเหตุ พืน้ ที่ (ตร.ม.) 1 45 x 50 2 แผ่นไข่ไหม ไหม 2 50 x 80 1 กระดาษห่อไข่ไหม วยั 1 3 80 x 11 1 กระดาษขาว 4 90 x 160 2 กระดาษขาว ไหม 5 100 x 200 4 กระดาษขาว ถ่ายมูลไหมวัย 2 วัย 2 6 4 3 ผ้าไนล่อนปชู ้นั เล้ียง 7 8 6 4 ผ้าไนล่อนปชู ้ันเลย้ี ง ถ่ายมลู ไหมวัย 3 ไหม 9 8 6 ผ้าไนล่อนปูชน้ั เลย้ี ง วยั 3 10 10 8 ผ้าไนล่อนปูชน้ั เล้ยี ง 11 12 14 10 ผ้าไนล่อนปูช้นั เลยี้ ง ถ่ายมลู ไหมวยั 4 ไหม 13 16 12 ผ้าไนล่อนปชู น้ั เลี้ยง วยั 4 14 20 16 ผ้าไนล่อนปชู ั้นเล้ียง 15 16 30 23 – 35 ผ้าไนล่อนปชู ้ัน ถ่ายมูลไหมวยั 5 เลี้ยง คร้ังท่ี 1 ไหม 17 วัย 5 18 40 – 44 35 – 37 ผ้าไนล่อนปูช้นั เลี้ยง

ทางเลอื กอาชีพด้านหม่อนไหม 35 ไหมวยั วนั ที่ การขยาย อุปกรณ์ หมายเหตุ พืน้ ท่ี (ตร.ม.) ถ่ายมลู ไหมวัย 5 19 คร้งั ท่ี 2 ไหม 20 วัย 5 21 22 หลักการเกบ็ ไหมสุก – น�ำไหมเขา้ จ่อ 1. เก็บไหมสกุ ในเวลาทเ่ี หมาะสมโดยวธิ ี เล็มไหมเล้ียงไหมโล๊ะไหม (ไหมสกุ 10 %) (ไหมสกุ 70 % ข้ึนไป) 2. ใหม้ กี ารถา่ ยเทอากาศในโรงแขวนจอ่ เพยี งพอหรอื ใชพ้ ดั ลมเพอื่ ชว่ ยการ ถ่ายเทอากาศรวมทั้งก๊าซเสีย เช่น ก๊าซคาร์บอนไดอ๊อกไซด์ก๊าซแอมโมเนีย ออกนอกโรงแขวนจ่อเพื่อลดการตายในรังของหนอนไหม 3. ลดความชน้ื ในโรงแขวนจอ่ โดยรบี นำ� กระดาษรองฉไ่ี หมออกมาทง้ิ นอก โรงแขวนจ่อหลงั จากน�ำไหมใส่จ่อแล้ว 15–20 ช่วั โมง เทคนคิ ใหมก่ ารให้ไหมสุกเดินข้นึ จ่อเอง 1. ในตอนเช้าวันไหมสุกก่อนให้ใบหม่อนม้ือแรก ให้โรยสารโรยตัวไหม 15 นาที แล้วจงึ ให้ใบหม่อน 2. เมอ่ื ไหมเรมิ่ สกุ ให้วางเชอื กเพอ่ื ทำ� จ่อลอยฟ้าเสรจ็ แล้ววางจ่อลวด 2 ชน้ั โดยวางแผ่นแรกเสร็จแล้วให้ก่ิงหม่อนวางพาดจ่อเพอื่ ให้จ่อลวดแผ่นท่ี 2 ไม่ลง ร่องแผ่นท่ี 1 ให้วางจ่อทัง้ 2 แผ่นชิดกนั ด้านกลางชน้ั เล้ยี ง 3. ใชม้ ้งุ ในล่อนและผา้ คลมุ ทบั บนจ่อลวดอกี ครง้ั เพอื่ ป้องกนั ไหมเดนิ ไปมา

36 ทางเลอื กอาชพี ดา้ นหม่อนไหม 4. หลังวางจ่อลวดประมาณ 24 ช.ม. ไหมเดินข้ึนจ่อท�ำรังประมาณ 95-98% ให้ยกจ่อลอยฟ้าเกบ็ ตวั ทไี่ ม่ขึ้นจ่อประมาณ 2–5% ซ่ึงเปน็ ไหมดบิ ไป เลย้ี งให้ใบหม่อนอกี ครงั้ แล้วนำ� มลู ไหมออกนอกโรงเลยี้ งเพม่ิ การถ่ายเทอากาศ และลดความช้นื ภายในโรงเล้ียง การเกบ็ ไหมสกุ –เขา้ จอ่ ทำ� รัง การเกบ็ ไหมสุกและการดูแลไหมขณะเข้าจ่อทำ� รัง การสงั เกตไหมสกุ 1. มูลไหมจะมีขนาดใหญ่บบี ดจู ะนุ่มมีสเี ขียวเหมือนใบหม่อน 2. ล�ำตัวหดส้ันและโปร่งแสงโดยเฉพาะช่วงล�ำตัวส่วนบน 3. ไหมจะเดนิ เรว็ ข้นึ และไหมจะชูหวั ส่ายไปมาบนกิง่ หม่อน การแสดงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งการเกบ็ ไหมสกุ กับการใหผ้ ลผลติ โล๊ะเมือ่ ไหมสุก น�้ำหนกั รังสด เปอรเ์ ซ็นต์ เปอร์เซ็นต์ (%) (กรมั ) เปลือกรงั การสาวออก 10% 1.98 (%) (%) 30% 2.05 20.70 64.00 50% 2.13 20.70 79.00 เหมาะสม 70% 2.20 21.90 80.00 23.00 85.00

ทางเลือกอาชีพด้านหม่อนไหม 37 ตารางนี้แสดงว่าการโล๊ะไหมสุกเข้าจ่อเร็วเกินไปส่งผลให้ได้%เปลือกรัง ลดลง ดังน้นั ควรท�ำตามขนั้ ตอนเล็ม – เลย้ี ง – โล๊ะ เมือ่ ไหมสกุ 70% ข้นึ ไป จะได้ % เปลือกรังเพมิ่ ข้นึ การเกบ็ ไหมสกุ - ก่อนโล๊ะไหมสกุ ต้องให้ใบหม่อนอกี เพือ่ ให้ไหมได้กินใบหม่อนอย่างเต็ม ที่(ควรให้ไหมสกุ บนพืน้ สเี ขยี วของใบหม่อน) - ควรโล๊ะไหมเมอื่ ไหมสุก 70% ขึ้นไป - การเกบ็ ไหมสุกสามารถท�ำได้โดยใช้แรงงานคนและการเขย่าก่งิ หม่อน - ก่อนน�ำไหมสุกเข้าจ่อให้ท�ำการโรยสารโรยตัวไหมทิ้งไว้ประมาณ 5 – 10 นาที แล้วจึงน�ำไหมสุกเข้าจ่อถงึ ท�ำรงั เพื่อป้องกันการเกิดโรคในช่วงการ เข้าจ่อถงึ ทำ� รัง ** ขอ้ ควรระวงั ในชว่ งไหมสกุ ห้ามปิดโรงเล้ียงไหมหรือโรงจ่อแม้อากาศจะหนาวเย็นเพราะในช่วงน้ี ตอ้ งการใหอ้ ากาศถา่ ยเทหรอื ถา้ สภาพอากาศรอ้ นใหใ้ ชพ้ ดั ลมชว่ ยในการระบาย อากาศ การน�ำไหมสุกเข้าจอ่ 1. จ่อหมุน 1.1 เกบ็ ไหมสุกเข้าจ่อควรใส่ประมาณ 90% ของจำ� นวนช่องในแต่ละ แผ่นเช่นในจ่อ 1 แผ่นมี 100 ช่องควรใส่ไหมสุกประมาณ 90 ตวั 1.2 ควรน�ำผ้าไนล่อนปูชั้นเล้ียงโดยปูรองใต้จ่อเพ่ือที่จะรองรับตัวไหม ท่ีร่วงไม่ให้ตกถึงพื้นซ่ึงจะได้รับความเสียหายและปูกระดาษใต้ผ้าไนล่อนปูช้ัน เลี้ยงเพ่อื ซบั ฉี่ไหม 1.3 เม่ือโรยไหมสุกเสร็จแล้วให้ทิ้งไว้ประมาณ 1– 2 ชั่วโมง แล้วจึง ท�ำการแขวนจ่อ 1.4 แขวนจ่อทิง้ ไว้ประมาณ 12 – 24 ชัว่ โมง ไหมจะทำ� รงั ไปประมาณ 95% ให้เก็บหนอนไหมท่ียังไม่ท�ำรังออกเพ่ือน�ำไปโรยในจ่อลวดซึ่งเราจะ เรียกว่าไหมหลงั จ่อ

38 ทางเลอื กอาชีพด้านหมอ่ นไหม 1.5 หลังจากไหมท�ำรังเสร็จแล้วให้น�ำกระดาษรองใต้จ่อออกทันทีเพื่อ ลดความชื้นในโรงแขวนจ่อ 1.6 จดั จอ่ หมนุ ใหอ้ ยใู่ นแนวนอนเพอื่ ให้หนอนไหมลอกคราบไดง้ า่ ยและ ลดเปอร์เซ็นต์การตายในรงั 2. จอ่ ลวด 2.1 ควรน�ำผ้าไนล่อนปูชั้นเลี้ยงและวางเชือก (ท�ำจ่อลอยฟ้า) และปู กระดาษเพอ่ื ซบั ฉไ่ี หมและปอ้ งกนั การฉรี่ ดกนั ซง่ึ จะทำ� ใหเ้ กดิ เปน็ รงั เปอ้ื นภายนอก 2.2 จอ่ ลวดสำ� หรบั โรยไหมปกตหิ รอื ไหมหลงั จอ่ การโรยจะโรยประมาณ 500 ตวั ต่อจ ่อ 1 แผ่น 2.3 หลงั จากโรยไหมสกุ แล้วประมาณ 24 ช่ัวโมง (1 วัน) ไหมจะเร่ิมท�ำ รังไปประมาณ 95% ให้เก็บไหมทไี่ ม่ท�ำรงั ไปโรยในจ่อลวดอกี ครัง้ หนง่ึ เป็นไหม หลังจ่อ 2.4 เมอื่ ไหมทำ� รงั ดแี ลว้ ใหร้ บี เอากระดาษรองใต้จอ่ ออกทง้ิ โดยเรว็ เพอื่ ลดความชน้ื ในโรงจ่อและเกบ็ ตวั ทไี่ มท่ ำ� รงั หรอื ตายดองนำ้� ยาหรอื ฝงั เพอื่ ลดการ ระบาดของโรคในรุ่นต่อๆ ไป การดแู ลไหมขณะเข้าจอ่ ท�ำรงั 1. เปิดโรงจ่อให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก 2. ควรใช้พัดลมในโรงจ่อโดยอย่าให้ลมสัมผัสตัวหนอนไหมหรือรังไหม โดยตรงควรแหงนหน้าพัดลมขึ้นและส่ายไปมาเพ่ือเป็นการถ่ายเทอากาศขณะ ทไี่ หมเข้าจ่อ – ท�ำรงั 3. ควรมีผ้าม่านติดอยู่ในโรงจ่อเพื่อป้องกันแสงแดดหรือละอองฝนแทน การปิดมู่ล่พี ลาสตกิ 4. ควรรีบเปล่ียนกระดาษรองจ่อทันทีที่เห็นว่าเปียกแฉะเพ่ือลดความช้ืน ในโรงจ่อ

ทางเลือกอาชพี ดา้ นหมอ่ นไหม 39 การแกะรังไหมออกจากจ่อ – การลอกปยุ ไหม 1. การแกะรงั ไหมออกจากจ่อ 1.1 หลงั จากไหมทำ� รงั ประมาณ 4 – 5 วนั ให้ปาดรงั ไหมเพอ่ื ดสู ขี องดกั แด้ ว่าแก่พอที่จะแกะรังได้หรือยังโดยสังเกตส่วนหลังและตาของดักแด้จะเปล่ียน เป็นสนี �ำ้ ตาลหรอื น้�ำตาลด�ำจงึ จะแกะรังได้ควรแกะหลังไหมทำ� รงั 6 วัน 1.2 เมื่อดักแด้แก่พอที่จะแกะรังได้ให้เกษตรกรแกะรังไหมออกจากจ่อ แตจ่ ะตอ้ งปฏบิ ตั ดิ ว้ ยความระมดั ระวงั เพอื่ ปอ้ งกนั ไมใ่ หด้ กั แดไ้ ดร้ บั ความอนั ตราย หรอื แตกเปน็ รังเปื้อนภายใน 1.3 กอ่ นแกะรงั ไหมออกจากจอ่ ตอ้ งเอารงั บางหรอื ตวั ตายออกใหห้ มดเพอ่ื ป้องกันไม่ให้ตัวตายออกมาเปื้อนรงั ดที ำ� ให้เกิดรงั เปือ้ นภายนอก 1.4 การแกะรังไหมออกจากจ่อหมุนควรปฏิบัติงานช่วงเวลา 10.00 – 11.00 น. เปน็ ต้นไป เพราะช่วงเช้าจะเปน็ ช่วงท่ีมคี วามชื้นสงู ท�ำให้รงั ไหมบุบง่าย และกลายเป็นรงั เสยี 1.5 รังไหมท่ีแกะเสร็จแล้วให้เกลี่ยบางๆไว้บนชั้นเลี้ยงไหมเพื่อไม่ให้เกิด ความร้อนหรือรังไหมชน้ื 2. การลอกปยุ ไหม เมอ่ื แกะรงั ไหมออกจากจอ่ เสรจ็ ควรทำ� การลอกปยุ ไหมกอ่ น แลว้ จงึ ทำ� การ คดั รงั คอื แยกรงั ดรี งั เสยี ออกจากกัน

40 ทางเลือกอาชพี ดา้ นหมอ่ นไหม วธิ ีลอกปยุ ไหม 1. ตรวจสอบสภาพของเครื่องลอกปยุ ควรอยู่ในสภาพทใ่ี ช้งานได้ 2. ไม่ควรตัง้ เครอ่ื งลอกปยุ ให้สูงจากพ้นื เกนิ 30 เซนติเมตร 3. น�ำรังไหมใส่บนเครื่องลอกปุยแล้วท�ำการปั่นเอาปุยไหมออก และเมื่อ ปยุ ไหมติดเครื่องลอกปุยมากให้หม่ันแกะปุยไหมออกจากเคร่ืองปั่นปุย 4. การลอกปุยควรทำ� ด้วยความระมดั ระวงั ประโยชน์ของการลอกปยุ 1. ท�ำให้รงั ไหมแห้ง 2. ชว่ ยให้คดั รงั ไหมได้สะดวกขน้ึ และคดั รงั งา่ ยมองเหน็ รงั ผดิ รปู รา่ งรงั ดา้ น รังเปื้อนภายในรังเปื้อนภายนอกรังเลก็ หรือรังท่ีใหญ่เกินไป เพ่ือลดเปอร์เซ็นต์ รงั เสียทำ� ให้ได้ราคาสูง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook