8. การจัดกิจกรรม /กลยุทธ์/วธิ ีการ/รูปแบบการจัดการเรียนรู้ ชวั่ โมงท่ี 1 ขน้ั นา 1. ครูแจ้งให้นักเรยี นทราบถึงชือ่ เรื่องทจี่ ะเรยี นรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ 2. ครใู ห้นกั เรยี นดภู าพกระบวนการเกดิ พายฝุ นฟ้าคะนอง จากหนังสือเรยี นภูมิศาสตร์ ม.4-6 แล้วรว่ มกัน อภิปรายแสดงความคดิ เหน็ เพิ่มเตมิ ถงึ สาเหตแุ ละผลกระทบท่เี กิดขึน้ จากภาพดังกล่าว 3. ครูใหน้ ักเรยี นดภู าพ หรือคลิปวิดโี อทเ่ี ก่ียวข้องกับภัยพิบัติธรรมชาติทางบรรยากาศภาคในประเทศไทย และประเทศต่าง ๆ เชน่ - พายุฝนฟ้าคะนองในประเทศญีป่ ่นุ - พายโุ ซนรอ้ นฟงวองพดั เข้าถลม่ เกาะลซู อนทางตอนเหนือของประเทศฟิลปิ ปินส์ - พายุเฮอรเิ คนแคทรีนาพัดถล่มสหรฐั อเมรกิ า 4. ครูถามคาถามกระตนุ้ ความคดิ แล้วให้นักเรียนร่วมกันตอบคาถาม โดยครูแนะนาเพ่มิ เติม ขน้ั สอน ข้ันที่ 1 การตง้ั คาถามเชงิ ภูมศิ าสตร์ 1. ครูให้นักเรียนดูภาพ หรือคลิปวิดีโอท่ีเก่ียวข้องกับผู้ประสบเหตุพายุฝนฟ้าคะนองท่ีทาให้เกิดลม กระโชกรุนแรง ฟ้าแลบ ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า หรือมีลกู เห็บตก ประกอบการศึกษา เก่ียวกับพายุฝนฟ้าคะนอง และการ ระวังฟา้ ผ่าจากการคานวณระยะห่าง จากหนังสอื เรียนภูมศิ าสตร์ ม.4-6 เพ่มิ เติม 2. ครถู ามคาถามนกั เรียน เชน่ 1) หากเกดิ พายุฝนฟา้ คะนองเราควรมแี นวทางในการป้องกนั ผลกระทบต่ออาคารบ้านเรือนอยา่ งไร (แนวตอบ เชน่ ดแู ลรกั ษาบา้ นเรือนให้มัน่ คง แขง็ แรงอยู่เสมอ ซง่ึ ถอื เป็นแนวทางในการป้องกนั ผลกระทบจากวาตภัยที่เหมาะสม เพราะในขณะประสบภัยเราอาจไม่สามารถเตรียมการป้องกันบ้านเรือนให้ มนั่ คง แข็งแรงไดท้ ันเวลา) 2) เพราะเหตใุ ดเมอ่ื ขณะเกดิ พายฝุ นฟา้ คะนองจงึ ไม่ควรใช้โทรศพั ท์ (แนวตอบ เนื่องจากโทรศัพท์มือถือมีวัสดุที่ทาจากโลหะ และโลหะจะเป็นตัวรวมคลื่นฟ้าผ่าให้ พงุ่ ตรงมายงั ท่ีตวั โทรศัพท์ รวมถึงสัญญาณอนิ เทอร์เนต็ จากโทรศัพท์มอื ถือกจ็ ัดเป็นคลน่ื สัญญาณท่ีเป็นสายล่อฟ้า ที่ทาให้เกิดฟ้าผ่าได้เป็นอย่างดี ดังนั้น ในขณะเกิดพายุฝนฟ้าคะนองจึงไม่ควรใช้โทรศัพท์เพื่อเป็นการป้องกัน การเกิดฟ้าผ่าและเปน็ อนั ตรายตอ่ ร่างกายและทรัพยส์ ินได้นั่นเอง) 3. ครใู ห้นกั เรยี นดูแผนภาพการเกดิ พายหุ มนุ เขตรอ้ น จากหนงั สอื เรียนภมู ศิ าสตร์ ม.4-6 แลว้ ร่วมกนั อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ เพ่ิมเติม 4. ครใู ห้นักเรยี นดูแผนทีแ่ สดงแหลง่ เกดิ พายหุ มุนเขตร้อนของโลก จากหนังสือเรียนภมู ศิ าสตร์ ม.4-6 แล้วรว่ มกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมเชื่อมโยงกับแผนภาพการเกิดพายุหมุนเขตร้อนถึงความเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กนั ในประเดน็ ตา่ ง ๆ 5. ครใู หน้ ักเรยี นดูแผนท่ีแสดงพนื้ ที่เส่ียงภัยพายุทอรน์ าโดในโลก จากหนงั สือเรยี นภูมิศาสตร์ ม.4-6 แล้วร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกับแผนท่ดี ังกล่าว
6. ครูสุ่มถามนักเรียนถึงตวั อย่างของพายุทอร์นาโดทเี่ กดิ ขนึ้ ในโลกตามความรจู้ ักของนักเรียน รวมถงึ ผลกระทบทเี่ กดิ ข้นึ จากพายุดังกลา่ วเพ่ิมเติม 7. ครูให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับการปฏิบัติตนในกรณีประสบภัยพิบัติ ท้ังในช่วง ก่อนเกิดภัย ขณะเกดิ ภัย และหลงั เกิดภยั 8. ครกู ระตุน้ ให้นักเรยี นชว่ ยกนั ตัง้ ประเด็นคาถามเชงิ ภูมศิ าสตร์ เชน่ 1) ลกั ษณะทางกายภาพส่งผลให้เกิดปญั หา หรือภัยพบิ ัติธรรมชาติทางบรรยากาศภาคในประเทศ ไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกอยา่ งไรบา้ ง 2) ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาคท่ีเกดิ ขึน้ ในภมู ิภาคต่าง ๆ มคี วามเหมือน หรอื ความ แตกตา่ งกนั อย่างไร 3) ผลกระทบสาคญั จากภัยพิบตั ิธรรมชาติทางบรรยากาศภาคคืออะไร อธบิ ายเหตผุ ล 4) แนวทาง หรอื วิธกี ารป้องกันภยั พิบัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาคสามารถทาได้อยา่ งไร ข้ันท่ี 2 การรวบรวมข้อมลู 1. ครูให้นักเรยี นแบง่ กล่มุ จานวน 3 กลุม่ สบื ค้นข้อมูลเก่ียวกับภัยพิบัตธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค จากหนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 หรือจากแหล่งการเรียนรู้อ่ืน ๆ เช่น หนังสือในห้องสมุด เว็บไซต์ใน อนิ เทอร์เน็ต ในประเดน็ ต่อไปน้ี 1) พายุฝนฟ้าคะนอง 2) พายุหมุนเขตรอ้ น 3) พายุทอร์นาโด 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาข้อมูลในหัวข้อที่รับผิดชอบ โดยนาความรู้เก่ียวกับเคร่ืองมือทาง ภูมศิ าสตรม์ าใช้ประกอบในการศึกษาด้วย 3. ครูแนะนาแหลง่ ข้อมลู สารสนเทศทเี่ ชื่อถอื ได้ให้กบั นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ เพิ่มเติม ชัว่ โมงที่ 2 ขนั้ ที่ 3 การจดั การข้อมลู 1. สมาชกิ แต่ละคนในกลมุ่ นาขอ้ มลู ท่ีตนไดจ้ ากการรวบรวมมาอธิบายแลกเปล่ียนความรรู้ ะหวา่ งกัน 2. จากนัน้ สมาชิกในกลุ่มชว่ ยกนั คดั เลือกขอ้ มลู ทีน่ าเสนอเพ่ือให้ไดข้ ้อมลู ท่ีถกู ต้อง และรว่ มอภิปราย แสดงความคดิ เหน็ เพ่ิมเตมิ ขั้นท่ี 4 การวิเคราะห์และแปลผลขอ้ มูล 1. ครูให้นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอขอ้ มลู จากการศึกษา พรอ้ มทง้ั อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ รว่ มกนั สมาชิกกลุ่มอน่ื ผลดั กนั ให้ข้อคิดเห็น หรอื ข้อเสนอแนะเพ่มิ เตมิ 2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาข้อมูลที่ได้จากการศึกษาทั้ง 3 ประเด็น อันได้แก่ พายุฝนฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน และพายุทอร์นาโด มาวิเคราะห์เชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพกับ ภัย พิบัติธรรมชาติทางบรรยากาศภาค ตลอดจนผลกระทบและแนวทางการจัดการกับภัยพิบัติธรรมชาติทาง บรรยากาศภาคดังกลา่ ว แล้วอภิปรายรว่ มกนั ภายในชน้ั เรยี น 3. ครใู หน้ กั เรยี นนาขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการอภิปรายมาทาการวิเคราะหร์ ว่ มกันเพื่ออธิบายคาตอบ ข้ันท่ี 5 การสรปุ เพ่อื ตอบคาถาม 1. นักเรียนรว่ มกันสรปุ ความรู้เกย่ี วกบั ภยั พบิ ตั ิธรรมชาตทิ างบรรยากาศภาคเพ่มิ เติม
2. ครูใหส้ มาชิกในแตล่ ะกลมุ่ ชว่ ยกันสรปุ สาระสาคญั เพอื่ ตอบคาถามเชิงภมู ศิ าสตร์ 3. นักเรียนร่วมกันทาใบงานที่ 5.2 เรื่อง ภัยพิบัติธรรมชาติทางบรรยากาศภาค และร่วมกันเฉลย คาตอบ ขัน้ สรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เก่ียวกับภัยพิบัติธรรมชาติทางบรรยากาศภาค ตลอดจนความสาคัญ ทม่ี ีอิทธิพลต่อการดาเนนิ ชีวติ ของผู้คนในปัจจบุ ัน และใช้ PPT สรุปสาระสาคญั ของเน้อื หา ขนั้ ประเมนิ 1. ครูประเมินผลโดยสังเกตจากการตอบคาถาม การร่วมกันทางาน และการนาเสนอผลงานหน้า ช้นั เรยี น 2. ครูตรวจสอบผลจากการทาใบงาน 9. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้ 1. ใบงานที่ 5.2 เร่ือง ภยั พบิ ตั ิธรรมชาติทางบรรยากาศภาค 2. เอกสารประกอบการเรยี นการเรียนรู้ ภมู ศิ าสตร์ ม.4 – 6 3. เครอ่ื งมือทางภูมิศาสตร์ ไดแ้ ก่ แผนท่ี ลูกโลกจาลอง รูปถ่ายทางอากาศ และภาพจากดาวเทียม 4. แหล่งข้อมูลสารสนเทศ - http://earth.google.co.th - http://maps.google.co.th - http://www.dmr.go.th - https://www.tmd.go.th - http://www.ndwc.go.th - https://www.thairath.co.th 10. การวดั และประเมินผล ประเดน็ การประเมนิ เครอื่ งมือ/วธิ ีการประเมิน เกณฑ์การประเมิน พฤติกรรมการเรียน สงั เกตพฤติกรรม ระดบั ดีข้ึนไป ประเมนิ ผลงานกลุ่ม 3 คะแนนขน้ึ ไป แบบประเมนิ ผลงานกลมุ่
11. บันทึกผลหลังการจัดการเรยี นรู้ 11.1 สรปุ ผลการจดั การเรยี นรู้ ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.2 ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.3 แนวทางแกไ้ ข /แนวทางการพัฒนา ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ............................................. ครผู สู้ อน (นางกนกวรรณ ชนะถาวร) ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ
ใบงำนที่ 5.2 เร่ือง ภยั พิบัตธิ รรมชำติทำงบรรยำกำศภำค คาชแ้ี จง : ใหน้ ักเรยี นวเิ คราะห์สถานการณท์ ีเ่ กยี่ วกับเหตุการณ์ภัยพบิ ัติธรรมชาตทิ างบรรยากาศภาคท่ี กาหนดให้ แล้วเขยี นแสดงความคิดเห็น ตลอดจนแนวทางแก้ปัญหาจากสถานการณ์ จานวน 8-10 บรรทัด “ช่วยนชุ ดว้ ย” บ้านของนุชประสบกับภัยพิบัติพายุฝนฟ้าคะนอง ทาให้เกิดน้าท่วมขัง ไฟฟ้าถูกตัดขาด รวมถึงถนน และการเดินทางต่าง ๆ ไม่สามารถทาได้ นักเรียนคิดว่า บ้านของนุชตั้งอยู่ในพ้ืนที่ที่มีลักษณะทางกายภาพ อย่างไร นุชจะได้รับผลกระทบอย่างไรบา้ ง และนุชควรปฏบิ ตั ติ นอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 15 เร่อื ง เรอื่ ง ภัยพบิ ัตธิ รรมชาตทิ างอุทกภาค รายวชิ า สงั คมศึกษา รหัสวชิ า ส 31101 กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 5 เร่อื ง ภัยพบิ ตั ทิ างธรรมชาติ เวลา 2 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซ่ึงมีผลต่อกัน ใช้แผนท่ีและ เคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิ สารสนเทศอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ตัวชี้วดั /ผลการเรียนรู้ ม.4-6/2 วเิ คราะห์ลกั ษณะทางกายภาพ ซง่ึ ทาใหเ้ กิดปัญหาและภยั พิบตั ิทางธรรมชาติในประเทศไทย และภูมภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก ส 5.2 เขา้ ใจปฏิสัมพันธ์ระหวา่ งมนุษยก์ บั ส่ิงแวดลอ้ มทางกายภาพท่กี ่อใหเ้ กิดการสรา้ งสรรค์วถิ กี าร ดาเนนิ ชีวิต มจี ติ สานึกและมีส่วนร่วมในการจดั การทรัพยากรและส่งิ แวดลอ้ มเพ่ือการพัฒนาทย่ี ่งั ยนื ตวั ช้ีวัด/ผลการเรยี นรู้ ม.4-6/2 วิเคราะห์สถานการณ์ สาเหตุ และผลกระทบของการเปล่ยี นแปลงดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ มของประเทศไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ส่ตู วั ชี้วดั /ผลการเรียนรู้ 1. วิเคราะห์ลกั ษณะทางกายภาพที่ทาให้เกดิ ปัญหาหรือภยั พบิ ตั ธิ รรมชาตทิ างอุทกภาคในประเทศไทย และภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลกได้ (K) 2. วเิ คราะห์ผลกระทบท่ีเกดิ จากภัยพิบตั ิธรรมชาติทางอทุ กภาคได้ (K) 3. เสนอแนวทางปอ้ งกนั ในการป้องกนั ตนเองและระวงั ภัยพิบตั ิธรรมชาติทางอทุ กภาคได้ (P) 4. สนใจศกึ ษาเก่ยี วกบั ภัยพบิ ัติธรรมชาตทิ างอุทกภาค เพอื่ นามาปรับใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั เพิ่มมากข้ึน (A) 3. สาระสาคัญ (เนอ้ื หา) 1. ปญั หาทางกายภาพและภัยพิบัตทิ างธรรมชาติในประเทศและภูมภิ าคต่าง ๆ ของโลก 2. สถานการณก์ ารเปล่ยี นแปลงดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ไดแ้ ก่ การเปล่ียนแปลงสภาพ ภมู ิอากาศ ความเส่ือมโทรมของสิ่งแวดล้อม ความหลากหลายทางชีวภาพ และภยั พบิ ัติ 3. การจดั การภยั พบิ ัติ 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ความรู้ (K)
1) ลกั ษณะทางกายภาพท่แี ตกตา่ งกันส่งผลใหเ้ กิดปัญหาและภยั พิบัตธิ รรมชาติทางอุทกภาคท่ี แตกตา่ งกันทัง้ ในด้านประเภท ความถี่ และความรนุ แรง 2) กจิ กรรมของมนุษย์เป็นสาเหตสุ าคญั ทีท่ าให้เกดิ การเปล่ยี นแปลงดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ส่งิ แวดลอ้ มของประเทศไทยและภมู ิภาคตา่ ง ๆ ของโลก ซึ่งอาจส่งผลกระทบใหเ้ กิดภยั พิบตั ิธรรมชาติทางอุทก- ภาคทั้งในระดับประเทศ ภมู ิภาค และโลก 4.2 ทักษะ/กระบวนการ(P) (วิธีการและข้ันตอนทีใ่ ช้ดาเนินการคน้ คว้าหาความรู้) ใช้ทักษะทางภูมิศาสตร์ ไดแ้ ก่ 1. การสังเกต 2. การแปลความข้อมลู ทางภมู ิศาสตร์ 3. การใช้ เทคนิคและเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ 4. การคดิ เชงิ พ้ืนที่ 5. การใชเ้ ทคโนโลยี 4.3 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซอ่ื สัตย์ สุจริต มวี ินยั ใฝเ่ รยี นรู้ อยอู่ ยา่ งพอเพียง มงุ่ มนั่ ในการทางาน รกั ความเปน็ ไทย มจี ติ สาธารณะ 5. สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น ความสามารถในการสอ่ื สาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. ทกั ษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 6.1 ทักษะด้านการเรียนรูแ้ ละนวตั กรรม คดิ สร้างสรรค์ ใสใ่ จนวัตกรรม มีวิจารณญาณ แกป้ ญั หาเปน็ สอ่ื สารดี เตม็ ใจรว่ มมือ 6.2 ทกั ษะด้านสารสนเทศ สอื่ เทคโนโลยี อัพเดตทุกข้อมลู ขา่ วสาร ร้เู ทา่ ทันสอื่ รอบรู้เทคโนโลยีสารสนเทศ ฉลาดส่อื สาร 6.3 ทักษะชวี ิตและอาชีพ มีความยดื หยนุ่ รู้จักปรับตัว ริเริ่มส่ิงใหม่ ใสใ่ จดแู ลตนเอง รจู้ ักเข้าสงั คม เรยี นรู้วฒั นธรรม มคี วามเปน็ ผู้นา รับผดิ ชอบหนา้ ที่ พฒั นาอาชพี หมนั่ หาความรูร้ อบดา้ น 7. แนวทางการบูรณาการ การจัดการเรียนรู้ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โรงเรียนสง่ิ แวดล้อม โรงเรียนสุจรติ /ต้านทุจรติ โรงเรียนคุณธรรม สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น บรู ณาการกล่มุ สาระการเรียนรู้ บรหิ ารจดั การช้นั เรยี นเชิงบวก
8. การจัดกิจกรรม /กลยุทธ์/วธิ ีการ/รปู แบบการจดั การเรียนรู้ ชว่ั โมงท่ี 1 ข้นั นา 1. ครูแจง้ ให้นักเรียนทราบถึงชอื่ เร่ืองทจ่ี ะเรียนรู้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ และผลการเรยี นรู้ 2. ครใู หน้ ักเรียนดภู าพ หรือคลปิ วดิ ีโอที่เกีย่ วข้องกบั ภยั พิบตั ิธรรมชาติทางอุทกภาคในประเทศไทย และประเทศตา่ ง ๆ 3. ครูสอบถามนักเรยี นเก่ยี วกบั สาเหตุ ความรนุ แรง และผลกระทบของภยั พบิ ตั ธิ รรมชาติทางอุทกภาค จากการดูภาพ หรอื คลิปวดิ ีโอเพ่ิมเตมิ ข้ันสอน ขน้ั ท่ี 1 การตั้งคาถามเชงิ ภูมิศาสตร์ 1. ครูให้นักเรียนดูแผนท่ีแสดงพ้ืนท่ีเสี่ยงการเกิดอุทกภัยของโลก จากหนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 แลว้ ร่วมกนั แสดงความคิดเหน็ เก่ียวกับแผนท่ดี ังกลา่ ว 2. ครูให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตนในกรณีประสบภัยพิบัติ ทั้งในช่วง ก่อนเกดิ ภัย ขณะเกิดภยั และหลงั เกดิ ภยั 3. ครูให้นักเรียนดูแผนที่แสดงพื้นที่ประสบอุทกภัยในประเทศไทย พ.ศ. 2554 จากหนังสือเรียน ภูมิศาสตร์ ม.4-6 แล้วร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเช่ือมโยงกับแผนทแี่ สดงพื้นที่เสี่ยงการเกิดอุทกภัยของ โลกถึงความเกยี่ วขอ้ งสัมพนั ธ์กนั ในประเด็นต่าง ๆ 4. ครูกระตุน้ ให้นกั เรยี นชว่ ยกันต้ังประเดน็ คาถามเชงิ ภูมศิ าสตร์ เช่น 1) ลักษณะทางกายภาพส่งผลใหเ้ กิดปญั หา หรอื ภัยพบิ ัตธิ รรมชาติทางอุทกภาคในประเทศไทยและ ภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลกอยา่ งไรบา้ ง 2) ภัยพบิ ตั ิธรรมชาติทางอุทกภาคทเ่ี กิดข้ึนในภมู ิภาคตา่ ง ๆ มคี วามเหมือน หรอื ความแตกต่างกนั อยา่ งไร 3) ผลกระทบสาคญั จากภยั พิบัติธรรมชาติทางอุทกภาคคอื อะไร 4) แนวทางหรือวิธีการป้องกันภยั พบิ ัติธรรมชาติทางอุทกภาคสามารถทาได้อย่างไร ขัน้ ที่ 2 การรวบรวมขอ้ มูล 1. ครูให้นกั เรียนแบง่ กลุ่ม สืบค้นขอ้ มลู เก่ยี วกับตัวอย่างเหตุการณ์ภัยพิบัตธิ รรมชาติทางอุทกภาค จากแหล่งการเรยี นร้อู ่นื ๆ เช่น หนังสอื ในห้องสมุด เว็บไซตใ์ นอินเทอร์เน็ต ในประเดน็ ตอ่ ไปนี้ 1) ประเภทของอุทกภยั 2) สาเหตุการเกดิ อทุ กภัย 3) ภยั ที่เกดิ จากอทุ กภัย 4) การจดั การภัยพบิ ัติอทุ กภัย 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาข้อมูลในหัวข้อที่รับผิดชอบ โดยนาความรู้เก่ียวกับเครื่องมือทาง ภูมิศาสตรม์ าใช้ประกอบในการศึกษา 3. ครูแนะนาแหล่งข้อมลู สารสนเทศทีเ่ ช่ือถอื ไดใ้ ห้กับนกั เรยี นแต่ละกลมุ่ เพมิ่ เติม
ชัว่ โมงที่ 2 ขนั้ ท่ี 3 การจัดการขอ้ มูล 1. สมาชิกแตล่ ะคนในกลมุ่ นาขอ้ มูลท่ีตนไดจ้ ากการรวบรวมมาอธิบายแลกเปลยี่ นความรรู้ ะหว่างกนั 2. จากนนั้ สมาชกิ ในกลุม่ ช่วยกันคดั เลือกขอ้ มูลท่นี าเสนอเพื่อให้ไดข้ ้อมูลที่ถกู ต้อง และรว่ มอภปิ ราย แสดงความคดิ เหน็ เพมิ่ เติม ข้ันที่ 4 การวิเคราะหแ์ ละแปลผลข้อมูล 1. ครูให้นักเรียนร่วมกันยกตัวอย่างเหตุการณ์การเกิดอุทกภัยคร้ังรุนแรงในประเทศไทยจากแหล่ง การเรียนร้อู น่ื ๆ เช่น เว็บไซต์ในอนิ เทอรเ์ นต็ เพม่ิ เตมิ 2. ครูนาโครงการในพระราชดารขิ องพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชที่เกีย่ วข้องกับ การแกป้ ัญหาอทุ กภัยมาให้นกั เรียนรว่ มกันวิเคราะห์และอภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ เพ่มิ เตมิ เชน่ จากสภาพธรรมชาติด้ังเดิมของกรุงเทพมหานครมีลักษณะลุ่มต่าทาให้มีการระบายน้ายามเกิดภาวะ นา้ ท่วมให้ออกจากพ้ืนท่ีเป็นไปอย่างลา่ ชา้ คูคลองจานวนมากมคี วามลาดเทน้อย อีกทงั้ มจี านวนหลายคลองท่ี ลาน้าต้ืนเขิน มีวัชพชื ปกคลมุ กีดขวางทางน้าไหล ทาให้เกิดเป็นสาเหตุในหลายปจั จยั ของการเกิดนา้ ท่วมขังใน กรุงเทพมหานครและเขตปริมณฑลเป็นระยะเวลายาวนาน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล- อดุลยเดช พระราชทานแนวพระราชดาริให้มีระบบการบริหารจัดการด้านน้าท่วมในวิธีการท่ีตรัสว่า แก้ม ลงิ ซ่ึงไดพ้ ระราชทานพระราชอรรถาธบิ ายว่า “...ลิงโดยท่ัวไปถ้าเราส่งกล้วยให้ ลิงจะรีบปอกแล้วเอาเข้าปากเค้ียวแล้วเอาไปเก็บไว้ท่ี แก้มลิงจะเอากล้วยเขา้ ไปไว้ท่ีกระพุ้งแก้มได้เกือบทั้งหวี โดยเอาไปไวท้ ี่แก้มกอ่ นแล้วจึงนามาเค้ียวบรโิ ภค และกลนื กินเข้าไปภายหลงั ...” เปรียบเทียบได้กับเมอ่ื เกดิ น้าทว่ มก็ขุดคลองต่าง ๆ เพ่ือชักน้าใหม้ ารวมกนั แล้วนามาเกบ็ ไว้เปน็ บอ่ พัก น้าอันเปรียบได้กับแก้มลิง แล้วจึงระบายน้าลงทะเลเม่ือปริมาณน้าทะเลลดลง โดยลักษณะและวิธีการของ โครงการแก้มลิง คือ ดาเนินการระบายน้าออกจากพื้นท่ีตอนบนให้ไหลไปตามคลองในแนวเหนือ-ใต้ลงคลอง พักน้าขนาดใหญ่ที่บริเวณชายทะเล เช่น คลองชายทะเลของฝั่งตะวันออก ซึ่งจะทาหน้าที่เป็นบ่อเก็บน้าท่ีมี ขนาดใหญ่ คือ แก้มลิงต่อไป และเมื่อระดับน้าทะเลลดต่าลงกว่าระดับน้าในคลอง ก็ทาการระบายน้าจาก คลองดังกล่าวออกทางประตูระบายน้า โดยใช้หลักการทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของโลก (Gravity Flow) ตาม ธรรมชาติเพ่ือสูบน้าออกจากคลองท่ีทาหน้าท่ีแก้มลิงน้ี ให้ระบายออกในระดับต่าที่สุดออกสู่ทะเล เพ่ือจะได้ ทาให้น้าตอนบนค่อย ๆ ไหลมาเองตลอดเวลาส่งผลให้ปริมาณน้าท่วมพื้นท่ีลดน้อยลง จากนั้นเม่ือ ระดับน้าทะเลสูงกว่าระดับน้าในลาคลองให้ทาการปิดประตูระบายน้า เพื่อป้องกันมิให้น้าย้อนกลับ โดยยึด หลกั น3.า้ ไคหรลถู ทาามงคเดายีถวาม(Oเพnือ่ eวิเWครaาyะFหl์คoวwา)มร้เู พ่มิ เติม เช่น ท่มี า : http://www.chaipat.or.th
1) ลักษณะของการเกิดอุทกภัยในปจั จบุ ันเปน็ อย่างไร (แนวตอบ การเกิดอุทกภัยในพื้นที่ต่าง ๆ ของโลก รวมถึงประเทศไทยในปัจจุบันมีลักษณะแบบ ฉบั พลัน และมีความรุนแรงมากกว่าในอดตี เนอื่ งจากฝนที่ตกต่อเน่อื งเป็นเวลานานจากพายหุ มนุ เขตร้อนต่าง ๆ) 2) การปอ้ งกันและแก้ไขพื้นที่จากอุทกภยั สามารถทาไดอ้ ย่างไร จงยกตวั อย่าง (แนวตอบ เชน่ การปลกู หญา้ แฝกรมิ ตลิ่งเพอ่ื ปอ้ งกนั การกัดเซาะของนา้ การกาหนดพื้นที่ท่ีไม่ไดใ้ ช้ ประโยชน์ให้เป็นแหล่งกักเก็บน้าหรือแก้มลิง การขุดลอกคูคลองเพ่ือให้ระบายน้าได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ รวมถึงการไม่ตัดไม้ทาลายปา่ ซึ่งเปน็ พน้ื ทีด่ ดู ซบั และชะลอการไหลของนา้ อย่างดี) 4. ครใู ห้นักเรียนวิเคราะห์เช่ือมโยงความร้กู บั ประเด็นการศึกษาของกลุม่ ตนเองเพิ่มเตมิ ขั้นท่ี 5 การสรปุ เพ่ือตอบคาถาม 1. ครใู หน้ ักเรียนแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอขอ้ มลู จากการศึกษา พร้อมท้ังอภปิ รายแสดงความคิดเหน็ ร่วมกัน 2. ครใู หส้ มาชกิ ในแต่ละกลุ่มช่วยกันสรปุ สาระสาคญั เพอ่ื ตอบคาถามเชิงภูมศิ าสตร์ 3. ครใู หน้ กั เรียนรว่ มกันทาใบงานที่ 5.3 เร่ือง ภยั พิบัตธิ รรมชาติทางอุทกภาค 4. ครใู หน้ ักเรียนทาแบบฝึกสมรรถนะฯ ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6 เกี่ยวกับภยั พบิ ัติธรรมชาติทางอุทกภาค โดยครูแนะนาเพมิ่ เตมิ ขัน้ สรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เก่ียวกับภัยพิบัติธรรมชาติทางอุทกภาค ตลอดจนความสาคัญท่ีมี อิทธพิ ลตอ่ การดาเนินชีวิตของประชากร และใช้ PPT สรุปสาระสาคัญของเนอื้ หา ข้นั ประเมนิ 1. ครูประเมินผลโดยสังเกตจากการตอบคาถาม การร่วมกันทางาน และการนาเสนอผลงานหน้า ช้นั เรยี น 2. ครูตรวจสอบผลจากการทาใบงาน 9. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้ 1. ใบงานที่ 5.3 เรอ่ื ง ภยั พิบัติธรรมชาติทางอุทกภาค 2. เอกสารประกอบการเรียนการเรียนรู้ ภูมิศาสตร์ ม.4 – 6 3. เคร่ืองมอื ทางภูมิศาสตร์ ไดแ้ ก่ แผนท่ี ลกู โลกจาลอง รปู ถ่ายทางอากาศ และภาพจากดาวเทียม 4. แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ - http://earth.google.co.th - http://maps.google.co.th - http://www.dmr.go.th - https://www.tmd.go.th - http://www.ndwc.go.th - https://www.thairath.co.th
10. การวดั และประเมินผล เคร่อื งมอื /วธิ ีการประเมิน เกณฑ์การประเมนิ สังเกตพฤตกิ รรม ระดับดีข้ึนไป ประเด็นการประเมิน พฤติกรรมการเรยี น แบบประเมนิ ผลงานกลุ่ม 10 คะแนนข้นึ ไป ประเมนิ ผลงานกลุ่ม 11. บันทกึ ผลหลงั การจดั การเรียนรู้ 11.1 สรุปผลการจัดการเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.2 ปญั หา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.3 แนวทางแก้ไข /แนวทางการพัฒนา ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… ลงช่อื ............................................. ครผู สู้ อน (นางกนกวรรณ ชนะถาวร) ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ชานาญการพิเศษ
ใบงำนที่ 5.3 เร่ือง ภัยพบิ ัตธิ รรมชำตทิ ำงอุทกภำค คาช้แี จง : ใหน้ ักเรียนสืบค้นขา่ วทเี่ กย่ี วกับภัยพบิ ตั ิธรรมชาตทิ างอุทกภาคทเ่ี กิดขนึ้ ในประเทศไทย แล้วตอบคาถามในประเด็นต่อไปนี้ แหล่งที่มาของข่าว ………………………………………….……… ข่าวน้ี คอื ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………... 1. ลักษณะทางกายภาพมีผลต่อการเกิดภัยพิบัติตามข่าวอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ภัยพบิ ตั ทิ ่ีเกดิ ขน้ึ ส่งผลกระทบอย่างไรบ้าง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. เราสามารถป้องกนั ตนเองและระวังภัยจากภยั พบิ ัตินไ้ี ด้อย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 16 เรอ่ื ง เร่ือง ภัยพิบตั ิธรรมชาตทิ างชีวภาค รายวชิ า สังคมศึกษา รหสั วชิ า ส 31101 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 5 เรอ่ื ง ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติ เวลา 2 ช่ัวโมง 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ัด/ผลการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพส่ิงซ่ึงมีผลต่อกัน ใช้แผนที่และ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิ สารสนเทศอย่างมีประสทิ ธภิ าพ ตัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ ม.4-6/2 วิเคราะห์ลกั ษณะทางกายภาพ ซึ่งทาใหเ้ กิดปญั หาและภยั พิบัตทิ างธรรมชาตใิ นประเทศไทย และภมู ภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก ส 5.2 เขา้ ใจปฏิสัมพันธร์ ะหว่างมนษุ ย์กับสง่ิ แวดล้อมทางกายภาพทก่ี ่อให้เกดิ การสรา้ งสรรค์วถิ กี าร ดาเนนิ ชีวิต มีจิตสานึกและมีส่วนรว่ มในการจดั การทรัพยากรและส่งิ แวดล้อมเพื่อการพฒั นาท่ียงั่ ยืน ตวั ช้ีวดั /ผลการเรียนรู้ ม.4-6/2 วเิ คราะหส์ ถานการณ์ สาเหตุ และผลกระทบของการเปล่ยี นแปลงด้านทรพั ยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมของประเทศไทยและภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลก 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้สตู่ วั ช้ีวดั /ผลการเรยี นรู้ 1. วเิ คราะห์ลักษณะทางกายภาพท่ีทาให้เกดิ ปญั หา หรอื ภยั พิบัตธิ รรมชาติทางชีวภาคในประเทศไทย และภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลกได้ (K) 2. วิเคราะห์ผลกระทบทเี่ กิดจากภัยพบิ ัตธิ รรมชาติทางชีวภาคได้ (K) 3. เสนอแนวทางปอ้ งกันในการป้องกนั ตนเองและระวังภยั พิบัติธรรมชาติทางชวี ภาคได้ (P) 4. สนใจศกึ ษาเกยี่ วกับภัยพิบตั ิธรรมชาติทางชีวภาคเพือ่ นามาปรับใชใ้ นชวี ิตประจาวนั เพิ่มมากขึ้น (A) 3. สาระสาคัญ (เนื้อหา) 1. ปัญหาทางกายภาพและภัยพบิ ตั ทิ างธรรมชาติในประเทศและภูมภิ าคต่าง ๆ ของโลก 2. สถานการณก์ ารเปลยี่ นแปลงดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม ไดแ้ ก่ การเปล่ียนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดลอ้ ม ความหลากหลายทางชวี ภาพ และภยั พบิ ัติ 3. การจดั การภัยพิบัติ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ความรู้ (K)
1) ลักษณะทางกายภาพท่แี ตกต่างกนั สง่ ผลให้เกดิ ปัญหาและภัยพิบัติธรรมชาติทางชีวภาคท่ี แตกต่างกันทั้งในด้านประเภท ความถ่ี และความรุนแรง 2) กจิ กรรมของมนุษยเ์ ป็นสาเหตุสาคญั ทีท่ าใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงด้านทรพั ยากรธรรมชาติและ สงิ่ แวดลอ้ มของประเทศไทยและภูมภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก ซึง่ อาจสง่ ผลกระทบทั้งในระดับประเทศ ภมู ภิ าคและ โลก 4.2 ทักษะ/กระบวนการ(P) (วิธีการและข้นั ตอนท่ใี ชด้ าเนินการคน้ คว้าหาความร้)ู ใช้ทกั ษะทางภมู ิศาสตร์ ได้แก่ 1. การสังเกต 2. การแปลความข้อมูลทางภูมิศาสตร์ 3. การใช้ เทคนิคและเคร่ืองมือทางภูมศิ าสตร์ 4. การคิดเชงิ พ้นื ที่ 5. การใช้เทคโนโลยี 4.3 คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A) รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซอ่ื สตั ย์ สจุ รติ มีวนิ ยั ใฝเ่ รยี นรู้ อยู่อย่างพอเพยี ง มงุ่ มั่นในการทางาน รักความเป็นไทย มจี ติ สาธารณะ 5. สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปญั หา ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 6.1 ทักษะด้านการเรยี นร้แู ละนวตั กรรม คดิ สรา้ งสรรค์ ใส่ใจนวัตกรรม มีวิจารณญาณ แก้ปัญหาเปน็ สอื่ สารดี เตม็ ใจรว่ มมอื 6.2 ทกั ษะด้านสารสนเทศ สอ่ื เทคโนโลยี อพั เดตทุกข้อมลู ขา่ วสาร รู้เท่าทันสื่อ รอบร้เู ทคโนโลยสี ารสนเทศ ฉลาดส่ือสาร 6.3 ทกั ษะชวี ิตและอาชีพ มคี วามยดื หยุน่ รู้จกั ปรบั ตวั ริเรม่ิ สิง่ ใหม่ ใสใ่ จดูแลตนเอง รจู้ ักเข้าสังคม เรียนรู้วัฒนธรรม มคี วามเป็นผนู้ า รบั ผดิ ชอบหน้าท่ี พัฒนาอาชีพ หม่ันหาความรรู้ อบด้าน 7. แนวทางการบรู ณาการ การจัดการเรยี นรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนส่งิ แวดลอ้ ม โรงเรียนสุจริต/ต้านทจุ รติ โรงเรียนคุณธรรม สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน บูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ บรหิ ารจดั การช้นั เรียนเชงิ บวก
8. การจดั กจิ กรรม /กลยุทธ์/วิธีการ/รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ ชวั่ โมงท่ี 1 ข้ันนา 1. ครแู จง้ ใหน้ ักเรียนทราบถึงชอ่ื เรอ่ื งท่จี ะเรยี นรู้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ และผลการเรยี นรู้ 2. ครใู ห้นกั เรียนดูสญั ลกั ษณ์สามเหล่ยี มไฟจากหนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 แลว้ รว่ มกนั อภิปรายแสดง ความคดิ เห็นเพมิ่ เติมเกย่ี วกับสญั ลกั ษณด์ งั กล่าว 3. ครใู หน้ ักเรียนดูภาพ หรือคลิปวดิ โี อทีเ่ ก่ียวข้องกับภยั พิบัติธรรมชาติทางชวี ภาคในประเทศไทย และ ประเทศต่าง ๆ เชน่ - ภัยแลง้ คุกคามแอฟรกิ าตะวันออก เป็นภัยแลง้ ทีร่ นุ แรงในรอบ 60 ปี - ภยั แล้งใน 44 จังหวัดของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2556-2557 4. ครถู ามคาถามกระตุน้ ความคิดโดยใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั ตอบคาถามเพิ่มเติม ขั้นสอน ขัน้ ท่ี 1 การตัง้ คาถามเชงิ ภูมศิ าสตร์ 1. ครใู ห้นกั เรยี นดูแผนทีแ่ สดงพ้ืนทเี่ สย่ี งการเกิดไฟปา่ ของโลก จากหนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 แล้วร่วมกันแสดงความคิดเหน็ เก่ยี วกบั แผนทดี่ งั กล่าว 2. ครสู ุ่มถามนกั เรียนถงึ ตวั อย่างเหตุการณ์การเกิดไฟป่าท่ีเกดิ ขนึ้ ในโลกตามความร้จู ักของนกั เรียน รวมถงึ ผลกระทบท่เี กิดขึ้นจากเหตุการณด์ ังกลา่ วเพมิ่ เติม 3. ครูให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตนในกรณีประสบภัยพิบัติ ท้ังในช่วง ก่อนเกดิ ภัย ขณะเกดิ ภยั และหลงั เกิดภยั 4. ครูให้นักเรียนดูแผนที่แสดงพ้ืนที่เสี่ยงการเกิดไฟป่าในประเทศไทย จากหนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 แล้วร่วมกันอภิปรายแสดงความคดิ เห็นเพม่ิ เตมิ 5. ครกู ระตนุ้ ใหน้ ักเรยี นชว่ ยกันตงั้ ประเด็นคาถามเชงิ ภูมิศาสตร์ เช่น 1) ลกั ษณะทางกายภาพสง่ ผลให้เกิดปญั หา หรือภัยพิบตั ิธรรมชาติทางชวี ภาคในประเทศไทยและ ภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลกอยา่ งไรบ้าง 2) ภัยพบิ ตั ธิ รรมชาติทางชวี ภาคที่เกิดข้นึ ในภูมภิ าคต่าง ๆ มีความเหมือน หรอื ความแตกตา่ งกัน อย่างไร 3) ผลกระทบสาคญั จากภัยพิบตั ิธรรมชาติทางชวี ภาคคอื อะไร 4) แนวทางหรอื วิธกี ารป้องกันภัยพิบตั ธิ รรมชาติทางชีวภาคสามารถทาได้อย่างไร 6. ครูอาจใหน้ ักเรียนศกึ ษา Geo Question จากหนังสือเรยี นภมู ิศาสตร์ ม.4-6 ประกอบการตั้ง คาถามทางภูมิศาสตรเ์ พ่ิมเตมิ ขัน้ ที่ 2 การรวบรวมข้อมลู 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม สืบค้นข้อมูลเก่ียวกับภัยพิบัติธรรมชาติทางชีวภาค จากหนังสือเรียน ภมู ศิ าสตร์ ม.4-6 หรอื จากแหลง่ การเรยี นรูอ้ ื่น ๆ เชน่ หนังสือในหอ้ งสมุด เว็บไซตใ์ นอินเทอรเ์ นต็ ในประเด็น ต่อไปน้ี
1) ภัยแลง้ 2) ไฟป่า 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาข้อมูลในหัวข้อท่ีรับผิดชอบ โดยนาความรู้เกี่ยวกับเคร่ืองมือทาง ภูมศิ าสตร์มาใช้ประกอบในการศกึ ษา โดยครูแนะนาแหลง่ ข้อมูลสารสนเทศท่เี ช่ือถอื ได้เพิ่มเตมิ 3. ครูอาจให้นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อความรุนแรงของภัยแล้ง และเส้นเวลาแสดงภัย แล้งของประเทศไทยในช่วง พ.ศ. 2520-2560 จากหนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 ประกอบการรวบรวมข้อมูล เพิ่มเติม ชว่ั โมงท่ี 2 ขนั้ ที่ 3 การจดั การข้อมลู 1. สมาชกิ แตล่ ะคนในกลมุ่ นาข้อมลู ที่ตนได้จากการรวบรวม มาอธบิ ายแลกเปลยี่ นความรู้ระหว่างกนั 2. จากนนั้ สมาชิกในกลุ่มชว่ ยกันคัดเลือกข้อมูลทีน่ าเสนอเพื่อให้ไดข้ ้อมลู ที่ถูกต้อง และรว่ มอภิปราย แสดงความคดิ เห็นเพมิ่ เตมิ ข้ันท่ี 4 การวิเคราะห์และแปลผลข้อมูล 1. ครใู ห้นกั เรียนดภู าพตัวอย่างท่ีกาหนดให้ แลว้ รว่ มกนั แสดงความคิดเห็นเพ่ิมเตมิ 2. ครถู ามคาถามเพือ่ วเิ คราะห์ความรเู้ พ่ิมเติม เช่น 1) การเกิดความแห้งแล้งในประเทศไทยเก่ียวข้องกับปฏิสัมพันธ์ทางภูมิศาสตร์ในด้านใด และมี ลักษณะอยา่ งไร (แนวตอบ การเกดิ ความแหง้ แลง้ ในประเทศไทยเกยี่ วข้องกบั ปฏสิ มั พันธท์ างภูมศิ าสตร์ในส่วนของ บรรยากาศภาค กล่าวคือ ช่วงเวลาการปกคลุมพื้นท่ีของลมมรสุมมีอิทธิพลอย่างย่ิงต่อการเกิดความแห้งแล้งใน ประเทศไทย เม่ือลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้อ่อนกาลังลงปกคลุมพื้นท่ีในระยะเวลาสั้นลง หรือลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือท่ีนาความหนาวเย็นแห้งแล้งจากตอนเหนือของทวีปท่ีมีกาลังแรงหรือพัดมาเร็วกว่าปกติ ก็ ทาให้เกิดความแห้งแล้งข้ึนได้ นอกจากน้ี การเกิดพายุหมุนเขตร้อนท่ีมีอิทธิพลต่อปริมาณน้าฝนในประเทศไทย นอ้ ยกวา่ 2 ลกู กอ็ าจสง่ ผลใหใ้ นปีนั้นเกดิ ความแห้งแล้งข้ึนได)้ 2) พน้ื ทีบ่ ริเวณใดของประเทศไทยท่ีมักประสบปัญหาความแหง้ แลง้ และมีสาเหตุมาจากสงิ่ ใด (แนวตอบ พื้นที่ท่ีได้รับผลกระทบจากภัยแล้งมาก ได้แก่ บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนกลาง เพราะเป็นบริเวณที่อิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้เข้าไปไม่ถึง และถ้าปีใดท่ีไม่มีพายุหมุน เขตร้อนเคลอ่ื นผา่ นในแนวดังกล่าวแล้ว จะกอ่ ใหเ้ กดิ ภัยแลง้ รนุ แรงมากย่ิงขึ้น)
3) ไฟป่าสามารถเกิดขึน้ เองตามธรรมชาตไิ ด้หรือไม่ อยา่ งไร (แนวตอบ ไฟป่าสามารถเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โดยมีสาเหตุ เช่น การเกิดฟ้าผ่าทาให้ตน้ ไม้เกิด ไฟไหม้ มักเกดิ ขึน้ มากในป่าไมเ้ ขตอบอุน่ ของสหรัฐอเมริกาและประเทศแคนาดา การเสียดสกี ันของก่งิ ไมแ้ ห้งใน ชว่ งเวลาทีอ่ ากาศรอ้ นและแห้งแล้ง มกั เกดิ ขนึ้ ในพน้ื ทป่ี ่าทม่ี ีไมข้ ึน้ อยู่หนาแนน่ เช่น ปา่ ไผแ่ ละป่าสน) 4) ไฟปา่ กอ่ ใหเ้ กิดผลกระทบตอ่ ระบบนเิ วศอยา่ งไรบา้ ง อธบิ ายพรอ้ มยกตวั อย่างพอสังเขป (แนวตอบ ไฟป่ามีผลกระทบต่อระบบนิเวศหลายประการ เน่ืองด้วยป่าไม้เป็นแหล่งของ ความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตท้ังพืชและสัตวต์ ่าง ๆ ตัวอย่างของผลกระทบ เช่น การสูญพันธุ์ของพชื จากการถูกเผา ไหม้ การสญู พันธ์ุของสตั ว์จากการถูกทาลายที่อยู่อาศัยและแหล่งอาหาร การเกิดมลพิษทางอากาศจากแก๊สและ เถ้าถ่านของการเผาไหม้ การขาดแหล่งป่าไม้ที่เป็นต้นน้าลาธาร และการสูญเสียความอุดมสมบูรณ์ของดินจาก การท่หี น้าดินถกู เผาทาลาย) 3. ครใู ห้นักเรยี นวิเคราะห์เช่อื มโยงความรู้กับประเด็นการศึกษาของกลุ่มตนเองเพิ่มเตมิ ข้นั ท่ี 5 การสรุปเพอ่ื ตอบคาถาม 1. ครูใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอขอ้ มูลจากการศกึ ษา พรอ้ มทัง้ อภปิ รายแสดงความคิดเห็นรว่ มกนั 2. ครูให้สมาชิกในแตล่ ะกลมุ่ ช่วยกนั สรุปสาระสาคญั เพื่อตอบคาถามเชิงภูมศิ าสตร์ 3. ครใู ห้นกั เรียนร่วมกนั ทาใบงานที่ 5.4 เร่อื ง ภยั พิบตั ธิ รรมชาติทางชีวภาค 4. ครใู หน้ ักเรียนทาแบบฝึกสมรรถนะฯ ภูมศิ าสตร์ ม.4-6 เกี่ยวกบั ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาติทางชวี ภาค โดยครูแนะนาเพ่มิ เติม 5. ครูมอบหมายให้นักเรียนทาช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) ด้วยการทารายงานสรุปผลการสืบค้น ข้อมูล เร่อื ง ภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ โดยใชค้ วามร้เู รอ่ื งภมู ศิ าสตรส์ รุปด้วยประเด็นต่อไปน้ี 1) สรุปผลการสืบค้นลักษณะทางกายภาพซ่ึงทาให้เกิดปัญหาหรือภัยพิบัติทางธรรมชาติใน ประเทศไทยและภูมภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก 2) การดาเนินการตามกระบวนการทางภูมศิ าสตร์ 3) การใช้เทคนิคและเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์สืบค้นและรวบรวมข้อมูลลักษณะทางกายภาพ ซ่ึง ทาใหเ้ กดิ ปัญหาหรือภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติ และเสนอแนวทางการปอ้ งกนั ระวงั ภัย 6. ให้นักเรียนทาแบบวัดฯ ภูมิศาสตร์ ม.4-6 เก่ียวกับเรื่องภัยพิบัติทางธรรมชาติเพื่อทดสอบความรู้ ที่ได้ศึกษามา โดยจัดทาเปน็ การบา้ นเพอ่ื ส่งครูในชั่วโมงถดั ไป ข้นั สรปุ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ ตลอดจนความสาคัญท่ีมีอิทธิพลต่อ การดาเนนิ ชีวติ ของประชากร และใช้ PPT สรุปสาระสาคัญของเนือ้ หา ข้ันประเมิน 1. ครูประเมนิ ผลโดยสงั เกตจากการตอบคาถาม การร่วมกันทางาน และการนาเสนอผลงานหน้าชัน้ เรียน 2. ครตู รวจสอบผลจากการทาใบงาน 3. ครใู ห้นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี นหน่วยการเรียนรูท้ ่ี 5 เร่ือง ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติ
9. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้ 1. ใบงานท่ี 5.3 เรื่อง ภัยพบิ ัติธรรมชาติทางอุทกภาค 2. เอกสารประกอบการเรยี นการเรยี นรู้ ภมู ศิ าสตร์ ม.4 – 6 3. เครื่องมอื ทางภูมิศาสตร์ ไดแ้ ก่ แผนที่ ลูกโลกจาลอง รูปถ่ายทางอากาศ และภาพจากดาวเทยี ม 4. แหล่งข้อมลู สารสนเทศ - http://earth.google.co.th - http://maps.google.co.th - http://www.dmr.go.th - https://www.tmd.go.th - http://www.ndwc.go.th - https://www.thairath.co.th 10. การวัดและประเมนิ ผล ประเด็นการประเมิน เครอ่ื งมือ/วธิ ีการประเมิน เกณฑ์การประเมิน พฤติกรรมการเรียน สังเกตพฤตกิ รรม ระดบั ดีขนึ้ ไป ประเมินผลงานกลุ่ม ทดสอบหลังเรยี น แบบประเมินผลงานกลมุ่ 10 คะแนนขนึ้ ไป แบบทดสอบหลังเรยี น ร้อยละ 70 ขนึ้ ไป
11. บนั ทกึ ผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 11.1 สรปุ ผลการจัดการเรยี นรู้ ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.2 ปญั หา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.3 แนวทางแก้ไข /แนวทางการพัฒนา ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ............................................. ครผู สู้ อน (นางกนกวรรณ ชนะถาวร) ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการพเิ ศษ
ใบงำนท่ี 5.4 เร่ือง ภยั พบิ ตั ิธรรมชำติทำงชีวภำค เร่ือง ภยั พบิ ตั ิธรรมชำติทำงชวี ภำค คาช้แี จง : ใหน้ กั เรยี นสืบค้นเหตุการณภ์ ยั พิบัตธิ รรมชาตทิ างชวี ภาค จดั ทาในรูปแบบภาพวาดแผนท่แี สดง ตาแหน่งที่เกิดเหตกุ ารณ์ พร้อมทั้งบอกสาเหตุ ผลกระทบ และการจดั การภัยพบิ ตั ดิ งั กลา่ ว 1. เหตกุ ารณ์ภยั พิบตั ดิ ังกลา่ วคอื เหตกุ ารณ์ใด เกดิ ข้ึนในบรเิ วณใด และมีสาเหตจุ ากส่ิงใด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ภัยพิบัตทิ ีเ่ กดิ ขน้ึ ส่งผลกระทบอยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. แนวทางการจัดการและระวงั ภยั จากภัยพิบัตนิ ้ีสามารถทาได้อย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 17 เร่อื ง สถำนกำรณ์กำรเปล่ียนแปลงดำ้ นทรพั ยำกรธรรมชำติและส่ิงแวดล้อม รายวชิ า สังคมศึกษา รหสั วิชา ส 31101 กลุม่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 6 เรือ่ ง ทรพั ยำกรธรรมชำตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มกบั กำรพัฒนำที่ยั่งยืน เวลา 2 ชว่ั โมง 1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 5.2 เขา้ ใจปฏสิ มั พันธ์ระหว่างมนุษยก์ ับส่งิ แวดลอ้ มทางกายภาพท่กี ่อให้เกดิ การสร้างสรรคว์ ถิ ีการ ดาเนนิ ชีวติ มจี ติ สานึกและมสี ่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรและส่ิงแวดล้อมเพื่อการพฒั นาท่ีย่ังยืน ตัวช้ีวดั /ผลการเรียนรู้ ม.4-6/2 วเิ คราะห์สถานการณ์ สาเหตุ และผลกระทบของการเปล่ยี นแปลงดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ มของประเทศไทยและภมู ิภาคต่าง ๆ ของโลก ม.4-6/3 ระบมุ าตรการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหากฎหมายและนโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สงิ่ แวดล้อม บทบาทขององค์การท่เี ก่ียวข้อง และการประสานความรว่ มมือทั้งในประเทศและระหวา่ งประเทศ ม.4-6/4 วิเคราะหแ์ นวทางและมีส่วนรว่ มในการจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มเพ่ือ การพฒั นาทย่ี ง่ั ยืน 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นร้สู ตู่ วั ช้วี ัด/ผลการเรยี นรู้ 1. วเิ คราะหส์ ถานการณก์ ารเปล่ยี นแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม ทั้งในด้านสาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางแกไ้ ขได้ (K) 2. เลือกใชเ้ คร่ืองมือทางภูมศิ าสตร์ในการศึกษาสถานการณก์ ารเปลี่ยนแปลงดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อม ทั้งในดา้ นสาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางแกไ้ ขได้ (P) 3. เหน็ คุณค่าในการศึกษาสถานการณ์การเปลย่ี นแปลงดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทง้ั ใน ด้านสาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางแก้ไขเพมิ่ มากขน้ึ (A) 3. สาระสาคญั (เนื้อหา) 1. สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อม ได้แก่ การเปล่ยี นแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ความเส่ือมโทรมของส่งิ แวดล้อม ความหลากหลายทางชวี ภาพ และภัยพบิ ัติ 2. สาเหตุและผลกระทบของการเปล่ยี นแปลงดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย และภมู ิภาคตา่ ง ๆ ของโลก 3. การจัดการภยั พบิ ัติ 4. มาตรการป้องกันและแก้ไขปญั หาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มในประเทศและระหว่าง ประเทศตามแนวทางการพฒั นาที่ย่ังยนื ความมัน่ คงของมนษุ ย์ และการบริโภคอย่างรบั ผดิ ชอบ 5. กฎหมายและนโยบายด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มทงั้ ในประเทศและระหว่างประเทศ
6. บทบาทขององคก์ าร และการประสานความร่วมมือท้งั ในประเทศและระหวา่ งประเทศ 7. แนวทางการจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม 8. การมสี ว่ นรว่ มในการแกป้ ัญหา และการดาเนนิ ชีวิตตามแนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมเพ่ือการพัฒนาทีย่ ่ังยนื 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ความรู้ (K) กจิ กรรมของมนษุ ย์เปน็ สาเหตุสาคัญท่ที าให้เกดิ การเปลี่ยนแปลงดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอ้ มของประเทศไทยและภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลก ซงึ่ อาจส่งผลกระทบทงั้ ในระดบั ประเทศ ภมู ิภาค และ โลก 4.2 ทักษะ/กระบวนการ(P) (วิธีการและขนั้ ตอนทใ่ี ชด้ าเนินการคน้ คว้าหาความรู้) ใช้ทักษะทางภมู ิศาสตร์ ไดแ้ ก่ 1. การสังเกต 2. การแปลความข้อมูลทางภมู ิศาสตร์ 3. การใช้ เทคนิคและเคร่ืองมือทางภมู ิศาสตร์ 4. การคดิ เชงิ พนื้ ที่ 5. การใชเ้ ทคโนโลยี 4.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต มวี นิ ัย ใฝ่เรียนรู้ อยอู่ ย่างพอเพียง มุง่ มัน่ ในการทางาน รกั ความเปน็ ไทย มีจิตสาธารณะ 5. สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี น ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 6.1 ทกั ษะด้านการเรียนรู้และนวตั กรรม คิดสรา้ งสรรค์ ใสใ่ จนวัตกรรม มวี ิจารณญาณ แกป้ ญั หาเป็น สือ่ สารดี เต็มใจรว่ มมอื 6.2 ทกั ษะด้านสารสนเทศ สอ่ื เทคโนโลยี อัพเดตทุกข้อมูลขา่ วสาร รเู้ ทา่ ทนั ส่อื รอบรเู้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ฉลาดสือ่ สาร 6.3 ทกั ษะชีวิตและอาชีพ มีความยดื หยุ่น รู้จกั ปรับตวั รเิ ริ่มส่งิ ใหม่ ใสใ่ จดูแลตนเอง รู้จักเข้าสงั คม เรยี นรวู้ ัฒนธรรม มคี วามเปน็ ผ้นู า รับผดิ ชอบหน้าที่ พัฒนาอาชพี หม่นั หาความร้รู อบด้าน
7. แนวทางการบรู ณาการ การจัดการเรียนรู้ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โรงเรยี นสิ่งแวดลอ้ ม โรงเรียนคุณธรรม โรงเรยี นสุจริต/ต้านทุจรติ บูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ สวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น บริหารจัดการชั้นเรียนเชงิ บวก 8. การจดั กจิ กรรม /กลยุทธ์/วธิ กี าร/รปู แบบการจัดการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 ข้ันนา 1. ครแู จ้งใหน้ ักเรยี นทราบถึงช่อื เรือ่ งทจี่ ะเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ และผลการเรยี นรู้ 2. ครใู หน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียนหนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6 เร่ือง สถานการณ์การเปลยี่ นแปลงด้าน ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม 3. ครูให้นกั เรียนดภู าพ หรือคลิปวิดีโอที่เกยี่ วข้องกับการเปลยี่ นแปลงทางกายภาพของโลกในดนิ แดน ต่าง ๆ เช่น การละลายของธารน้าแข็ง สภาพพ้นื ดนิ ท่ีแหง้ แล้ง ปา่ ไม้ถูกทาลาย แตกระแหง มลพษิ ทางอากาศ ปัญหาในการกาจดั ขยะ นาขัน้ บนั ได 4. ครูถามคาถามกระตุ้นความคิดโดยให้นักเรียนร่วมกันตอบคาถามเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงและ ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากภาพหรือคลิปวิดีโอดังกลา่ ว
ขั้นสอน ข้นั ที่ 1 การตั้งคาถามเชงิ ภูมศิ าสตร์ 1. ครใู หน้ ักเรียนวเิ คราะห์รว่ มกนั ถงึ พฤติกรรมในชีวิตประจาวนั ของนักเรยี นและบุคคลในครอบครวั ท่ีก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในด้านต่าง ๆ เช่น อากาศ ดิน น้า ป่าไม้ สตั วป์ า่ แรแ่ ละพลงั งาน อาหาร รวมไปถงึ ขยะต่าง ๆ 2. ครูสุ่มนักเรียนเพอ่ื นาเสนอพฤตกิ รรมท่กี ่อให้เกิดการเปลยี่ นแปลงดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ สิง่ แวดล้อมในด้านต่าง ๆ จานวน 5-6 คน จากนัน้ ใหอ้ ภปิ รายถงึ พฤติกรรมดังกลา่ วรว่ มกนั 3. ครใู หน้ กั เรียนร่วมกนั อภปิ รายเพิม่ เตมิ จากพฤติกรรมในชวี ิตประจาวนั ของนักเรียนและบุคคลใน ครอบครวั ท่ีกอ่ ใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มในด้านต่าง ๆ เช่น อากาศ ดนิ นา้ ป่าไม้ สัตว์ป่า แร่และพลังงาน อาหาร รวมไปถึงขยะต่าง ๆ เก่ียวกับผลกระทบท่ีเกิดข้ึนจากพฤติกรรมดังกล่าว พร้อมทั้งเสนอแนวทางแก้ไขในเบ้ืองตน้ ร่วมกนั 4. ครใู หน้ กั เรียนดภู าพหรอื คลิปวดิ โี อตวั อยา่ ง เชน่ 5. ครูให้นกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายแสดงความคิดเหน็ เพิ่มเติมเชอ่ื มโยงกบั ภาพหรือคลปิ วิดีโอตัวอยา่ ง วา่ มคี วามเกยี่ วข้องกับความเสือ่ มโทรมของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมประเภทใด 6. ครกู ระตุ้นให้นกั เรียนชว่ ยกนั ต้งั ประเดน็ คาถามเชิงภูมศิ าสตร์ เชน่ 1) การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ ความเสอื่ มโทรมของสิ่งแวดล้อม ปัญหาความหลากหลายทาง ชวี ภาพและภยั พิบัติ มีสาเหตมุ าจากอะไร และมผี ลกระทบอย่างไรบ้าง 2) การดาเนินชีวิตของมนุษย์ก่อให้เกิดสถานการณ์และการเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ้ มอย่างไร
ข้นั ท่ี 2 การรวบรวมข้อมูล 1. ครูให้นักเรยี นแบ่งกลุ่ม จานวน 6 กลมุ่ สืบค้นข้อมลู เกยี่ วกบั การเปลี่ยนแปลงและความเส่อื มโทรม ของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ตลอดจนสาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางแก้ไข จากหนังสือเรียน ภูมิศาสตร์ ม.4-6 หรือจากแหล่งการเรียนรู้อ่ืน ๆ เช่น หนังสือในห้องสมุด เว็บไซต์ในอินเทอร์เน็ต ในประเด็น ตอ่ ไปน้ี 1) สภาพภมู ิอากาศ 4) ป่าไม้และสตั วป์ า่ 2) ดนิ 5) แร่และพลังงาน 3) นา้ 6) ขยะและของเสยี อันตราย 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาข้อมูลในหัวข้อท่ีรับผิดชอบ โดยนาความรู้เก่ียวกับเคร่ืองมือทาง ภมู ศิ าสตรม์ าใช้ประกอบในการศกึ ษาด้วย 3. ครูแนะนาแหลง่ ข้อมูลสารสนเทศทน่ี ่าเชือ่ ถอื ให้กับนกั เรยี นเพิม่ เติม ช่ัวโมงท่ี 2 ข้ันท่ี 3 การจัดการขอ้ มูล 1. สมาชิกแตล่ ะคนในกลมุ่ นาข้อมลู ทต่ี นได้จากการรวบรวม มาอธบิ ายแลกเปล่ยี นความรู้ระหว่างกนั 2. จากนนั้ สมาชิกในกลมุ่ ชว่ ยกนั คดั เลอื กข้อมลู ทีน่ าเสนอเพื่อให้ไดข้ ้อมลู ท่ีถูกต้อง และรว่ มอภปิ ราย แสดงความคิดเห็นเพ่มิ เตมิ ข้ันที่ 4 การวเิ คราะห์และแปลผลข้อมูล 1. ครใู ห้นกั เรยี นใชภ้ าพประกอบจากหนงั สอื เรียนภมู ิศาสตร์ ม.4-6 มาเชื่อมโยงการวเิ คราะห์ขอ้ มูล เพิ่มเติม 2. ครูสนทนากับนักเรยี นถึงความรู้ท่วั ไปเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งถือ ได้ว่าเป็นปัญหาหลักท่ีเกิดข้ึนในทั่วทุกภูมิภาคของโลก รวมถึงเป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ อืน่ ๆ ตามมา เชน่ ดนิ นา้ อากาศ 3. ครูสุ่มนักเรียนจานวน 2-3 คน เพ่ืออธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงความ หลากหลายทางชวี ภาพท่หี นา้ ชน้ั เรียน 4. ครูถามคาถามเพ่อื วิเคราะห์ความรเู้ พิม่ เติม เชน่ 1) แร่เช้ือเพลิงและพลังงานท่ีสาคัญของประเทศไทยมีความเหมาะสมต่อการใช้ประโยชน์ ท่ามกลางวิกฤตการณภ์ าวะโลกรอ้ นหรือไม่ อยา่ งไร (แนวตอบ แร่เช้ือเพลิงและพลังงานที่สาคัญของประเทศไม่เหมาะสมต่อการใช้ประโยชน์ ทา่ มกลางภาวะโลกรอ้ นในปัจจบุ นั เทา่ ทค่ี วร เน่อื งจากก่อให้เกดิ แก๊สเรือนกระจกขน้ึ ส่บู รรยากาศ ทง้ั การเผาไหม้ ถ่านหินชนิดลิกไนต์ ซ่ึงมีคุณภาพไม่ดี ก่อให้เกิดควันและแก๊สต่าง ๆ จานวนมาก รวมถึงการใช้เชื้อเพลิงจาก นา้ มันและแก๊สธรรมชาติด้วย อยา่ งไรก็ตาม ประเทศไทยได้ลดการใช้แรเ่ ชื้อเพลิงและพลังงาน จากสาเหตุตา่ ง ๆ ท้ังการใกล้จะหมดไปของถ่านหิน ความพยายามในการพัฒนาพลังงานสะอาดของรัฐบาลและหน่วยงานที่ เก่ยี วข้องเพ่ือการอนุรกั ษ์สิ่งแวดล้อม) 2) สถานการณน์ า้ มันของโลกเปน็ อยา่ งไร (แนวตอบ ทรัพยากรน้ามันของโลกมีแนวโน้มท่ีจะหมดไปในอนาคตอันใกล้ โดยแหล่งน้ามันท่ี สาคัญของโลกอยู่ในบริเวณตะวันออกกลาง เช่น ในประเทศซาอุดีอาระเบีย อิหร่าน อิรัก คูเวต ซ่ึงประเทศผู้
ส่งออกน้ามันที่สาคัญของโลกได้มีการรวมกลุ่มกันเป็นกลุ่มโอเปก (OPEC) ท้ังน้ี เพื่อกาหนดปริมาณการผลิต รว่ มกัน ซ่ึงเปน็ การกาหนดราคาน้ามนั โดยทางอ้อม) 5. ครสู นทนากบั นกั เรียนเก่ยี วกับตวั อยา่ ง สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อม จากหนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 หรือจากแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ เช่น เว็บไซต์ในอินเทอร์เน็ต เพ่มิ เตมิ ขั้นท่ี 5 การสรุปเพื่อตอบคาถาม 1. ครใู ห้นกั เรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอข้อมูลจากการศึกษา พร้อมทัง้ อภิปรายแสดงความคิดเห็นรว่ มกัน เกยี่ วกบั การเปลยี่ นแปลงด้านทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม และความหลากหลายทางชวี ภาพ 2. ครใู หส้ มาชกิ ในแตล่ ะกลุ่มชว่ ยกนั สรุปสาระสาคญั เพื่อตอบคาถามเชงิ ภมู ิศาสตร์ 3. ครูให้นักเรียนร่วมกันทาใบงานท่ี 6.1 เร่อื ง สถานการณ์การเปล่ียนแปลงด้านทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดล้อม 4. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกสมรรถนะฯ ภูมิศาสตร์ ม.4-6 เกี่ยวกับเร่ืองสถานการณ์การ เปลี่ยนแปลงดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพอ่ื นาส่งครใู นช่วั โมงถัดไป ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้ ตลอดจนการใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ และเคร่ืองมือด้าน เทคโนโลยีในการสืบค้นเก่ียวกับสถานการณ์การเปล่ียนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม และใช้ PPT สรปุ สาระสาคญั ของเนอ้ื หา ขนั้ ประเมิน 1. ครปู ระเมินผลโดยสังเกตจากการตอบคาถาม การร่วมกันทางาน และการนาเสนอผลงานหนา้ ชัน้ เรยี น 2. ครตู รวจสอบผลจากการทาใบงาน 9. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้ 1. ใบงานท่ี 6.1 เรอ่ื ง สถานการณ์การเปลยี่ นแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม 2. เอกสารประกอบการเรียนการเรียนรู้ ภมู ิศาสตร์ ม.4 – 6 3. เครื่องมอื ทางภมู ิศาสตร์ ไดแ้ ก่ แผนท่ี ลูกโลกจาลอง รูปถ่ายทางอากาศ และภาพจากดาวเทยี ม 4. แหล่งข้อมูลสารสนเทศ - http://earth.google.co.th - http://maps.google.co.th - http://news.thaipbs.or.th - https://news.mthai.com - https://www.thairath.co.th - http://www.onep.go.th
10. การวัดและประเมนิ ผล เครื่องมือ/วิธีการประเมนิ เกณฑ์การประเมิน สังเกตพฤติกรรม ระดับดีขน้ึ ไป ประเด็นการประเมนิ พฤติกรรมการเรียน แบบประเมินผลงานกลมุ่ 10 คะแนนข้ึนไป ประเมินผลงานกลุ่ม แบบทดสอบกอ่ นเรียน - ทดสอบก่อนเรียน 11. บันทึกผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 11.1 สรปุ ผลการจัดการเรยี นรู้ ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.2 ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.3 แนวทางแกไ้ ข /แนวทางการพฒั นา ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… ลงช่อื ............................................. ครผู สู้ อน (นางกนกวรรณ ชนะถาวร) ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ
ใบงำนที่ 6.1 เรื่อง สถำนกำรณ์กำรเปลีย่ นแปลงดำ้ นทรพั ยำกรธรรมชำติและสง่ิ แวดล้อม คาช้แี จง : ให้นกั เรยี นสบื ค้นขา่ วทีแ่ สดงถึงการเปลี่ยนแปลงหรือวกิ ฤตการณด์ ้านสิง่ แวดลอ้ มและ ทรพั ยากรธรรมชาติในภมู ิภาคตา่ ง ๆ ของโลกหรอื ของประเทศไทย นามาวเิ คราะห์ แลว้ ตอบคาถาม ผู้วา่ ฯ กาฬสินธส์ุ ั่งแก้ “ขยะไฮเทค” ทะลักชุมชน 2 หมน่ื ตนั ตอ่ ปี ผู้ว่าฯ กาฬสินธุ์สั่งสอบปัญหาการคัดแยกขยะอิเล็กทรอนิกส์ในชุมชน อ.ฆ้องชัย พบขยะอิเล็กทรอนิกส์ทะลักกว่า 20,000 ตนั ต่อปี จนขาดสถานทจี่ ัดเกบ็ ขยะและสง่ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพชาวบา้ น ผสู้ อื่ ข่าวรายงานวา่ ขยะอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ท้งั โทรทัศน์ พดั ลม ตู้เย็น คอมพิวเตอร์ และโทรศพั ท์มอื ถือ ถกู นามาคัดแยก ชิ้นส่วนขายเป็นอาชีพหลักของชาวบ้านท้ัง 12 หมู่บ้าน ใน ต.โคกสะอาด อ.ฆ้องชัย จ.กาฬสินธ์ุ เจ้าหน้าท่ีพบข้อมูลว่ามีขยะ อเิ ล็กทรอนิกส์เข้ามาในพืน้ ที่มากกวา่ 1,200 ตันต่อเดือน เฉลย่ี ปีล่ะกว่า 20,000 ตัน ทาให้ประสบปัญหาการกาจัดขยะที่ไม่ถูก วิธี และขาดสถานทีจ่ ดั เก็บ ลา่ สุด พ้ืนทีบ่ อ่ ฝงั กลบขยะอิเล็กทรอนิกส์ขององคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลโคกสะอาดทัง้ 23 ไร่ ไม่เพียงพอท่จี ะรองรบั การฝงั กลบขยะแล้ว นายวิจิตร มูลเอก นายกองค์การบริหารส่วนตาบลโคกสะอาด เรียกร้องทางภาครัฐท่ีเคยรับปากว่าจะสร้างเตาเผา ขยะเม่ือหลายปีก่อน ให้เร่งดาเนินการเพ่ือแก้ปัญหา เนื่องจากท่ีผ่านมาการคัดแยกขยะที่ไม่ถูกวิธีส่งผลต่อส่ิงแวดล้อม และ กระทบต่อสุขภาพประชาชน เน่ืองจากทาให้เกิดสารพิษปนเป้ือนและเข้าสู่ร่างกาย ด้านนายไกรสร กองฉลาด ผู้ว่าราชการ จังหวัดกาฬสินธุ์ ส่ังการให้ฝ่ายปกครอง ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เร่งตรวจสอบและแก้ปัญหาท้ังระยะสั้น และ กาหนดแนวทางแกไ้ ขในระยะยาว ที่มา : http://news.thaipbs.or.th/content/272648 1. สถานการณ์ข่าวมปี ระเด็นสาคญั เกย่ี วกบั เรื่องใด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. จากสถานการณ์ข่าว มสี าเหตจุ ากส่ิงใด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. จากสถานการณ์ข่าว สง่ ผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. นกั เรียนคิดวา่ จากสถานการณข์ า่ ว มีแนวทางป้องกันและแก้ไขอยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 18 เรอ่ื ง มำตรกำรป้องกนั และแก้ไขปัญหำทรพั ยำกรธรรมชำตแิ ละสิ่งแวดล้อม รายวิชา สังคมศกึ ษา รหัสวชิ า ส 31101 กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2565 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เร่อื ง ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมกับกำรพัฒนำทีย่ ั่งยนื เวลา 2 ชวั่ โมง 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชี้วัด/ผลการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ส 5.2 เข้าใจปฏสิ ัมพันธร์ ะหว่างมนุษยก์ บั ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพทก่ี ่อให้เกดิ การสรา้ งสรรค์วถิ ีการ ดาเนนิ ชีวติ มจี ติ สานกึ และมสี ่วนร่วมในการจดั การทรัพยากรและสิ่งแวดลอ้ มเพื่อการพฒั นาทย่ี ่งั ยืน ตัวชี้วดั /ผลการเรยี นรู้ ม.4-6/3 ระบุมาตรการปอ้ งกัน และแก้ไขปัญหากฎหมายและนโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ สง่ิ แวดล้อม บทบาทขององค์การทเี่ ก่ียวข้อง และการประสานความร่วมมือท้ังในประเทศและระหวา่ งประเทศ 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้สู่ตวั ชว้ี ดั /ผลการเรียนรู้ 1. อธิบายมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มได้ (K) 2. อธิบายกฎหมายและนโยบายทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมได้ (K) 3. อธิบายบทบาทขององคก์ รและการประสานความร่วมมอื ท้ังในประเทศและระหว่างประเทศได้ (K) 4. เลอื กใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตรใ์ นการศึกษามาตรการปอ้ งกนั และแก้ไขปญั หาทรัพยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดล้อมได้ (P) 5. สนใจศกึ ษามาตรการป้องกันและแกไ้ ขปญั หาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมเพิ่มมากขนึ้ (A) 3. สาระสาคัญ (เนือ้ หา) 1. สถานการณก์ ารเปลย่ี นแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม ได้แก่ การเปล่ียนแปลงสภาพ ภมู ิอากาศ ความเส่ือมโทรมของส่ิงแวดลอ้ ม ความหลากหลายทางชวี ภาพ และภัยพิบัติ 2. สาเหตแุ ละผลกระทบของการเปล่ียนแปลงดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมของประเทศไทย และภูมภิ าคตา่ ง ๆ ของโลก 3. การจดั การภัยพิบตั ิ 4. มาตรการปอ้ งกันและแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ มในประเทศและระหว่าง ประเทศตามแนวทางการพัฒนาทยี่ ่ังยืน ความมั่นคงของมนุษย์ และการบรโิ ภคอยา่ งรับผดิ ชอบ 5. กฎหมายและนโยบายด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ 6. บทบาทขององค์การ และการประสานความร่วมมือทงั้ ในประเทศและระหว่างประเทศ 7. แนวทางการจดั การทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม 8. การมีส่วนรว่ มในการแก้ปัญหา และการดาเนินชวี ติ ตามแนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ มเพื่อการพฒั นาท่ียง่ั ยืน
4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ความรู้ (K) - มาตรการป้องกนั และแก้ไขปญั หาทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมในประเทศและระหวา่ ง ประเทศ ตามแนวทางการพฒั นาท่ีย่งั ยนื ความมนั่ คงของมนุษย์ และการบรโิ ภคอย่างรับผดิ ชอบ - กฎหมายและนโยบายดา้ นทรพั ยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ มท้ังในประเทศและ ระหวา่ งประเทศ - บทบาทขององค์กร และการประสานความร่วมมือทั้งในประเทศและระหวา่ งประเทศ 4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ(P) (วิธกี ารและข้ันตอนท่ีใชด้ าเนนิ การค้นควา้ หาความรู)้ ใช้ทกั ษะทางภมู ิศาสตร์ ได้แก่ 1. การสังเกต 2. การแปลความข้อมลู ทางภมู ิศาสตร์ 3. การใช้ เทคนคิ และเคร่ืองมือทางภูมศิ าสตร์ 4. การคิดเชงิ พ้นื ท่ี 5. การใชเ้ ทคโนโลยี 4.3 คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A) รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซอ่ื สัตย์ สจุ รติ มวี นิ ัย ใฝ่เรยี นรู้ อยู่อย่างพอเพียง มงุ่ ม่นั ในการทางาน รักความเป็นไทย มจี ิตสาธารณะ 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 6. ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 6.1 ทักษะด้านการเรียนรแู้ ละนวัตกรรม คดิ สร้างสรรค์ ใสใ่ จนวตั กรรม มีวิจารณญาณ แก้ปญั หาเปน็ สือ่ สารดี เตม็ ใจร่วมมอื 6.2 ทกั ษะด้านสารสนเทศ ส่อื เทคโนโลยี อัพเดตทุกข้อมูลข่าวสาร รูเ้ ท่าทนั สอื่ รอบร้เู ทคโนโลยสี ารสนเทศ ฉลาดสื่อสาร 6.3 ทกั ษะชวี ิตและอาชีพ มีความยดื หยนุ่ ร้จู ักปรับตวั รเิ ริ่มสิ่งใหม่ ใส่ใจดแู ลตนเอง รจู้ ักเข้าสังคม เรียนรู้วฒั นธรรม มคี วามเปน็ ผ้นู า รบั ผิดชอบหน้าที่ พฒั นาอาชีพ หมั่นหาความรรู้ อบดา้ น 7. แนวทางการบูรณาการ การจดั การเรียนรู้ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรยี นสิ่งแวดล้อม โรงเรียนคุณธรรม โรงเรยี นสุจริต/ตา้ นทจุ ริต
บูรณาการกลมุ่ สาระการเรียนรู้ สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น บรหิ ารจดั การช้ันเรยี นเชงิ บวก 8. การจัดกจิ กรรม /กลยทุ ธ์/วธิ กี าร/รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ ชัว่ โมงท่ี 1 ข้ันนา 1. ครแู จ้งใหน้ ักเรยี นทราบถึงชือ่ เร่ืองทจี่ ะเรยี นรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ และผลการเรยี นรู้ 2. ครูให้นกั เรียนใชส้ มารต์ โฟนสืบคน้ ข่าวท่เี กย่ี วขอ้ งกบั ปญั หาทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม จากนัน้ วิเคราะหป์ ระเดน็ ปัญหาจากข่าวรว่ มกนั เช่น ขา่ วการลกั ลอบตัดไม้ ขา่ วการฆ่าสัตวใ์ นเขตป่าหวงหา้ ม ฯลฯ 3. ครใู หน้ กั เรยี นดภู าพตัวอยา่ ง เชน่ 4. ครูให้นกั เรยี นร่วมกนั แสดงความคดิ เห็นเช่อื มโยงเกีย่ วกับความเกีย่ วข้องของภาพตัวอยา่ งกบั แนวทาง การพฒั นาท่ียง่ั ยืน ขั้นสอน ขั้นท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ (Engage) 1. ครนู าภาพขา่ วเกีย่ วกับบทบาทในการดแู ลรกั ษาสิ่งแวดลอ้ มของหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วข้องและองคก์ ร ตา่ ง ๆ ท้ังในประเทศและตา่ งประเทศ เช่น การรื้อถอนส่ิงก่อสร้างทร่ี ุกล้าพ้นื ท่ปี ่าเพ่ือการอนุรักษ์ของเจา้ หนา้ ท่ี กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปา่ และพันธุ์พชื การพัฒนาแนวทางการอยู่รว่ มกันระหวา่ งป่าอนรุ กั ษก์ ับชาวบ้านใน ชุมชนบรเิ วณผืนป่าภาคตะวนั ตกของมลู นธิ สิ ืบนาคะเสถยี ร และการลงนามในพธิ ีสารเกียวโต (Kyoto Protocol) ของประเทศตา่ ง ๆ เพือ่ รว่ มกันลดการปลอ่ ยแก๊สเรือนกระจกขน้ึ สู่บรรยากาศ จากนน้ั ให้นักเรียนบอกหนว่ ยงาน และองคก์ รทางส่งิ แวดลอ้ มและกิจกรรมของหน่วยงานน้นั ๆ ท่นี ักเรียนทราบ 2. ครูให้นักเรียนดูแผนผังแสดงแนวทางการผลิตและการบริโภคอย่างยั่งยืน จากหนังสือเรียน ภูมิศาสตร์ ม.4-6 จากน้ันสอบถามถึงพฤติกรรมประจาวันของนักเรียนและบุคคลใกล้ชิดกับแนวทางตามแผนผัง ดังกลา่ ว ข้ันท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore) 1. ครใู หน้ กั เรียนแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ 3 คน คละความสามารถ คอื เก่ง ปานกลาง ออ่ น โดยใหน้ กั เรียน ในแต่ละกลุ่มมีหมายเลขประจาตัว คือ หมายเลข 1 2 3 เรียกวา่ กลุ่มแม่บ้าน โดยครูอธิบายเพ่ิมเติมถึงหลักการ ทางานตามวถิ ีประชาธิปไตย มกี ารรบั ฟังความคิดเหน็ รวมถงึ ชว่ ยเหลอื ซึ่งกันและกนั อยา่ งมีเหตผุ ล 2. นักเรยี นกลุ่มแมบ่ า้ นแยกย้ายไปรวมกนั ตามหมายเลขเดียวกัน เรียกวา่ กล่มุ ผเู้ ช่ยี วชาญ
3. สมาชิกในกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ ร่วมกันสืบค้นความรู้ เร่ือง มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จากหนังสือเรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 หรือจากแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ เช่น หนงั สอื ในหอ้ งสมดุ เวบ็ ไซตใ์ นอินเทอรเ์ นต็ ตามประเดน็ ตอ่ ไปน้ี 1) หมายเลข 1 เร่ือง มาตรการป้องกนั และแก้ไขปัญหาทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม 2) หมายเลข 2 เรอ่ื ง กฎหมายและนโยบายดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ มของไทย 3) หมายเลข 3 เรือ่ ง บทบาทขององค์กรและการประสานความรว่ มมือในประเทศและ ต่างประเทศ ชว่ั โมงที่ 2 ขัน้ ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explain) 1. สมาชิกในกลมุ่ ผเู้ ชีย่ วชาญแตล่ ะหมายเลขทาการรวบรวมและอภิปรายขอ้ มลู และกลบั ไปยงั กลมุ่ แม่บา้ นของตนเอง 2. สมาชิกในแต่ละกลุ่มแม่บ้านนาข้อมูลท่ีตนได้จากการสืบค้นมาหลอมรวมเป็นประเด็นสาคัญ จากน้นั อธบิ ายแลกเปลยี่ นความรรู้ ะหว่างกัน โดยเรยี งตามลาดับหมายเลข 3. ตวั แทนในแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานหน้าชัน้ เรยี น 2-3 กลมุ่ แล้วให้กลุ่มอน่ื นาเสนอตอ่ จากนั้นให้ ทุกกลุ่มส่งผลงานต่อครูผู้สอนเพ่ิมเติมในส่วนที่แตกต่างกัน ครูตรวจสอบความถูกต้อง และให้ข้อเสนอแน ะ เพ่ิมเติม ขน้ั ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Expand) 1. ครูต้งั ประเดน็ ให้นักเรียนแต่ละกลมุ่ อภิปรายกลุ่มยอ่ ยเกย่ี วกับนโยบายของหน่วยงานภาครัฐที่ เกี่ยวขอ้ งกับการอนุรักษ์สิ่งแวดลอ้ มของไทย เชน่ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย ในนโยบายและบทบาทหน้าทข่ี องหน่วยงานภาครัฐกบั การอนรุ ักษ์ สง่ิ แวดลอ้ มของไทย กลไกการอนุรกั ษส์ ิง่ แวดล้อมของภาครฐั และทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมที่ อุดมสมบูรณ์ แลว้ ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลุ่มส่งตัวแทนออกมานาเสนอผลการอภิปรายกลุ่มย่อยของตนท่หี น้าชน้ั เรียน โดยครูแนะนาเพิม่ เตมิ 2. ครูตั้งคาถามเก่ียวกับบทบาทหน้าท่ีของหน่วยงานภาครัฐ และการประสานความร่วมมือต่าง ๆ ท้ังในและตา่ งประเทศท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั สิ่งแวดล้อม แลว้ สมุ่ ใหน้ กั เรยี นช่วยกันตอบ เช่น 1) หน่วยงานหลักในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงส่งเสริมและ ดาเนนิ การตามโครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดาริต่าง ๆ คือหนว่ ยงานใด และมขี อบข่ายหน้าทอ่ี ย่างไร (แนวตอบ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นหน่วยงานหลักท่ีมีหน้าท่ีในการ อนุรักษฟ์ นื้ ฟทู รัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มในประเทศ เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการตามศักยภาพใหเ้ กดิ ประโยชน์อย่างย่ังยืน รวมถึงส่งเสริมและดาเนินการตามโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริท่ีเกี่ยวข้องกับ ส่ิงแวดล้อมต่าง ๆ ผ่านทางการจัดทาระเบียบ กฎ และระบบการเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติของประชาชนใน ทุกภาคส่วนบนพ้นื ฐานของการวจิ ัยและพัฒนาเพ่ือนาไปสูก่ ารปฏิบตั ิอย่างจริงจงั ) 2) ฐานะทางกฎหมายขององคก์ รพัฒนาเอกชนดา้ นสงิ่ แวดล้อมเปน็ เชน่ ไร (แนวตอบ องคก์ รพฒั นาเอกชนดา้ นส่ิงแวดลอ้ มในประเทศไทยมที ง้ั สถานะที่เป็นนิติบุคคลตาม กฎหมาย และไม่มีสถานะเป็นนติ บิ ุคคล เนอื่ งจากไมไ่ ดจ้ ดทะเบียนตามกฎหมาย)
3) องค์กรพัฒนาเอกชนด้านสิ่งแวดล้อมมลี กั ษณะการดาเนินงานทส่ี าคัญอย่างไร (แนวตอบ องค์กรพัฒนาเอกชนด้านส่ิงแวดล้อมดาเนินการและจัดกิจกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับ การอนรุ กั ษท์ รัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม โดยไม่ดาเนนิ กิจกรรมทางการเมือง ไม่แสวงหาผลกาไรหรือ ผลประโยชน์ทางธรุ กิจ) 4) โครงการพฒั นาปา่ ชุมชนในประเทศไทยเปน็ การดาเนนิ งานทีส่ อดคล้องกบั อนสุ ัญญาฉบับใด (แนวตอบ อนสุ ญั ญาวา่ ด้วยการคา้ ระหวา่ งประเทศซ่งึ ชนดิ สัตว์ป่าและพชื ป่าทใี่ กลส้ ญู พนั ธ์ุ หรือ อนุสัญญาไซเตส เน่ืองจากโครงการพัฒนาป่าชุมชนของไทยมีวัตถุประสงค์หลักของการดาเนินงานที่สอดคล้อง กับอนุสัญญาไซเตส กล่าวคือ การควบคุมมิให้มีการบุกรุกพ้ืนที่ป่าสงวนเพ่ือลักลอบค้าพืชและสัตว์ป่า โดยการ สร้างจิตสานึกให้แก่ชาวบ้านในชุมชนที่อาศัยป่าในการดารงชีวิต และส่งเสริมให้ชาวบ้านช่วยกันเฝ้าระวังมิให้มี การบุกรกุ พน้ื ท่ปี ่าสงวน) 3. ครูให้นักเรียนทบทวนความรู้ โดยศึกษาสรุปสาระสาคัญหรือใช้ PPT สรุปสาระสาคัญของเน้ือหา ที่ได้ศกึ ษามา 4. ครูให้นกั เรียนรว่ มกันทาใบงานที่ 6.2 เร่ือง มาตรการป้องกันและแก้ไขปญั หาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ขัน้ ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) ครูและนกั เรยี นรว่ มกันตรวจสอบผลจากการตอบคาถาม การทาใบงาน ข้นั ประเมิน 1. ครูประเมินผลโดยสังเกตจากการตอบคาถาม การร่วมกันทางาน และการนาเสนอผลงานหน้าช้ันเรยี น 2. ครตู รวจสอบผลจากการทาใบงาน 9. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้ 1. ใบงานท่ี 6.2 เร่อื ง มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2. เอกสารประกอบการเรียนการเรยี นรู้ ภมู ิศาสตร์ ม.4 – 6 3. เครื่องมอื ทางภูมิศาสตร์ ไดแ้ ก่ แผนที่ ลูกโลกจาลอง รูปถา่ ยทางอากาศ และภาพจากดาวเทยี ม 4. แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ - http://earth.google.co.th - http://maps.google.co.th - http://news.thaipbs.or.th - https://news.mthai.com - https://www.thairath.co.th - http://www.onep.go.th 10. การวดั และประเมินผล ประเด็นการประเมิน เครอื่ งมือ/วธิ ีการประเมิน เกณฑ์การประเมิน พฤติกรรมการเรยี น สังเกตพฤตกิ รรม ระดับดีข้นึ ไป ประเมินผลงานกลุ่ม 3 คะแนนข้ึนไป แบบประเมนิ ผลงานกลุม่
11. บนั ทกึ ผลหลงั การจัดการเรยี นรู้ 11.1 สรปุ ผลการจัดการเรยี นรู้ ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.2 ปญั หา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.3 แนวทางแก้ไข /แนวทางการพัฒนา ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ............................................. ครผู สู้ อน (นางกนกวรรณ ชนะถาวร) ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการพเิ ศษ
ใบงำนท่ี 6.2 เรอื่ ง มาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม คาชี้แจง : ใหน้ ักเรียนสบื ค้นภาพขา่ วที่เก่ยี วข้องกับปญั หาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม จากน้นั วิเคราะห์มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม โดยนาเสนอ ในรูปแบบแผนผังตามความคดิ สรา้ งสรรคข์ องนกั เรยี น ในประเด็นต่อไปนี้ 1) มาตรการป้องกนั และแก้ไขปญั หาทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม 2) กฎหมายและนโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมของไทย 3) บทบาทขององค์กรและการประสานความรว่ มมอื ในประเทศและต่างประเทศ
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 19 เร่อื ง กำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำตแิ ละสิ่งแวดล้อมท่ียง่ั ยืน รายวิชา สงั คมศึกษา รหัสวชิ า ส 31101 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 6 เร่ือง ทรพั ยำกรธรรมชำตแิ ละสิ่งแวดล้อมกบั กำรพัฒนำท่ยี ่ังยืน เวลา 2 ชว่ั โมง 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ดั /ผลการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษยก์ บั ส่ิงแวดล้อมทางกายภาพทก่ี ่อใหเ้ กิดการสรา้ งสรรค์วถิ กี าร ดาเนนิ ชีวติ มีจติ สานกึ และมสี ่วนรว่ มในการจดั การทรัพยากรและสงิ่ แวดลอ้ มเพื่อการพฒั นาทีย่ ั่งยนื ตัวช้ีวัด/ผลการเรยี นรู้ ม.4-6/4 ระบุมาตรการป้องกัน และแก้ไขปญั หากฎหมายและนโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ สิง่ แวดล้อม บทบาทขององค์การที่เกย่ี วข้อง และการประสานความร่วมมือทัง้ ในประเทศและระหวา่ งประเทศ 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ 1. วเิ คราะห์แนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มเพ่ือการพฒั นาท่ียง่ั ยืนได้ (K) 2. เสนอแนวทางการมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมเพ่ือการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื ได้ (K) 3. เลอื กใชเ้ คร่ืองมือทางภูมิศาสตรใ์ นการศึกษาแนวทางการจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ ม เพ่อื การพฒั นาทย่ี งั่ ยนื ได้ (P) 4. เหน็ คณุ ค่าของการมีส่วนร่วมในการจดั การทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มเพ่ือการพฒั นาท่ี ยั่งยืนเพม่ิ มากขึน้ (A) 3. สาระสาคัญ (เนื้อหา) 1. สถานการณ์การเปลยี่ นแปลงดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การเปลย่ี นแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดลอ้ ม ความหลากหลายทางชวี ภาพ และภยั พบิ ัติ 2. สาเหตแุ ละผลกระทบของการเปล่ยี นแปลงดา้ นทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มของประเทศไทย และภมู ิภาคตา่ ง ๆ ของโลก 3. การจดั การภยั พิบตั ิ 4. มาตรการปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อมในประเทศและระหวา่ ง ประเทศตามแนวทางการพฒั นาท่ีย่งั ยนื ความมนั่ คงของมนุษย์ และการบรโิ ภคอยา่ งรับผดิ ชอบ 5. กฎหมายและนโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มทั้งในประเทศและระหวา่ งประเทศ 6. บทบาทขององคก์ าร และการประสานความรว่ มมือทง้ั ในประเทศและระหวา่ งประเทศ 7. แนวทางการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 8. การมีสว่ นรว่ มในการแก้ปัญหา และการดาเนนิ ชวี ิตตามแนวทางการจดั การทรัพยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดล้อมเพ่ือการพฒั นาทย่ี ั่งยืน
4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ความรู้ (K) การจดั การทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มเพ่ือการพัฒนาทีย่ ัง่ ยืน ต้องอาศัยความรว่ มมอื จาก ทุกภาคส่วน และการมสี ว่ นรว่ มของทกุ คนในฐานะสมาชกิ ของพลเมืองโลก 4.2 ทกั ษะ/กระบวนการ(P) (วิธกี ารและขัน้ ตอนทใ่ี ชด้ าเนินการคน้ ควา้ หาความรู้) ใช้ทกั ษะทางภูมิศาสตร์ ไดแ้ ก่ 1. การสงั เกต 2. การแปลความข้อมลู ทางภมู ิศาสตร์ 3. การใช้ เทคนคิ และเครื่องมือทางภูมศิ าสตร์ 4. การคิดเชิงพืน้ ท่ี 5. การใช้เทคโนโลยี 4.3 คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A) รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ ซอ่ื สตั ย์ สจุ ริต มีวินยั ใฝ่เรยี นรู้ อยูอ่ ย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รกั ความเป็นไทย มจี ิตสาธารณะ 5. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน ความสามารถในการสือ่ สาร ความสามารถในการคดิ ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 6. ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 6.1 ทกั ษะด้านการเรียนร้แู ละนวตั กรรม คดิ สรา้ งสรรค์ ใส่ใจนวตั กรรม มวี ิจารณญาณ แก้ปญั หาเปน็ สอื่ สารดี เต็มใจรว่ มมือ 6.2 ทกั ษะด้านสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี อพั เดตทุกข้อมูลข่าวสาร รู้เทา่ ทันสื่อ รอบร้เู ทคโนโลยสี ารสนเทศ ฉลาดส่ือสาร 6.3 ทักษะชวี ิตและอาชีพ มีความยืดหยุ่น ร้จู กั ปรับตวั ริเริม่ ส่งิ ใหม่ ใส่ใจดูแลตนเอง รูจ้ กั เขา้ สงั คม เรียนรวู้ ัฒนธรรม มีความเป็นผนู้ า รับผดิ ชอบหน้าที่ พัฒนาอาชพี หมนั่ หาความรูร้ อบด้าน 7. แนวทางการบรู ณาการ การจดั การเรยี นรู้ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง โรงเรยี นสงิ่ แวดล้อม โรงเรยี นสุจรติ /ตา้ นทจุ รติ โรงเรียนคุณธรรม สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น บรู ณาการกลุ่มสาระการเรยี นรู้ บรหิ ารจัดการชนั้ เรยี นเชิงบวก
8. การจัดกิจกรรม /กลยทุ ธ์/วิธีการ/รูปแบบการจัดการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 ขน้ั นา 1. ครแู จง้ ให้นกั เรียนทราบถึงชอ่ื เรอื่ งที่จะเรียนรู้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ และผลการเรียนรู้ 2. ครสู ุ่มนกั เรียนใหย้ กตวั อยา่ งการจัดการทรัพยากรและส่งิ แวดลอ้ มของประเทศไทยท่ีมีแนวโน้มหรือได้รบั ผลสาเรจ็ ตามเป้าหมาย ขน้ั สอน ขัน้ ท่ี 1 การตั้งคาถามเชิงภูมิศาสตร์ 1. ครูนาภาพ หรือคลิปวิดีโอที่เกี่ยวข้องกับการกระทาหรือกิจกรรมที่แสดงถึงความร่วมมือในการ จัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม เชน่ - โครงการขยายพนั ธพ์ุ ชื และพันธสุ์ ตั ว์ - การเพาะเลี้ยงสตั วน์ า้ - การใชพ้ ลังงานลม - การนากระดาษมาใชใ้ หม่ - การทาเกษตรอนิ ทรยี ์ 2. ครูใหน้ ักเรยี นรว่ มกันอภปิ รายเพิม่ เติมจากภาพหรือคลิปวิดโี อดังกล่าวเกยี่ วกบั การจัดการ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม 3. ครูกระตนุ้ ให้นกั เรยี นชว่ ยกนั ต้งั ประเด็นคาถามเชิงภมู ิศาสตร์ เช่น 1) หลักการสาคัญในการจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อมมีอะไรบ้าง 2) แนวทางในการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเพ่ือการพฒั นาอย่างยั่งยืนมีอะไรบา้ ง 3) ประเทศใดบ้างท่ีมีวิธีการจัดการการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เป็น แบบอย่างที่ดี ขัน้ ที่ 2 การรวบรวมขอ้ มลู 1. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5-7 คน สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาและการดาเนินชีวิตตามแนวทางการ จดั การทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่ยี ง่ั ยืน จากหนงั สอื เรียนภูมิศาสตร์ ม.4-6 หรือจากแหลง่ การเรยี นรอู้ ่นื ๆ เชน่ หนังสือในห้องสมดุ เวบ็ ไซต์ในอนิ เทอรเ์ นต็ 2. นักเรียนแตล่ ะกลุม่ ร่วมกันศึกษาข้อมลู ในหวั ข้อท่รี บั ผดิ ชอบ โดยนาความรเู้ กีย่ วกับเครือ่ งมอื ทาง ภมู ศิ าสตร์มาใช้ประกอบในการศกึ ษาด้วย 3. ครแู นะนาแหลง่ ข้อมูลสารสนเทศท่เี ชอ่ื ถือไดใ้ ห้กบั นกั เรียนเพม่ิ เติม ช่วั โมงที่ 2 ขนั้ ที่ 3 การจัดการขอ้ มลู 1. สมาชกิ แตล่ ะคนในกลมุ่ นาขอ้ มลู ท่ีตนไดจ้ ากการรวบรวม มาอธิบายแลกเปลีย่ นความรู้ระหว่างกนั
2. จากน้ันสมาชกิ ในกลมุ่ ช่วยกันคดั เลือกขอ้ มลู ท่ีนาเสนอเพื่อให้ได้ข้อมูลทถี่ ูกต้อง และรว่ มอภิปราย แสดงความคิดเห็นเพม่ิ เตมิ ขน้ั ที่ 4 การวเิ คราะห์และแปลผลขอ้ มลู 1. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนาข้อมูลท่ีได้ทาการสืบค้นมาเรียบเรียงเป็นบทความในหัวข้อ “การ จดั การทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม” เพ่ือเป็นการทบทวนและวิเคราะห์ความรเู้ พ่ิมเตมิ 2. ครูสุ่มนักเรียนจานวน 2-3 คน เพ่ือยกตัวอย่างการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาและการดาเนินชีวิต ตามแนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่ย่ังยืนในชีวติ ประจาวนั ของนักเรยี นทส่ี ามารถปฏิบัตไิ ด้จริง บรเิ วณ หนา้ ช้นั เรยี น ขน้ั ที่ 5 การสรุปเพ่อื ตอบคาถาม 1. ครใู หน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ นาเสนอขอ้ มูลจากการศึกษา พรอ้ มทง้ั อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ รว่ มกนั เกยี่ วกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมทย่ี ั่งยนื 2. ครูใหส้ มาชิกในแต่ละกล่มุ ช่วยกันสรุปสาระสาคญั เพ่ือตอบคาถามเชงิ ภูมศิ าสตร์ 3. ครใู หน้ ักเรียนรว่ มกันทาใบงานที่ 6.3 เร่ือง การจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมทย่ี ง่ั ยนื 4. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกสมรรถนะฯ ภูมิศาสตร์ ม.4-6 เก่ียวกับการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ มท่ยี งั่ ยืน 5. ให้นกั เรียนทาแบบวัดฯ ภูมศิ าสตร์ ม.4-6 เกี่ยวกับเรอ่ื งทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มกบั การ พฒั นาท่ยี ่งั ยืน เพอื่ ทดสอบความรทู้ ี่ได้ศกึ ษามา โดยจดั ทาเปน็ การบา้ นเพื่อสง่ ครูในชั่วโมงถดั ไป ขั้นสรุป ครูและนกั เรยี นร่วมกันสรุปความรูเ้ กย่ี วกบั ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมกับการพัฒนาท่ยี ัง่ ยืน ตลอดจนความสาคญั ที่มีอิทธิพลตอ่ การดาเนินชวี ิตของประชากรและทรัพยากรต่าง ๆ และใช้ PPT สรุป สาระสาคญั ของเนื้อหา ขั้นประเมนิ 1. ครปู ระเมินผลโดยสงั เกตจากการตอบคาถาม การร่วมกนั ทางาน และการนาเสนอผลงานหนา้ ชั้นเรยี น 2. ครูตรวจสอบผลจากการทาใบงาน 3. ครใู หน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยการเรียนร้ทู ่ี 6 เร่ือง ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม กบั การพัฒนาทีย่ ่งั ยนื 9. สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้ 1. ใบงานที่ 6.3 เร่อื ง การจดั การทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมทย่ี ัง่ ยนื 2. เอกสารประกอบการเรียนการเรียนรู้ ภูมศิ าสตร์ ม.4 – 6 3. เครอื่ งมอื ทางภูมิศาสตร์ ไดแ้ ก่ แผนที่ ลูกโลกจาลอง รูปถ่ายทางอากาศ และภาพจากดาวเทียม 4. แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ - http://earth.google.co.th - http://maps.google.co.th - http://news.thaipbs.or.th
- https://news.mthai.com - https://www.thairath.co.th - http://www.onep.go.th 10. การวัดและประเมินผล ประเดน็ การประเมิน เครื่องมือ/วิธีการประเมิน เกณฑ์การประเมิน พฤติกรรมการเรียน สงั เกตพฤตกิ รรม ระดับดขี น้ึ ไป ประเมินผลงานกลุ่ม ทดสอบหลงั เรยี น แบบประเมนิ ผลงานกลมุ่ 10 คะแนนขึ้นไป แบบทดสอบหลังเรียน รอ้ ยละ 70 ขน้ึ ไป
11. บันทึกผลหลังการจัดการเรยี นรู้ 11.1 สรปุ ผลการจดั การเรยี นรู้ ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.2 ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… 11.3 แนวทางแกไ้ ข /แนวทางการพัฒนา ……………………………………………………………………………………………….……………….………………………………………………………………… ………….……………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ............................................. ครผู สู้ อน (นางกนกวรรณ ชนะถาวร) ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ
ใบงำนที่ 6.3 เรือ่ ง การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มที่ยั่งยนื คาช้แี จง : ใหน้ กั เรยี นอา่ นสถานการณ์ทีก่ าหนด แล้วตอบคาถามตามบทสนทนาท่กี าหนดให้ เร่อื ง ชมรมรักษ์ธรรมชาติ วันน้ีสมาชกิ ชมรมรักษ์ธรรมชาติของโรงเรียนสามัคคีชุมนุมกลุ่มหน่ึงได้พากันเดินทางสารวจสภาพแวดล้อมในชุมชนทอ่ี ยู่ใกล้กับ โรงเรียน สมาชกิ ในชมุ ชนนี้ประกอบอาชพี เกษตรกรรมและหาของป่า ณัฐ กิจ ฝน และส้ม ซ่ึงเป็นกรรมการของชมรมได้ติดต่อลุงเมฆซ่ึงเป็นปราชญ์ชาวบ้าน เป็นผู้ท่ีชาวบ้านนับถือ และมีความรู้ เก่ียวกับทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างดี ให้เป็นผู้นาชมแหล่งเรียนรู้ซ่ึงเป็นสถานที่ทดลองคุณภาพของดิน น้า และวนอุทยาน ของชาติ ในระหวา่ งการเดินทางลุงเมฆได้เล่าใหส้ มาชิกชมรมฟังว่า ปัจจุบันทรัพยากรธรรมชาตไิ ด้ลดปริมาณลงเป็นอย่างมาก บางส่วนก็ อยูใ่ นสภาพทรดุ โทรมไมส่ ามารถนามาใชป้ ระโยชน์ได้ จึงควรมกี ารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มอยา่ งเหมาะสม ณัฐ : คณุ ลงุ ครบั ผมคิดว่าประชากรเป็นปัจจยั สาคญั ทที่ าให้ทรพั ยากรธรรมชาตเิ สอื่ มโทรมลงครับ ลงุ เมฆ : กจิ : เราควรจะแก้ไขปัญหาท่ีเกิดจากประชากรได้อย่างไรครับ ลงุ เมฆ : ฝน : เราควรมวี ิธกี ารเพิม่ ทรัพยากรและหาสิ่งทดแทนได้อย่างไรบ้างคะ ลุงเมฆ : สม้ : ทรพั ยากรทใ่ี ช้ทดแทนกนั ได้มีอะไรบ้างคะ ลงุ เมฆ : กจิ : การนาทรัพยากรที่ใชแ้ ล้วมาปรบั ปรงุ เปลี่ยนแปลง ก็จัดว่า เปน็ หลกั สาคัญในการจดั การทรัพยา กรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ มประการหนึง่ ใช่ไหมครบั ลุงเมฆ : ใชแ่ ล้ว ณฐั : แล้ววธิ ีการในการใช้ทรพั ยากรที่ให้เกดิ ประโยชนไ์ ด้มากทสี่ ุด ได้แก่อะไรบา้ งครบั ลุงเมฆ : สม้ : กฎหมายหรอื วธิ ีการทจ่ี ะทาให้การอนรุ ักษท์ รัพยากรและสิ่งแวดล้อมได้อย่างย่งั ยนื มีอะไรบ้าง คะ ลุงเมฆ :
ภำคผนวก
แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน คาชีแ้ จง : ให้ผู้สอนประเมินผลการนาเสนอผลงานของนักเรียนตามรายการ แลว้ ขีด ลงในชอ่ งท่ี ตรงกับระดบั คะแนน ลาดับที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 1 32 1 ความถูกตอ้ งของเนือ้ หา 2 การลาดบั ขัน้ ตอนของเร่ือง 3 วิธกี ารนาเสนอผลงานอย่างสร้างสรรค์ 4 การใช้เทคโนโลยใี นการนาเสนอ 5 การมีสว่ นรว่ มของสมาชิกในกลมุ่ รวม ลงชือ่ ...................................................ผู้ประเมิน ............/................./................ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน ผลงานหรือพฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ สมบรู ณช์ ดั เจน ให้ 2 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินเปน็ สว่ นใหญ่ ให้ 1 คะแนน ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกับรายการประเมินบางส่วน เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 12-15 ดี 8-11 พอใช้ ต่ากวา่ 8 ปรบั ปรงุ
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล คาชแ้ี จง : ให้ผสู้ อนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในชอ่ งที่ ตรงกับระดับคะแนน ลาดับที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 321 1 การแสดงความคิดเหน็ 2 การยอมรับฟังความคดิ เห็นของผอู้ นื่ 3 การทางานตามหน้าท่ีทีไ่ ด้รบั มอบหมาย 4 ความมนี ้าใจ 5 การตรงต่อเวลา รวม ลงชื่อ...................................................ผ้ปู ระเมิน ............../.................../............. เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครัง้ ให้ 1 คะแนน ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบางครงั้ เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 12-15 ดี 8-11 พอใช้ ตา่ กว่า 8 ปรับปรงุ
แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ คาชี้แจง : ใหผ้ ้สู อนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ลงในชอ่ งท่ี ตรงกบั ระดบั คะแนน การมี ลาดบั ที่ ชือ่ – สกลุ การแสดง การยอมรบั การทางาน ความมี ส่วนร่วมใน รวม ของนกั เรยี น ความ ฟังคนอ่นื ตามทไ่ี ดร้ ับ นา้ ใจ การ 15 คดิ เห็น มอบหมาย คะแนน ปรับปรงุ ผลงานกลุ่ม 321321321321321 เกณฑก์ ารให้คะแนน ลงชอ่ื ...................................................ผปู้ ระเมิน ปฏบิ ัติหรอื แสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ............../.................../............. ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครง้ั ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครง้ั ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน เกณฑก์ ารตัดสินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 12-15 ดี 8-11 พอใช้ ต่ากว่า 8 ปรับปรุง
แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ คาชแ้ี จง : ให้ผูส้ อนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ลงในชอ่ งท่ี ตรงกับระดับคะแนน คุณลกั ษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน อันพึงประสงค์ด้าน 321 1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และรอ้ งเพลงชาติ กษัตรยิ ์ 1.2 เข้าร่วมกิจกรรมท่สี ร้างความสามัคคี ปรองดอง และเปน็ ประโยชน์ ตอ่ โรงเรียน 1.3 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบตั ิตามหลักศาสนา 1.4 เข้าร่วมกจิ กรรมทเ่ี ก่ียวกบั สถาบันพระมหากษตั ริยต์ ามท่ีโรงเรียนจดั ข้ึน 2. ซอ่ื สตั ย์ สุจริต 2.1 ใหข้ ้อมูลทถ่ี ูกต้องและเป็นจรงิ 2.2 ปฏบิ ัตใิ นสิ่งที่ถกู ต้อง 3. มีวนิ ยั รับผดิ ชอบ 3.1 ปฏิบัตติ ามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ขอ้ บังคับ 3.2 มคี วามตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจาวนั 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 4.1 ร้จู กั ใช้เวลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์ และนาไปปฏิบตั ิได้ 4.2 ศึกษาค้นคว้าความรจู้ ากสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งสมา่ เสมอ 5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง 5.1 ใช้ทรัพยส์ นิ และสง่ิ ของของตนเองและสว่ นรวมอยา่ งประหยัด 5.2 ใชอ้ ปุ กรณ์การเรยี นอยา่ งประหยดั และร้คู ณุ คา่ 5.3 ใชจ้ ่ายอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงนิ 6. มงุ่ มั่นในการทางาน 6.1 มีความตงั้ ใจและพยายามในการทางานที่ได้รบั มอบหมาย 6.2 มคี วามอดทนและไม่ทอ้ แทต้ ่ออุปสรรคเพอ่ื ให้งานสาเรจ็ 7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจติ สานกึ ในการอนรุ กั ษ์วัฒนธรรมและภูมปิ ัญญาไทย 7.2 เหน็ คุณค่าและปฏบิ ัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มจี ิตสาธารณะ 8.1 อาสาทางาน ช่วยคิด ช่วยทากจิ กรรมเพ่อื สว่ นรวม 8.2 เข้ารว่ มกิจกรรม เพื่อสงั คมและสาธารณประโยชน์ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ลงชอ่ื ...................................................ผปู้ ระเมนิ พฤติกรรมทป่ี ฏิบัตชิ ดั เจนและสม่าเสมอ พฤติกรรมท่ปี ฏบิ ตั ชิ ดั เจนและบอ่ ยครง้ั ……............/.................../........... พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครง้ั ให้ 3 คะแนน ให้ 2 คะแนน ให้ 1 คะแนน
แบบทดสอบหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 คาชแ้ี จง : ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. เครอื่ งมือทางภูมศิ าสตร์มคี วามสาคญั อยา่ งไร 9. ปจั จยั สาคัญทท่ี าให้นยิ มใชร้ ปู ถ่ายทางอากาศแนวด่งิ มาจดั ทา ก. ใชเ้ ป็นข้อมลู ในการแก้ปัญหา แผนที่คือข้อใด ข. ช่วยใหม้ นษุ ย์มองเหน็ โลกไดส้ วยงาม ก. ความชดั เจน ข. ความสวยงาม ค. ใชเ้ ปน็ ชอ่ งทางการติดตามธรุ กจิ พ้นื บ้าน ค. มาตราส่วนคงท่ี ง. สีและรปู รา่ งตา่ ง ๆ ง. ใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลในการยดึ ครองมาทาประโยชน์ 10. ความรู้พนื้ ฐานทมี่ ีส่วนช่วยใหม้ นุษยป์ ระดิษฐด์ าวเทียม 2. ขอ้ ใดเป็นเครอื่ งมือสาคญั ในการศึกษาภูมิศาสตรท์ ี่มนษุ ย์ คอื อะไร สรา้ งขนึ้ เพ่อื จาลองสงิ่ ทเี่ กดิ ขนึ้ โดยสร้างบนแผ่นแบนราบ ก. ดาวหางและอุกกาบาต ยอ่ ขนาดใหเ้ ลก็ ลงตามอตั ราสว่ น ข. ดาวบริวารของดาวเคราะห์ ก. ลกู โลก ข. เข็มทศิ ค. เทหวัตถุฟากฟ้าประเภทตา่ ง ๆ ค. แผนที่ ง. ภาพถา่ ยทางอากาศ ง. ดวงจันทร์ของดาวเคราะหแ์ ละดาวฤกษ์ 3. วัตถปุ ระสงค์ของการใชแ้ ผนท่ี คือขอ้ ใด 11. ขอ้ มลู ท่ีใชใ้ นการพยากรณ์อากาศของพนื้ ท่ีหน่งึ ๆ มาจาก ก. ศึกษาฤดูกาล ข. หาตาแหนง่ ท่ีต้งั หลกั การทางานของดาวเทียมในขอ้ ใด ค. ศกึ ษาพื้นทขี่ องโลก ง. เทียบเวลาของโลก ก. ดาวเทียมคงท่ี 4. แผนท่ีเล่ม เกดิ จากการรวบรวมแผนท่ปี ระเภทใด ข. ดาวเทยี มพลังงานธรรมชาติ ก. ลูกโลกและแผนทเ่ี ฉพาะเรือ่ ง ค. ดาวเทียมพลงั งานคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟา้ ข. แผนท่ีภมู ปิ ระเทศกับแผนทีภ่ ูมิอากาศ ง. ดาวเทยี มโคจรรอบโลกในแนวเหนือ-ใต้ ค. แผนท่ีเฉพาะเรือ่ งกับรูปถ่ายทางอากาศ 12. บรเิ วณทเ่ี ส้นขนานละตจิ ดู กบั เสน้ เมริเดยี นตดั กัน โดยจะกาหนด ง. แผนทีเ่ ฉพาะเรอื่ งกับแผนท่ภี ูมิประเทศ เป็นค่าละตจิ ูดและค่าลองจิจดู เรยี กว่าอะไร 5. มุกดาวางแผนการไปทอ่ งเทีย่ วประเทศองั กฤษ มกุ ดาควรใช้ ก. พิกัดภูมิศาสตร์ เครอ่ื งมือทางภูมิศาสตร์ขอ้ ใด ข. ระนาบภมู ิศาสตร์ ก. ภาพจากดาวเทียม ข. เขม็ ทิศ ค. แนวภูมิศาสตร์ ค. แผนท่ี ง. ภาพถา่ ยทางอากาศ ง. เสน้ ทางภมู ิศาสตร์ 6. ขอ้ ใดกาหนดความหมายระยะทางบนแผนที่กับระยะทางจรงิ 13. ขอ้ ใดถูกตอ้ ง บนพนื้ ผวิ โลก ก. เสน้ ลองจิจูด 180 องศา เปน็ แนวแบง่ เขตวัน ก. ทิศ ข. มาตราสว่ น ข. เวลาทางซกี โลกตะวนั ตกเรว็ กว่าซีกโลกตะวันออก ค. สญั ลักษณ์ ง. ขอบระวาง ค. ประเทศไทยใชเ้ วลาทอ้ งถ่นิ 180 องศาตะวนั ออก 7. แผนทีแ่ สดงจุดเสยี่ งภยั แผน่ ดนิ ไหว จดั เป็นแผนที่ประเภทใด ง. ประเทศไทย ลาว เวยี ดนาม เวลาช้ากวา่ กนั 30 นาที ก. แผนท่ีทัว่ ไป 14. ทุกข้อจดั เปน็ เทคโนโลยีทางภมู ศิ าสตร์ ยกเว้นข้อใด ข. แผนทอี่ ้างองิ ก. การสมั ผสั ระยะไกล ค. แผนทเ่ี ฉพาะเร่ือง ข. การจาลองภาพให้ปรากฏ ง. แผนท่ภี ูมปิ ระเทศ ค. ระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ 8. บุคคลในขอ้ ใดเปน็ ผใู้ ชแ้ ผนท่ีไดช้ านาญทส่ี ดุ ง. ระบบกาหนดตาแหนง่ ทางภมู ิศาสตร์ ก. โป้งมีความรูเ้ รือ่ งแผนที่เปน็ อย่างดี 15. เสน้ เมรเิ ดยี นแรก (0 องศา) มคี วามสาคญั อย่างไร ข. กลางรวบรวมแผนทีเ่ ฉพาะเรอื่ งไวอ้ ยา่ งหลากหลาย ก. ใช้แบง่ ซกี โลกเหนือและใต้ ค. นางสอบได้คะแนนสูงสดุ ในเรือ่ งแผนที่ทางภมู ิศาสตร์ ข. ใชเ้ ร่มิ ตน้ การแบง่ เวลาท้องถนิ่ ง. กอ้ ยใช้แผนที่ในการเรยี นและการดาเนนิ ชีวติ ประจาวนั ค. ใช้กาหนดตาแหน่งบนพืน้ โลก ง. ใช้กาหนดเวลามาตรฐานสากล
16. ถ้าธงชัยเดนิ ทางจากเส้นเมรเิ ดียนแรก (0 องศา) ไปทาง 19. ถา้ ตอ้ งการศกึ ษาว่าประเทศไทยมีเมืองโบราณจานวนเทา่ ใด ซา้ ยมือ จะมีเวลาเปลีย่ นแปลงอยา่ งไร และกระจายอยู่ในภาคใดบา้ ง ควรเลอื กเครื่องมอื ประเภทใด ก. เปล่ยี นแปลงโดยจะมเี วลาเรว็ กวา่ ทเ่ี สน้ เมริเดยี นแรก เหมาะสมที่สดุ ข. เปลย่ี นแปลงโดยจะมีเวลาชา้ กว่าที่เส้นเมริเดยี นแรก ก. ภาพจากดาวเทียม ค. ไมเ่ ปลยี่ นแปลงเพราะใชเ้ ขตเวลามาตรฐานเหมือนกนั ข. ภาพถา่ ยทางอากาศ ง. ไมเ่ ปลีย่ นแปลงเพราะใช้เวลามาตรฐานสากลเดยี วกัน ค. แผนทภ่ี มู ิประเทศและการสารวจภาคสนาม 17. ระบบกาหนดตาแหน่งบนพืน้ โลกเกดิ จากกจิ การดา้ นใด ง. แผนทปี่ ระวตั ิศาสตร์และฐานข้อมูลทางโบราณคดี ก. การทหาร 20. ขอ้ ใดเป็นเคร่อื งมอื และเทคโนโลยีทใี่ ช้ประโยชน์ในการ ข. การสารวจทิศทาง เตอื นภัยแผน่ ดินไหว ค. การป้องกันภยั พบิ ัติ ก. บารอมเิ ตอร์ ข. อะนิโมมิเตอร์ ง. การชว่ ยเหลอื ผู้ปรสบภยั ค. ไซสโมกราฟ ง. ไฮโกรกราฟ 18. การหาพืน้ ท่ีเสีย่ งภยั น้าทว่ มในจงั หวัดสมทุ รปราการ ควรใช้ เครือ่ งมือทางภูมศิ าสตรข์ ้อใดท่ีมปี ระสิทธิภาพมากท่ีสดุ ก. Remote Sensing ข. รปู ถ่ายทางอากาศ ค. GIS ง. GPS เฉลย 1. ก. 2. ค. 3. ข. 4. ง. 5. ค. 6. ข. 7. ค. 8. ง. 9. ค. 10. ข. 11. ก. 12. ก. 13. ก. 14. ข. 15. ง. 16. ค. 17. ก. 18. ก. 19. ก. 20. ค.
แบบทดสอบหนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 คาชแี้ จง : ใหน้ กั เรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว 1. ขอ้ ใดเปน็ สว่ นของเปลอื กโลกทีเ่ รียกว่า ธรณีภาค 8. การเคล่อื นที่ของลมมีทิศทางเป็นอยา่ งไร ก. ช้นั เปลอื กโลกเพยี งอย่างเดยี ว ก. จากหย่อมความกดอากาศสงู ไปสหู่ ย่อมความกดอากาศตา่ ข. ช้นั เนือ้ โลกส่วนกลางกบั ชั้นแกน่ โลก ข. จากหยอ่ มความกดอากาศต่าไปสหู่ ยอ่ มความกดอากาศสงู ค. ช้ันเนื้อโลกสว่ นบนกบั ช้ันเปลอื กโลก ค. จากหยอ่ มความกดอากาศสูงไปสหู่ ยอ่ มความกดอากาศสงู ง. ช้นั เปลือกโลกท้งั หมดกับชนั้ ในเนือ้ โลก ง. จากหย่อมความกดอากาศตา่ ไปสูห่ ย่อมความกดอากาศต่า 2. การเลือ่ นของทวีปที่เรียกว่า แผน่ ดินพนั เจยี มีลักษณะอย่างไร 9. ช้ันโอโซนมปี ระโยชนต์ ่อโลกอย่างไร ก. พ้นื ผิวทีเ่ ป็นทะเล ก. ช่วยให้อากาศสดชื่น ข. ทวีปทีแ่ ยกกันเป็น 2 ทวีป ข. ชว่ ยดูดกลนื รงั สอี ลั ตราไวโอเลต ค. แผน่ ดินทจ่ี มอย่ใู ตม้ หาสมทุ ร ค. ชว่ ยลดปริมาณสารพิษในอากาศ ง. เปลือกโลกท่เี ชอ่ื มต่อกันเปน็ ทวีปเดยี ว ง. ชว่ ยเพิ่มปรมิ าณออกซเิ จนในอากาศ 3. เทอื กเขาหิมาลยั เกดิ จากปรากฏการณ์ทางธรณภี าคแบบใด 10. ขอ้ ใดเป็นลกั ษณะการเกิดปรากฏการณเ์ อลนโี ญ ก. การชนกันของแผน่ เปลอื กโลก ก. น้าในมหาสมทุ รแปซิฟกิ ดา้ นตะวันตกมอี ณุ หภมู คิ งท่ี ข. การแยกกนั ของแผน่ เปลือกโลก ข. น้าในมหาสมุทรแปซฟิ กิ ดา้ นตะวันตกมีอณุ หภมู สิ งู ขึ้น ค. การเฉือนกนั ของแผ่นเปลือกโลก ค. นา้ ในมหาสมุทรแปซฟิ ิกดา้ นตะวันออกมอี ณุ หภมู สิ งู ขึ้น ง. การคดโค้งโก่งงอของแผ่นเปลือกโลก ง. น้าในมหาสมุทรแปซิฟกิ ดา้ นตะวนั ออกมอี ณุ หภมู ิลดลง 4. ขอ้ ใดสาคญั เป็นอนั ดับแรกในการบ่งบอกถงึ การเป็นบริเวณ 11. ปัจจยั ในข้อใดที่สาคัญทส่ี ดุ ในการเกดิ วฏั จักรของน้า วงแหวนแหง่ ไฟ ก. ลม ข. ป่าไม้ ก. มีแนวรอยตอ่ ของแผน่ ธรณีภาคหลายแผน่ ค. สิ่งมีชีวิต ง. ความร้อน ข. มีการเคลื่อนทข่ี องแผ่นธรณีภาคตลอดเวลา 12. หากใชแ้ หลง่ น้าจืดขอ้ ใดในปรมิ าณมาก จะมผี ลต่อการทรดุ ตัว ค. มีภูเขาไฟระเบดิ มากทสี่ ดุ ในโลก ทง้ั ในแผน่ ดนิ และ หรอื ยบุ ตวั ของแผน่ ดนิ ใตม้ หาสมทุ ร ก. น้าในดนิ ง. มีแผ่นดนิ ไหวรนุ แรงมากทส่ี ดุ ในโลกถึงร้อยละ 80 ของการ ข. น้าผิวดิน เกิดแผน่ ดนิ ไหวในโลก ค. นา้ บาดาล 5. กระแสนา้ ลม ธารน้าแขง็ แรงโนม้ ถว่ งของโลก เรียก ง. น้าในอา่ งเกบ็ น้า กระบวนการนว้ี ่าอะไร 13. เพราะเหตใุ ด การสรา้ งเขอ่ื นกนั้ แม่น้าโขงของประเทศจนี ก. การกร่อน ข. การพดั พา จงึ ส่งผลกระทบต่อระบบนเิ วศของแม่นา้ โขงตอนลา่ ง ค. การตกตะกอน ง. การผุพงั อยู่กับที่ ก. ทาใหน้ า้ ต้ืนเขนิ 6. บรรยากาศช้ันใดของโลกท่ีเกดิ เมฆพายฝุ นฟา้ คะนอง ข. ทาให้มสี ารพิษในน้า ก. เมโซสเฟียร์ ข. โทรโฟสเฟียร์ ค. ทาใหต้ ล่งิ กน้ั น้าพงั ทลาย ค. เทอร์โมสเฟยี ร์ ง. สแตรโทสเฟียร์ ง. ทาให้การข้นึ ลงของน้าผดิ ปกติ 7. เพราะเหตใุ ด อณุ หภมู บิ นยอดเขาจงึ เยน็ กว่าอุณหภมู ขิ อง 14. ข้อใดเป็นสาเหตุท่ที าใหล้ ักษณะทางกายภาพของท้องทะเล อากาศบริเวณเชิงเขา เมอื งดูไบ มีการเปลยี่ นแปลงไปจากเดิม ก. บนยอดเขามีลมพัดแรงกวา่ เชงิ เขา ก. การทิ้งของเสยี จากครวั เรอื น ข. บนยอดเขามตี ้นไม้มากลมจึงพดั ไดแ้ รง ข. การขยายพน้ื ทีด่ ้วยการถมทะเล ค. บนยอดเขามคี วามกดอากาศนอ้ ยกว่าเชิงเขา ค. การจับสตั วน์ า้ และเก็บปะการงั มากเกนิ ไป ง. บนยอดเขามีความกดอากาศมากกวา่ เชงิ เขา ง. การรว่ั ไหลของน้ามันเชื้อเพลงิ จากเรอื ประมง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161