Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สุขศึกษา พลศึกษา ทช31002

สุขศึกษา พลศึกษา ทช31002

Published by punpalee poon, 2022-11-10 08:47:14

Description: ทช31002

Search

Read the Text Version

151 • การสงเสริมการขาย ณ จุดวางสินคามีผลการวิจัยพฤติกรรมผูบริโภคในรานคาปลีกออกมาวา ยอดขายจะเพิม่ ขึน้ ถาลูกคาสามารถเห็นสินคา ณ จุดวางสินคา การจัดวางสินคาทีน่ าสนใจ ใหขอมูล เหมาะสม และวางในตําแหนงทีส่ ังเกตไดงาย จะชวยใหลูกคาซื้อสินคามากขึน้ ในปจจุบันจะเห็นไดวา สินคาอุปโภคบริโภคที่วางจําหนายในซุปเปอรมารเก็ต มีการจัดเรียงเปนแถวอยางเปนระเบียบ ถาตองการ ใหสนิ คา เปนท่สี งั เกตไดง าย พ้ืนทีว่ างสินคา ตอ งอยูในระดับสายตา และตัง้ วางสินคาเปนแถว อยางชัดเจน และเปนระเบียบ • การสงเสริมการขายโดยการแจกสินคาตัวอยางใหทดลองใช วิธีนีใ้ หลูกคาไดทดลองใชสินคา ดูกอน กอนทีจ่ ะตัดสินใจซือ้ ซึ่งวิธีนีก้ ็อาจสามารถดึงลูกคาทีใ่ ชสินคาของคูแ ขงอยู ใหหันมาทดลอง ของใหมโดยทีไ่ มตองเสียเงินซือ้ เพราะบางครัง้ ลูกคามีความคิดวาของที่ใชอยูเดิมก็ดีที่สุดอยูแ ลว ทําไม ตองไปเสียเงินซื้อสินคาอื่นมาทดลองใช อยางไรกต็ าม การสง เสริมการขาย ควรยดึ หลักทวี่ า ทําสิ่งท่งี า ยๆทไ่ี มใ หล กู คา รูส กึ ยงุ ยากในการ ที่จะเขารวมกิจกรรมที่เราวางไว เทคโนโลยีเพิม่ ชองทางการจาํ หนา ย E-Commerce การพาณิชยอิเล็กทรอนิกส คือ การดําเนินธุรกิจการคาหรือการซือ้ ขายบนระบบ เครือขายอินเทอรเนต โดยผูซ ื้อ (Customer) สามารถดําเนินการ เลือกสินคา คํานวนเงิน ตัดสินใจซื้อ สินคา โดยใชวงเงินในบัตรเครดิต ไดโดยอัตโนมัติ ผูขาย (Business) สามารถนําเสนอสินคา ตรวจสอบ วงเงินบัตรเครดิตของลูกคา รับเงินชําระคาสินคา ตัดสินคาจากคลังสินคา และประสานงานไปยังผูจ ัดสง สินคา โดยอตั โนมตั ิ กระบวนการดังกลาวจะดําเนินการเสร็จสิ้นบนระบบเครือขาย Internet ขอดี 1. เปดดําเนินการคา 24 ชั่วโมง 2. ดาํ เนินการคาอยางไรพรมแดนทั่วโลก 3. ใชงบประมาณลงทุนนอย 4. ตดั ปญ หาดา นการเดนิ ทาง 5. งายตอการประชาสัมพันธโ ดย สามารถประชาสัมพันธไดทั่วโลก ขอ เสยี 1. ตองมีระบบรักษาความปลอดภัยที่มีประสิทธิภาพ 2. ประเทศของผูซื้อและผขู ายจาํ เปน ตอ งมีกฎหมายรองรับอยางมีประสิทธิภาพ 3. การดาํ เนินการดา นภาษตี อ งชดั เจน 4. ผูซอ้ื และผูข ายจําเปนตองมีความรูพื้นฐานในเทคโนโลยีอินเทอรเนต

152 กระบวนการพน้ื ฐาน เกยี่ วกับพาณชิ ยอิเล็กทรอนกิ ส 1. ลูกคา เลอื กรายการสินคา ของผูจ ําหนาย (Catalog) 2. ลูกคา สงคําส่ังซือ้ ใหผ ูจาํ หนา ย (Order) 3. ลูกคา ชําระเงิน ใหผจู ําหนา ย (Payment) 4. ลูกคา รอรับสนิ คา จากผูจาํ หนา ย (Shipping) เว็บไซทธรุ กจิ E-Commerce การพาณิชยอ ิเล็กทรอนกิ ส ตัวอยา งเว็บไซทในประเทศ เชน www.shop4thai.com, www.chulabook.com, www.tohome.com เปน ตน ตัวอยา งเว็บไซทต างประเทศ เชน www.amazon.com , www.alibaba.com, www.ecplaza.net เปน ตน การบริหารจดั การธุรกิจ ทนุ และแหลงเงนิ ทนุ เงินทุน หมายถึง เงินตราทีอ่ งคการธุรกิจจัดหามา เพือ่ นํามาใชในการดําเนินกิจการ โดยมี จุดประสงคเพื่อใหไดผลตอบแทนจาการลงทุนอยางคุม คา เงินทุนมีความสําคัญตอธุรกิจ เพราะเปนปจจัย ในการดําเนินธุรกิจ ตั้งแตเริ่มตั้งกิจการ และระหวางดําเนินกิจการ เงินทุนทําใหการผลิต การซื้อขาย เปน ไปอยางมปี ระสทิ ธิภาพและทําใหธุรกจิ ขยายตัวไดอ ยางรวดเรว็ ประเภทของเงินทุน เงนิ ทนุ ที่ใชในการดําเนินธุรกจิ แบง ไดเ ปน 2 ประเภทคือ 2.1 เงนิ ทนุ คงท่ี เงินทุนคงที่ หมายถึง เงินทุนทีอ่ งคการธุรกิจจัดหาเพื่อนํามาใชในการจัดหาทรัพยสินถาวร ทรัพยสินถาวร หมายถึง สินทรัพยทีอ่ ายุการใชงานนานเกินกวา 1 ป ดังนัน้ เงินทุนคงที่ องคการธุรกิจจึง นาํ มาใชใ นการลงทุนซ้ือท่ีดนิ สรา งอาคาร ซอ้ื เครือ่ งจักร ซอ้ื เครอ่ื งใชส าํ นกั งาน เปนตน 2.2 เงนิ ทนุ หมนุ เวยี น เงินทุนหมุนเวียน หมายถึง เงินทุนทีอ่ งคการธุรกิจจัดหา เพือ่ นํามาใชในการจัดหาทรัพยสิน หมุนเวียนหรือใชในการดําเนินกิจการ ทรัพยสินหมุนเวียน หมายถึง สินทรัพยที่อายุการใชงานไมเกิน หนึง่ ป ดังนัน้ เงินทุนหมุนเวียน องคการธุรกิจจึงนํามาใชในการซือ้ วัตถุดิบ ซือ้ สินคา จายคาแรงงาน จาย คา เบ้ยี ประกนั ภยั จา ยคา ขนสง จา ยคา โฆษณา จา ยคาสาธารณูปโภค เปนตน

153 แหลง เงนิ ทนุ แหลงที่มาของเงินทุน 1. แหลงเงนิ ทุนจากภายในธุรกิจเอง ไดแกเ งนิ ทุนของเจาของกจิ การ กําไรสะสม และคาเสอ่ื ม ราคา 2. แหลงเงินทุนจากภายนอกธุรกิจ ไดแกเงินทุนที่มาจากการระดมทุน เงินทุนจากเจาหนี้ของ กจิ การ และเงินทนุ ที่ไดรบั จากการสนบั สนนุ การกําหนดราคาขาย ราคา (Price) หมายถึง “มูลคาของผลิตภัณฑหรือบริการที่แสดงคาออกมาในรูปหนวยเงิน หรือ หนว ยการแลกเปลย่ี นอน่ื ๆ” วิธีการขั้นพื้นฐานในการตัง้ ราคา นิยมกันอยูทั่วไป คือวิธีการตั้งราคาโดยยึดตนทุนเปนเกณฑ ราคาขายตอหนวย = ตน ทนุ ทงั้ หมด + กาํ ไรทต่ี อ งการ การบัญชี (Accounting) หมายถึง การจดบันทึกรายการคาตางๆ ทีเ่ กีย่ วกับการรับ-จายเงิน การจัด หมวดหมสู รปุ ผล และวเิ คราะห ตคี วาม อยางมหี ลกั เกณฑ ประโยชนและวัตถปุ ระสงคข องการบัญชี 1. ชวยใหเจาของกิจการสามารถควบคุมรักษาสินทรัพยของกิจการไดh 2. ชวยใหทราบผลการดําเนินงานของกิจการ ในรอบระยะเวลาใดเวลาหนึง่ วา ผลการ ดาํ เนนิ งานท่ีผานมา กจิ การมีกําไรหรือขาดทุนเปนจํานวนเทาใด 3. ชวยใหทราบฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหนึ่งวา กิจการในสินทรัพย หนี้สิน และ ทนุ ซึง่ เปน สวนของเจา ของกจิ การเปน จํานวนเทา ใด 4. การทําบัญชีเปนการรวบรวมสถิติอยางหนึ่งที่ชวยในการบริหารงาน และใหขอมูลอันเปน ประโยชนในการวางแผนการดําเนินงาน และควบคุมกิจการใหประสบผลสําเร็จตามความมุงหมาย 5. เพ่ือบันทกึ รายการคาทีเ่ กดิ ขน้ึ ตามลําดับกอนหลงั และจําแนกตามประเภทของรายการคาไว 6. เพอ่ื ใหถูกตองตามพระราชบัญญัติวาดวยการทําบัญชีของกิจการตางๆ การบริหารคลังสนิ คา การวางแผนการบริหารคลงั สินคา เพ่อื สํารองสินคาคงคลังในปริมาณที่เหมาะสม เปนฟนเฟอง หลกั ใหธุรกจิ สามารถตอบสนองความตองการของลูกคาได การบรหิ ารคลังสนิ คาจะจัดการต้ังแตการรับเขาจนถงึ การจา ยออก จะเปน การเมื่อสินคาเขามา ควรจะนําสนิ คาไปเก็บไวท ใี่ หน ใหถ ูกสขุ ลกั ษณะ เนอ่ื งจากมีการจดั เก็บสนิ คา หลากหลายประเภท จงึ จําเปนตองแบงโซนจัดวางสินคา

154 ตนทุนการบริหารคลังสินคาและสินคาคงคลัง ประกอบไปดวย 2 ประเภทดว ยกัน ไดแ ก 1. ตน ทนุ การบริหารคลงั สนิ คา เกิดจากการดําเนินกิจกรรมการใหบริการภายในคลังสินคา การ จดั เก็บสินคา 2. ตน ทุนในการถือครองสินคา คอื ตนทุนในการถอื ครองสินคา หรือคาเสยี โอกาสท่เี งินทุนไปจม อยูในสินคา คณุ ธรรมในการประกอบอาชพี คณุ ธรรม คือ คุณงามความดีที่เรา แสดงออก เชน 1. ความขยนั หมน่ั เพียร มีความขยัน ในการปฏิบัติงาน 2. อดทน การทํางานตองมีความ เขมแข็งอดทนตอสภาพทีเ่ กิดขึน้ ทุกขณะ งานจะหนักจะเบาเรา ตองทํา 3. ความซือ่ สัตย มีความซอ่ื สัตย ตอตนเอง ตอ หมูคณะ เพือ่ นรวมงาน 4. สุจริต เปนคนตรงไมเอารัด เอาเปรียบบุคคลอืน่ ไมคดโกง ถือคติ “ซื้อกินไมหมด คดกินไม นาน” 5. ความรับผิดชอบ มีความรับผิดชอบงานที่มอบหมายใหทําจนสําเร็จ ถูกตอง นายจางพอใจ 6. ความเขาใจตนเองและสังคม คือ เปนคนไวใจซึ่งกันและกัน ปญหาและอุปสรรค 1. ทักษะความรู ความชํานาญในธุรกิจถือเปนปจจัยสําคัญทีบ่ งบอกถึงความสามารถในการทํา ธุรกิจของผูประกอบการ ซึ่งจะตองคนหาตัวเองวามี ทักษะความรู ความสามารถทีโ่ ดดเดนนั้นเพียงพอ ทีจ่ ะชวยขับเคลือ่ นธุรกิจนัน้ อยูร อดไดหรือไม การทีเ่ รามีเงินทุนนั้นก็ไมไดหมายความวาจะประสบ ความสําเร็จ แตต อ งวดั กนั ที่ฝมอื อีกดว ย แตห ากวาคนหาแลว ยังไมเจออีก มีขอแนะนําอยู 2 อยางก็คือ เลิก ทําธุรกิจหรือหาคนทีม่ ีคุณสมบัติดังกลาวมาเขารวมเปนพันธมิตรกัน เทาที่ผานมามีธุรกิจจํานวนมากที่มี หุน สวนจํานวนเยอะมาก และแตละคนก็มีความสามารถแตกตางกันไป เชน ความสามารถทางดานคิด แผนการตลาด การโปรโมตประชาสัมพันธ หรือการจัดการภายในองคกร เปนตน อยาลืมวาไมมีใครเกง ท่ีสุดหรือดีที่สุด แตถาเราเอาความสามารถของแตละคนมาผนึกรวมกัน ก็จะทําใหความเกงกาจในธุรกิจ นัน้ กา วไปถึงความเปน ทีส่ ดุ นนั้ ได

155 2. ขอมูลทีจ่ ําเปนตอการเติบโต เราจะเห็นไดวา ทุก ๆ ธุรกิจในปจจุบันนี้ตองอาศัยขอมูลตาง ๆ เพอี่ หลอ เลี้ยงใหธรุ กิจกาวไปอยา งม่นั คง ซ่ึงมคี วามสําคัญไมแพไปกวา เงินทุนท่เี รากําลงั หากันอยู อาทิเชน ขอมูลเรื่องความตองการของผูบ ริโภค อยาลืมวาทุกวันนี้มีการแขงขันสูง ลูกคาเปนปจจัยสําคัญทีช่ วยให ธุรกิจเรารอด ดังนั้น เราจําเปนตองศึกษาพฤติกรรมของผูบริโภคอยางตอเนื่อง หากไมทําเชนนั้นแลว ธรุ กจิ ของคุณอาจจะมผี ลกระทบกเ็ ปน ได นอกจากน้ีแลว วงจรของสนิ คาตองมีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุค ตามสมัยดวย นัน่ หมายความวาสินคาทุกชนิดจะมีวงจรชีวิตที่ถูกกําหนดโดยผูบ ริโภค และแนนอนวา ผูป ระกอบการจะตองมีขอมลู เหลานี้ เพอื่ ใชป รบั แผนเชงิ กลยุทธต า ง ๆ 3. การวางแผนการตลาด หัวขอนีส้ ําคัญมากตอผูประกอบการซึ่งจะตองคนหาวาแผนการตลาด ของเรานั้นมีจุดออนและจุดแข็งตรงไหนบาง วิธีนี้สามารถทําไดโดยการศึกษาแผนการทํางานของคูแ ขง หากเราทําแผนมาเปรียบเทียบกับคูแขงแลวพบวามีจุดออนอยู ขอแนะนําใหทบทวนและเปลีย่ นการตลาด ใหมหมด อยาลืมดวยวาทุกวันนีก้ ารทํางานตองศึกษาจากลูกคาและคูแ ขง บางครัง้ แนวคิดของเราอาจ ขัดแยง กบั ความเปน จริงอยบู า ง แตยงั ไงก็ตอ งปรับปรงุ เพ่อื ใหธ รุ กจิ น้นั ไปตลอดรอดฝง 4. มาตรฐานในการผลิต เทาที่เราทราบกันอยูวา คุณภาพทีด่ ีของสินคาคือปจจัยสําคัญตอความอยู รอด ควรหมั่นทบทวนเรือ่ งมาตรฐานของสินคากันอีกครัง้ เพือ่ ใหรูวาคุณภาพของสินคาเราตรงกับความ ตองการของผูบรโิ ภครึเปลา ดังน้นั การสรา งมาตรฐานการผลติ คอื สิง่ ที่เราตองตระหนักและพัฒนากันอยาง เรือ่ ย ๆ หนว ยงานสง เสรมิ และสนบั สนนุ ในประเทศไทย หนว ยงานทส่ี นบั สนนุ SMEs • การลงทุน • การเงิน • การตลาด • วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การลงทุน 1. ศูนยบริการนักลงทุน ตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย 62 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท (66) 0-2229-2000 โทรสาร (66) 0-26545649 http://www.set.or.th 2. สาํ นักงานคณะกรรมการสงเสริมการลงทุน ถนนวิภาวดีรังสิต เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (66) 0-25378111, 0-2537-8155 โทรสาร (66) 0-537-8177 3. กรมสงเสรมิ อตุ สาหกรรม ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (66) 0-2220-4414-8, 0-2202-4511 โทรสาร (66) 0-2246-0031 อเี มล [email protected] http://www.dip.go.th

156 .การเงนิ 1. ศูนยใ หค ําปรึกษาทางการเงนิ สําหรับวสิ าหกจิ ขนาดกลาง ขนาดยอม และประชาชน (ศงป. ศูนยก รุงเทพ ฯ บานมนังคศิลา ถ.หลานหลวง เขตดสุ ติ กรุงเทพมหานคร 10600 โทรศัพท (66) 0-2268-0334, 0-2628-1802-3 โทรสาร (66) 0-2628-0338 อเี มล [email protected] http://www.sfac.or.th 2. ธนาคารแหง ประเทศไทย 273 ถนนสามเสน บางขุนพรหม กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท (66) 0-2283-5353 โทรสาร (66) 0-2280-0449, 0-2280-0626 http://www.bot.or.th 3. บรรษัทประกนั สินเชอ่ื อุตสาหกรรมขนาดยอม (บสย.) เลขที่ 2922/243 อาคารชาญอิสสระทาวเวอร II ชน้ั 18 ถนนเพชรบุรีตดั ใหม กรุงเทพฯ 10320 โทรศัพท (66) 0-2308-2741 (อตั โนมัติ 12 เลขหมาย) โทรสาร (66) 0-2308-2749 อเี มล [email protected] http://www.sicgc.or.th 4. บรรษัทเงนิ ทุนอุตสาหกรรมขนาดยอม (บอย.) เลขที่ 475 ช้นั 9 อาคารศริ ภิ ิญโญ ถนนศรีอยุธยา เขตราชเทวี กรงุ เทพฯ 10400 โทรศพั ท (66) 0-2201-3700-10 โทรสาร (66) 0-2201-3723-4 อเี มล [email protected] http://www.sifc.co.th/index.asp การตลาด 1. กรมสง เสรมิ การสงออก กระทรวงพาณชิ ย 22/77 ถนนรชั ดาภเิ ษก แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท (66) 0-2511-5066, 0-2512-0093-0104 โทรสาร (66) 0-2512-1079, 0-2513-1917 http://www.depthai.go.th 2. กรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย ถนนมหาราช เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 โทรศัพท (66) 0-2222-2212 , (66) 0-2221-4706 โทรสาร (66) 0-2223-1422 http://www.dit.go.th 3. กรมการคาตางประเทศ กระทรวงพาณิชย 44/100 หมูท ี่ 1 ถนนสนามบนิ นาํ้ ต.บางกระสอ อ.เมอื ง จ.นนทบุรี 11000 โทรศพั ท (66) 0-2547-4771-8 โทรสาร (66) 0-2547-4792 อเี มล [email protected] http://www.dft.moc.go.th

157 วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี 1. สถาบนั วจิ ยั วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีแหงประเทศไทย 196 พหลโยธิน จตุจกั ร กรุงเทพมหานคร 10900 ประเทศไทย โทรศัพท (66) 0-2579-1121-30, (66) 0-2579-5515, (66) 0-2579-0160, (66) 0-2579-8533 โทรสาร (66) 0-2561-4771, (66) 0-2579-8533 อเี มล [email protected] http://www.tistr.or.th 2. สํานักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีแหง ชาติ 73/1 ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (66) 0-2644-8150-99 โทรสาร (66) 0-26448027-9 http://www.nstda.or.th 3. สมาคมสงเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญ่ปี ุน) (ส.ส.ท.) เลขท่ี 5-7 ซอยสุขุมวิท 29 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110 โทรศพั ท (66) 0-2258-0320-5 โทรสาร (66) 0-2258-6440 อเี มล [email protected] http://www.tpa.or.th 4. สาํ นกั งานมาตรฐานผลติ ภัณฑอ ตุ สาหกรรม ถนนพระราม 6 แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท (66) 0-2202-3300-4 โทรสาร (66) 0-2202-2415 อเี มล [email protected] http://www.tisi.go.th 5. สถาบันอาหาร 2008 ถนนจรัลสนทิ วงศ ซอย 40 เขตบางยี่ขัน กรุงเทพฯ 10700 โทรศัพท (66) 0-2886-8088, โทรสาร (66) 0-2886-8106-7 http://www.nfi.or.th 6. สถาบนั พัฒนาอุตสาหกรรมส่งิ ทอ ซอยตรีมติ ร กลวยนา้ํ ไท ถนนพระราม 4 เขตคลองเตย กรงุ เทพฯ 10110 โทรศัพท (66) 0-2713-5492-9 โทรสาร (66) 0-2712-1592-3 อเี มล [email protected] http://www.thaitextile.org

158 กิจกรรม 1. จงอธิบายวิธีการแปรรปู และถนอมอาหาร พรอมยกตัวอยาง 2. จงยกตัวอยางอาหารสําเร็จรูปในชุมชนของทาน พรอมนําเสนอชองทางการจําหนายและแนว ทางการหาตลาด 3. จงอธบิ ายหลักการเลอื กผลิตภณั ฑอาหารสาํ เร็จรปู ตามหลักสุขาภิบาลอาหาร 4. จงอธิบายวิธีการจัดสถานที่จําหนายและคลังสินคาตามหลักสุขาภิบาลอาหาร 5. นําเสนอโครงงานจัดตั้งธุรกิจจําหนายอาหารตามหลักสุขาภิบาลอาหารตามที่ทานสนใจ

159 บรรณานกุ รม ชศู ักด์ิ เดชเกรียงไกรกุล, นทิ ัศน คณะวรรณ, ธีรพล แซต้ัง, การตลาดรุง มุง สัมพนั ธ. กรุงเทพ : บริษัทซีเอด็ ยูเคช่นั จาํ กัด (มหาชน), 2546. วรี ะพงษ เฉลมิ จิระวัฒน, คุณภาพในงานบริการ, กรุงเทพ : สมาคมสง เสริมเทคโนโลยี (ไทย- ญี่ปุน), 2542. ศริ วิ รรณ เสรีรตั น, ศภุ กร เสรีรัตน, องอาจ ปทวานิช, ปริญ ลักษิตานนท, สุพีร ลิ่มไทย, หลกั การตลาด. กรุงเทพ : บริษัท ธรี ะฟล ม และไซเทก็ ซ, 2543. http://www.ku.ac.th/e-magazine/february44/agri/food.html www.dcharoenshop.com/.../68-organized-shops-and-product-pla... www.atii.th.org/html/ecom.html “การมีจติ ใจในการบริการท่ดี ี” (ออนไลน) . เขาถงึ เมอ่ื 9 กรกฎาคม 2548. จาก www.cdd.go.th/j4607181.htm

160

161 ทป่ี รึกษา บญุ เรอื ง คณะผูจ ดั ทาํ 1. นายประเสรฐิ อิ่มสุวรรณ 2. ดร.ชัยยศ จําป เลขาธิการ กศน. 3. นายวชั รนิ ทร แกว ไทรฮะ รองเลขาธิการ กศน. 4. ดร.ทองอยู ตณั ฑวุฑโฒ รองเลขาธิการ กศน. 5. นางรกั ขณา ทีป่ รกึ ษาดา นการพัฒนาหลักสูตร กศน. ผูเขียนและเรียบเรียง ผอู าํ นวยการกลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 1. นางสาวนวลพรรณ ศาสตรเวช 2. นางกนกพรรณ สวุ รรณพิทกั ษ หนว ยศกึ ษานเิ ทศก ผบู รรณาธิการ และพฒั นาปรับปรงุ กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 1. นางสาวนวลพรรณ ศาสตรเวช 2. นางสุปรารถนา ยกุ หะนนั ทน หนว ยศกึ ษานเิ ทศก โรงเรยี นบดนิ ทรเ ดชา ( สงิ ห สิงหเสนีย ) 3 . นางกนกพรรณ สุวรรณพิทักษ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 4 . นางสาวเยาวรัตน คําตรง กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน ขาราชการบํานาญ 5. นายศุภโชค ศรรี ัตนศลิ ป ขาราชการบํานาญ ขาราชการบํานาญ 6. นางสาวสุรีพร เจริญนชิ ขาราชการบํานาญ สํานักงาน กศน เขตบางเชน 7. นางธญั ญวดี เหลา พาณชิ ย กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 8. นางเอ้ือจิตร สมจติ ตช อบ กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 9. นางสาวชนิตา จติ ตธ รรม กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 10. นางสาวอนงค เชอ้ื นนท คณะทํางาน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 1. นายสุรพงษ ม่ันมะโน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 2. นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป 3. นางสาววรรณพร ปทมานนท 4. นางสาวศริญญา กุลประดิษฐ 5. นางสาวเพชรินทร เหลอื งจิตวฒั นา ผูพมิ พต นฉบับ นางสาวเพชรินทร เหลอื งจิตวฒั นา ผูออกแบบปก นายศภุ โชค ศรรี ัตนศลิ ป

162 คณะทป่ี รกึ ษา ผพู ฒั นาและปรับปรุงครง้ั ท่ี 2 นายประเสรฐิ บญุ เรอื ง เลขาธิการ กศน. นายชัยยศ อิ่มสุวรรณ รองเลขาธิการ กศน. นายวชั รนิ ทร จําป รองเลขาธิการ กศน. นางวทั นี จนั ทรโอกลุ ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดา นพฒั นาสอื่ การเรียนการสอน นางชุลีพร ผาตนิ ินนาท ผูเชี่ยวชาญเฉพาะดานการเผยแพรทางการศึกษา นางอัญชลี ธรรมวธิ กี ุล หวั หนา หนว ยศกึ ษานเิ ทศก นางศุทธินี งามเขตต ผอู ํานวยการศึกษานอกโรงเรียน ผูพฒั นาและปรับปรุงครง้ั ท่ี 2 นายสรุ พงษ มน่ั มะโน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน นายศุภโชค ศรีรัตนศิลป กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน นายกิตติพงศ จันทวงศ กลุม พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน นางสาวผณินทร แซอ้ึง นางสาวเพชรินทร เหลอื งจิตวฒั นา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook