การประกอบตคู้ อนโทรลมอเตอร์ แบบสตารเ์ ดลตา้ นายชลิต สิทธิโชติโสภณ รหสั 644104008 สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้ า วิทยาลยั เทคนิคสรุ าษฎรธ์ านี สถาบนั การอาชีวศึกษาภาคใต้ อ้างอิงรายวิชา : การเขียนรายงานในงานอาชพี รหสั : 20-4000-1101 ที่ปรึกษา : ดร.สมหวงั ศภุ พล
สารบญั 1 1 บทนำ 3 ขั้นตอนการ 8 เครื่องมอื อปุ กรณแ์ ละขอ้ ควรระวงั 10 01.เขียนแบบวงจรและคำนวณขนาดของอุปกรณ์ให้เหมาะกบั มอเตอร์ 13 02.วัดขนาดตแู้ ละออกแบบการวางอุปกรณ์ภายในตู้และติดตง้ั อปุ กรณ์ 16 03.ต่อวงจรไฟฟ้าท้ังวงจรคอนโทรลและพาวเวอร์พรอ้ มทดลอง 04.จัดเก็บสายไฟและสง่ งาน 18 19 ภาคผนวก 15 ภาคผนวก ก 33 ภาคผนวก ข 50 ภาคผนวก ค ภาคผนวก ง 52 53 บรรณานกุ รม ประวตั ผิ ู้จดั ทำ
-1- บทนำ ในปัจจุบนั ประเทศของเรามีการเตบิ โตของโรงงานอุตสาหกรรมเพ่มิ ข้ึนเยอะขนึ้ และ ส่งิ ทีพ่ บเห็นในสายการผลิตท่ีเยอะท่สี ดุ ไมพ่ น้ ส่งิ น้ีคือมอเตอรข์ นาดใหญแ่ ละขาดผทู้ ่ีสามารถ ควบคุมดูแลวงจรคอนโทรลและสามารถประกอบต้คู อนโทรลได้ คมู่ อื ฉบับนม้ี ขี น้ั ตอนการประกอบ ต้วู งจรการควบคมุ มอเตอร์แบบสตารเ์ ดลต้าอย่างละเอียดเพื่อผทู้ ีส่ นใจได้ศึกษาต่อเพื่อท่จี ะได้มี ความร้แู ละความเข้าใจมากยิ่งขึน้ ขน้ั ตอนการประกอบตอ่ วงจรและติดตงั้ อุปกรณ์ภายในตู้มี 4ข้ันตอน เขยี นแบบวงจรและคำนวณขนาดของ 01 อุปกรณ์ให้เหมาะกับมอเตอร์ วัดขนาดตู้และออกแบบการวางอุปกรณ์ 02 ภายในตแู้ ละติดตัง้ อุปกรณ์ ตอ่ วงจรไฟฟ้าทัง้ วงจรคอนโทรลและพาวเวอร์ 03 พรอ้ มทดลอง
-2- 04 จดั เกบ็ สายไฟและสง่ งาน
-3- เครอ่ื งมืออปุ กรณ์และขอ้ ควรระวัง การประตคู้ อลโทรลมอเตอร์ แมกเนติกคอนแทคเตอร์ เซอร์กิตเบรกเกอร์ ขอ้ ควรระวัง ขอ้ ควรระวัง -ระวงั หน้าสมั ผัสเสียหาย -เลอื กเซอรก์ ิตเบรกเกอร์ให้เหมาะสมกับ กระแสไฟ ไทมเ์ มอร์ เฟสโพแทคชั่น 3 เฟส ขอ้ ควรระวงั ขอ้ ควรระวงั -เลอื กไทมเ์ มอรใ์ ห้เหมาะกับงานทใ่ี ช้ -ควรระวงั ไมไ่ หต้ อ่ สายผดิ ซอ็ กเก็ต ไทมเ์ มอร์ รางเกบ็ สาย ขอ้ ควรระวัง ข้อควรระวงั -เข้าสายใหแ้ นน่ -ตดั ใหพ้ อดีกบั ตู้
-4- เครือ่ งมืออุปกรณแ์ ละขอ้ ควรระวงั การประต้คู อลโทรลมอเตอร์ รางตดิ อปุ กรณ์ ปุ่มกด ขอ้ ควรระวงั ขอ้ ควรระวงั -หลังจากตัดแล้วควรแตง่ มมุ ไมใ่ หม้ คี ม -เชค็ วา่ ปมุ่ มันดดี กลับหรือไม่ ไฟสถานะ สายไฟ VSF ขอ้ ควรระวงั ขอ้ ควรระวัง -ระวงั ไม่ใหก้ ระแทกอะไรแรงๆ -ระวงั ไมใ่ ห้สายคด สายไฟTHW หางปลา ข้อควรระวงั ข้อควรระวัง -ระวังไมใ่ ห้สายคด -ควรเลือกขนาดหางปลาให้พอดกี ับสายไฟ
-5- เครือ่ งมืออปุ กรณ์และข้อควรระวัง การประตู้คอลโทรลมอเตอร์ น็อตหวั สว่าน เปลอื กหมุ้ ปางปลา ข้อควรระวงั ขอ้ ควรระวงั -ระวังเวลาขันไมค่ วรใหน้ ็อตหลาว -ควรเลอื กให้พอดกี บั ขนาดหางปลา ตคู้ อลโทรล ไสไ้ ก่พันสาย ข้อควรระวงั ขอ้ ควรระวัง -เช็คต้ใู หม้ คี วามแขง็ แรงทนทาน -ระวงั ไม่ใหส้ ายน้ำพับ ตลบั เมตร คีมรวม ข้อควรระวงั ขอ้ ควรระวัง -ตอ้ งมองเหน็ ตัวเลขชดั เจน -เลือกคีมทม่ี ีความแข็งแรงทนทาน
-6- เครอ่ื งมืออปุ กรณ์และขอ้ ควรระวัง การประตคู้ อลโทรลมอเตอร์ คีมย้ำหางปลา ไขควง ขอ้ ควรระวงั ข้อควรระวงั -ควรเลือกคีมยำ้ ท่ปี ากมีความแขง็ แรง -ไม่ควรนำไขควกงดั หรอื แงะอะไร ไขควงวดั ไฟ ดอกเจาะเหลก็ ขอ้ ควรระวงั ข้อควรระวงั -ไม่ควรนำไปจนั น็อตทมี่ คี วามแนน่ มาก -ระวังดอกเจาะบาดมือ ดอกโฮลซอ สว่านเจอะเหล็ก ข้อควรระวงั ขอ้ ควรระวงั -หลังใชง้ านควรเอาเศษขยะออก -ใช้งานเสรจ็ ควรมว้ นสายเกบ็ ใว้ให้ดี
-7- เครอื่ งมืออุปกรณ์และขอ้ ควรระวงั การประต้คู อลโทรลมอเตอร์ คมี ย้ำหางปลาไฮโดรลิก แคลมมเิ ตอร์ ขอ้ ควรระวงั ข้อควรระวงั -ควรหยดน้ำมันอยู่เรอื่ ยๆ -ระวงั ไม่ใหต้ กหรือกระแทกอะไรแรงๆ ดนิ สอ ไม้บรรทัด ข้อควรระวงั ขอ้ ควรระวัง -ระวงั ไมใ่ หป้ ลายปากกาหัก -ไม่ควรนำไปดดั หรืองอ
-8- 01 เขียนแบบวงจรและคำนวณขนาดของอุปกรณ์ เครอ่ื งมอื และอปุ กรณ์ เทคนิคการทำงาน ขอ้ ควรระวงั - ศกึ ษาเกย่ี วกบั มอเตอรท์ ่ี - ควรมสี มาธใิ นการทาขนั้ ตอน ตอ้ งการคอนโทรล น้เี พราะสามารถลดคา่ ใชจ้ ่าย ของอปุ กรณ์ทใ่ี ชแ้ ละเพอ่ื - หมนั ฝึกฝนและทบทวน ความปลอดภยั ของผใู้ ช้
-9- 01 เขยี นแบบวงจรและคำนวณขนาดของอุปกรณ์ 01.ศึกษาเก่ยี วกับวงจรคอนโทรลแบบสตาร์ เดลต้า shorturl.asia/AMrHw 02.คำนวณหากระแสของมอเตอรท์ ี่ต้องการ 03.หาพิกดั สายและอุปกรณ์คอนโทรลจาก กระแสของมอเตอร์ใหส้ อดคลอ้ งกนั 04.เขยี นวงจร
- 10 - 02 วัดขนาดตู้และออกแบบการวางอุปกรณ์ภายในต้แู ละติดตั้งอปุ กรณ์ เคร่อื งมือและอปุ กรณ์
- 11 - เครื่องมือและอุปกรณ์ เทคนคิ การทำงาน ข้อควรระวัง - พ่งึ ลงสเี ขม้ กอ่ นตรวจสอบ - ใช้สมาธิดีๆ - อยา่ พึ่งเขียนเส้นเขม้ เกนิ ไป - ลบใหส้ ะอาด
- 12 - 02 วดั ขนาดตแู้ ละออกแบบการวาง อุปกรณ์ภายในตูแ้ ละตดิ ตั้งอปุ กรณ์ shorturl.asia/jexiG 02.มาร์คตำแหน่ง 01.หาขนาดตทู้ ่เี หมาะสม 03.เจาะรเู พ่ือติดอุปกรณ์ 04.ติดตัง้ อปุ กรณ์ตา่ งๆ
- 13 - 03 ตอ่ วงจรไฟฟา้ ท้งั วงจรคอนโทรลและพาวเวอรพ์ ร้อมทดลอง เครือ่ งมือและอปุ กรณ์ เทคนคิ การทำงาน ขอ้ ควรระวัง - ตอ่ วงจรจากบนลงลา่ ง - การลดั วงจรเพราะตอ่ ผดิ - จดุ จมั๊ แตล่ ะจดุ ไมค่ วรเกนิ 2เสน้ - การย้าหางปลาและการขนั น๊อต - ลองวดั ค่าโอหม์ ระหวา่ งไลน์กบั ไมแ่ น่น นิวตรอนกอ่ นลองจ่ายไฟ - ตรวจวา่ จุดจมั๊ ตา่ งๆแน่นรยึ งั
- 14 - 03 01.ต่อวงจรคอนโทรลตามแบบท่ไี ดอ้ อกแบบ ไวจ้ ากบนลงลา่ ง ต่อวงจรไฟฟา้ ทั้งวงจรคอนโทรล และพาวเวอร์พร้อมทดลอง shorturl.asia/8FHIh 03.ตอ่ วงจรคอนโทรลให้เรียบร้อย 02.ย้ำหางปลาสายคอนโทรลและตรวจเช็คทกุ คร้งั หลงั การย้ำ 04.ดดั สายพาวเวอร์ 0.5ย้ำหางปลาสายพาวเวอร์ด้วยยำ้ หาง ปลาไฮโดลิก
- 15 - 03 ตอ่ วงจรไฟฟา้ ทั้งวงจรคอนโทรลและพาวเวอรพ์ ร้อมทดลอง 06.วัดค่าโอห์มของไลนแ์ ละนวิ ตรอนพร้อม ทดลอง
- 16 - 04 จัดเกบ็ สายไฟและส่งงาน เคร่อื งมือและอปุ กรณ์ เทคนิคการทำงาน ขอ้ ควรระวงั - เรยี งสายใหเ้ ป็นระเบยี บกอ่ น - สายเปน็ กระจกุ - เลือกขนาดของไสไ้ ก่ใหเ้ หมาะกับ - ความยาวไส้ไกไ่ ม่พอ จำนวนสาย
- 17 - . 04 จัดเก็บสายไฟและส่งงาน 01.เรยี งสายไฟให้เรียงกันในรางเกบ็ สาย shorturl.asia/dQEvk 02.พนั ไสไ้ กใ่ หเ้ รียบรอ้ ยไม่ใหเ้ ปน็ กระจกุ 03.ทำการแรปตูพ้ ร้อมส่งงาน
- 18 - ภาคผนวก
- 19 - ภาคผนวก ก เขยี นแบบวงจรและคำนวณขนาดของอปุ กรณ์ให้ เหมาะกบั มอเตอร์
- 20 - 01. เขยี นแบบวงจรและคำนวณขนาดของอปุ กรณใ์ หเ้ หมาะกบั มอเตอร์ การสตารท์ แบบสตาร์เดลต้า สตาร์-เดลตา้ -สวิตช์เป็นสวติ ชล์ ักษณะของดรมั หรือ โรตารี่ แคมสวิตช์ คลา้ ยกบั สวติ ช์กลับทาง หมนุ มอเตอร์แตโ่ ครงสร้างตอ่ ภายใน เปลย่ี นแปลงไปให้เหมาะสมกบั หลักการสตาร์ทแบบน้ี รูปของโร ตารี่ แคมสวิตชท์ ำหนา้ ท่เี ปน็ สตาร์-เดลตา้ อุปกรณท์ ี่ใช้ในการควบคมุ สวติ ชป์ มุ่ กดสแี ดงปกตปิ ิด 1 ตัว สวิตช์ปมุ่ กดสเี ขียวปกติเปิด 1 ตวั เซอร์กติ เบคเกอร์
- 21 - โอเวอร์โหลด แมกเนตกิ คอนแทคเตอร์ เฟสโพเทดชั่น สญั ลักษณ์ ความหมายสญั ลกั ษณ์อกั ษรกำกบั วงจร ความหมาย S1 S2 สวติ ชป์ ุ่มกดหยุดเดินมอเตอร์ (Push Button Stop) F1 สวิตชป์ ่มุ กดเดนิ มอเตอร์(Push Button Start) F2 ฟิวส์ปอ้ งกันวงจรกำลงั (Power Fuse) F3 ฟิวสป์ อ้ งกันวงจรควบคมุ (Control Fuse) K1 สว่นป้องกนั มอเตอรท์ ำงานเกินกำลงั (Overload Relay) K2 แมคเนติคคอนแทคเตอร์ต่อไฟเข้ามอเตอร์ (Line Contactor) แมคเนติคคอนแทคเตอร์ตอ่ ขดลวดมอเตอร์แบบสตาร์ (Star Contactor) K3 แมคเนติคคอนแทคเตอร์ตอ่ ขดลวดมอเตอร์แบบเดลต้า (Delta Contactor) K4T รเี ลย์หนว่ งเวลา (Timer Delay Relay) M1 มอเตอร์3เฟส ( 3 Phase Induction Motor)
- 22 - วงจรและหลกั การทำงานของการสตารท์ แบบสตาร์-เดลตา้ วงจรกำลัง(Power Circuit) วงจรกำลงั ของการสตาร์ทมอเตอร์ แบบสตาร์- เดลต้านน้ั การสตาร์ทจะตอ้ งเรยี งกัน ไปจาก สตารไ์ ปเดลต้า และคอนแทคเตอร์สตาร์ กับคอนแทคเตอร์เดลตา้ จะต้องมี Interlock ซ่ึงกันและกัน การควบคมุ มี 2อย่างคือเปลีย่ นจากสตาร์ไปเดลตา้ โดยการกด Pushbuttonกับเปลี่ยนโดยอัตโนมัติ ด้วยการใชร้ ีเลย์ตงั้ เวลาการควบคุมแบบอตั โนมัตมิ ี 2 วิธี 1. ต่อจุดสตาร์ด้วย K2 กอ่ นจา่ ยไฟเขา้ K1 2. จ่ายไฟด้วย K1 ก่อนตอ่ จุดสตารด์ ว้ ย K2
- 23 - วงจรควบคุม( Control Circuit) วงจรควบคมุ สตาร์ทมอเตอร์สตาร์-เดลต้า แบบอตั โนมตั ิโดยใช้รีเลยต์ ัง้ ลำลบั ขั้นตอนการทำงาน 1. กด S2 ทำให้คอนแทค K2 ทำงานตอ่ แบบสตาร์และรีเลยต์ ง้ั เวลา K4T ทำงานคอนแทคปิด ของ K2 ในแถวท่ี 4 ตดั วงจร K3 และคอนแทคปกติปิดในแถวที่ 2 ตอ่ วงจรให้เมนคอนแทค K1 2. ท่ี K1 ทำงานและปล่อย S2 ไปแล้วหน้าสัมผัสปกติเปดิ (N.O.) ของ K1 ในแถวที่ 3 ตอ่ วงจรให้คอน แทคเตอร์ K2 และตวั ตัง้ เวลา K4T จะทำงานตลอดเวลาขณะนีม้ อเตอรห์ มุนแบบสตาร์ (Star) 3. รีเลย์ต้งั เวลา K4T ทำงานหลังจากเวลาทีต่ ้งั ไวค้ อนแทคเตอร์ K2 จะถูกตัดออกจากวงจรดว้ ย หน้าสมั ผสั ปกติปิด (N.C.) ของ รีเลย์ตัง้ เวลา K4Tในแถวท่ี 1 และหนา้ สัมผัสปกตปิ ดิ (N.C.) ของ K2 ในแถวที่ 4 กลบั สสู่ ภาวะเดิมต่อวงจรใหก้ ันคอนแทคเตอร์ K3 ทำงาน และหน้าสมั ผัสปกติปิด (N.C.)ของ K3 ในแถวที่ 1 จะตดั คอนแทคเตอร์ K2 และรีเลยต์ ั้งเวลา K4T ออกจากวงจร จะคงเหลือคอนแทคเตอร์ K1และ K3 ทำงานรว่ มกันมอเตอร์ หมุนแบบ เดลตา้ (Delta) 4. เมื่อตอ้ งการหยุดการทำงานของมอเตอร์ใหก้ ดสวิตช์ S1 (Stop)
- 24 - การคำนวณหากระแสมอเตอร์ เราตอ้ งหากระแสของมอเตอร์เพ่อื ใชใ้ นการเลือกอุปกรณ์ต่างๆเพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกับความ ตอ้ งการและเพือ่ ความปลอดภยั และลดค่าใช้จ่ายทีเ่ กินความจำเป็นของอปุ กรณต์ ่างๆรวมไปถึงขนาด ของสายไฟในวงจรพาวเวอร์
- 25 - ขนาดของสายไฟ,เซอกติ เบรกเกอร์และแมกเนติกท่เี หมาะสมกบั กระแสของมอเตอร์ พกิ ดั ของสายไฟTHW
- 26 - พกิ ัดของแมกเนตกิ ส์
- 27 - พกิ ัดของเซอกิตเบรกเกอร์
- 28 - ภาคผนวก ข วัดขนาดต้แู ละออกแบบการวางอปุ กรณภ์ ายในตู้ และตดิ ต้งั อปุ กรณ์
- 29 - 02. วัดขนาดตแู้ ละออกแบบการวางอุปกรณภ์ ายในตูแ้ ละตดิ ตง้ั อุปกรณ์ ระบบการติดตง้ั ไฟฟา้ และการออกแบบ จำเปน็ ต้องมมี าตรฐานอย่างชดั เจน แม่นยำทุก ครงั้ เน่อื งจากน่ีคือ สง่ิ สำคัญท่ีจะชว่ ยลดความเสี่ยงอันตราย ทำให้ผู้ใช้งานปลอดภัย อายุการใช้งาน ของอปุ กรณไ์ ฟฟา้ ต่างๆ ก็จะใชง้ านได้ยาวนานมากขึ้น เนื่องจากโรงงานของเรา รับผลติ ต้คู อนโทรล ระบบไฟฟา้ ตามแบบ มามากมาย จึงอยากแบ่งปนั ความร้เู ร่ืองประเภทและความปลอดภยั เกย่ี วกบั ตู้ สำหรบั คอนโทรลระบบไฟฟ้าใหผ้ ู้อา่ นได้ทราบ ในการตดิ ตงั้ ระบบไฟฟา้ จะมีมาตรฐานการทำงานที่ เป็นขน้ั เปน็ ตอน กำหนดขึ้นมาอย่างชัดเจน ไมม่ กี ารข้ามขั้นตอนหรอื ทำงานแบบมว่ั ๆ หน่วยงานท่ีทำ หนา้ ที่ดังกล่าวก็จะตอ้ งไดร้ ับการรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑ์ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้า และอุปกรณ์ทเ่ี ก่ียวข้อง ต่างๆ ผ่าน มอก. (สำนักผลติ ภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม) ท่หี ลายคนตา่ งกค็ ุ้นช่อื กัน เป็นอย่างดี
- 30 - ตู้คอนโทรลระบบไฟฟา้ ตู้คอนโทรลระบบไฟฟ้า หรอื ต้คู วบคุมระบบไฟฟ้า คือ กลอ่ งทที่ ำหนา้ ที่เปน็ จุดศนู ย์รวม ในการควบคุมระบบไฟฟ้าทหี่ ลายแหลท่ ่ีอยูใ่ นทพ่ี กั อาศยั อาคาร สำนกั งาน ไปจนถึงโรงงานขนาดใหญ่ ตวั ตู้จะถกู ตดิ ต้งั เอาไวเ้ พื่อชว่ ยใหส้ ามารถควบคมุ ระบบการทำงานของไฟฟ้าได้ง่ายขนึ้ การตดิ ต้งั ที่ใช้ กนั ในปัจจบุ ัน มใี ห้เลือกหลากหลายชนิด ไม่ว่าจะเป็นชดุ ขนาดเลก็ ชดุ ขนาดใหญ่สำหรบั อาคาร และ ชดุ ขนาดใหญ่ขน้ึ ไปอีกเพื่อใชง้ านกบั ตกึ ระฟา้ ท้งั หมดน้ี ไม่วา่ จะเป็นทพี่ ักแบบใดกต็ าม จำเป็นต้องมตี ู้ คอนโทรลทช่ี ่วยจ่ายไฟฟา้ และจัดการไฟฟา้ ไมใ่ หเ้ กิดอนั ตราย ผู้ใช้งานภายในอาคารจะปลอดภยั เมอื่ ใช้กับอปุ กรณ์เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าต่างๆ ได้อย่างสบาย กรณีทเี่ ปน็ ท่ีพักอาศัยในลักษณะของบ้าน อพาร์ทเมน้ หรือหอ้ งชุด อย่างนอ้ ยท่ีสดุ ภายใน อาคารทอี่ าศยั อยูร่ ว่ มกนั น้ันจะต้องมีตคู้ อนโทรลระบบไฟฟ้า ซึง่ มกั ใชเ้ ปน็ ชนดิ Consumer Unit หรอื Load Center ซ่งึ ตัวอาคารหากมีการใชไ้ ฟฟ้าแบบ 3 เฟส มีสว่ นของสายไฟหลกั จากมเิ ตอรไ์ ฟฟา้ ต่อ เขา้ กับตู้ Breaker อกี ที ภายในตู้ ยงั แบง่ ออกเป็น Breaker ย่อยเพื่อแบง่ แยกการจา่ ยไฟฟ้าให้กับ เครื่องใชไ้ ฟฟ้าแต่ละประเภท และแยกจา่ ยไฟฟ้าในแตล่ ะชนั้ อาคาร รวมถงึ สายดนิ เพ่อื ปอ้ งกนั ไฟฟ้า รวั่ หรอื ลัดวงจรขนึ้ มา นอกจากนห้ี นา้ ที่ของอุปกรณ์ยังชว่ ยป้องกนั ความเสียหายใหแ้ กอ่ ปุ กรณไ์ ฟฟา้ ต่างๆ จากฟา้ ผ่าไดใ้ นระดับหน่งึ
- 31 - IP65 กบั มาตรฐานรบั รองสำหรับตู้คอนโทรล มาตรฐาน IP65 ตวั เลขท่ีเห็นมีความหมายดังนี้ ตัง้ แต่เลข 6 หมายถึง การป้องกนั ฝนุ่ ผง ละอองที่อาจจะเขา้ ไปกัดกรอ่ นตู้ภายในไดอ้ ยา่ งสมบูรณ์ 100 เปอร์เซน็ ต์ ส่วนเลข 5 หมายถึง ความสามารถในการป้องกันน้ำได้รอบทศิ ทาง ซ่ึงจะไม่กอ่ ให้เกดิ ความเสียหายกับอุปกรณ์ภายใน เพราะฉะนัน้ มาตรฐานนีจ้ งึ มีความสำคัญในด้านความปลอดภยั ของตูไ้ ฟฟา้ เป็นอย่างมาก อุปกรณ์หลักท่มี ีอย่ใู นตู้ โดยทั่วไปเบอื้ งตน้ ภายในโครงตทู้ ั้งหมด จะมอี ปุ กรณพ์ ื้นฐานและเปน็ อปุ กรณส์ ำคัญอยู่ภายใน ซ่งึ หลกั ๆ ก็คือ Main Circuit Break สวิทช์ประธาน, Circuit Breaker, บสั บาร์ และอปุ กรณ์ในส่วนเครอ่ื งวัดและ แสดงค่าทางไฟฟ้า ส่วนอปุ กรณ์อ่นื ๆ ก็ข้นึ อย่กู บั ว่าเอาไปใชง้ านกับอาคารประเภทไหน มพี นื้ ท่ีมาก น้อยแคไ่ หน เปน็ บ้านหรอื เป็นโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ กต็ ้องเลือกใช้ให้เหมาะสม
- 32 - การกาหนดระยะห่างของต้ไู ฟ ตามกฎหมายไมไ่ ดก้ ล่าวเอาไวเ้ ป็นข้อกำหนดระยะห่างของตไู้ ฟว่าตอ้ งห่างกนั มากนอ้ ยแค่ ไหน แต่ในทางปฏบิ ัติเพ่อื ความปลอดภัยแล้วละ่ ก็ ผู้ติดต้งั สามารถวางระยะห่างได้ตามดุลยพินิจ พน้ื ที่ ติดตั้งจะตอ้ งมีความมิดชิด มพี ืน้ ที่ปอ้ งกนั อยา่ งดี และอย่ใู นหอ้ งควบคุมพิเศษเท่าน้ัน เพ่อื ความ ปลอดภยั กไ็ ม่ควรมอี ุปกรณอ์ น่ื ๆ ทไ่ี ม่เกย่ี วขอ้ งเข้ามาวางเอาไวภ้ ายในพิกดั แตส่ ่ิงทีย่ กเว้นได้ คือ ถงั ดบั เพลง, อุปกรณข์ องตู้ และอะไหล่ ส่วนการตดิ ตง้ั ให้เหลอื พ้นื ที่รอบๆ ตู้เอาไว้สำหรบั การเข้าไปตรวจเช็คซอ่ มบำรงุ ได้ สกั ประมาณ 80-120 เซนติเมตร ในกรณีทเี่ ป็นตู้ควบคุมแบบติดผนัง จะตอ้ งวางแผนตดิ ตงั้ ในพื้นทๆ่ี สามารถเข้าออกได้สะดวก ไมม่ ีสิ่งกีดขวาง เชอ้ื เพลงิ ไวไฟ หรือของเหลววางไวใ้ กลต้ ู้
- 33 - ภาคผนวก ค ตอ่ วงจรไฟฟา้ ทั้งวงจรคอนโทรลและพาวเวอร์ พร้อมทดลอง
- 34 - 03. ตอ่ วงจรไฟฟา้ ท้งั วงจรคอนโทรลและพาวเวอรพ์ รอ้ มทดลอง วงจรไฟฟา้ Star-Delta (Y∆) สำหรบั สตาร์ทมอเตอร์ วนั น้ีเราจะมาสอนวธิ ตี ่อวงจร Star-Delta หรือเขยี นย่อเปน็ Y∆ สำหรับมอื ใหม่กันครับ ลำดบั แรกเราตอ้ งพดู ถึงวงจรไฟฟา้ ของ Y∆ กันกอ่ นครับว่ามีอะไรบา้ ง อันดบั แรกส่วนการจ่ายไฟเข้า มาทแ่ี มกเนตกิ ตามท่ีเขยี นไว้คอื ส่วน A เปน็ ส่วนทใ่ี ช้ MPCB หรือ MCCB ส่วน B คือแมกเนตกิ ส่วน ตอ่ จากเบรกเกอรไ์ ปหาแมกเนตกิ และส่วน C เปน็ โอเวอรโ์ หลด รีเลย์ทต่ี อ่ มาจากแมกเนตกิ สว่ น B อกี ที และส่วน D คอื มอเตอร์ทเี่ ราจะตอ้ งไปสตารท์ ครับ สว่ นสดุ ท้ายคือส่วน E เป็นส่วนของวงจรควบคมุ (Control Circuit) สว่ นนีผ้ มจะยงั ไม่พูดถึงในวนั นี้นะครับ วันนีผ้ มจะพูดเฉพาะส่วน A – D ซ่ึงมนั กค็ อื คือส่วนทเี่ รียกว่า วงจรกำลงั (Power Circuit) น้ันเองครบั
- 35 - ส่วนประกอบของวงจร Y∆ วงจร Star-Delta จะแบ่งออกเปน็ 2 ส่วนคอื วงจรควบคุม (Control Circuit) และวงจร กำลงั (Power Circuit) วงจรพาวเวอร์ ในส่วนของวงจรกำลัง (Power Circuit) จะประกอบไดด้ ้วย MCCB/MPCB, แมกเนติก คอนแทคเตอร,์ โอเวอรโ์ หลด และมอเตอร์ รายละเอียดแต่ละสว่ นผมจะอธิบายไว้ดา้ นล่างพรอ้ ม ภาพประกอบครับ ข้ันตอนการต่อวงจรพาวเวอร์ ส่วน A - MPCB/MCCB อปุ กรณช์ ิน้ นี้กค็ ือ MPCB เป็นเซอร์กิตเบรกเกอร์ทอ่ี อกแบบมาสำหรับสตาร์ทมอเตอร์
- 36 - สว่ นนจี้ ะเป็นตำแหนง่ R, S, T เปน็ สว่ นจา่ ยไฟไปท่ี L1, L2, L3 ของ MPCB จะอยู่ด้านบนของตวั เบรกเกอร์ เมอื่ ไฟเข้ามาจาก L1, L2, L3 ผ่านตัวเบรกเกอร์แลว้ จากนัน้ ไฟจะออกท่ีตำแหนง่ T1, T2, T3 เพ่อื จ่ายไฟให้กบั แมกเนตกิ คอนแทกเตอรต์ ่อไป สว่ นของปุ่ม Start – Stop ของตวั เบรกเกอรจ์ ะมลี ักษณะเป็นปุ่มกดสีแดงและสดี ำ โดยสีแดงเปน็ ปมุ่ Stop หยุดการทำงาน และสดี ำเปน็ ปมุ่ Start เริ่มการทำงาน เวลาจะใชง้ านกแ็ คก่ ดลงไป สังเกตเวลา ทีก่ ดลงไปที่ปุ่มใดปุ่มแลว้ นน้ั อีกปุ่มจะเด้งขึน้ มาทนั ที ใชง้ านไดส้ ะดวกดีครับ
- 37 - MPCB ตวั นี้จะมสี ว่ นท่พี เิ ศษวา่ เบรกเกอร์แบบอนื่ ๆ ตรงท่มี นั จะมีโอเวอร์โหลดตดิ ต้งั มาในตวั เบรก เกอร์เลย อยู่ทด่ี า้ นซา้ ยมอื ท่เี หน็ เปน็ เหมอื นร่องใหข้ ันนอ็ ตได้ โอเวอร์โหลดจะทำหน้าที่คอยตดั กระแสไฟฟ้าเกินในตวั เบรกเกอร์ใหค้ รบั สว่ น B - แมกเนติก คอนแทคเตอร์ ตัวนี้เปน็ แมกเนตกิ คอนแทคเตอร์ ตัวแมกเนติกนจี้ ะนำมาต่อเขา้ กบั ตัว MPCB โดยจะต่อสายจาก ตำแหน่ง T1 , T2, T3 ของตัวเบรกเกอร์มาเข้าทีต่ ำแหน่ง R, S, T หรือ L1, L2, L3 ท่อี ยดู่ ้านบนของ แมกเนติก แมกเนติกตวั น้ีเรากำหนดให้เปน็ แมกเนตกิ ตัวท่ี 1 หรอื เรยี กวา่ KM ทเี่ ขยี นไวบ้ น ไดอะแกรมดา้ นซ้ายมือ
- 38 - แมกเนติกตัวนีเ้ ป็น ทเ่ี รานำมาเป็นแมกเนติกตวั ที่ 2 หรือเรยี กว่า KD นำมาวางขา้ งๆ แมกเนติก (KM) แมกเนติก KM, KD, KS แมกเนตกิ KD จะลากสายออกมาจาก MPCB มาจา่ ยไฟเขา้ ที่ L1, L2, L3 ของแมกเนติก (KD) หรอื จะเรยี กว่า R, S, T กไ็ ดค้ รบั ส่วนด้านขวามือสดุ บนตวั แมกเนตกิ ตัวนี้จะเปน็ คอนแทคช่วย ส่วนน่จี ะไมไ่ ดค้ ่อยใชง้ านเท่าไหร่ครบั ส่วนแมกเนตกิ ตัวท่ี 3 (KS) เป็นสตาร์ จะนำมา วางไว้ขา้ งๆ แมกเนติก KD ส่วน C - โอเวอรโ์ หลด รีเลย์ เมอ่ื ต่อแมกเนติกเสรจ็ แล้วต่อไปจะนำโอเวอรโ์ หลดมาต่อเขา้ ไป แมกเนตกิ แบรนด์ชไนเดอร์จะใช้โอ เวอร์โหลดของแบรนด์ชไนเดอร์ สว่ นแมกเนตกิ ของ Lovato ก็ใชโ้ อเวอรโ์ หลดของ Lavato นะครับ ถ้าใชค้ นละแบรนด์กันจะตอ่ เขา้ ไปไมไ่ ดค้ รบั
- 39 - ตอนตดิ ตั้งโอเวอรโ์ หลดเข้ากับแมกเนตกิ ต้องขันน็อตใหแ้ น่นกันมนั หลุดออกจากกัน เพราะตอนติดต้งั จะไม่มีรางให้โอเวอรโ์ หลดยึดไว้ ต่างจากตวั แมกเนติกครบั ส่วน D – มอเตอร์ ด้านล่างของโอเวอร์โหลดจะต่อสายไปหามอเตอรไ์ ด้เลยท่ีตำแหน่ง U, V, W ทง้ั 3 เสน้ นะครบั KD และ KS ต้องตอ่ โอเวอรโ์ หลดหรือไม่ ? แมกเนติก KD และ KS ไมจ่ ำเป็นต้องต่อโอเวอร์โหลด สามารถลากสายเขา้ ไปหามอเตอร์ได้เลยที่ ตำแหนง่ X, Y, Z
- 40 - แมกเนติกคละแบรนดก์ นั ไดไ้ หม? คำตอบคือได้ครับ !!!…..ในตคู้ อนซูเมอร์เราสามารถใสแ่ มกเนตกิ คละแบรนด์กันไดน้ ะครบั ไม่ จำเป็นต้องเป็นแบรนด์เดียวกัน แต่สว่ นท่สี ำคญั คือ โอเวอร์โหลด ต้องเปน็ แบรนด์เดียวกับแมกเนติก เท่าน้นั สาเหตไุ มใ่ ช่อะไรหรอกครับ เวลาที่เอาแมกเนติกคนละแบรนด์กับโอเวอร์โหลดมาตอ่ เข้า ด้วยกัน มันต่อเขา้ ไปไมไ่ ดค้ รบั อาจด้วยการออกแบบทเี่ ขาออกแบบมาให้เข้ากับแมกเนติกของแบรนด์ ตวั เองเฉพาะ พยายามหาซือ้ ทีม่ นั แบรนดเ์ ดียวกนั หนอ่ ยนะครับ วงจรควบคมุ สว่ นนีเ้ ปน็ วงจรควบคุม (Power Circuit) ทีผ่ มจะอธบิ ายไว้ในคลปิ วิดโี อตอนท่ี 2 ดา้ นบนนะครบั ใน สว่ นนจ้ี ะมีอปุ กรณ์เหลา่ น้ีครบั แมกเนติก ไพล็อตแลมป์ Push Button โอเวอร์โหลดรีเลย์ และไท เมอร์ มาดูกนั เลยว่าส่วนวงจรควบคุมจะมกี ารทำงานอย่างไรบ้าง
- 41 - เอาละ่ ครบั เรากม็ าถงึ ส่วนสุดท้ายของวงจรสตาร-์ เดลตา้ กันแล้ว น่นั กค็ ือสว่ นวงจรควบคมุ หรือ Control Circuit ดตู ามรูปด้านบนเลยครับ ดา้ นซ้ายมอื จะเปน็ วงจรไฟฟ้าของวงจรควบคมุ มี สญั ลกั ษณท์ างไฟฟ้าเขยี นไวอ้ ย่างชัดเจน และดา้ นขวามือเปน็ อุปกรณ์จริงที่ใช้ในวงจรไฟฟา้ มี Pilot Lamp แบบ Push Button สเี ขยี ว สีแดง แมกเนตกิ คอนแทคเตอร์ KM KD KS สายไฟท่เี ขา้ หางปลา ไวเ้ รยี บรอ้ ยแล้ว และไทเมอรค์ รบั Pilot Lamp ปมุ่ กด ตวั ช่วยให้งานง่าย จะใช้ Pilot Lamp และ Push Button ตวั นี้คือรุน่ XB5 ของชไนเดอรค์ รบั มีทงั้ แบบสแี ดง และสี เขยี ว นำมาเป็นตัวโชว์สถานะการทำงานของวงจร และเป็นตวั Start และ Stop การทำงานในวงจร Push button switch สเี ขยี วตวั นจี้ ะเปน็ ปมุ่ Start ตัวมอเตอรใ์ ห้ทำงานครับ วิธกี ารดูนะครบั ให้พลิก ไปด้านหลงั จะเจอกับแถบสีเขียว และมีอกั ษรเขียนไวว้ า่ NO
- 42 - Push button switch สีแดงตัวนี้จะเป็นปุม่ Stop ตวั มอเตอร์ให้หยดุ ทำงานครับ วิธกี ารดนู ะครบั ให้ พลกิ ไปด้านหลงั จะเจอกบั แถบสแี ดง และมีอักษรเขียนไว้ว่า NC Pilot Lamp สแี ดงตัวนจ้ี ะเปน็ ตวั โชวส์ ถานะว่ามอเตอร์นน้นั โอเวอรโ์ หลดแล้ว อยู่ตรงตำแหน่งวงกลม สีแดงในวงจรไฟฟ้าดา้ ยซา้ ยเลยครับ
- 43 - Pilot Lamp สีเขยี วตวั น้ีเป็น LED ครบั การทำงานของ Pilot Lamp ตัวนี้กค็ อื เม่อื มอเตอร์ทำงานจะ ติด ถา้ มอเตอรห์ ยุดกจ็ ะดบั นะครบั และถา้ อยากให้มอเตอร์ทำงานก็ให้กดที่ปุ่มสีเขยี ว อยากให้ มอเตอร์หยดุ ทำงานก็กดทีป่ มุ่ สีแดงครบั อยา่ ลืมสายไฟ มากนั ท่สี ายไฟนะครบั สายไฟเส้นสีเหลืองในภาพน้ันเลยครบั คอนแทคเตอรร์ ุ่นนี้นะครบั จะใชก้ บั สายไฟท่ีคู่มือบนกลอ่ งแนะนำไวเ้ ป็น AWG 10 – 18 หรอื ประมาณ 2.5 mm แมกเนตกิ คอนแทคเตอร์ พระเอกของงานนี้ แมกเนตกิ คอนแทคเตอรท์ ่ีใช้ในวงจรสตาร์-เดลต้า จะมที ั้งหมด 3 ตัว นะครับ มีตัวเมน (KM) ตวั สตาร์ (KS) และตัวเดลต้า (KD) คอนแทคเตอรต์ ัวแรกกค็ อื ตวั เมนหรือ KM นน้ี ะครบั เปน็ คอนแทคเตอร์แบ รนด์ Lovato คอนแทคเตอร์ตัวเมนจะต้องมีคอนแทคช่วยทเ่ี ป็น NO ด้วยครบั
- 44 - แมกเนตกิ คอนแทคเตอรต์ วั ท่ี 2 จะเปน๋็ คอนแทคเตอรต์ ัวเดลต้า (KD) ครับ เป็นคอนแทคเตอรแ์ บ รนด์ชไนเดอร์ ตอ้ งมคี อนแทคช่วยท่ีเป็น NO และ NC ดว้ ย และคอนแทคเตอรต์ วั ที่ 3 หรอื ตัวสตาร์ (KS) กต็ ้องมีคอนแทคช่วย NO และ NC ดว้ ยเชน่ กนั ครบั
- 45 - คอนแทคเตอรท์ ั้ง 3 ตัวนสี้ ามารถใช้ขนาดเทา่ กันเลยกไ็ ดค้ รบั แตค่ อนแทคเตอร์ตัวเมน (KM) จำเปน็ ตอ้ งมโี อเวอรโ์ หลดตอ่ เขา้ ไปดา้ นลา่ ง 1 ตวั ครับ ส่วนคอนแทคเตอรส์ ตาร์ (KS) และเดลตา้ (KD) ไม่ต้องตอ่ โอเวอร์โหลดครบั Start-Delta Timer ตวั เปลย่ี นการทำงานใหแ้ มกเนตกิ อปุ กรณต์ ัวสุดท้ายทลี่ มื ไม่ไดเ้ ลยครบั ก็คอื Star-Delta Timer ตัวเปลีย่ นการทำงานของคอนแทค เตอร์ ถ้าใชไ้ ทเมอร์ท่วั ไปจะไม่เหมาะกับการทำงานแบบนนี้ ะครับ ควรใช้ไทเมอร์แบบนม้ี ากกวา่ เพราะมีช่วงเวลาในการดเี ลย์อยู่ Timer ตัวนเี้ ป็นของ Lovato รุ่น ST Series ความพเิ ศษของไทเมอรแ์ บบนี้นะครบั จะจ่ายไฟเขา้ ที่ขา A1 – A2 ให้เปน็ ซพั พลาย ฟังกช์ ันการทำงานจะสตาร์ทแบบ Star กอ่ น หนา้ คอนแทคเตอร์ตัวสตาร์ จะทำงาน มไี ทเมอรห์ น่วงเวลาชว่ งทรานซสิ ช่ัน (trans.) หนว่ งเวลาออกไป สามารถตัง้ ค่าได้ พอถึง
- 46 - เวลาตามท่ีเราได้ต้ังไว้ คอนแทคเตอร์ตัว Delta จะทำงาน หน้าคอนแทคเดลต้าทำงาน ส่วนตรงน้ีจะมี ตวั กำหนดเวลาไม่ให้คอนแทคเตอร์ทง้ั 2 ตัว ทำงานพร้อมกันได้ ถา้ เปน็ Timer แบบปกตทิ ่วั ไป จะไมม่ หี น้าคอนแทคของเดลตา้ เวลาเปลี่ยนการทำงานจะเปลย่ี นเลย เชน่ เปล่ียนจาก ON มา OFF เลยทนั ที ไมม่ ดี เี ลยใ์ นชว่ งนค้ี รบั เราจะใชไ้ ทเมอร์แบบปกติในวงจรก็ได้ ครับ แตจ่ ะมโี อกาสที่ ON กับ OFF จะทำงานพร้อมกันได้ ซ่ึงถา้ มันทำงานพร้อมกนั เวลาที่คอนแทค เตอรต์ ัวแรกทำงานแล้วยังไม่หยุด และคอนแทคเตอร์ตัวที่ 2 ก็ทำงานขึ้นมา มันจะเกดิ การชอ็ ตขึน้ ทำ ใหค้ อนแทคเตอรม์ ันพงั ได้เลยครับ การเซตไทเมอร์จะอยทู่ ปี่ ุม่ บนสุด ปมุ่ range เป็นปมุ่ ตัวคณู มเี ขยี นว่า 1s, 10s, 1m, 10m ถา้ ต้องการ ให้ตัวคณู เป็นเทา่ ไหร่ ก็ปรับหมุนลูกศรให้ตรงกับเลขเหล่านค้ี รับ ในภาพหัวลูกศรชี้ไปที่ 10s ครับ ปุ่มตรงนี้ท่ีเขียนวา่ Time เปน็ ตัวเวลาท่ีเราจะต้งั วา่ จะให้คอนแทคเตอร์ดเี ลย์เท่าไหร่ในการสตารท์ ช่วง ท่เี ปน็ สตาร์
- 47 - ปมุ่ สุดท้ายทม่ี สี ญั ลักษณ์ Y/Δ Delay เป็นปุ่มตั้งเวลาท่ีจะกำหนดใหเ้ ปลีย่ นสตารเ์ ป็นเดลตา้ จะใช้ ระยะเวลาเทา่ ไหร่ ตวั อยา่ งครับ ผมจะปรับปุ่มตวั แรกใหล้ กู ศรชี้ไปที่ตำแหน่ง 10s หรอื 10 วินาที และปรับปมุ่ Time ให้ ลกู ศรช้ที ี่เลข 3 นำเอา 10s x 3 เทา่ กับ 30 s มันกห็ มายความวา่ คอนแทคเตอร์จะดีเลยช์ ่วงท่เี ปน็ สตารอ์ ยู่ 30 วินาทีหรอื สตารท์ เปน็ สตารอ์ ยู่ 30 วินาทีครับ
- 48 - สว่ นปมุ่ Y/Δ Delay ผมได้ปรับลูกศรใหช้ ีไ้ ปทตี่ ำแหน่ง 20 มันก็คือ ช่วงเวลาท่ีคอนแทคเตอร์เปลย่ี น จากสตาร์เปน็ เดลตา้ จะใช้เวลา 20 ms ปรบั ไดต้ ามความตอ้ งการเลยครบั สามารถปรับสงู สดุ ได้ถงึ 300 ms ตอ่ Timer เข้ากบั KD และ KS อย่างไร?? มาถึงข้นั ตอนสุดทา้ ยแลว้ นะครบั นน่ั คือการต่อตัวไทเมอร์ เขา้ กบั คอนแทคเตอร์สตาร์ (KS) และคอนแทคเตอรเ์ ดลต้า (KD) เราจะใชไ้ ทเมอรแ์ บบสตาร์-เดลค้า วิธกี ารต่อคอื จะตอ่ ไฟเข้าเริ่มจาก Line ไปนิวทรลั สาย Line สีดำนี้นะครับจะนำไฟ 220V เขา้ มา แลว้ เข้าไปที่ตำแหน่ง A1 ส่วนตำแหนง่ ขา A2 จะไปตอ่ เข้านิวทรัล จากนน้ั มาต่อตัวไทเมอรท์ ตี่ ำแหนง่ ขา 18 และขา 28 ให้นำขา 18 ของไทเมอรต์ อ่ กบั คอนแทคเตอร์ สตาร์ (KS) เข้าทต่ี ำแหน่งคอยด์ 220V และขา้ งตำแหนง่ คอยดใ์ หต้ ่อสายออกไปนวิ ทรัลและไทเมอร์ขา 28 ใหน้ ำมาต่อเข้ากับคอนแทคเตอร์เดลตา้ (KD) ที่ตำแหนง่ A1 ของคอนแทคเตอร์ และตำแหน่ง A2
Search