Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานเขียนประเภทกวีนิพนธ์

งานเขียนประเภทกวีนิพนธ์

Published by ชนากานต์ มิ้นท์, 2021-10-07 16:42:13

Description: งานเขียนประเภทกวีนิพนธ์

Search

Read the Text Version

งานเขียนประเภทกวนี ิพนธ์ จดั ทาํ โดย นางสาวชนาการต์ สร้างกานนอก รหสั นกั ศึกษา ๖๓๔๑๐๑๐๐๙ นางสาวญาดา นางสาวธนภทั ร เห้ียมหาญ รหสั นกั ศึกษา ๖๓๔๑๐๑๐๑๑ นางสาววมิ ลภา นางสาวสุทตั ตา ทรงพลนภจร รหสั นกั ศึกษา ๖๓๔๑๐๑๐๑๒ ชารินทร์ รหสั นกั ศึกษา ๖๓๔๑๐๑๐๒๑ สีเกตุ รหสั นกั ศึกษา ๖๓๔๑๐๑๐๒๔ ค.บ. ๑ ภาษาไทย เสนอ อาจารยศ์ ิริพร งามขจิต รายงานเลม่ น้ีเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษารายวิชา TH ๖๒๗๐๒ การอา่ นคิดพฒั นาชีวติ ภาคเรียนท่ี ๒ ปี การศึกษา ๒๕๖๓ มหาวิทยาลยั ราชภฏั หมูบ่ า้ นจอมบึง

คาํ นํา รายงานเล่มน้ีจดั ทาํ ข้ึนเพื่อเป็นส่วนหน่ึงของวิชา วชิ า TH๖๒๗๐๒ (การอ่านคิดพฒั นาชีวิต) เพอ่ื ให้ ไดศ้ ึกษาหาความรู้งานเขียนประเภทกวีนิพนธ์ โดยไดศ้ ึกษาผ่านแหล่งความรู้ต่างๆ อาทิเช่น หนงั สือ และ หอ้ งสมุด โดยรายงานเล่มน้ีมีเน้ือหาเก่ียวกบั ความหมายของกวีนิพนธ์ ประเภทของกวีนิพนธ์ องคป์ ระกอบ ของกวีนิพนธ์ และแนวทางการอ่านกวีนิพนธ์ ผจู้ ดั ทาํ คาดหวงั เป็นอยา่ งยง่ิ วา่ รายงานฉบบั น้ีจะมีขอ้ มูลที่เป็นประโยชน์ต่อผูท้ ่ีสนใจศึกษางานเขียน ประเภทกวนี ิพนธ์เป็นอยา่ งดี คณะผจู้ ดั ทาํ ๑๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๔

สารบัญ เร่ือง หน้า ความหมายของกวีนิพนธ์ ๑ ประเภทของกวนี ิพนธ์ ๑ องคป์ ระกอบท่ีใชใ้ นบทกวนี ิพนธ์ ๕ กลวิธีแห่งกวีนิพนธ์ ๑๓ ความรู้เบ้ืองตน้ ในการอา่ นร้อยกรอง ๑๓ แนวทางการอ่านร้อยกรอง ๑๙ บรรณานุกรม ๒๘

๑ ความหมายของกวนี ิพนธ์ ยวุ พาส์ (ประทีปปะเสน) ชยั ศิลป์ วฒั นา กล่าววา่ กวีนิพนธ์ คือ บทประพนั ธ์ที่แต่งเป็นร้อยกรอง ตาม ประวตั ิความเป็ นมากวีนิพนธ์เป็ นวรรณคดีประเภทแรกสุดท่ีเกิดก่อนวรรณคดีประเภทอื่น ๆ บทกวีนิพนธ์ เป็ นคาํ ประพนั ธ์ร้อยกรองท่ีมีความไพเราะในเร่ืองของการใช้ภาษา มีลกั ษณะแบบแผน รูปแบบ และ กฎเกณฑบ์ งั คบั ในการแต่งเฉพาะเจาะจงลงไปอีกท้งั มีการใชจ้ งั หวะและสัมผสั ท่ีคลอ้ งจองอีกดว้ ยโดยรวม แลว้ กวีนิพนธ์จะตอ้ งมีความงามอนั เกิดจากการเลือกสรรการใชภ้ าษาของกวี และการเสนอเน้ือหาสาระ จะตอ้ งก่อใหเ้ กิดอารมณ์ ความรู้สึก และจินตนาการควบคู่กนั ไป ศิวากานท์ ปทุมสูติ กล่าววา่ กวีนิพนธ์ คือ งานเขียนประเภทร้อยกรองท่ีถึงข้นั เรียกไดว้ า่ แต่งดีและมี คุณค่า งดงามดว้ ยแง่มุมเน้ือหาและความคิดท่ีนาํ เสนอ คมคายดว้ ยถอ้ ยคาํ สํานวนอนั ประณีตบรรจงลงตวั แปลกใหม่ในกลวิธีทางรูปแบบและการนาํ เสนอ สามารถส่งสารซ่ึงเป็นองคร์ วมของเน้ืองานให้กระทบจิต วญิ ญาณของผอู้ ่านอยา่ งมีพลงั ก่อใหเ้ กิดมโนรสและมโนคติสร้างสรรค์ ประเภทของร้อยกรอง ศิวากานท์ ปทมุ สูติ กล่าววา่ ร้อยกรอง คืองานเขียนที่มีลกั ษณะบงั คบั ในการแต่ง เรียกวา่ “ฉนั ท ลกั ษณ์” และยงั มีลกั ษณะบงั คบั เฉพาะของร้อยกรองแต่ละชนิดแตกต่างกนั ๑.กลอน มีอยหู่ ลายชนิด เช่น กลอนหก กลอนแปด (เรียกกลอนสุภาพ และ กลอนตลาดกม็ ี) กลอนเสภา กลอนเพลงยาว กลอนนิราศ กลอนบทละคร กลอนดอกสร้อย กลอนสกั วา และกลอนเพลงต่าง ๆ ลกั ษณะ เด่นที่เป็นขอ้ บงั คบั ของกลอนนอกจากจาํ นวนคาํ ตามแต่ละชนิดแลว้ ยงั กาํ หนดบงั คบั “เสียงคาํ ทา้ ยวรรค” ดงั น้ี คาํ ทา้ ยวรรคแรก (วรรคสดบั ) ใชไ้ ดท้ ุกเสียง คาํ ทา้ ยวรรคสอง (วรรครับ) ใชเ้ สียงเอก, โท, จตั วา คาํ ทา้ ยวรรคสาม (วรรครอง) ใชเ้ สียงสามญั , ตรี คาํ ทา้ ยวรรคสี่ (วรรคส่ง) ใชเ้ สียงสามญั , ตรี

๒ ตวั อยา่ งกลอนแปด  รักที่มีแต่ใหโ้ ดยไม่ขอ รักจะก่อประโยชนอ์ นั ยง่ิ ใหญ่ ยง่ิ ใหเ้ ขาเราจะสบายใจ ใครไม่เคยใหใ้ ครลองใหด้ ู (สร้อยสนั ติภาพ. ศิวกานท์ ปทุมสูติ. พิมพค์ ร้ังท่ีส่ี ๒๕๔๘. น๓) ๒.กาพย์ แบบฉบบั แต่เดิมมามีไม่มาก เช่น กาพยย์ านี กาพยฉ์ บงั กาพยส์ ุรางคนาง และกาพยธ์ นญั ชยางค์ แต่ ต่อมาไดเ้ กิดกาพยอ์ ยา่ งใหม่ ๆ ข้ึนตามฉนั ทะประดิษฐค์ ิดเขียนของกวรี ่วมสมยั กาพยไ์ ม่มีบงั คบั เสียงทา้ ยวรรคอยา่ งกลอน มีแต่กาํ หนดจาํ นวนคาํ และคาํ สมั ผสั ตามแต่ละชนิดของ กาพย์ ตวั อยา่ งกาพยย์ านี ๑๑  พิศตีนกต็ ีนแตก บนรอยแยกระแหงยา่ํ หนงั ตีนถูกท่ิมตาํ จนหนาเตอะดงั เน้ือตาย พศิ มือกม็ ืองาน คือมือกร้านใช่กรีดกราย จอบเสียมสากระคาย ลบลายเส้นวาสนา... (บนั ทึกแห่งดวงหทยั . ศิวกานท์ ปทุมสูติ. พมิ พค์ ร้ังท่ีสี่ ๒๕๔๙. น.๒๔-๒๕) ๓.โคลง เช่น โคลงส่ีสุภาพ โคลงสามสุภาพ โคลงสองสุภาพ โคลงกระทู้ โคลงด้นั และโครงกลบทต่าง ๆ ลกั ษณะบงั คบั สาํ คญั ของโคลงไดแ้ ก่ “คาํ เอก” และ “คาํ โท” ดงั ตาํ แหน่งคาํ ในแผนภูมิโคลงสี่สุภาพต่อไปน้ี ๐ ๐ ๐ เอก โท ๐ ๐ (๐ ๐) ๐ เอก ๐ ๐ ๐ เอก โท ๐ ๐ เอก ๐ ๐ ๐ เอก (๐ ๐) ๐ เอก ๐ ๐ ๐ โท เอก โท ๐ ๐

๓ ในที่บงั คบั “คาํ เอก” น้นั มีขอ้ อนุโลมที่เรียกวา่ “กวยี านุโลม” ใหใ้ ช้ “คาํ ตาย” แทนได้ สาํ หรับคาํ เอก และคาํ โทในวรรคแรกของโคลงส่ีสุภาพน้นั อนุโลมใหใ้ ชส้ ลบั ท่ีกนั ไดด้ ว้ ย ตวั อยา่ งโคลงสี่สุภาพ  ต่ืนก่อนการเวกแกว้ หากิน จุดประทีปหทยั กวิน สวา่ งไว้ นงั่ เขียนกวรี ิน รักร่ํา รักเอย คาํ ทิพยห์ ยบิ ยาไส้ มนุษยซ์ อ้ งเสพสม (สร้อยสนั ติภาพ. ศิวกานท์ ปทุมสูติ. พิมพค์ ร้ังท่ีส่ี ๒๕๔๘. น.(๑๐)) ๔.ฉันท์ เป็นร้อยกรองที่มีมากชนิดท่ีสุด ที่รู้จกั กนั โดยแพร่หลาย เช่น อิทรวิเชียรฉนั ท์ วสนั ตดิลกฉนั ท์ ภุชงคประยาตฉนั ท์ วิชชุมมาลาฉนั ท์ สทั ทุลวิกกีฬิตฉนั ท์ มาณวกฉนั ท์ เป็นตน้ ลกั ษณะบงั คบั สาํ คญั ของ ฉนั ทไ์ ดแ้ ก่การกาํ หนดบงั คบั คาํ “ครุ” (หนกั ) และ “คาํ ลหุ” (เบา) ดงั ตาํ แหน่งคาํ ครุ-ลหุ ในแผนภูมิอินทรวิเชียรฉนั ทต์ ่อไปน้ี ครุ ครุ ลหุ ครุ ครุ ลหุ ลหุ ครุ ลหุ ครุ ครุ ครุ ครุ ลหุ ครุ ครุ ลหุ ลหุ ครุ ลหุ ครุ ครุ ตวั อยา่ งอินทรวเิ ชียรฉนั ท์ ๑๑  บงน้าํ กน็ ้าํ เน่า ดุจเคลา้ คละคูถครัน ขนุ่ พษิ และภยั อนั บริโภคอทุ กกลืน ปลาปูกด็ ูเปล้ีย ชลเสียสิตายดื่น หว้ งธารละหานหืน สวะหอ้ มมิขาดขาย (หน่ึงทรายมณี. ศิวกานท์ ปทุมสูติ. พิมพค์ ร้ังที่ส่ี ๒๕๔๙. น.๓๖) ๕.ร้อยกรองอ่ืน ๆ นอกจากลกั ษณะบงั คบั (ฉนั ทลกั ษณ์) ตามแต่ละชนิดของร้อยกรองที่กล่าวโดยสงั เขปแลว้ ยงั มีงานเขยี นประเภทร้อยกรองชนิดอ่ืน ๆ ที่มีขอ้ บงั คบั แตกต่างกนั อีกหลายชนิด เช่น ร่าย ลิลิต กาพยเ์ ห่เรือ กาพยห์ ่อโคลง บทเห่ บทกลอ่ ม เป็นตน้

๔ ๖.กลอนเปล่า หรือบางท่ีเรียกวา่ “ลาํ นาํ ” เป็นลกั ษณะงานร้อยกรองที่เกิดใหม่ในวงวรรณกรรมไทย ประมาณ ไดว้ า่ เกิดหลงั การเปล่ียนการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ มีลกั ษณะพิเศษกวา่ ร้อยกรองชนิดอื่น ๆ ที่กลา่ วมาแลว้ ขา้ งตน้ กล่าวคือไม่มีขอ้ กาํ หนดบงั คบั ในเร่ืองจาํ นวนคาํ ในแต่ละวรรค ไม่บงั คบั เสียงของคาํ ทา้ ยวรรค ไม่ บงั คบั คาํ เอก-โท ไม่บงั คบั คาํ ครุ-ลหุ ไม่บงั คบั ปริมาณส้นั -ยาวของบทหรือตอน นน่ั คือไม่มีแบบแผนบงั คบั อยา่ งร้อยกรองที่มีมาแต่เดิม แต่ที่ยงั จดั เขา้ ไวใ้ นประเภทของร้อยกรองกเ็ พราะวา่ การเขียนกลอนเปลา่ มี ท่วงทาํ นองในการแต่งและการนาํ เสนอ ตลอดจนกลวิธีทางภาษาเช่นเดียวกบั งานเขียนร้อยกรองอื่น ๆ ศรีอินทรายทุ ธ (ศิลปาการแห่งกาพยก์ ลอน. ๒๕๑๘ : ๓๘-๓๘) ไดก้ ล่าวไวว้ า่ “...แทจ้ ริงกลอนเปล่า กค็ ือ แบบวิธีการเขียนกาพยก์ ลอนอยา่ งใหม่ ซ่ึงไม่เอ้ืออาลยั ต่อกฎขอ้ บงั คบั ที่คอ่ นขา้ งจุกจิกของแบบวิธีต่าง ๆ แต่ขณะเดียวกนั กม็ ิไดห้ มายถึงการละทิ้งสมั ผสั หรือลกั ษณะอ่ืน ๆ อยา่ งหน่ึงอยา่ งใดโดยสิ้นเชิง กลอน เปล่าที่วา่ ไม่อาลยั ต่อสมั ผสั กย็ งั มีสมั ผสั ในบางแห่ง เพยี งแต่วา่ ผแู้ ต่งไดจ้ ดั ระบบเสียใหม่ไม่ถือกฎการวาง สมั ผสั แบบเก่าเท่าน้นั ...” ตวั อยา่ งกลอนเปล่า หนังสือเล่มน้ัน  หนงั สือเล่มน้นั วนั วานอ่านแลว้ หนงั สือเลม่ น้นั วนั น้ีอ่านอีก หนงั สือเล่มน้นั วนั พรุ่งน้ีตอ้ งอา่ นใหม่ หนงั สือเลม่ น้นั อ่านไม่รู้จบ (กระจกสีขาว. ศิวกานต์ ปทุมสูติ. ๒๕๓๖. น.๘๙)

๕ องค์ประกอบท่ีใช้ในบทกวนี ิพนธ์ ยวุ พาส์ (ประทีปปะเสน) ชยั ศิลป์ วฒั นา กลา่ ววา่ ในการท่ีจะทาํ ใหบ้ ทกวีนิพนธ์มีความงาม ผรู้ ้อยกรองตอ้ งรู้จกั ที่จะเลือกใชอ้ งคป์ ระกอบและเทคนิคต่าง ๆ ใหไ้ ปพร้อมกบั ความคิดที่ตอ้ งการเสนอ ๑. ความหมายโดยตรง และความหมายโดยนยั ๒. ภาพลกั ษณ์ และกระบวนจินตภาพ ๓. ภาษาภาพพจน์ ๔. น้าํ เสียง ๕. เสียง และความหมาย การศึกษาและทาํ ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบแต่ละประเภทเหล่าน้ีจะทาํ ให้ผูอ้ ่านเข้าถึง อรรถรสของบทกวีนิพนธ์ไดอ้ ยา่ งชดั เจนและลุ่มลึกยงิ่ ข้ึน ๑.ความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัย ความหมายโดยตรง คือ ความหมายตรงของคาํ ท่ีนิยามไวใ้ นพจนานุกรม คาํ ทุกคาํ ในภาษาจะตอ้ งสื่อ ความหมายไม่อย่างใดก็อย่างหน่ึงคาํ คาํ หน่ึงอาจมีความหมายตรงของคาํ เพียงความหมายเดียว เช่น rice แปลว่า ขา้ ว mile เป็ นหน่วยเรียกระยะทาง หรือหลายความหมายก็ได้ เช่น field อาจหมายถึง ทุ่งนา สนาม กีฬา สนามรบ อาณาเขต และสายอาชีพ หรือ red อาจหมายถึง สีแดง ละอายใจ หรือ คอมมิวนิสต์ เป็นตน้ ไม่ ว่าคาํ แต่ละคาํ จะมีความหมายตรงเพียงหน่ึงหรือมากกว่าน้ันความหมายของคาํ ที่ปรากฏในนิยามของ พจนานุกรมจดั เป็นความหมายโดยตรงท้งั สิ้น ความหมายโดยนัย คือความหมายแฝงของคาํ ความหมายแฝงมีที่มาจากวฒั นธรรม ประเพณี ความ เป็นอยขู่ องแต่ละชาติแต่ละภาษา เช่น คาํ วา่ house และ home ท้งั สองคาํ มีความหมายตรง คือ บา้ น ที่อยอู่ าศยั แต่ home มีความหมายแฝงบ่งบอกถึงครอบครัว ความรัก ความอบอุ่น และความปลอดภยั ในขณะที่คาํ ว่า house ไม่มีความหมายแฝงน้ี คาํ วา่ horse กบั steed ท้งั สองคาํ น้นั มีความหมายตรง เช่นเดียวกนั คือ มา้ และท้งั horse กบั steed ต่างมีความหมายแฝงบ่งบอกถึงพละกาํ ลงั ความแขง็ แรง ความกระฉบั กระเฉงและมีชีวิตชีวา แต่อยา่ งไรกต็ าม คาํ วา่ steed ยงั มีความหมายแฝงบ่งบอกถึงความโรแมนติกและความชวนฝัน ในขณะท่ีคาํ วา่ horse น้นั ไม่มี เป็นตน้

๖ คาํ และความหมายของคาํ มีบทบาทสาํ คญั ต่อบทกวีอยา่ งมาก บทกวีจะถ่ายทอดเน้ือหาสาระไดอ้ ยา่ ง มีประสิทธิภาพ ให้อารมณ์ ความรู้สึก จินตนาการ และคงความไพเราะในอรรถรสไวไ้ ด้ ข้ึนอยู่กบั การ เลือกใชค้ าํ และการวางคาํ ไดอ้ ยา่ งเหมาะเจาะ ดว้ ยเหตุน้ีกวีจึงมกั พิถีพถิ นั ในการเลือกสรรคาํ ท่ีมีความหมายมา ใชใ้ หเ้ หมาะสมและลงตวั บางคร้ังกวีหรือผรู้ ้อยกรองอาจเลือกคาํ ท่ีมีความหมายเฉพาะเจาะจง บางคร้ังอาจ เลือกคาํ ที่มีความอลงั การหรือท่ีมีความหมายคลุมเครือ ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั วา่ กวีมีจุดมุ่งหมายอยา่ งไร ๒.ภาพลกั ษณ์ และกระบวนจินตภาพ กระบวนจินตภาพ คือ ภาษาท่ีถ่ายทอดประสบการณ์ออกมาเป็ นภาพหรือรับรู้ในมโนคติ ทาํ ให้ผูอ้ ่าน มองเห็นและรู้สึกเก่ียวกบั สิ่งต่าง ๆ ตามท่ีกล่าวถึงได้ ไม่ว่าจะเป็ นเรื่องรูป รส กล่ิน เสียง สัมผสั ความรู้สึก และการเคล่ือนไหว ดงั น้ัน คาํ ทุกคาํ ท่ีสามารถใช้บอกถึงสิ่งต่าง ๆ ท่ีมองเห็นไดห้ รือบอกให้ผูอ้ ่านเกิด ความรู้สึกทางประสาทสัมผสั ต่าง ๆ ในมโนคติไดถ้ ือเป็ นภาพลกั ษณ์ ในทางวรรณคดีท้งั สิ้น มีการจาํ แนก ภาพออกตามการรับรู้ทางประสาทสมั ผสั ไดเ้ ป็น ๖ อยา่ ง ดงั น้ี คือ ๑. ภาพที่เกิดจากการมองเห็น ๒. ภาพท่ีเกิดจากการไดย้ นิ ๓. ภาพท่ีเกิดจากการไดก้ ล่ิน ๔. ภาพที่เกิดจากการรับรู้รส ๕. ภาพท่ีเกิดจากการสมั ผสั ๖. ภาพที่ส่ือความรู้สึกและการเคลื่อนไหว กระบวนจินตภาพทาํ หนา้ ท่ีในบทกวีหลายประการ อาทิ ๑. สร้างบรรยากาศ ๒. สร้างแบบฉบบั ๓. เนน้ ความหมาย ๔. สร้างประสบการณ์ร่วม ๑. การใช้กระบวนจินตภาพสร้างบรรยากาศ กระบวนจินตภาพทาํ หน้าท่ี สร้างบรรยากาศให้กบั กวีโดย บรรยากาศน้ีอาจมีลกั ษณะคลอ้ ยตาม หรือขดั แยง้ กบั ความรู้สึก หรือเน้ือหาท่ีตอ้ งการเสนอก็ได้ ตวั อยา่ งเช่น กวสี ร้างบรรยากาศเพอื่ ใหภ้ าพของเมืองที่ไม่บ่งบอกความรู้สึกซ่ึงขดั แยง้ กบั ความเศร้าในใจของกวี

๗ ๒. การใช้กระบวนจินตภาพสร้างแบบฉบับ กระบวนจินตภาพทาํ หนา้ ที่สร้างแบบแผนภายในบทกวีทาํ ให้ ภาพท้งั หมดท่ีเสนอออกมาอยใู่ นแนวเดียวกนั อีกท้งั ยงั ทาํ ใหม้ ีความกลมกลืนและความคงเสน้ คงวาข้ึนในบท กวีน้นั ซ่ึงช่วยใหผ้ อู้ ่านเห็นภาพรวมและเขา้ ใจความหมายของบทกวีไดง้ ่ายข้ึน ๓. การใช้กระบวนจินตภาพเน้นความหมาย กระบวนจินตภาพทาํ หนา้ ท่ีเนน้ ความหมาย โดยรวมภาพที่กวี บรรยายจะทาํ ใหผ้ อู้ ่านมองเห็นส่ิงท่ีกวีตอ้ งการจะสื่อเป็นรูปธรรม ซ่ึงส่งผลใหค้ วามหมายของบทกวี มีความ เด่นชดั ยง่ิ ข้ึน ๔. การใช้กระบวนจินตภาพสร้างประสบการณ์ร่วม กระบวนจินตภาพทาํ หน้าที่สร้างประสบการณ์ร่วม ให้กบั ผูอ้ ่าน ทาํ ให้ผูอ้ ่านใช้จินตนาการมองเห็นส่ิงที่กวีบรรยายและพรรณนาเอาไวไ้ ดร้ าวกบั อยู่ร่วมใน เหตุการณ์น้นั ดว้ ยซ่ึงเป็นการสร้างความรู้สึกร่วม อนั จะทาํ ใหผ้ อู้ ่านเขา้ ใจถึงบทกวอี ยา่ งลึกซ้ึงยง่ิ ข้ึน ๓.ภาษาภาพพจน์ ภาษาภาพพจน์ หรือภาษาโวหาร คือการใชภ้ าษาเปรียบเทียบ ความหมายของภาษาโวหาร จึงไม่ตรง ตามตวั อกั ษร ภาษาภาพพจน์ส่วนใหญ่จะใชล้ กั ษณะสาํ คญั ของภาพพจน์ในการเปรียบเทียบอนั เป็นวิธีการท่ี ผแู้ ต่งเลือกใชเ้ พื่อพยายามทาํ ใหส้ ิ่งที่เป็นนามธรรมหรือเป็นท่ีรู้จกั นอ้ ยหรือลางเลือน ใหม้ ีความเป็นรูปธรรม เป็นท่ีรู้จกั และมีความชดั เจนข้ึน โดยผแู้ ต่งมกั นาํ ไปเปรียบกบั สิ่งท่ีเป็นท่ีรู้จกั กนั ดีอยแู่ ลว้ การใชภ้ าษาโวหาร ทาํ ให้ผูอ้ ่านเกิดความรู้สึกไดล้ ึกซ้ึงกว่าการกล่าวอย่างตรงไปตรงมา เพราะภาษาโวหารให้สุนทรียะทาง อารมณ์ดว้ ยเป็นภาษาที่สร้างสรรค์ มีความน่าสนใจและจุดประกายความคิดและจินตนาการใหก้ บั ผอู้ ่าน ภาษาโวหารจาํ แนกออกเป็นประเภทต่าง ๆ ตามลกั ษณะวธิ ีที่ใชใ้ นการเปรียบเทียบ ดงั น้ีคือ ๑.อุปมา เป็ นการเปรียบเทียบอะไรก็ตามไม่ว่าจะเป็ นคน สัตว์ สิ่งของรวมท้งั สิ่งท่ีเป็ นนามธรรม จบั ตอ้ ง ไม่ไดโ้ ดยที่การเปรียบเทียบน้ีจะตอ้ งเปรียบเทียบระหวา่ งสิ่งที่ต่างจาํ พวกกนั และมีคาํ เช่ือม หรือคาํ กริยาบ่ง บอกใหเ้ ห็นการเปรียบเทียบน้นั เช่น แม่สวยกวา่ ลูก ๒.อุปลักษณ์ เป็ นการเปรียบเทียบส่ิงที่ต่างจาํ พวกกนั เช่นเดียวกบั อุปมาแต่แตกต่างกนั ตรงท่ีอุปลกั ษณ์ไม่มี คาํ เช่ือม หรือคาํ กริยาบ่งบอกถึงการเปรียบเทียบดงั กล่าว ๓.นามนัย หมายถึง การเรียกชื่อส่ิงหน่ึงโดยใชอ้ ีกส่ิงหน่ึงท่ีมีความเก่ียวขอ้ งสมั พนั ธ์กนั แทน ๔.สัมพจนัย คาํ น้ีมีความหมายมูลฐาน คือ ความเก่ียวพนั กนั ในทางปริมาณ ดงั น้นั สัมพจนยั จะหมายความ ถึง

๘ ๔.๑ การเอาส่วนหน่ึงมากลา่ วแทนท้งั หมด เช่น เรียก สามลอ้ แทน รถตุก๊ ตุ๊ก ๔.๒ การเอาส่วนท้งั หมดมาเรียกแทนบางส่วน เช่น ใชค้ าํ วา่ กฎหมาย แทน ตาํ รวจ ๔.๓ การใชช้ ่ือชนิดแทนส่ิงที่เป็นประเภทหรือพรรณยอ่ ย เช่น เรียก ธรรมชาติ แทน ตน้ ไม้ ๔.๔ การใชช้ ื่อประเภทยอ่ ยแทนตระกลู เช่น ใชค้ าํ วา่ ขา้ ว แทน อาหาร ๔.๕ การใชช้ ื่อภาชนะใส่ของแทนช่ือส่ิงของที่บรรจุภาชนะน้นั เช่น กระเป๋ าสตางค์ แทน ธนบตั ร ๔.๖ การใชช้ ่ือวสั ดุท่ีใชผ้ ลิตแทนส่ิงของน้นั ๆ เช่น ยาง แทน ยางยดื หรือยางรัดของ เป็นตน้ ๕.การใช้คาํ พูดเกนิ จริง หรือ อติพจน์ คือการใชค้ าํ พดู ท่ีเกินเลยความเป็นจริง กวีอาจใชค้ าํ พดู ท่ีเกินจริงน้ีเพื่อ เนน้ ความสาํ คญั หรือเพ่ิมน้าํ หนกั กบั สิ่งท่ีพูด เพ่ือแสดงใหเ้ ห็นความจริงจงั ในสิ่งท่ีกล่าวหรือเมื่อตอ้ งการให้ เกิดอารมณ์ขนั ๖.การใช้คําพูดท่ีน้อยกว่าความจริง คือการใชค้ าํ พูดที่นอ้ ยกว่าความเป็ นจริงหรือคาํ พูดท่ีลดความสําคญั ให้ น้อยลงจากท่ีเป็ นจริง กวีอาจใช้การใช้คาํ พูดที่น้อยไปกว่าความจริงน้ีเพื่อประชดหรือแดกดนั หรือเพิ่ม ก่อใหเ้ กิดความตลกขบขนั ๗.บุคลาธิษฐาน และ สมมุติภาวะ ๗.๑ บุคลาธิษฐาน คือ ภาษาโวหารที่ใชพ้ รรณนา หรือกล่าวถึงอะไรก็ตามท่ีไม่ใช่มนุษย์ ไม่ว่าจะ เป็ นสัตว์ สิ่งของ ธรรมชาติ ความคิด หือนามธรรม ราวกบั สิ่งต่าง ๆ ดงั กล่าวเป็ นมนุษย์ มีลกั ษณะนิสัย รูปร่าง องคป์ ระกอบของมนุษย์ มีอากปั กิริยาและพฤติกรรมเยยี่ งมนุษย์ การท่ีกวีเปรียบสิ่งท่ีไม่ใช่มนุษยร์ าว กบั วา่ เป็นมนุษย์ ทาํ ใหผ้ อู้ ่านเขา้ ใจส่ิงที่กวีตอ้ งการเสนอไดอ้ ยา่ งง่ายและแจ่มแจง้ ข้ึน ๗.๒ สมมุติภาวะ เป็นภาษาโวหารท่ีจดั เป็นประเภทยอ่ ยของบุคลาธิษฐาน สมมุติภาวะ มีความหมาย ๒ ประการดว้ ยกนั คือ • การพดู กบั บุคคลที่ไม่ไดอ้ ยู่ ณ ท่ีน้นั ราวกบั วา่ เขามีตวั ตนอยู่ • การพูดกับสัตว์ สิ่งของ และส่ิงท่ีไม่ใช่มนุษย์ ราวกับว่าส่ิงเหล่าน้ันมีชีวิตและ สามารถรับรู้เขา้ ใจส่ิงที่พดู น้นั ได้

๙ ๘.สัญลักษณ์ คือ คาํ หรือกวีท่ีมีความหมายในตวั เองและในเวลาเดียวกนั ก็มีความหมายถึงสิ่งอ่ืน ๆ อีกหลาย สิ่งนอกเหนือไปจากน้นั ฉะน้นั ความหมายสัญลกั ษณ์ จึงมีความหลากหลายและดูเหมือนว่าคาํ ทุกคาํ ก็เป็ น สัญลกั ษณ์ไดท้ ้งั สิ้น แต่อย่างไรก็ดีกวีคงไม่ใช้คาํ ทุกคาํ เป็ นสัญลกั ษณ์ท้งั หมดเพราะไม่เช่นน้ันแลว้ การ ตีความหมายของบทกวีคงกระจดั กระจายหลายทิศหลายทางหาความจริงท่ีเป็นแก่นสารจากบทกวีไม่ไดเ้ ลย หากจะดูวา่ คาํ หรือวลีใดเป็นสัญลกั ษณ์ ผูอ้ ่านตอ้ งดูความสาํ คญั ท่ีสัมพนั ธ์เชื่อมโยงกบั บริบทท้งั หมด เพราะ บริบทจะทาํ หนา้ ที่บ่งบอกเนน้ ความสาํ คญั ของคาํ โดยผอู้ า่ นอาจพิจารณาตดั สินใจไดจ้ ากรายละเอียดปลีกยอ่ ย ที่ปรากฏติดต่อกนั ในบทกวหี รืออาจพจิ ารณาดูทิศทางและแนวคิดในเน้ือความของบทกวนี ้นั ๆ ประเภทของสัญลกั ษณ์ สัญลกั ษณ์เป็นกลวิธีท่ีช่วยให้กวีสามารถถ่ายทอดความหมายไดห้ ลายมิติ ลกั ษณะของสัญลกั ษณ์ท่ี กวใี ชม้ ีอยดู่ ว้ ยกนั ๒ ชนิด คือ ๑.สญั ลกั ษณ์แบบคตินิยม คือ สัญลกั ษณ์ที่มีความหมายเป็นท่ีรู้จกั กนั ดีทว่ั ไปในหมู่คนที่มีภาษาและ วฒั นธรรมประเพณีเดียวกนั ความหมายดงั กล่าวมกั มีท่ีมาเกี่ยวขอ้ งกบั ความเชื่อ ความเขา้ ใจ ประเพณีนิยม และการยอมรับของคนส่วนใหญ่ตวั อย่างเช่น แม่น้าํ บ่งบอกถึงกระแสการดาํ เนินชีวิต ในขณะที่ทะเลและ มหาสมุทร หมายถึงความไม่มีที่สิ้นสุด และความมากเหลือประมาณ หรือ ตน้ ไมท้ ่ีแหง้ เห่ียว บอกถึงสภาพท่ี ไม่บงั เกิดดอกออกผล เป็นตน้ ๒.สัญลกั ษณ์เฉพาะตวั คือ สญั ลกั ษณ์ท่ีกวีสร้างความหมายข้ึนมาเองซ่ึงที่มาของความหมายอาจเกิด จากประสบการณ์ในชีวิตของกวีเองความผกู พนั กบั ประสบการณ์บางสิ่งบางอยา่ งของกวี หรืออาจเก่ียวโยง กบั งานเขียนอื่น ๆ ของกวี เป็นตน้ ฉะน้นั การที่จะเขา้ ใจความหมายของสัญลกั ษณ์ประเภทน้ี จึงมีความยาก มากกว่าสัญลกั ษณ์แบบคตินิยม ผูอ้ ่านตอ้ งศึกษาชีวประวตั ิของกวี และทาํ ความคุน้ เคยกบั งานเขียนของเขา มากพอสมควรจึงจะเขา้ ใจและเขา้ ถึงความหมายของการใชส้ ญั ลกั ษณ์เฉพาะตวั น้นั ๆ ได้ ๙.การอ้างถึง คือการกลา่ วพาดพงิ หรืออา้ งอิงถึงบุคคล เหตุการณ์ สถานที่ และขอ้ ความที่มีปรากฏอยใู่ นคมั ภีร์ ศาสนา ในประวตั ิศาสตร์ ในตาํ นาน ในเทพนิยายปกรฌมั หรือในงานวรรณกรรมท่ีเป็นที่รู้จกั กนั ทวั่ ไป การ กล่าวพาดพิงน้ีอาจกล่าวอา้ งโดยตรงหรือกล่าวอา้ งอิงโดยนัยก็ได้ การใช้กลวิธีน้ีช่วยให้กวีสามารถเน้น ความคิดและส่ืออารมณ์ความรู้สึกไดโ้ ดยที่กวีไม่จาํ เป็นตอ้ งบรรยายท้งั หมดออกมาอยา่ งยดื ยาวกวีสามารถใช้ คาํ พูดอยา่ งประหยดั ถอ้ ยคาํ แต่ในขณะเดียวกนั ก็กินความและกินใจผูอ้ ่านถึงแมว้ ่าการอา้ งถึงจะเป็นกลวิธีที่ เอ้ืออาํ นวยใหก้ วีถ่ายทอดความคิดและอารมณ์ไดอ้ ยา่ งกระชบั และไดค้ วามหมายลุ่มลึก แต่การอา้ งถึงที่กวีใช้

๑๐ จะมีผลสัมฤทธ์ิเป็ นอย่างดีตอ้ งอาศยั พ้ืนฐานและความรู้ของผูอ้ ่านเป็ นเบ้ืองตน้ ในการท่ีจะมองเห็นการ เชื่อมโยงพาดพงิ เน้ือความในบทกวกี บั ส่ิงท่ีกวีกล่าวพาดพงิ ถึงได้ ๑๐.อุปนิทรรศน์ คือ เร่ืองท่ีมีความหมายสองช้นั นนั่ ก็คือเรื่องท่ีเล่าหรือพรรณนาน้นั มีความหมายท่ีสองซ่อน แฝงไวใ้ นเร่ืองที่ปรากฏเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรอีกช้นั หน่ึง ถึงแมว้ า่ เรื่องที่เล่าตามความหมายระดบั แรกไม่วา่ จะ เป็ นตวั ละครเหตุการณ์และสถานท่ีจะมีจุดเด่นที่น่าสนใจในตวั เองอยู่แลว้ ก็ตามแต่จุดประสงค์หลกั ที่กวี ตอ้ งการเสนออยู่ท่ีความคิดอนั เป็ นความหมายระดบั ที่สองท่ีผูอ้ ่านตอ้ งตีความลึกลงไปจากเรื่องท่ีเล่าอีก ช้นั หน่ึง บทกวีจะเป็ นอุปนิสัยไดก้ ็ต่อเม่ือความหมายระดบั ที่หน่ึงและความหมายระดบั ท่ีสองน้ันมีความ เท่ากนั ท้งั ระบบอยา่ งต่อเน่ืองไม่วา่ จะเป็นตวั ละคร สถานท่ี หรือส่ิงของกต็ ามจะตอ้ งมีความเกี่ยวโยงต่อเน่ือง และเป็นหน่ึงเดียวกนั ในความหมายท้งั สองระดบั การเปรียบเทียบแบบอปุ มานิทรรศนน์ ้ีมีความใกลเ้ คียงกบั การเปรียบเทียบแบบสญั ลกั ษณ์ แต่ต่างกนั ตรงที่มีความหมายท่ีสองของอปุ มานิทรรศน์น้นั เป็นความหมายที่แคบและตายตวั กวา่ แทบจะกล่าวไดว้ า่ การ เปรียบแบบอุปมานิทรรศน์น้นั เป็นระบบเปรียบเทียบแบบหน่ึงต่อหน่ึง ในขณะท่ีการเปรียบแบบสัญลกั ษณ์ น้นั มีความหลากหลายในความหมายท่ีสอง กวีนิยมใชอ้ ุปมานิทรรศน์ เขียนเร่ืองที่เก่ียวกบั การเมือง เน่ืองจากความคิดเห็นทางการเมืองเป็นส่ิงท่ี ล่อแหลม อาจเป็ นอนั ตรายและขดั ต่อกฎหมายในบางคร้ังกวีจึงพลงั ความคิดที่ตอ้ งการเสนอโดยใชอ้ ุปมา- นิทรรศน์เป็ นส่ือนอกจากน้ีกวียงั ใช้เขียนเร่ืองท่ีเกี่ยวกบั ศาสนา และความคิด นอกจากน้ีการใช้อุปมา- นิทรรศน์ ยงั มีจุดเด่นซ่ึงสามารถช่วยใหก้ วีเสนอเร่ืองท่ีเป็นนามธรรมใหม้ ีความเป็นรูปธรรมมากข้ึน เน้ือหา ท่ียากต่อความเขา้ ใจจึงมีความง่ายข้ึนต่อการเขา้ ถึงของผูอ้ ่าน แต่เนื่องจากจุดมุ่งหมายของการใช้อุปมา- นิทรรศน์อยทู่ ี่การแสดงศีลธรรม และคาํ สั่งสอน อุปมานิทรรศน์จึงเป็นท่ีนิยมเขียนกนั เพียงในสมยั กลางและ สมยั ฟ้ื นฟูศิลปวิทยาการแต่ไม่ค่อยนิยมใชใ้ นสมยั ต่อ ๆ มา อยา่ งไรกด็ ี อุปมานิทรรศน์กย็ งั คงปรากฏใหเ้ ห็น ในงานเขียนเกือบทุกประเภทอยบู่ า้ งทุกยคุ ทุกสมยั ๑๑.การเล่นคาํ และปฏทิ รรศน์ ๑๑.๑ กวนี ิยมเล่นคาํ เพอ่ื ใหเ้ กิดความตลกขบขนั หรือสร้างความสาํ คญั ๑๑.๒ ปฏิทรรศน์ คือขอ้ ความที่ดูแลว้ มีความขดั แยง้ ในตวั เองแต่เมื่อพิจารณาดูความ ท่ีขดั แยง้ หรือไม่สมเหตุสมผลน้ันให้ลึกลงไปแลว้ จะพบว่าขอ้ ความดงั กล่าวแฝงความคิดซ่ึงความจริงเอาไว้ นอก จากปฏิทรรศน์จะเป็นขอ้ ความท่ีขดั แยง้ ในตวั เองแลว้ บางคร้ังปฏิทรรศน์ยงั หมายถึงขอ้ ความที่ขดั กบั ความ

๑๑ เชื่อและความเขา้ ใจของคนส่วนใหญ่โดยทวั่ ไปซ่ึงดูแลว้ ไม่น่าจะเป็นไปได้ ท่ีเป็นเช่นน้ีกเ็ พราะวา่ ในบางคร้ัง กวีไม่ได้ใช้คาํ ตามความหมายท่ีแท้จริงของคาํ น้ันแต่ใช้ในแง่โวหารและความรู้สึกที่มีมากกว่าหน่ึง ความหมาย กวีมกั จะเลือกใชป้ ฏิทรรศน์ เพื่อทาํ ใหผ้ อู้ ่านเกิดความฉงน งงงวย ผูอ้ ่านตอ้ งใชป้ ัญญาพิจารณาและ ขบประเดน็ ที่ขดั แยง้ กนั ใหอ้ อกจึงจะคน้ หาความคิดที่กวีซ่อนอยภู่ ายใตค้ วามขดั กนั น้นั ได้ ฉะน้นั การเลือกใช้ ปฏิทรรศน์ของกวีจึงมีเสน่ห์ท่ีทา้ ทายสติปัญญาของผอู้ ่านทาํ ใหผ้ อู้ ่านตอ้ งคอยลบั สมองใชค้ วามคิด และเมื่อ ผูอ้ ่านมีความเขา้ ใจปฏิทรรศน์น้นั ได้ ผูอ้ ่านก็ย่อมเกิดความตื่นเตน้ ยินดีที่สามารถเขา้ ถึงความคิดของกวีได้ ๑๒.การแฝงนัย คือวิธีการพูดท่ีแสดงความแตกต่างระหว่างสิ่งท่ีปรากฏกบั สิ่งที่เป็นจริงการใชก้ ารแฝงในมี หลายรูปแบบและท่ีใชอ้ ยเู่ ป็นประจาํ ในกวีนิพนธ์มีอยดู่ ว้ ยกนั ๓ รูปแบบคือการแฝงนยั ดว้ ยถอ้ ยคาํ การแฝง นยั ดว้ ยเหตุการณ์และการแฝงนยั เชิงละคร ๑๒.๑ การแฝงนยั ดว้ ยถอ้ ยคาํ หมายถึง การพูดอยา่ งหน่ึงแต่หมายความอีกอยา่ งหน่ึง โดยทว่ั ๆ ไป แลว้ จะหมายความถึงส่ิงที่ตรงกนั ขา้ มกบั ที่พดู ๑๒.๒ การแฝงในดว้ ยเหตุการณ์ หมายถึง เหตุการณ์ท่ีเกิดข้ึนจริง ๆ จะเป็นไปในทางตรงกนั ขา้ มกบั เหตุการณ์ที่คาดหวงั เอาไว้ ๑๒.๓ การแปลงในเชิงละคร หมายถึง ส่ิงที่ผพู้ ดู พดู ตรงกนั ขา้ มกบั ส่ิงที่กวหี มายความถึง การแฝงนยั เชิงละคร มีความซบั ซอ้ นมากกวา่ การแฝงนยั ดว้ ยถอ้ ยคาํ เพราะการแฝงนยั เชิงละคร นอกจากจะแสดงความ คิดเห็นและทศั นคติแลว้ ยงั สะทอ้ นลกั ษณะนิสัยของผูพ้ ูดออกมาให้ผูอ้ ่านเห็นโดยที่กวีไม่ตอ้ งเสนอความ คิดเห็นหรือวิเคราะห์ลกั ษณะของผพู้ ดู ออกมาเองโดยตรง ๔.นํา้ เสียง นํ้าเสียง นอกจากจะหมายความถึงน้าํ เสียงแลว้ ยงั หมายถึงการแสดงความรู้สึกและทศั นคติของผูเ้ ขียนหรือผู้ พูดที่มีต่อเร่ืองที่เขาเขียนต่อผูอ้ ่าน หรือแมก้ ระทงั่ ต่อตวั ผเู้ ขียนหรือผูพ้ ดู เอง ทศั นคติดงั กล่าวน้ีมีความสาํ คญั กบั ความหมายท่ีผูเ้ ขียน หรือผูต้ อ้ งการส่ือกบั ผูอ้ ่านเป็ นอย่างย่ิง เพราะถา้ ผูอ้ ่านไม่สามารถวิเคราะห์และ ตดั สินวา่ ผเู้ ขียน หรือผพู้ ดู มีทศั นคติอยา่ งไรต่อเร่ืองที่เสนอดงั เช่น เขาพดู เล่นหรือพดู จริง เขาถากถางหรือยก- ยอ่ ง เขาประชดหรือชมเชย ผอู้ า่ นกจ็ ะไม่สามารถเขา้ ใจส่ิงท่ีเขาตอ้ งการเสนอไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ในภาษาพูดน้นั เราสามารถเขา้ ใจทศั นคติของผูพ้ ูดไดจ้ ากการดูสีหนา้ และฟังน้าํ เสียง ส่วนในบทกวี ผอู้ ่านจะวิเคราะห์ทศั นคติของกวีหรือผพู้ ูดโดยการพิจารณาองคป์ ระกอบและกลวิธีทุกอยา่ งท่ีกวีเลือกใชไ้ ม่ ว่าจะเป็ นคาํ และความหมายของคาํ จินตภาพ ภาษาโวหารต่าง ๆ หรือแมก้ ระทง่ั จงั หวะ และรูปแบบที่ใช้

๑๒ สรุปแลว้ ก็คือ ทุกองค์ประกอบ จะทาํ หน้าที่ช้ีให้ผูอ้ ่านเห็นทศั นคติของกวีและผูพ้ ูด ผูอ้ ่านจึงตอ้ งเขา้ ใจ องคป์ ระกอบ และกลวิธีทุกอยา่ งเป็นอยา่ งดีก่อนจึงจะสามารถวิเคราะห์ทศั นคติน้ีได้ ๕.เสียง และความหมาย เมื่อเอ่ยถึงกวีนิพนธ์หรือร้อยกรอง ผูค้ นส่วนใหญ่มกั จะนึกถึงความสัมผสั คล้องจองของเสียงที่มีความ ไพเราะ โดยธรรมชาติแลว้ ภาษาน้ันมีเสียงดนตรีอยู่ในตวั ของมนั เองเสียงดนตรีน้ี นอกจากจะเกิดความ แตกต่าง ของเสียงพยญั ชนะ เสียงสระ เสียงของพยางค์ และเสียงของคาํ แลว้ ยงั เกิดจากจงั หวะของการลง เสียงหนกั เบาไม่เท่ากนั ในคาํ และประโยคอีกดว้ ย กวีนาํ ความแตกต่างทางธรรมชาติของเสียงและจงั หวะ ดงั กล่าวมาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์มากยิง่ ข้ึนในบทกวีนิพนธ์เพ่ือส่ือความหมาย เนน้ อารมณ์ความรู้สึกและเพิ่ม ความไพเราะใหก้ บั บทกวี ฉะน้นั เสียงและความหมายจึงเป็นส่ิงที่อยคู่ วบคูก่ นั วิธีการต่างๆที่กวีเลือกใชเ้ สียงของภาษาเพื่อย้าํ หรือเนน้ ความหมายและควบคุมจงั หวะของบทกวี สรุปไดว้ า่ มี ๔ วิธีดว้ ยกนั คือ ๑. กวเี ลือกคาํ ท่ีมีเสียงเลียนเสียงธรรมชาติ ๒. กวเี ลือกกลุม่ คาํ ที่เสียงบางเสียงส่ือความหมายเดียวกนั ๓. กวีเลือกใชเ้ สียงท่ีไพเราะระรื่นหูหรือเสียงหนกั ไม่ระรื่นหู เพื่อใหเ้ ขา้ กบั เน้ือหาที่ตอ้ งการเสนอ โดยปกติแลว้ เสียงสระจะมีความไพเราะมากกว่าเสียงพยญั ชนะ และในเสียงพยญั ชนะดว้ ยกนั เอง ๔. กวีเลือกใชพ้ ยางค์ ที่ลงเสียงหนกั เบาไม่เท่ากนั และนาํ มาจดั เป็นแบบแผน เพ่ือใชใ้ นการควบคุม จงั หวะความชา้ เร็วของบทกวี โดยธรรมชาติของเสียงน้นั พยางคท์ ี่ไม่ลงเสียงหนกั จะออกเสียง ไดเ้ ร็วกว่าพยางคท์ ่ีลงเสียงหนกั ดงั น้นั ถา้ พยางคท์ ่ีไม่ลงเสียงหนกั สองพยางคห์ รือมากกว่าอยู่ ใกล้ ๆ กนั จะทาํ ให้จงั หวะในช่วงน้นั เร็ว ซ่ึงต่างกนั กบั เมื่อนาํ พยางคท์ ี่ลงเสียงหนกั มาอยตู่ ิด ๆ กนั จะทาํ ใหพ้ ระอยา่ งน้นั ชา้ หรือมีช่วงเสียงท่ียดื ยาวกวา่

๑๓ กลวธิ ีแห่งกวนี ิพนธ์ ศิวกานต์ ปทุมสูติ กล่าววา่ กลวิธีท่ีจะแต่งร้อยกรองใหถ้ ึงข้นั เป็นบทกวีที่ดีน้นั จะตอ้ งมีความถึงดว้ ย องคป์ ระกอบที่ดีอยา่ งนอ้ ยก็ ๔ ประการดว้ ยกนั คือ ๑.วรรณศิลป์ ล้าํ ค่า ๒.เน้ือหาล้าํ ลึก ๓.ความรู้สึกสะเทือน ใจ ๔.ใหพ้ ลงั ทางปัญญาและมโนคติ หากการร้อยกรองบทกวีใดขาดองคป์ ระกอบใดองคป์ ระกอบหน่ึงไปเสียแลว้ ร้อยกรองน้นั ยอ่ มไม่ ถึงพร้อมในความเป็ น “กวีนิพนธ์” แต่อาจจะเป็ นไดแ้ ค่ร้อยกรองที่สละสลวย หรือบางทีก็อาจจะเป็ นแค่ ถอ้ ยคาํ ท่ีนาํ มาเรียงไวใ้ นรูปฉนั ทลกั ษณ์เท่าน้นั เอง วรรณศิลป์ ลํ้าค่า หมายถึงการใช้ศิลปะในการเเต่งซ่ึงประกอบด้วยรูปแบบฉันทลกั ษณ์ ถ้อยคาํ สาํ นวนโวหาร และวิธีการนาํ เสนอเรื่องที่มีความไพเราะเพราะพริ้ง มีชีวิตชีวา ลงตวั ดว้ ยท่วงทาํ นองลีลาใน การแต่งไดอ้ รรถรสท้งั ในการอ่านออกเสียงและอ่านในใจ แมว้ า่ จะมีความนยั ซ่อนเร้นอยใู่ นรูปสัญลกั ษณ์ใด ก็ตาม ก็จะมีรหัสแห่งวรรณศิลป์ ที่สามารถทาํ ให้ผูอ้ ่านเข้าถึงแก่นสารของเน้ือหาได้ตามวุฒิภาวะและ ประสบการณ์ของแต่ละบุคคล เนื้อหาลาํ้ ลกึ หมายถึงเรื่องราวที่เป็นแก่นสารของเรื่อง ท้งั ที่เป็นประเดน็ ของเรื่องและที่เป็นประเดน็ ความคิดมีแง่มุมท่ีลุ่มลึกแหลมคมกระตุน้ ให้เกิดการขบคิดอย่างมีวิถีปัญญาอนั แยบยล ซ่ึงอาจเป็ นนัยของ เน้ือหาที่ไม่เคยมีใครคิดถึงมาก่อน หรือแมจ้ ะเคยมีใครคิดถึงกไ็ ม่ลึกซ้ึงเท่า ความรู้สึกสะเทือนใจ หมายถึงความเป็ นไปแห่งเน้ือหาและศิลปะในการนาํ เสนอท่ีก่อใหเ้ กิดความ กระทบกระเทือนอารมณ์ต่าง ๆ ของผูอ้ ่านซ่ึงอารมณ์เหล่าน้นั ก่อใหเ้ กิดความสุข ความสดเวทนา หรือความ งอกงามอะไรบางอยา่ ง ท้งั ในความรู้สึกนึกคิดและการกระทาํ ให้พลงั ทางปัญญาและมโนคติ หมายถึงบทกวีเรื่องน้นั มีพลงั หรือมีอิทธิพลต่อภาวะจิตวิญญาณของ ผอู้ ่านก่อใหเ้ กิดความรู้สึกสาํ นึกตระหนกั หรือความมุ่งมนั่ ในการท่ีจะกระทาํ การบางส่ิงบางอยา่ ง ในวิถีหรือ ทางเลือกท่ีเป่ี ยมดว้ ยความมีอุดมคติ ปณิธาน ความกลา้ หาญ และความมีวฒุ ิภาวะทางปัญญาแจ่มชดั ความรู้เบื้องต้นในการอ่านร้อยกรอง กิดานันท์ มลิทอง กล่าวว่า ร้อยกรองเป็ นงานศิลปะสร้างสรรค์ทางภาษา โดยการเลือกถอ้ ยคาํ มา เรียบเรียงร้อยเขา้ ดว้ ยกนั ตามขอ้ กาํ หนดหรือขอ้ บงั คบั เฉพาะของร้อยกรองแต่ละรูปแบบ ขอ้ บงั คบั ต่าง ๆ ตามรูปแบบของร้อยกรอง ที่ควรทราบไวเ้ ป็นความรู้เบ้ืองตน้ ในการอ่านและศึกษา ร้อยกรองมี ๘ ประการ

๑๔ ๑.คณะ คณะ หมายถึง การจดั หมวดหมู่ เป็นส่วนใหญแ่ ละส่วนยอ่ ย ประกอบดว้ ย ๑.๑.คํา และ พยางค์ บางตาํ ราเรียกวา่ อกั ษร เป็ นส่วนประกอบยอ่ ยท่ีสุดของการจดั ระเบียบให้เป็น ร้อยกรอง พยางค์ คือ การเปล่งเสียงคร้ังหน่ึง และ คาํ หน่ึงอาจมีหลายพยางค์ เช่น ดอกไม้ เฉลิม ๑ คาํ มี ๒ พยางค์ ๑.๒. วรรค เป็นส่วนยอ่ ยเหนือจากคาํ การร้อยกรอง ๑ วรรค ตอ้ งไดค้ วามจบในวรรคจึงจะดี วรรค หน่ึงประกอบดว้ ยคาํ ก่ีคาํ ตอ้ งแลว้ แต่ขอ้ กาํ หนดของรูปแบบร้อยกรองน้ัน ๆ เช่น กลอนแปด กาํ หนดให้ วรรคหน่ึงมี ๘ คาํ หรือ ๘ พยางค์ ขอพระเกยี รตปิ รากฏพระยศยอ ประสบสิ่งประสงคท์ รงสุขศานต์ ๑ ๒ ๓ ๔๕ ๖ ๗๘ ๑๒๓๔๕ ๖๗ ๘ ๑.๓. บาทคือการจดั ระเบียบคาํ ในร้อยกรองหมู่ใหญ่กว่าวรรคเรียกว่าบาปแต่ละรูปแบบจะกาํ หนด จาํ นวนบาทไวแ้ น่นอน เช่น โคลงส่ีมี ๔ บาท โดยทว่ั ไป ๑ บาทมกั ประกอบดว้ ย ๑ วรรคหรือ ๒ วรรคบาง รูปแบบอาจกาํ หนดใหม้ ีสร้อยเติมดว้ ย ๑.๔. บทคือการจดั หมวดหมู่เป็นตอนหน่ึง ส่วนใหญ่ร้อยกรองบทหน่ึง อาจประกอบดว้ ย ๑ บาท ๒ บาท ๓ บาทหรือ ๔ บาทตามท่ีขอ้ บงั คบั กาํ หนดเช่น กลอนแปด บทหน่ึง มี ๒ บาท (หรือ ๒ คาํ กลอน) บาทหน่ึงมี ๒ วรรค วรรคหน่ึงมี ๘ คาํ ตัวอย่างกลอน ๑ บท บาทที่ ๑ ถึงตรากตรําลาํ บากพระหากสู้ ไพร่ฟ้าอยู่หนไหนพระไฝ่ หา บาทที่ ๒ พระไม่ห่วงวงั เวยี นเคยี งประชา ในพงป่ าห่างไกลพระไปเยือน ๑.๕. คํา (หรือคํากลอน) ในการแต่งร้อยกรองบทละครกวีอาจใชค้ าํ ว่า คํา หรือ คํากลอน กาํ กบั ไว้ ทา้ ยบทเช่น ๒ คาํ ๔ คาํ คํา ในที่น้ีหมายถึงร้อยกรอง ๑ บาท คือ ๒ วรรค เรียกวา่ ๑ คาํ ๔ วรรค เป็น ๒ คาํ ๘ วรรคเป็น ๔ คาํ กาํ กบั ไวเ้ พ่ือการขบั ร้องประกอบการรํา

๑๕ ตวั อย่าง คร้ันถึงใหห้ ยดุ จตุรงค์ ต้งั ลงโดยกระบวนพยหุ ์ใหญ่ ตามครุฑนามเกรียงไกร มน่ั ไวค้ อยทพั วานร ฯ ๒ คาํ ฯ ๒. สัมผสั สัมผัส คือการจัดคาํ ให้คล้องจองกัน เป็ นส่วนสําคัญท่ีทาํ ให้ร้อยกรองมีลักษณะเฉพาะมีลีลา ท่วงทาํ นองและมีความไพเราะ ๒.๑.ชนิดของสัมผสั ๒.๑.๑. สัมผสั สระ ไดแ้ ก่ คาํ คลอ้ งจองกนั ตามเสียงสระแต่ต่างอกั ษรกนั และไม่นิยมสัมผสั สระเสียงส้นั กบั เสียงยาว เช่น โชคชัย-ทําลาย บุญคุณ-อนุกูล ๒.๑.๒. สัมผสั อกั ษร ไดแ้ ก่ จดั คาํ ที่ใชพ้ ยญั ชนะเสียงเดียวกนั จะผสมสระใดหรือมีเสียง วรรณยุกต์เสียงใดก็ได้ ให้คลอ้ งจองกนั การใช้สัมผสั อกั ษรน้ีในระหว่างวรรค ทาํ ให้ ร้อยกรองมีความ ไพเราะงดงาม ตวั อย่าง สมั ผสั สระ และสมั ผสั อกั ษร ทวยราษฎร์ท้งั ชาติช่ืนชม น้อมถวายบงั คม เชิญชเยศอยู่เกศนิรันดร (คาํ ทอง-คุณหญิงกลุ ทรัพย์ เกษแม่นกิจ) สัมผสั สระ ราษฎร์-ชาต,ิ เยศ-เกศ สัมผสั อกั ษร ชาติ-ช่ืน-ชม ๒.๒. ลกั ษณะการใช้สัมผสั ในการอ่านบทร้อยกรอง หากผอู้ ่านเขา้ ใจลกั ษณะการใชส้ มั ผสั จะทาํ ให้ ไดร้ ับรสการอ่านลึกซ้ึงข้ึน มีความประทบั ใจในอจั ฉริยภาพของกวี ท่ีสามารถเลือกสรรคาํ และร้อยเรียง ก่อใหเ้ กิดเสียงอนั ไพเราะแมว้ า่ จะตอ้ งปฏิบตั ิตามขอ้ บงั คบั อยา่ งเคร่งครัด ๒.๒.๑. สมั ผสั ใน ไดแ้ ก่ การจดั สมั ผสั ในวรรคเดียวกนั ทาํ ไดห้ ลายแบบ

๑๖ ๑. สมั ผสั ชิด หรือ สมั ผสั คู่ หมายถึงการจดั ใหม้ ีสมั ผสั อกั ษรหรือสัมผสั สระชืดกนั มีท้งั ท่ีสมั ผสั ชิดเป็นคูห่ น่ึง สมั ผสั ชิดเป็น ๒ คู่ สมั ผสั ชิด ๓ คาํ ตัวอย่าง สมั ผสั ชิดคูห่ น่ึง ต้นนํา้ ลาํ ธารวบิ ตั ิ พระเร่งรัดขจัดภัย สัมผสั สระชิดคู่หนึ่ง นํา้ -ลาํ สัมผสั อกั ษรชิดคู่หนึ่ง เร่ง-รัด ตัวอย่าง สมั ผสั ชิด ๒ คู่ สดบั คาํ ฉ่ําช่ืนจะย่ืนแก้ว แล้วคลาดแคล้วคลบั คล้ายเคลมิ้ หายเสียง (ราํ พนั พิลาป-สุนทรภู)่ สัมผสั อกั ษรชิด ๒ คู่ คลาด-แคล้ว, คลบั -คล้าย ตัวอย่าง สมั ผสั ชิด ๓ คาํ ห้อมล้อมน้อมนอบมอบฤทัย ภกั ดมี ีในพระกรุณา สัมผสั ชิด ๓ คาํ ห้อม-ล้อม-น้อม ตัวอย่าง สมั ผสั คนั่ เปรียบปานพระประทานประทีปแก้ว เพริศแพร้วเสถียรธรรมนําวถิ ี สัมผสั อกั ษรคน่ั ทาน- ทีป มีคาํ ประ มาคน่ั สัมผสั สระคน่ั ปาน- ทาน มีคาํ พระ ประ มาคน่ั ๒.๒.๒. สมั ผสั นอก หมายถึง การจดั คาํ ใหค้ ลอ้ งจองสมั ผสั กนั ต่างวรรคในตาํ แหน่งท่ีแต่ละ รูปแบบกาํ หนดบงั คบั ไว้ โดยทวั่ ไปจะเป็นสัมผสั สระ และสัมผสั ระหวา่ งบท คือ คาํ ทา้ ยของบาทตน้ สัมผสั กบั คาํ ทา้ ยของบาทแรกในบทต่อไปซ่ึงเป็นสมั ผสั บงั คบั จะขาดมิได้

๑๗ ตัวอย่าง สมั ผสั นอก พอฟ้าคลาํ่ คาํ่ พลบเสียงกบเขียด ร้องกรีดเกรียดเกรียวแซ่ดงั แตรสังข์ เหมือนเสียงฆ้องกลองโหมประโคมวงั ไม่เห็นฝั่งฟ่ันเฟื อนด้วยเดือนแรม ลาํ พรู ายชายตลง่ิ ล้วนหิ่งห้อย สว่างพร้อยแพร่งพรายขึน้ ปลายแขม อร่ามเรืองเหลืองงามวามวามแวม กระจ่างแจ่มจบั นํา้ เห็นลาํ เรือ (นิราศวดั เจา้ ฟ้า- สุนทรภู่) สัมผสั นอกระหว่างวรรค เขียด – เกรียด, วงั – ฝ่ัง, หอ้ ย – พร้อย, แวม – แจ่ม สัมผสั นอกระหว่างบท แรม – แขม ๓.คาํ เป็ นคาํ ตาย ร้อยกรองบางรูปแบบกาํ หนดใหใ้ ช้ คาํ เป็ นคาํ ตาย หรือใชค้ าํ ตาย แทนคาํ ในเสียงหรือรูป วรรณยกุ ต์ เอกได้ คาํ เป็ น ไดแ้ ก่ พยางคเ์ สียงที่ประสมดว้ ยสระเสียงยาว ในแม่ ก กา เช่น บงั คม บุญ ดี และพยางคเ์ สียง ในแม่ กง กน กม เกย เกอว ท้งั หมด กบั พยางคเ์ สียงท่ีผสมสระ อาํ ไอ ใอ เอา เช่น นํา ใด ไหม เสา คําตาย ไดแ้ ก่ พยางคเ์ สียงท่ีประสมดว้ ยสระเสียงส้ัน ในแม่ ก กา เช่น พระ จะ จิ ตึก ตุ ฯลฯ และ พยางคเ์ สียงในตวั สะกดแม่ กก กด กบ ท้งั หมด เช่น บาท เปรียบ ดจุ ตัวอย่าง การใชค้ าํ ตายแทนเสียงเอกในโคลงส่ีสุภาพ บงั คมแทบบาทดว้ ย ภกั ดี พระเปรียบดวงมณี สวา่ งแพร้ว บุญเบิกพระบารมี เจิดแจ่ม ดุจพระมารดาแกว้ ก่อเก้ือไผทสยาม

๑๘ ๔.เสียงวรรณยุกต์ เสียงวรรณยุกต์ หมายถึงเสียงสูงต่าํ ๕ เสียง คือ สามญั เอก โท ตรี จตั วา ซ่ึงอาจใชร้ ูปวรรณยุกต์ กาํ กบั บนพยญั ชนะหรือสระแต่อาจไม่เกิดเป็นเสียงวรรณยกุ ตต์ ามรูปวรรณยกุ ตก์ ็ได้ เช่น เชิ้ต ใชว้ รรณยกุ ต์ โทแต่เป็นคาํ เสียงตรี แจ่ม ใชว้ รรณยกุ ตเ์ อกเป็นเสียงเอก ๕.ครุลหุ ครุ คือ พยางคห์ รือคาํ ท่ีประสมสระเสียงยาว และมีเสียงหนกั เช่น แก ตอ ฟู ปา คาํ ที่มีตวั สะกดเช่น ปาด จาก หนุน รวมท้งั ท่ีประสมสระ อาํ ไอ ใอ เอา เช่น นํา ไก ใด เมา ลหุ คือ พยางคห์ รือคาํ ท่ีประสมสระเสียงส้ัน ไม่มีตวั สะกดมีเสียงเบา เช่น ตะละ ปะทะ ทะนุ ติจุ มุ ในบางกรณีที่ไม่เคร่งครัด กวีอาจใชค้ าํ ตาย หรือสระเสียงส้ัน มีตวั สะกดในแม่กก กดกบ เช่น ดุจ หรือใชค้ าํ ก็ บ่ แทนลหุ แต่ไม่เป็นท่ีนิยม คาํ ครุลหุ น้ีเป็นคาํ ที่บงั คบั ในการร้อยกรอง ฉนั ท์ ๖.คาํ เอกคาํ โท คําเอกคําโท คือ คาํ หรือพยางคท์ ี่บงั คบั วรรณยุกตเ์ อก หรือวรรณยุกตโ์ ท โดยที่อาจไม่ใช่เสียงเอก หรือ โท ส่วนมากใชใ้ นการประพนั ธร์ ้อยกรอง โคลง ซ่ึงเป็นบงั คบั สาํ คญั ในตาํ แหน่งท่ีกาํ หนด และในกลอน ตามตาํ แหน่งส่งรับสมั ผสั คําเอก ไดแ้ ก่ คาํ หรือพยางคท์ ี่กาํ กบั ดว้ ยวรรณยกุ ต์ เอก เช่น ข่า แด่ ค่ัว ช่วย เช่า ในการแต่งโคลงถา้ หาคาํ ท่ีกาํ กบั ดว้ ยวรรณยกุ ตเ์ อกไม่ได้ อาจใชค้ าํ ตายท่ีไม่มีวรรณยกุ ตแ์ ทน เช่น เกดิ คาํ โท ไดแ้ ก่ คาํ หรือพยางคท์ ี่กาํ กบั ดว้ ยวรรณยกุ ตโ์ ท เช่น กล้า ป้อง แล้ว ๗.คาํ ขนึ้ ต้นและลงท้าย ขอ้ บงั คบั ของร้อยกรองบางรูปแบบจะกาํ หนดใหม้ ีคาํ ข้ึนตน้ และลงทา้ ยไวด้ ว้ ย เช่น บทละคร ข้ึนตน้ วา่ เม่ือน้ัน บดั น้ัน มาจะกล่าวบทไป บทดอกสร้อย ข้ึนตน้ โดยมีคาํ วา่ เอ๋ย คนั่ กลางและลงทา้ ยดว้ ยคาํ วา่ เอย เช่น แมวเอ๋ยแมวเหมียว วนั เอ๋ยวนั ดี มดเอ๋ยมดแดง บทสักวา ข้ึนตน้ วา่ สักวา และลงทา้ ยดว้ ยคาํ วา่ เอย

๑๙ กลอนนิราศ ลงทา้ ยดว้ ยคาํ วา่ เอย ๘.คาํ สร้อย คําสร้อย คือ คาํ ส่วนที่เติมลงเพื่อเพิ่มความไพเราะ หรือเติมใหเ้ น้ือความท่ียงั ขาดอยสู่ มบูรณ์ข้ึนท้งั น้ี ตอ้ งเติมเฉพาะตาํ แหน่งที่ขอ้ บงั คบั กาํ หนดไว้ คาํ สร้อยมี ๒ คาํ เช่น ฤาพี่ นาพ่อ แลฤา กระหมั่ง หรือคาํ ๒ คาํ มีคาํ เอย แฮ นา นอ แล ฮา เฮย เทอญ เป็นคาํ ลงทา้ ยส่วนมากใชใ้ นโคลง และ ร่าย ตัวอย่าง เสียงลือเสียงเล่าอา้ ง อนั ใด พเ่ี อย เสียงยอ่ มยอยศใคร ทว่ั หลา้ สองเขือพ่หี ลบั ใหล ลืมต่ืน ฤาพ่ี สองพ่ีคิดเองอา้ อยา่ ไดถ้ ามเผอื (ลิลิตพระลอ) แนวทางการอ่านร้อยกรอง กิดานนั ท์ มลิทอง กลา่ ววา่ องคป์ ระกอบของวรรณศิลป์ ร้อยกรอง ๑.ความมุ่งหมายในการอ่านร้อยกรอง ประเทศไทยมีประวตั ิศาสตร์มานานกวา่ ๗๐๐ ปี มีมรดกทางวฒั นธรรมหลากหลายสาขารวมท้งั บทร้อย กรอง ตกทอดมาถึงอนุชนจาํ นวนมาก วรรณกรรมร้อยกรองเป็นจาํ นวนมากจึงมีอายยุ งั่ ยนื มาจนถึงปัจจุบนั สมควรท่ีอนุชนทุกยคุ ทุกสมยั จะศึกษาและสืบทอดใหย้ งั่ ยนื ต่อไป การอ่านศึกษาผลงานบทร้อยกรองกระทาํ ได้ ๒ วิธี คืออ่านในใจ และอ่านออกเสียง การอ่านในใจอาจ กาํ หนดความมุ่งหมายไดห้ ลายประการคือ ๑ อ่านเพ่ือความเพลิดเพลิน ๒ อา่ นเพื่อศึกษาหาความรู้ ๓ อา่ นเพ่อื วพิ ากษว์ จิ ารณ์

๒๐ ศาสตร์ตราจารณ์ พลตรีพระเจา้ วรวงศเ์ ธอ กรมหม่ืนนราธิปพงศ์ ไดท้ รงพระนิพนธ์ความเห็นเกี่ยวกบั ความ มุ่งหมายในการศึกษาวรรณคดีไวด้ งั น้ี “ความมุ่งหมายในการศึกษาวรรณคดีจึงไม่เป็ นเพียงการแสวงหาความบนั เทิงในยามว่างงานแต่เป็ นการ ปลุกตนเองให้ต่ืนข้ึนชมชีวิต ให้รู้จกั ชมช่ืนเห็นอกเห็นใจ และเขา้ ใจ ชีวิต เล็งเห็นชีวิตในส่วนรวมเห็น ความสมั พนั ธแ์ ห่งเหตุผลและส่วนต่างๆของชีวิต ส่ิงที่เราไม่เคยนึกวา่ น่ารักน่าชม เราไดช้ มจากวรรณคดีและ สิ่งที่เราไดช้ มน้นั เรากร็ ู้สึกวา่ เป็นเพยี งแค่ส่วนหน่ึงของชีวิต การอ่านวรรณคดีจึงทาํ ใหเ้ รารู้จกั ชีวิตจิตใจของ เพ่อื นมนุษยไ์ ดด้ ียงิ่ ข้ึน……” ดร.วิทย์ ศิวะศริยานนท์ กล่าวไวใ้ นหนงั สือ วรรณคดีวิจารณ์ เก่ียวกบั การอา่ นศึกษาวรรณคดีวา่ “ผอู้ ่านวรรณคดีมีจุดประสงคต์ ่างกนั บางคนอา่ นเพื่อความเพลิดเพลิน เพ่ือการพกั สมองและฆ่าเวลาไปใน ตวั เม่ือวา่ งงาน ขณะที่อ่านก็จาํ ชื่อตวั ละครและเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนชวั่ แค่เพียงใหอ้ ่านเรื่องเขา้ ใจและติดต่อกนั เพื่อใหอ้ อกรสสนุกชวั่ เวลาที่อ่านน้ีบางคนกเ็ ลือกอ่านที่ถูกกบั นิสยั และอารมณ์ของตน บุคคลชนิดน้ีอ่านเพื่อ หนีชีวิตจริงๆที่ตนประสบทุกเมื่อเชื่อวนั นอกจากน้นั ยงั มีอีกพวกหน่ึงท่ีศึกษาวรรณคดีโดยเพง่ เลง็ ไปในแง่ ของตาํ รา คือเอาใจใส่ในภาษาและสิ่งท่ีไม่มีความสาํ คญั นกั เช่นเวลาที่เขียนและสิ่งที่ใหก้ าํ เนิดวรรณคดีเรื่อง น้ัน ตอนไหนเอามาจากชีวิตผูแ้ ต่งเอง ตอนไหนคิดข้ึน จนไม่นาํ มาต่อเน้ือเร่ือง ความหมายของเรื่อง และ ทศั นะของผูแ้ ต่ง การอ่านวรรณคดีท่ีกล่าวมาน้ี ตอ้ งนบั ว่าบกพร่องและขาดสาระสาํ คญั ไปอย่างน่าเสียดาย ที่สุด “วรรณคดีมิใช้สิ่งควรอ่านฆ่าเวลาหรือเพ่ือความเพลิดเพลินอย่างเดียว การอ่านเพื่อความเพลิดเพลิน เท่าน้นั จึงเป็นเสมือนการกินแต่น้าํ มะพร้าวเท่าน้นั และทิ้งเน้ืออนั หวานนุ่มและหวานเสีย การอ่านเพื่อหาการ สนบั สนุนความคิดของตนในวรรณคดี หรือการอา่ นหนีชีวิตจริงกน็ ่าตาํ หนิไม่นอ้ ยเหมือนกนั เพราะเป็นการ อ่านโดยใจแคบ โดยมีอคติ การอ่านในแง่เจา้ ตาํ ราเพื่อสืบสวนขอ้ เทจ็ จริงเกี่ยวกบั เหตุการณ์ท่ีแวดลอ้ มจนไม่ นาํ พาต่อเน้ือเรื่องและทศั นะของผูแ้ ต่งและรูปศิลปะของวรรณคดีก็ดี นับเป็ นการอ่านแซวซ่ึงทาํ ให้ขาด ประสบการณ์อนั แทจ้ ริงท่ีควรไดอ้ า่ นจากหนงั สือเลม่ น้นั ผศู้ ึกษาวรรณคดีตอ้ งพยายามเขา้ ใจและมองชีวิตใน แง่ของกวีดูบา้ ง วรรณคดีที่มีอายมุ ากและยงั คงเป็นท่ีนิยมอยตู่ อ้ งเป็นวรรณคดีท่ีมีความวิเศษณ์อยใู่ นเน้ือหา เป็นส่วนมาก ความดีวเิ ศษน้ีเป็นหนา้ ที่ของนกั ศึกษาท่ีจะคน้ หาและเพื่อสะดวกแกการคน้ หากจ็ าํ เป็นตอ้ งขจดั อคติและความคิดตนเสียอยา่ งนอ้ ยกช็ ว่ั คราว การนอ้ มรับอารมณ์และทศั นคติของกวีเช่นน้ี เป็นความเพิ่มพนู ความชดั เจนของชีวติ ของเราข้ึนเป็นอเนกปริยาย….”

๒๑ ๒. ลกั ษณะวรรณศิลป์ ในร้อยกรอง ผลงานร้อยกรองท่ีมีคุณค่าน้นั นอกจากมีความงามดา้ นภาษา และมีอรรถรสไพเราะเม่ืออ่านออก เสียงแลว้ ยงั มีคุณค่าอื่น ๆ อีกมาก เป็นตน้ วา่ ใหม้ ีความเพลินเพลิน ใหค้ วามรู้ความเขา้ ใจในชีวิตที่ตอ้ งเผชิญ กบั สรรพสิ่งต่าง ๆ ท้งั ในอดีตและปัจจุบนั แต่วรรณกรรมน้นั ๆ จะมีบทบาทดงั กล่าวได้ ย่อมตอ้ งอุดมดว้ ย สุนทรียภาพอนั เป็นความงามและมีคุณค่าทางศิลปะที่แสดงใหเ้ ห็นอจั ฉริยภาพ และอารยธรรมอนั สูงของคน ในชาติ ซ่ึงลกั ษณะสาํ คญั ของคุณสมบตั ิน้นั คือ วรรณศิลป์ วรรณศิลป์ หมายความวา่ ศิลปะในการเรียงร้อยถอ้ ยคาํ หรือประพนั ธ์หนงั สือ คาํ น้ีมีใชค้ ร้ังแรกใน พระราชบัญญัติราชบัณฑิตยสภา พุทธศักราช ๒๔๘๕ วรรณศิลป์ นี่เป็ นส่ิงที่เสริมสร้างคุณค่าของ วรรณกรรมใหส้ ูงกวา่ งานประพนั ธ์โดยทวั่ ไป และเป็นส่ิงท่ีดึงดูดใหผ้ อู้ ่านมีความสนใจ ชื่นชม มีความดื่มด่าํ ในรสต่าง ๆ ของวรรณกรรมน้นั ๆ วรรณศิลป์ มีองคป์ ระกอบดงั ต่อไปน้ี ๒.๑ แต่งดี การแต่งดี หมายถึง มีศิลปะในการนาํ เสนอเร่ือง การใชภ้ าษาให้มีอรรถรส มีความงาม หรือสุนทรียภาพ โดยเฉพาะในงานร้อยกรอง ผแู้ ต่งตอ้ งมีความสามารถในการเลือกสรรรูปแบบฉนั ทลกั ษณ์ ให้เหมาะสมกบั เร่ือง เช่น จะใชโ้ คลง ฉันท์ ร่าย กาพย์ กลอน หรือใชว้ ิธีผสมผสาน เช่น โคลงสลบั กาพย์ ฉนั ทส์ ลบั ร่ายโคลงและกาพย์ หรือใชก้ ลอนลว้ น ๆ ซ่ึงกวีผแู้ ต่งสามารถเลือกใชจ้ ากรูปแบบที่บรรพบุรุษไทย ไดป้ ระดิษฐ์คิดไวอ้ ยา่ งหลากหลาย (ดงั กล่าวมาขา้ งตน้ ) และเม่ือเลือกรูปแบบดีแลว้ ตอ้ งสามารถสรรถอ้ ยคาํ บรรจุลงไดพ้ อเหมาะพอดี และสื่อความหมายชดั เจน มีลกั ษณะของการประสานอยา่ งเหมาะสมท้งั เสียงของ คาํ และเน้ือหาสาระ หากนักศึกษาอ่านกวีนิพนธ์เร่ือง โคลงยวนพ่าย ลิลิตพระลอ โคลงทวาทศมาส กาพยห์ ่อโคลง ประพาสธารทองแดง ขนุ ชา้ งขนุ แผน รามเกียรต์ิ อิเหนา พระอภยั มณี ตะเลงพา่ ย เงาะป่ า ฯลฯ จะพบวา่ เป็น วรรณกรรมร้อยกรองที่สมบูรณ์ดว้ ยวรรณศิลป์ จึงไดย้ กยอ่ งวา่ เป็น วรรณคดี ซ่ึงหมายความวา่ เป็นหนงั สือที่ แต่งดีมีแนวทางในการแต่งงดงาม ศิลปะการแต่งร้อยกรองทด่ี มี ีความงาม ประกอบด้วย ๒.๑.๑ การแสดงออก (experssion) คือ สามารถส่ือสาระความรู้สึกและอารมณ์ต่าง ๆ ของเร่ืองหรือ ตวั ละครในเร่ืองดช้ ดั เจน ผูอ้ ่านเขา้ ใจแจ่มกระจ่างในส่ิงท่ีกวีเสนอ นึกเห็นภาพท่ีมีชีวิตชีวา และมีความรู้สึก มีอารมณ์ร่วม เสมือนเน้ือความที่พรรณนนาเป็นความจริง มีความเคลื่อนไหวหรือเรียกวา่ มี นาฎการ เมื่อเรื่อง ดาํ เนินไปพอสมควรแลว้ เน้ือความจะส่งบุคลิกของตวั ละครออกมาชดั เจนตลอดเรื่อง เสมือนเป็นบุคคลจริง

๒๒ ๒.๑.๒ มีแบบฉบับในการเขียนฌพาะตัว (Style) หมายถึง ผูแ้ ต่มีวิธีเขียน ประมวลคววามคิดเห็น การเลือกใชถ้ อ้ ยคาํ การเสนอเรื่อง มีลกั ษณะเด่ยเฉพาะตวั เช่น สุนทรภู่ แต่งกลอนดว้ ยคาํ สามญั ไม่ใชศ้ พั ทส์ ูง มีสมั ผสั ในแพรวพราว ความงามอยทู่ ่ีการเปรียบเทียบอุปมาอปุ ไมย ใหค้ ติชีวติ ส่วนเจ้าพระยาพระคลงั (หน) จะรจนากลอนโดยใชศ้ พั ทส์ ูง ความงงามอยทู่ ี่อรรถรสละมุมละไม นุ่นนวล อ่อนหวาน เป็นตน้ ๒.๑.๓ มสี ุนทรียภาพหรือความงาม (aesthetic) กวีที่รจนาบทร้อยกรองดว้ ยอจั ฉริยภาพสูง เลือกสรร คาํ บรรจุลงตามรูปแบบท่ีเลือกอย่างพอเหมาะพอดี ในลกั ษณะกระชบั ส่ือความชนั เจน ไพเราะ หรือ คําที่ดี ที่สุดในที่เหมาะสมที่สุด ซ่ึงจะทาํ ไดโ้ ดยเลือกใชค้ าํ ที่มี ค่าของเสียงและ ค่าของความหมาย ชดั เจน จะส่งผล ใหว้ รรณกรรมน้นั มีคุณคา่ ศาสตราจารย์ พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ กรมหม่ืนนราธิปพงศป์ ระพนั ธ์ ทรงพระนิพน์ไวใ้ นบทความเรื่อง ภาษาในวรรณคดี ว่า ค่าของคาํ ในวรรณคดีมีอยู่ ๔ อยา่ งดว้ ยกนั บ่งเป็น คา่ ของความหมาย ๒ อยา่ ง คา่ ของเสียง ๒ อยา่ ง ค่าของความหมาย คือ ความหมายตามไวยากรณ์ ๑ ความหายและภาพ ๑ ส่วนค่าของเสียง ไดแ้ ก่ เสียงตามพยญั ชนะในพยางคเ์ สียงซ้าํ หรือสอดคลอ้ งกนั บา้ ง เสียงท่ีกระทบ หรือเปรียบต่างกนั (contrast) บา้ ง ท้งั น้ี รวมท้งั สมั ผสั สระ (thyme) และสมั ผสั อกั ษร (alliteration) น้ีประการ หน่ึง และอีกประการหน่ึง ไดแ้ ก่ ลาํ นาํ ของภาษา คือ ความกระเพ่ือมไปแห่งองศา (degree) ระดบั ช้นั ของ เสียงในประโยค องศาของเสียง ไดแ้ ก่ กาํ ลงั แรง (strength) ระยะเวลา (duration) หรือ ระดบั วรรณะ (pitch) ของเสียง ส่วนการกระเพื่อมไปน้นั ไดแ้ ก่ การเรียงลาํ ดบั ในองศาต่าง ๆ เป็นจงั หวะสม่าํ เสมอ ซ่ึงเรียกว่า ลาํ นาํ เป็นเคร่ืองแสดงกล่ินไอหรือบรรยายกาศแห่งอาเวก หรืออารมณ์ความรู้สึก (emotional atmosphere) ก) ใชค้ าํ ท่ีมีคา่ ของความหมาย ๑) คาํ ที่ใหเ้ ห็นภาพ เช่น คาํ พรรณนาภาพ ม่านน้ีฝีมือวนั ทองทาํ จาํ ไดไ้ ม่ผดิ นยั น์ตาพี่ เสน้ ไหมแมน้ เขียนแนบเนียนดี สิ้นฝีมือแลว้ แต่นางเดียว เจา้ ปักเป็นป่ าพนาเวศ ขอบเขตเขาคลุม้ ชอ่มุ เขียว รุกขชาติดาดใบระบดั เรียว พริ้งเพรียวดอกดกกระดะดวง แผห่ างกางปี กเป็นพมุ่ พวง ชะนีหน่วงเหน่ียวไมช้ มอ้ ยตา

๒๓ (ขนุ ชา้ งขนุ แผน) ๒) ใชก้ วีโวหาร อุปมาอุปไมย คือ ใชก้ ารเปรียบเทียบเขา้ ช่วย เป็นการใชค้ าํ ส้ันกะทดั รัด แต่ผอู้ ่านมี ประสบการณ์หรือมีความรู้ในส่ิงท่ีนาํ มาเปรียบเทียบอยแู่ ลว้ จึงเขา้ ใจความหมายไดช้ ดั เจน เช่น ขนุ แผนปลอบนางวนั ทองในป่ าเม่ือขนุ ชา้ งพาผคู้ นมาติดตาม ฟังผวั อยา่ กลวั มนั เลยเจา้ อีกสิบเท่าเขา้ มากจ็ ะสู้ มนั เหมือนยงุ ริ้นท่ีบินรู จะมาสู่เปลวไฟไม่รู้ตวั (ขนุ ชา้ งขนุ แผน) คาํ อุปมาอุปไมยน้ี เป็นคาํ เปรียบเทียบขนุ ชา้ งกบั พวกที่มาตามจบั ขนุ แผน เสมือนยงุ ริ้นบินเขา้ สู่กอง ไฟ เปลวไฟจะไหมย้ งุ ริ้นตาย ขนุ ชา้ งกบั พวกก็จะไดร้ ับอนั ตรายเช่นเดียวกบั ยงุ ริ้น ผูอ้ ่านส่วนมาก ทราบดีวา่ ถา้ ยงุ ริ้นบินเขา้ กองไฟจะตายทนั ที จึงเขา้ ใจสถานการณ์ของเรื่องไดด้ ี ๓) ใชส้ ัญลกั ษณ์ กวีเลือกใชค้ าํ อ่ืนที่มีความหมายเป็นที่เขา้ ใจชดั เจนทว่ั ไปอยใู่ นใจของ ผูอ้ ่านแลว้ มากลา่ วแทนทาํ ใหผ้ อู้ ่านคิดภาพไดต้ รงกบั ความหมายหรือสาระท่ีกวตี อ้ งการสื่อสาร เช่น เหมือนกนิ นํา้ เห็นปลงิ ทุกส่ิงไป (ขนุ ชา้ งขนุ แผน) สื่อความรู้สึกน่าขยะแขยงน่ารังเกียจ เมื่อขนุ แผนแสดงความรักต่อนางวนั ทอง ซ่ึงตกไปเป็นเมียของ ขนุ ชา้ งแลว้ ดงั ราชหงส์ปี กหักตกปลกั หนอง กาแกกจ็ ะแซ่ซ้องเข้าสาวไส้ (เทศนม์ หาชาติเวสสนั ดรชาดก) ราชหงส์ แทน พระเจา้ กรุงสญชยั ปี กหัก แทน ความแก่ชราไร้ความสามารถ กาแก แทน ขา้ ราช บริพาร แซ่ซ้องเขา้ สาวไส้ แทน การเขา้ มาทาํ ร้าย เป็ นถอ้ ยคาํ ท่ีพระนางมทั รีกราบทูลพระเจา้ สญชัยให้ คาํ นึงถึงผลร้ายเมื่อขบั ไล่พระเวสสนั ดรไปจากเมือง ๔) พรรณนาเกินความจริง หรือกล่าวในสิ่งท่ีเป็ นไปไม่ได้ เพื่อให้ผูอ้ ่านคิดเห็นภาพ และเขา้ ใจ ชดั เจน เช่น เรียมร่าํ น้าํ เนตรถว้ ม ถึงพรหม พาหมู่สตั วจ์ ่อมจม จวบมว้ ย (โคลงกวีโบราณ)

๒๔ กลา่ วเกินจริง เพ่ือแสดงถึง การร่าํ ไหเ้ พราะมีความทุกขแ์ สนสาหสั ข) ใช้คาํ ท่ีมีค่าของเสียง กวีใช้คาํ ที่มี ค่าของเสียง ส่งให้เกิดความเสนาะไพเราะมีอรรถรสเป็ น ถอ้ ยคาํ ที่กระทบอารมณ์ โดยกวีตระหนกั ในอตั ลกั ษณ์และอจั ฉริยภาพของภาษา สามารถเลือก คาํ หรือปรุงแต่งร้อยเรียงคาํ ให้เกิดเสียงไพเราะ มีความหมายลึกซ้ึง มีช่วงเสียงและมีลีลา สอดคลอ้ งกบั สาระท่ีเสนอ คาํ ทุกคาํ ในแต่ละวรรคแต่ละบาท หรือ แต่ละบท ประสานกนั เกิด เสีนงเสนาะ โดยใช้ ๑) สมั ผสั (rhyme) ประกอบดว้ ย สมั ผสั นอกและสมั ผสั ใน คาํ ที่มีค่าของเสียงสมบูรณ์คือคาํ ที่มี เสียงไพเราะ สื่อความหมายชดั เจน เมื่อประกอบกนั หลายคาํ ตามขอ้ บงั คบั มีสัมผสั สอดรับ เกิดเป็ นเสียงประสานกนั กลมกลืน เป็ นช่วงเสียงลีลาเคลื่อนไหว ไพเราะงดงาม ท้งั น้ี ใน การจดั สัมผสั ตอ้ งละเวณ้ สัมผสั เลือน คือสัมผสั สระเสียงเดียวกนั ใกลก้ นั หลายคาํ จนเลอะ เลือน ตัวอย่าง เห็นบุปผาลอยธาราน่าควา้ หยบิ แต่ไกลลิบแห่งไกลควา้ ไม่ถึง ๒) ช่วงเสียงหรือจงั หวะ (rhythm) หมายถึง การเคลื่อนไหวหรือการเปล่งเสียงจากคาํ หน่ึงไปสู่ อีกคาํ หน่ึงประกอบกนั เป็ นวรรค มีช่วงเสียงสอดคลอ้ งกบั ขอ้ บงั คบั ของรูปแบบท่ีกวีเลือก ซ่ึงจะช่วยสะทอ้ นสะเทือนอารมณ์ และความคิดของผอู้ า่ นได้ ตัวอย่าง ช่วงเสียงท่ีทาํ ให้ผูฟ้ ังเกิดอารมณ์ร่วมและรู้สึกถึงความโกรธ ความโกรธในความรู้สึกทว่ั ไปน้ัน ก่อใหเ้ กิดความพลุ่งพล่านในจิตใจ บางคร้ังจึงกล่าวถึงความโกรธวา่ เดือด หรือไฟ ซ่ึงร้อน ผทู้ ี่โกรธจดั อาจ ทาํ กริยาท่ีเคล่ือนไหวรวดเร็ว เช่น ทุบ เตะ ฉีกทิ้ง กระชาก หรือแผดเสียงเอะอะ เกร้ียวกราด ซ่ึงลว้ นเป็ น อาการเคลื่อนไหวรวดเร็ว ดงั น้นั ช่วงเสียงของร้อยกรองที่แสดงความโกรธก็มีจงั หวะรวดเร็วมากเช่นกนั เช่น ผนั พระกายกระทืบพระบาทและอึง พระศพั ทสีหนาทพึง สยองภยั เอออเุ หม่นะมึงชิช่างกระไร ทุทาสสถุลฉะน้ีไฉน กม็ าเป็น ๓) การเล่นคาํ ซ้ําคาํ เป็ นลกั ษณะอนั งดงามอีกอย่างหน่ึงของบทร้องกรอง ท่ีทาํ ให้เกิดเสียง เสนาะ

๒๕ ตวั อย่าง ลางลิงลอดไม้ ลางลิง แลลูกลิงลงชิง ลูกไม้ ลิงลมไล่ลมติง ลิงโลด หนีนา แลลูกลิงลางไหล้ ลอดเล้ียวลางลิง (ลิลิตพระลอ) ๔) การเลียนเสียงธรรมชาติ กวีนาํ เสียงธรรมชาติมาบรรจุลงในบทร้อยกรอง ทาํ ให้เกิดเสียง เสนาะ เช่น เสียงนกร้อง เสียงดนตรี ตัวอย่าง ตอ้ ยต๋ีวิศชิดโฉบร้อง กอ้ งเกรียว ตวิ๋ดตว๋ดิ ต๋ิดเต๋ียวเตี๋ยว เจี๋ยวจอ้ ย ตามทกั ปักหนา้ เจียว เจา้ ตวด๋ิ กระจ๋ิดเอย เดก็ รักทกั ถามกตอ้ ย กะเตาะเตน้ เผน่ หนี (โคลงนิราศสุพรรณ – สุนทรภู่) ๒.๒ มีอารมณ์สะเทือนใจ (emation) กวีใชถ้ อ้ ยคาํ พรรณนาความรู้สึกหรือเหตุการณ์ท่ีทาํ ให้ ผูอ้ ่านเกิด อารมณ์สอดคลอ้ งกบั ความรู้สึก หรืออารมณ์ หรือบทบาทหรือ เหตุการณ์ในเร่ืองท่ีกวีเสนอ เช่นคาํ รําพนั ของ พระนางมทั รี เม่ือออกไปติดตามหากณั หาชาลีในป่ ายามค่าํ คืนแต่ไม่พบ เป็ นบทร้อยกรองที่ให้อารมณ์ ความรู้สึกสะเทือนใจในความรัก ความอาลยั ความเศร้าเสียใจของแม่ท่ีสูญเสียลูกรักไป “ แต่แม่เที่ยวเซซงั เสาะแสวงทุกแห่งห้องหิมเวศทวั่ ประเทศทุกราวป่ า สุดสุรเสียงท่ีแม่จะร่ําเรียกพิไร ร้องสุดฝี เทา้ ท่ีแม่จะเย้ืองยอ่ งยกยา่ งลงเหยยี บดิน ก็สุดสิ้นสุดปัญญา สุดหาสุดคน้ เห็น สุดคิด จะไดพ้ านพบ ประสบรอยพระลูกนอ้ ยแต่สกั นิดไม่มีเลย จึงตรัสวา่ เจา้ ดวงมณฑาทองท้งั คูข่ องแม่เอย๊ หรือวา่ เจา้ ทิ้งขวา้ งวาง จิตไปเกิดอื่นเหมือนแม่ฝันเม่ือคืนน้ีแลว้ แล” (เทศน์มหาชาติเวสสนั ดรชาดกกณั ฑม์ ทั รี)

๒๖ ๒.๓ มีประโยชน์แก่ผู้อ่าน แมว้ รรณกรรมร้อยกรองมิใช่ตาํ ราทางวิชาการ แต่ผอู้ ่านก็จะไดร้ ับประโยชน์ อย่างหลากหลาย เน่ืองจากวรรณกรรมท่ีมีคุณค่ามีคุณลกั ษณะของวรรณศิลป์ จะสะทอ้ นสภาพสังคม หรือ ประมวลภาพส่ิงท่ีเกิดข้ึนในยคุ ของวรรณกรรมน้นั ๆ ไวผ้ อู้ ่านในยคุ หลงั จะไดร้ ับความรู้ในเรื่องต่าง ๆ เช่น บทละครเร่ืองอเิ หนา ใหค้ วามรู้เก่ียวกบั สภาพบา้ นเมืองของกรุงเทพ มหานครในสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้ กล่าวถึงขนบประเพณี เช่น พิธีโสกนั ต์ พิธีทาํ ศพเจา้ นาย ฯลฯ นิราศพระบาท ให้ความรู้เก่ียวกบั เส้นทาง คมนาคม สถาปัตยศิลป์ และขนุ ชา้ งขนุ แผน ใหค้ วามรู้เร่ืองการอาชีพการดาํ รงชีวิต การละเล่นของไทยสมยั โบราณ ฯลฯ ตวั อย่าง สถาปัตยศิลป์ ของพระพทุ ธบาทจงั หวดั สระบุรี ท้งั ซุม้ เสามณฑปกระจกแจ่ม กระจงั แซมปลายเสาเป็นบวั หงาย มีดอกจนั ทนก์ า้ นแยง่ สลบั ลาย กลางกระจายดอกจอกประจาํ ทาํ …………………………… ใบระกาหนา้ บนั บนช้นั มุข สุวรรณสุกเลื่อมแกว้ ประภสั สร ดูยอดเยยี่ มเทียมยอดยคุ นธร กระจงั ซอ้ นแซมใบระกาบงั (นิราศพระบาท-สุนทรภู่) ตัวอย่าง การละเล่นของไทยสมยั โบราณ กล็ งโรงเลน่ ประชนั อยหู่ วนั่ ไหว คร้ันรุ่งแสงสุริยฉ์ านประมาณโมง รับกรับไมน้ ้นั พร้อมเพรียง คนเจรจาสองขา้ งต่างถงั เถียง โขนละครมอญรําชูใจร้อง พดู จาฮาเสียงสนน่ั โรง พวกหุ่นเชิดชกั ยกั ยา้ ยท่า จาํ อวดเอาอา้ ยคอ่ มเขา้ ดอ้ มเมียง (ขนุ ชา้ งขนุ แผน)

๒๗ ๒.๔ ให้ความเพลดิ เพลนิ ผลงานร้อยกรองโดยเฉพาะวรรณคดีมรดกท่ีเป็นวรรณคดีบริสุทธ์ิ มีตวั ละครมี การดาํ เนินเรื่องต่อเนื่อง และการคล่ีคลายเรื่องบางเรื่อง มีปมประเด็นสลบั ซบั ซ้อนเสนอเรื่องราวอนั เป็ นวง ชีวิตของตวั ละครเสมือนเป็นบุคคลมีชีวิต นอกจากแสดงการดาํ รงชีวิต มีการแข่งขนั ชิงดีชิงเด่น มีความ รัก ความเกลียด มีการต่อสู้มีอิจฉาริษยา มีความสมหวงั ผดิ หวงั พลดั พราก ดาํ เนินเร่ืองดว้ ยบทร้อยกรองอนั มี อรรถรสไพเราะ ให้ความเพลิดเพลิน ชวนให้ติดตามต่อเนื่อง เช่น เรื่องขุนช้างขุนแผน พระราชนิพนธ์ใน รัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหลา้ นภาลยั เป็นเรื่องท่ีแสดงวิถีชีวิตของคนไทยปลายสมยั อยธุ ยาต่อกบั สมยั รัตนโกสินทร์เป็ นเร่ือง ชิงรักหักสวาท ระหว่างขุนแผนชายรูปงามมีวิชาเวทมนต์คาถาเก่งกาจตาม ลกั ษณะชายไทยที่เป็ นท่ีนิยมยกยอ่ งในสมยั โบราณ ขนุ ชา้ งรูปร่างอปั ลกั ษณ์ไร้วิชา ไร้ฝี มือ แต่มง่ั คงั่ ร่ํารวย ท้งั สองคนช่วงชิงนางพิมซ่ึงต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นวนั ทอง ผลดั กนั ครอบครองภายหลงั นางวนั ทองถูกพระพนั วสาพระมหากษตั ริย์ พิพากษาใหป้ ระหารชีวิต เพราะไม่ตดั สินใจใหเ้ ดด็ ขาดวา่ จะอยกู่ บั ขนุ แผน หรือขนุ ชา้ ง สามีคนใดคนหน่ึง หรือจะอยกู่ บั พระไวยบุตรชายกด็ าํ เนินเร่ืองอยา่ งสลบั ซบั ซอ้ น แสดงชีวิตของตวั ละครท่ี ผนั แปรไปตามเหตุการณ์คร้ังแลว้ คร้ังเล่า มีความรักมีการพลดั พราก มีความสุขไม่ยง่ั ยืน เสนอลกั ษณะชีวิต ของปุถุชนพร้อมท้งั มีคติสอนใจในการดาํ รงชีวิต ใช้ที่สมบูรณ์ดว้ ยค่าของเสียงและค่าของความหมาย มี โวหารอปุ มาอปุ ไมยมีอรรถรสไพเราะแพรวพราว ต้งั แต่ตน้ จนจบซ่ึงผอู้ า่ นจะไดร้ ับความเพลิดเพลินท้งั ยงั จะ ได้เห็นและรู้ซ้ึงถึงแง่มุมต่าง ๆ ของชีวิตซ่ึงล้วนเป็ นภาพที่เกิดจากชีวิตจริงของมนุษยใ์ นยุคสมัยของ วรรณกรรมน้นั ๆ และใชเ้ ป็นคติเตือนใจได้ นอกจากน้ี ผลงานร้อยกรองท่ีให้ความรู้ซ่ึงเป็นวรรณคดีประยกุ ต์ เช่นพรรณพฤกษาสัตวาภิธาน ของ พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อยอาจารยางกูร) ให้ความรู้เก่ียวกบั พรรณไมแ้ ละสัตวก์ ล่าวถึง ไมย้ ืนตน้ ไมผ้ ล เช่นกลว้ ย มะม่วง ทุเรียน แต่ละอยา่ งมีมากกวา่ ๕๐ ชื่อและสัตวต์ ่าง ๆ ท้งั สัตวส์ ี่เทา้ สัตวส์ องเทา้ มีชื่อเรียก ต่างๆ นอกจากใหค้ วามรู้แลว้ กย็ งั มีอรรถรสไพเราะ ใหค้ วามเพลิดเพลินดว้ ย

๒๘ บรรณานุกรม กิดานนั ท์ มลทิ อง. (๒๕๔๔). สือ่ การสอนและการอบรม. กรุงเทพมหานคร: สาํ นกั พิมพแ์ หง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั . ยวุ พาส์ ชยั ศิลป์ วฒั นา. (๒๕๔๒). ความรู้เบอื้ งต้นเกี่ยวกบั วรรณคด.ี กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร.์ ศวิ กานท์ ปทมุ สตู ิ. (๒๕๕๓). คมู่ อื การอ่านคดิ วิเคราะห.์ กรุงเทพมหานคร: หา้ งหนุ้ สว่ นจาํ กดั นวสาสน์ การพิมพ.์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook