Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนการสอน วิชา ภาษาจีนกลาง 1 ม. 4 อรวรรณ

แผนการจัดการเรียนการสอน วิชา ภาษาจีนกลาง 1 ม. 4 อรวรรณ

Published by Kru Mint, 2021-02-14 00:00:25

Description: ภาษาจีนกลาง 1 ม. 4 อรวรรณ

Search

Read the Text Version

วช-ร 03 การจดั ทาโครงสรา้ งรายวชิ า รายวิชา ภาษาจีนกลาง 1 รหัสวชิ า จ 31201 ระดับชั้น ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ กลมุ่ วิชา ภาษาจีน จดั ทาโดย วา่ ท่รี ้อยตรหี ญงิ อรวรรณ เมอื งแก้ว ตาแหนง่ ครผู ชู้ ่วย โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ตาบลชา่ งเคง่ิ อาเภอแม่แจม่ จังหวดั เชยี งใหม่ สานักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ สานกั งานการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

คาอธบิ ายรายวิชาเพิ่มเติม (ภาคเรียนที่ 1) รหัสวชิ า จ 31201 ภาษาจนี กลาง 1 ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 จานวน 4 หน่วยกิต กลมุ่ สาระภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาจนี ) เวลา 160 ช่วั โมง ศึกษาคาศพั ท์ สานวน ประโยค ขอ้ ความทีใ่ ชใ้ นการสอื่ สารขั้นพ้นื ฐานและศกึ ษาขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรมจีน ฝึกทักษะฟังพูด อ่าน เขียนภาษาจีนเกี่ยวกับคาศัพท์ สานวน ประโยคท่ีใช้ใน ชีวิตประจาวันเพื่อให้มีทักษะพื้นฐาน การใช้ภาษาจีนระดับต้นในการส่ือสารในเรื่องท่ีเกี่ยวกับตัวเอง สถานการณ์ใกล้ตัว เข้าใจคาส่ังท่ีใช้ในห้องเรียน คาขอร้อง คาแนะนา ภาษาท่าทางการแสดงความรู้สึก การแสดงความต้องการของตนเองอย่างงา่ ยๆ การเสนอความช่วยเหลือผู้อื่น การขอและให้ข้อมูล การเสนอ ความคิดเห็นต่อเร่ืองต่างๆ นาเสนอบทเพลงสาหรับเด็ก ข้อมูลจากส่ือประเภทต่างๆ การเสนอความคิดรวบ ยอด รวมทั้งมที ักษะในการอา่ นคา กลมุ่ คา ประโยค ข้อความส้ันๆ เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างของ ภาษา และวัฒนธรรมเพื่อให้เห็นคุณค่าของการเรียนภาษาจีนและนาความรู้ที่ได้ไปใช้ในการแสวงหาความรู้ ความบันเทิง โดยผ่านสื่อเทคโนโลยี หรือนวัตกรรม ใช้ภาษาส่ือสารเพ่ือสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลใช้ ภาษาตามสถานการณ์ต่างๆ ภายในสถานศึกษาได้อย่างเหมาะสม และเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรยี นรู้ อื่น ๆ มีความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ รวมท้งั การเลือกใชว้ ธิ ีการส่ือสาร ท่มี ปี ระสิทธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบทม่ี ตี อ่ ตนเองและสงั คม เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก มีความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งม่ันในการทางาน รกั ความเป็นไทย มีจติ สาธารณะ ผลการเรียนรู้ 1.เขา้ ใจคาส่ัง คาขอร้อง คาแนะนา ภาษาทา่ ทาง ประโยคงา่ ยๆ ในสถานการณ์ใกล้ตวั 2.อ่านออกเสียงกลมุ่ คา กลุ่มคาประโยคงา่ ยๆ และบทอ่านสั้นๆ ไดถ้ กู ต้องตามหลกั การออกเสยี ง 3.เข้าใจคา กลุ่มคา และประโยค โดยถ่ายโอนเป็นภาพ หรือสัญลักษณ์ง่ายๆ หรือถ่ายโอนข้อมูลจาก ภาพหรือสัญลักษณเ์ ป็นประโยคหรอื ข้อความส้นั ๆได้ 4.เข้าใจ บทสนทนา เรื่องสั้นๆ หรือนิทานง่ายๆ ท่ีมีภาพประกอบ และแสดงความรู้สึกเกี่ยวกับเรื่อง ที่อยูใ่ นความสนใจในชีวติ ประจาวนั 5.ใช้ภาษาง่ายๆ สัน้ ๆ ตามมารยาททางสงั คม เพ่ือสร้างความสมั พนั ธ์ระหว่างบุคคลโดยใช้สื่อนวัตกรรม ง่ายๆ 6.ให้ข้อมลู ง่ายๆ เกี่ยวกบั ตนเอง สง่ิ แวดลอ้ ม และสงั คมใกล้ตัว ด้วยท่าทาง ภาพ คา และขอ้ ความ สนั้ ๆ 7.นาเสนอบทเพลง หรอื ขอ้ มูลจากสอื่ ประเภทต่างๆ ตามความสนใจดว้ ยความสนุกสนาน 8.เขา้ ใจรปู แบบ พฤตกิ รรม และการใช้ถ้อยคา สานวนง่ายๆในการติดต่อ ปฏิสัมพนั ธ์ตามวัฒนธรรม ของเจา้ ของภาษา 9.เขา้ ใจความแตกต่างระหว่างภาษาจนี กบั ภาษาไทย ในเรื่องเสียงสระ พยญั ชนะ คา วลี ประโยคและ ข้อความ งา่ ยๆ และนาไปใช้ได้อย่างถกู ตอ้ ง รวมทั้งหมด 9 ผลการเรียนรู้

ผงั มโนทัศน์ รายวิชาภาษาจนี กลาง 1 รหัสวชิ า จ 31201 ระดับชนั้ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 ช่อื หนว่ ย สทั อกั ษรภาษาจนี ชือ่ หนว่ ย สทั อักษรภาษาจนี (สระและพยญั ชนะ) (วรรณยกุ ต)์ จานวน 40 ช่วั โมง : 25 คะแนน จานวน 40 ชั่วโมง : 25 คะแนน รายวชิ าภาษาจนี กลาง 1 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 จานวน 160 ชว่ั โมง ช่ือหน่วย สทั อักษรภาษาจนี ชอ่ื หน่วย สทั อกั ษรภาษาจนี (กลุ่มคาและวลี) (บทความ) จานวน 40 ชั่วโมง : 25 คะแนน จานวน 40 ชว่ั โมง : 25 คะแนน

โครงสร้าง วิชา ภาษาจีนกลาง 1 รหัสวชิ า ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 เวลาเร ท่ี ชื่อหนว่ ย ผลการเรียนรู้ 1 สัทอกั ษรภาษาจนี อ่านออกเสยี งกล่มุ คา วิธกี ารออกเสีย (สระและพยัญชนะ) ประโยคงา่ ยๆ และบทอา่ นสน้ั ๆ และบทอา่ นส้ัน ได้ถกู ตอ้ งตามหลกั การออกเสยี ง เสยี ง 2 สทั อกั ษรภาษาจนี (วรรณยกุ ต)์ อา่ นออกเสียงกลุ่มคา วิธกี ารออกเสีย ประโยคงา่ ยๆ และบทอ่านส้นั ๆ และบทอา่ นสนั้ 3 สัทอกั ษรภาษาจีน ได้ถูกตอ้ งตามหลักการออกเสียง เสยี ง (กลมุ่ คาและวลี) อา่ นออกเสยี งกลุม่ คา วิธกี ารออกเสยี 4 สัทอักษรภาษาจนี ประโยคงา่ ยๆ และบทอ่านสน้ั ๆ และบทอา่ นสนั้ (บทความ) ไดถ้ ูกตอ้ งตามหลกั การออกเสียง เสยี ง อา่ นออกเสยี งกลุ่มคา วธิ ีการออกเสีย ประโยคง่ายๆ และบทอา่ นสนั้ ๆ และบทอ่านสน้ั ได้ถูกตอ้ งตามหลกั การออกเสียง เสยี ง รวมทั้งหมด

งรายวิชา า จ 31201 ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 รยี น/เทอม 160 ช่วั โมง จานวน 4 หน่วยกิต สาระสาคัญ เวลา น้าหนักคะแนน คะแนนรวม (ช.ม.) KAP 25 ยงกล่มุ คา กลุ่มคาประโยคง่ายๆ 988 นๆ ไดถ้ กู ตอ้ งตามหลักการออก 40 ช.ม. ยงกลมุ่ คา กล่มุ คาประโยคง่ายๆ 40 ช.ม. 9 8 8 25 นๆ ได้ถกู ตอ้ งตามหลกั การออก ยงกลุม่ คา กลุ่มคาประโยคงา่ ยๆ 40 ช.ม. 9 8 8 25 นๆ ได้ถกู ตอ้ งตามหลักการออก ยงกลุ่มคา กลุ่มคาประโยคง่ายๆ 40 ช.ม. 9 8 8 25 นๆ ได้ถกู ตอ้ งตามหลักการออก 160 100 คะแนน

การวเิ คราะห์มาต รายวิชา ภาษาจนี กลาง 1 รหัสวิชา จ 31201 ช่ือหน่วยการเรียนร ท่ี เร่อื ง ผลการเรียนรู้ รู้อะไร ทาอะไร ภาระ 1 สทั อักษร อา่ นออกเสียงสระ เรยี นรวู้ ธิ กี ารอ่านออกเสียง อา่ นสัทอกั ภาษาจนี (สระและ และพยญั ชนะ สระและพยญั ชนะ สระและพย พยัญชนะ) อา่ นออกเสยี ง เรยี นรวู้ ิธีการอ่านออกเสยี ง อ่านสัทอัก 2 สัทอักษร ภาษาจนี วรรณยกุ ต์ วรรณยุกต์ วรรณยุกต (วรรณยกุ ต)์ 3 สทั อกั ษร อ่านออกเสยี ง เรยี นรู้วิธกี ารอ่านออกเสยี ง อ่านสทั อกั ภาษาจีน กลมุ่ คาและวลี กล่มุ คาและวลี กลมุ่ คา แล (กลุ่มคาและวลี) ไดถ้ ูกตอ้ ง 4 สัทอกั ษร อ่านออกเสียง เรียนรูว้ ิธกี ารอ่านออกเสยี ง อา่ นบทคว ภาษาจีน (บทความ) บทความ บทความ ตอบคาถาม

ตรฐานและตวั ชีว้ ัด รูท้ ี่ 1 – 4 ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ะงาน/ช้นิ งาน สมรรถนะ คณุ ลักษณะ คณุ ลกั ษณะ สาคัญ ของวิชา อนั พงึ กษรภาษาจนี ประสงค์ ยญั ชนะได้ถูกตอ้ ง ความสามารถ เข้าใจและตคี วามเรอ่ื งทฟ่ี งั และ ในการส่อื สาร อ่านจากสอ่ื ประเภทต่าง ๆ ใฝเ่ รียนรู้ กษรภาษาจนี ความสามารถ เขา้ ใจและตคี วามเรอ่ื งทีฟ่ ังและ ใฝ่เรยี นรู้ ตไ์ ดถ้ กู ต้อง ในการส่ือสาร อา่ นจากส่อื ประเภทต่าง ๆ กษรภาษาจีน ความสามารถ นาเสนอขอ้ มลู ข่าวสาร ความคดิ มุ่งมั่นในการ ละบทความ ในการสื่อสาร รวบยอด และความคิดเหน็ ใน ทางาน เรอื่ งตา่ งๆ วามภาษาจนี แล้ว ความสามารถ นาเสนอขอ้ มลู ข่าวสาร ความคดิ มงุ่ มน่ั ในการ มจากบทความ ในการส่ือสาร รวบยอด และความคิดเห็นใน ทางาน เรือ่ งต่างๆ

การวัดและประเม รายวชิ า ภาษาจนี กลาง 1 รหัสวิชา จ 31201 ชอ่ื หนว่ ยการเรยี นร ท่ี เรื่อง เปา้ หมายการเรียนรู้ ภาระงาน/ 1 สัทอกั ษรภาษาจนี อ่านออกเสยี งสระและ อา่ นสัทอักษรภ (สระและพยัญชนะ) พยัญชนะ สระและพยัญช ถกู ตอ้ ง 2 สัทอักษรภาษาจนี อา่ นออกเสยี งวรรณยกุ ต์ อ่านสทั อักษรภ (วรรณยกุ ต์) วรรณยุกต์ไดถ้ 3 สทั อักษรภาษาจีน อ่านออกเสียงกล่มุ คาและวลี อ่านสทั อักษรภ (กลุ่มคาและวลี) กลมุ่ คา และบท 4 สัทอักษรภาษาจีน ได้ถกู ต้อง (บทความ) อ่านออกเสยี งบทความ อา่ นบทความภ แลว้ ตอบคาถ บทความ

มินผลการเรยี นรู้ ร้ทู ี่ 1 – 4 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563 /ชิ้นงาน วิธวี ดั เครื่องมือวดั ประเด็น/เกณฑ์ คะแนน ภาษาจนี แบบฝึกการอา่ น ชนะได้ สังเกตการ แบบฝกึ การอ่าน การให้คะแนน พฤตกิ รรม แบบฝกึ การอ่าน ภาษาจีน การอา่ น สามารถอา่ น 10–12ดีมาก(4) ถกู ต้อง รายบคุ คล แบบฝึกการอา่ น แบบฝกึ การอ่าน 7–9ดี (3) ภาษาจนี สังเกตการ ทความ พฤติกรรม ได้คะแนนระดบั 4–6พอใช้ (2) การอา่ น รายบุคคล 2 ขน้ึ ไป 0–3ปรบั ปรุง (1) สงั เกตการ ถอื ว่าผา่ น พฤตกิ รรม การอ่าน สามารถอา่ น 10–12ดมี าก(4) รายบุคคล แบบฝกึ การอา่ น 7–9ดี (3) ได้คะแนนระดบั 4–6พอใช้ (2) 2 ขน้ึ ไป 0–3ปรบั ปรงุ (1) ถือว่าผา่ น สามารถอ่าน 10–12ดมี าก(4) แบบฝึกการอ่าน 7–9ดี (3) ได้คะแนนระดับ 4–6พอใช้ (2) 2 ขน้ึ ไป 0–3ปรบั ปรุง (1) ถือวา่ ผ่าน ภาษาจีน สงั เกตการ สามารถอา่ น 10–12ดมี าก(4) ถามจาก พฤตกิ รรม การอ่าน แบบฝกึ การอ่าน 7–9ดี (3) รายบคุ คล ได้คะแนนระดบั 4–6พอใช้ (2) 2 ขึน้ ไป 0–3ปรบั ปรงุ (1) ถอื ว่าผ่าน

แผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรือ่ ง สทั อกั ษรภาษาจีน แผนจัดการเรียนรู้ท่ี 1 เรอื่ ง สระและพยญั ชนะภาษาจีน รายวชิ า ภาษาจีนกลาง 1 รหัสวชิ า จ 31201 ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 นา้ หนักเวลาเรียน 4 (นน./นก.) เวลาเรยี น 8 ชวั่ โมง/สัปดาห์ ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 5 สัปดาห์ 40 ช่วั โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคญั ในการเรียนภาษาจีนจะต้องเรียนรู้เรื่องระบบสัทอักษรจีน (พินอิน) การเรียนรู้สัทอักษรจีน (พินอิน) เป็นการปูพื้นฐานในการ เรียนรู้ภาษาจีนเบื้องต้น ซ่ึงเป็นปัจจัยสาคัญท่ีจะทาให้ผู้เรียนสามารถอ่านออกเสียง ภาษาจีนได้ถูกต้อง ดังน้ัน นักเรียนจึงควรเรียนรู้ระบบสัทอักษรจีน (พินอิน) ซึ่งมี พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ การเติมเสียง การประสมสระ ลาดับขีด ไปจนถึงวิธีการใช้กฎต่าง ๆ เพื่อปูพื้นฐานเบ้ืองต้นในการเรียนภาษาจีน ต่อไป 2. ผลการเรยี นรู้ 1. ทักษะการฟัง การพดู และเขา้ ใจ 2. อ่านออกเสยี งพยัญชนะภาษาจนี ไดถ้ กู ต้องตามหลกั การออกเสยี ง 3. สามารถเขยี นระบุพยญั ชนะภาษาจนี ได้อย่างถูกตอ้ ง 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ด้านความรู้ (K) 1. นกั เรยี นมคี วามรู้ความเขา้ ใจเรื่องพยญั ชนะภาษาจนี 2. นักเรยี นสามรถบอกพยัญชนะภาษาจีนได้ถกู ต้อง 3.2 ด้านทักษะ (P) 1. ทักษะการฟงั - นกั เรยี นฟังภาษาจีนทีค่ รูพูด สามารถจาแนกความแตกตา่ งของเสยี งเพ่อื ระบวุ ่า เป็นอกั ษรจีนหรือพยญั ชนะสัทอักษร 拼音 ใดได้อยา่ งเขา้ ใจความหมาย 2. ทกั ษะการพูด - นกั เรียนพูดโตต้ อบเกี่ยวกบั พยญั ชนะภาษาจนี ไดอ้ ย่างเขา้ ใจ 3. ทักษะการอ่าน - นกั เรยี นสามารถอา่ นออกเสยี งพยญั ชนะภาษาจีนได้อยา่ งถูกต้อง 4. ทักษะการเขียน - นกั เรียนฟงั ภาษาจนี ท่ีครูพูดและสามารถเขยี นเปน็ พยญั ชนะภาษาจนี

3.3 ด้านจิตพสิ ัย/คณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงค์ ( A ) 1. นักเรียนมคี วามรบั ผดิ ชอบสง่ งานตรงเวลา 2. นักเรยี นเป็นผู้มีคณุ ธรรมในการดารงชีวติ ขยนั ใฝ่หาความรู้ 4. สาระการเรียนรู้ พยญั ชนะภาษาจีน 声母 : พยัญชนะต้นของภาษาจีนมี 21 เสียง เสียงของพยญั ชนะตน้ แบ่งได้ตามท่มี าของเสียงได้เป็น 7 กลมุ่ ดังน้ี เสยี งรมิ ฝีปาก bp m เสียงฟันแตะท่รี มิ ฝปี าก f เสยี งปลายล้ิน dt n l เสียงโคนลิ้น ɡk h เสียงหน้าล้นิ jqx เสยี งปลายลนิ้ สว่ นหน้า zcs เสยี งปลายล้ินสว่ นหลัง zh ch sh r หมายเหตุ zh ch sh r ใหอ้ อกเสยี งโดยยกปลายลิ้นขน้ึ แตะบรเิ วณเพดานปาก ในการสะกดเสียงอ่านแบบไทยนนั้ ผเู้ ขียนได้เลอื กอกั ษร “ ร ” เปน็ ตัวแทนการออกเสยี งยกลิ้นข้นึ มิไดห้ มายถึงให้ สะกดเป็น จะ-รือ ชะ-รอื ซะ – รอื ยะ-รอื แต่ให้ออกเสยี งควบกัน

พยัญชนะต้นก่ึงสระมี 2 เสียง คือ y (i) และ w (u) 5. สมรรถนะสาคัญของนกั เรยี น 1. ความสามารถในการสอื่ สาร ( วิเคราะห์ / สงั เคราะห์ ) 2. ความสามารถในการคดิ 6. คุณลกั ษณะของวิชา 1. ความรับผดิ ชอบ 2. ความตงั้ ใจ 3. ความสนใจ 4. มมี ารยาทในการอ่านสนทนา 7. คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ ม่ันในการทางาน

8. กจิ กรรมการเรียนรู้ สปั ดาหท์ ี่ 1 - 2 ขน้ั นาเข้าสูบ่ ทเรียน 1. ครูกล่าวทักทายนกั เรยี น 同学们好 ( สวัสดคี ะ่ นักเรียนทกุ คน ) 2. ครพู ูดเกี่ยวกับความรู้ท่วั ไปเกีย่ วกับภาษาจีน วา่ ภาษาจีนกลางมีความสาคญั อย่างไร การเรยี นภาษาจนี เราตอ้ งรูจ้ กั ระบบสทั อักษรจีน แล้วระบบสัทอกั ษรจีนมอี ะไรบา้ ง อธิบายให้นกั เรียนฟังครา่ วๆ ขน้ั สอน 1. ครูพูดถึงเรือ่ งระบบสทั อกั ษรจนี สงิ่ แรกท่เี ราต้องรู้จกั ในการเรียนภาษาจนี คอื อะไร 2. นกั เรียนตอบ หลังจากนนั้ ครนู าบัตรคาเก่ยี วกบั เรือ่ งทสี่ อนขึน้ มาคือเร่อื งพยญั ชนะพนิ อนิ ภาษาจนี และ ถามนกั เรยี นว่านักเรียนรูจ้ กั พยญั ชนะพนิ อนิ ไหม? (นักเรยี นตอบ) และหลังจากน้นั ครูอธบิ ายความหมาย ความเป็นมาเกี่ยวกบั เร่อื งพยัญชนะพนิ อนิ ภาษาจีนทใ่ี ช้เปน็ ระบบเสยี งใหน้ ักเรยี นเขา้ ใจ 2. อธิบายการออกเสียงพยัญชนะพนิ อินภาษาจีน 3. ฝึกออกเสียงพยัญชนะพินอนิ ภาษาจนี ตามครูก่อน 1 รอบ หลงั จากนนั้ ครเู ปดิ เสียงการอา่ นพยญั ชนะพนิ อนิ ใหน้ ักเรยี นฟงั 1 รอบ เมื่อฟังจบแล้ว ครูเปดิ เสียง การอ่านพยญั ชนะอกี 1รอบ โดยให้นกั เรยี นอา่ นตาม ทีละตัวจนครบ 4. ครูสมุ่ นกั เรียนสองถึงสามคน อ่านออกเสยี งพยัญชนะพนิ อิน โดยครสู ุ่มบัตรคาที่เป็น พยัญชนะพนิ อนิ ชขู ้ึน ใหน้ ักเรยี นอ่าน เพือ่ เป็นการทดสอบว่านกั เรียนอ่านพยัญชนะพินอนิ ได้ จากนั้นใหผ้ ู้เรยี นเขียนพยญั ชนะ พินอนิ ภาษาจนี ลงในสมดุ 5. ครใู ห้นกั เรียนทาแบบทดสอบทักษะการฟงั (ซีดี) เรอ่ื งพยญั ชนะพนิ อนิ ภาษาจนี เพอื่ ทบทวนความ เข้าใจ เสร็จแล้วเฉลยและตรวจพร้อมกนั ข้นั สรุป 1. ทบทวนการออกเสยี งอกี ครั้ง 2. ครูใหน้ ักเรียนเอาสมดุ ท่ที าแบบทดสอบการฟังมาสง่ พร้อมกบั สอบอ่านพินอนิ เปน็ รายบุคคล โดยให้ นกั เรยี นอ่านออกเสียงทลี ะตัว ซึ่งไมจ่ าเป็นต้องอา่ นตามตัวอักษรทเ่ี รยี งกัน เพ่อื จะไดท้ บสอบว่านกั เรยี น มี ความรู้ ความจา ความเขา้ ใจในคาศพั ท์นั้น ๆ

สปั ดาห์ที่ 3 - 5 ขน้ั นา 1. ทบทวนการออกเสียงพยญั ชนะพนิ อนิ ภาษาจีน ครูหยิบบัตรคาขึน้ มาชใู ห้นกั เรียนเห็น แล้วถามนักเรยี น วา่ จา ตัวอกั ษรท่เี หน็ ไดไ้ หมว่า เรยี กวา่ อะไร เม่ือนกั เรียนตอบแล้วใหน้ กั เรียนอา่ นพยญั ชนะน้นั ๆใหฟ้ งั จนครบ หากมบี างตัวทอี่ า่ นผดิ ครสู อนนกั เรยี นอ่านออกเสยี งใหถ้ ูกตอ้ ง ขน้ั สอน 1. ครูเปิดเสียงพยัญชนะพนิ อนิ ต้นฉบบั เจ้าของภาษาใหน้ ักเรียนเรยี นฟัง 1 รอบ แล้วให้นักเรยี นอา่ นตาม 2. ดูคลิปวิดีโอวธิ กี ารอ่านออกเสยี งพยัญชนะพินอินท่ีถกู ต้องเพือ่ เป็นแนวทางในการทาความเข้าใจของ ผ้เู รียน 3. ครสู ่มุ นักเรียนสองถงึ สามคน ออกมาอ่านออกเสียงพยัญชนะพนิ อนิ ให้เพอ่ื นๆฟงั โดยครูสมุ่ บตั รคาท่ี เปน็ พยัญชนะพนิ อนิ ชขู น้ึ ให้นกั เรยี นอา่ น เพอ่ื เปน็ การทดสอบว่านักเรยี นอา่ นพยญั ชนะพนิ อนิ ได้ ขน้ั สรุป 1. ทบทวนบทเรยี นเรื่องพยญั ชนะภาษาจนี อกี ครงั้ 9. ภาระชิ้นงาน 1. ใบงานเร่ืองพยญั ชนะภาษาจีน 2. การอ่านออกเสยี งพยญั ชนะ 10. สอ่ื การเรยี นการสอน / แหล่งเรียนรู้ 1. ซดี ีเสยี งเก่ียวกบั พยญั ชนะพนิ อินของภาษาจีน 2. Power Point /เพลงประกอบการสอน/วดิ ีโอประกอบการสอนเรือ่ งพยญั ชนะพนิ อินของภาษาจีน 3. บตั รคาเกี่ยวกับพยัญชนะพนิ อนิ ของภาษาจนี รายการสอื่ จานวน สภาพการใช้ส่ือ 1.แบบทดสอบทักษะการฟงั (เทปเสยี ง)พยญั ชนะ 1 ชุด ขน้ั สรา้ งความสนใจ 2. แบบฝึกทักษะการอา่ นออกเสียงพยัญชนะ 1 ชุด ขัน้ ขยายความรู้

11. การวัดผลและประเมนิ ผล รายการประเมนิ 5 ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 คะแนน 1.นกั เรียนสามารถ นักเรียนสามารถ นักเรยี นเขียน นักเรียนเขยี น นกั เรยี นเขยี น นกั เรียนเขียน เขยี นพยัญชนะ เขียนพยัญชนะ พยัญชนะพนิ อิน พยัญชนะพนิ อิน พยญั ชนะพนิ อนิ พยญั ชนะพนิ อิน พินอนิ ภาษาจีนจาก พนิ อนิ ภาษาจีนจาก ภาษาจนี จากการ ภาษาจนี จากการ ภาษาจนี จาก ภาษาจีนจาก การฟังได้อยา่ ง การฟงั ไดอ้ ยา่ ง ฟังถกู ตอ้ ง 20 - ฟังถูกต้อง การฟงั ถกู ตอ้ ง การฟังถกู ตอ้ ง 5 ถกู ตอ้ ง ถูกตอ้ งทงั้ หมด 16 ขอ้ 15 – 11 ขอ้ 10 – 6 ขอ้ ขอ้ ลงไป 2.นักเรียนสามารถ นักเรยี นอ่านออก นักเรียนอา่ นออก นักเรยี นอา่ นออก นักเรียนอ่าน นกั เรยี นอา่ น อ่านออกเสยี ง เสียงพยัญชนะ เสยี งพยัญชนะ เสียงพยัญชนะ พยัญชนะพนิ อนิ พินอนิ ภาษาจนี ได้ พินอนิ ภาษาจีน พนิ อนิ ภาษาจนี ออกเสยี ง ออกเสยี ง ภาษาจีนได้อยา่ ง อย่างถกู ต้องทงั้ หมด ถูกตอ้ ง ถูกตอ้ ง 15 - 11 ถูกต้อง ตวั พยญั ชนะพนิ อนิ พยญั ชนะพนิ อนิ 20 - 16 ตวั ภาษาจีนถกู ต้อง ภาษาจีนถกู ต้อง 10 - 6 ตวั 5 ตัว ระดบั คณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 9 - 10 ดมี าก 7 - 8 ดี 5 - 6 ปานกลาง 3 - 4 พอใช้ 0 - 2 ปรับปรุง

แบบฝึกหัด 1 คาสง่ั : จงเขยี น พยญั ชนะ สระเด่ยี ว สระผสมทไ่ี ด้ยิน 说明 : 写出来听见的声母,韵母 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 47

แบบทดสอบทกั ษะการฟัง คาสง่ั จงเขยี นพยญั ชนะตามท่ีไดย้ นิ ใหถ้ ูกตอ้ ง 1. 14. 2. 15. 3. 16. 4. 17. 5. 18. 6. 19. 7. 20. 8. 21. 9. 10. 11. 12. 13.

แบบฝึกทกั ษะการอา่ นออกเสยี ง เร่ือง พยญั ชนะ 声母 : พยญั ชนะตน้ ของภาษาจนี มี 21 เสียง b p mf d t nl ɡ kh j qx z cs zh ch sh r พยญั ชนะต้นกึง่ สระมี 2 เสยี ง คอื Y (i) และ w (u)

แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรื่อง สทั อักษรภาษาจนี แผนจัดการเรยี นรูท้ ี่ 1 เรื่อง วรรณยกุ ต์ รายวิชา ภาษาจนี กลาง 1 รหสั วิชา จ 31201 ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 น้าหนักเวลาเรยี น 4 (นน./นก.) เวลาเรียน 8 ชัว่ โมง/สัปดาห์ ระยะเวลาในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 5 สัปดาห์ 40 ชว่ั โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคญั ในการเรียนภาษาจีนจะต้องเรียนรู้เร่ืองระบบสัทอักษรจีน (พินอิน) การเรียนรู้สัทอักษรจีน (พินอิน) เป็นการปูพ้ืนฐานในการเรียนรู้ภาษาจีนเบื้องต้น ซ่ึงเป็นปัจจัยสาคัญท่ีจะทาให้ผู้เรียนสามารถอ่านออกเสียง ภาษาจีนได้ถูกต้อง ดังน้ัน นักเรียนจึงควรเรียนรู้ระบบสัทอักษรจีน (พินอิน) ซ่ึงมี พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ การ เติมเสียง การประสมสระ ลาดับขีด ไปจนถึงวิธีการใช้กฎต่าง ๆ เพื่อปูพ้ืนฐานเบ้ืองต้นในการเรียนภาษาจีน ตอ่ ไป 2. ผลการเรียนรู้ 1. ทักษะการฟงั การพูด และเข้าใจ 2. อา่ นออกเสียงสระภาษาจนี ได้ถูกตอ้ งตามหลักการออกเสยี ง 3. สามารถเขยี นระบสุ ระภาษาจนี ไดอ้ ย่างถูกต้อง 4. สามารถเขยี นระบพุ ยัญชนะทีผ่ สมสระและวรรณยกุ ต์ภาษาจนี ไดอ้ ยา่ งถกู ต้อง 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้ (K) 1. นกั เรียนมีความร้คู วามเขา้ ใจเร่ืองสระภาษาจีน 2. นักเรยี นมีความรูค้ วามเขา้ ใจเรอ่ื งพยัญชนะทผี่ สมสระและวรรณยุกตภ์ าษาจีน 3.2 ดา้ นทักษะ (P) 1. ทักษะการฟงั 1.1 นกั เรียนฟงั ภาษาจนี ท่คี รพู ดู สามารถจาแนกความแตกตา่ งของเสยี งเพ่ือระบุวา่ เปน็ หรือสระภาษาจีน ใดได้อย่างเข้าใจความหมาย 1.2 นักเรียนฟังภาษาจีนทคี่ รูพดู สามารถจาแนกความแตกตา่ งของเสยี งเพือ่ ระบุ วา่ เปน็ เสียงวรรณยกุ ตภ์ าษาจีนใดได้อยา่ งเข้าใจ

2. ทักษะการพูด 2.1 นักเรียนพดู โต้ตอบเกีย่ วกบั สระภาษาจีนไดอ้ ยา่ งเขา้ ใจ 2.2 นักเรียนพูดโต้ตอบเกย่ี วกบั วรรณยกุ ตภ์ าษาจนี ได้อยา่ งเขา้ ใจ 3. ทักษะการอา่ น 3.1 นักเรียนสามารถ อ่านออกเสียงสระภาษาจีนไดอ้ ยา่ งถูกต้อง 3.2 นักเรียนสามารถอ่านออกเสียงพยัญชนะทผ่ี สมสระและวรรณยกุ ต์ภาษาจีน ได้อยา่ งถกู ต้อง 4. ทกั ษะการเขยี น 4.1 นักเรียนฟงั ภาษาจนี ทค่ี รพู ดู และ สามารถเขียนเปน็ สระภาษาจีน 4.2 นกั เรยี นฟงั ภาษาจนี ทค่ี รพู ูดและ สามารถเขยี นเปน็ พยญั ชนะ สระ และ วรรณยุกต์ภาษาจีน 3.3 ดา้ นจิตพสิ ยั /คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ (A ) 1. นกั เรยี นมคี วามรบั ผดิ ชอบสง่ งานตรงเวลา 2. นกั เรยี นเปน็ ผมู้ ีคุณธรรมในการดารงชีวติ ขยนั ใฝ่หาความรู้ 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 เน้ือหาท่ี 1 韵母 yùnmǔ อวิน้ หมู่ สระ มที ัง้ หมด 36 ตวั แบง่ ออกเป็นสระเด่ยี ว 6 ตวั และสระผสม 30 ตวั ดงั นี้ 1. 单韵母 สระเดยี่ ว มี 6 เสยี ง ดงั นี้ ɑ(อา) o (โอ) e (เออ) i (อี) u (อู) ü ( อวี) ** สระ ü จะออกเสียงสระ u (อู) ควบกบั สระ i (อี) ( u + i ) โดยจุดสองจดุ ที่อยูด่ ้านบน u เทา่ กับสระ i นนั่ เอง 2. สระประสมสองเสียง 复韵母 ไดแ้ ก่ ɑi (ไอ) ei (เอย) ɑo (เอา) ou (โอว) iɑ (เอีย) ie (เอยี +เอ) uɑ (อัว) uo (อัว+ออ) üe (เอว์) 3. สระประสมสามเสียง 三重韵母 ไดแ้ ก่ iu (อิว) uɑi (อไว) ui (อเวย) iɑo (เอียว)

4. สระเสยี งนาสกิ 鼻韵母 ได้แก่ ɑn (อัน) ɑnɡ (อัง) en (เอนิ ) enɡ (เอิง) in (อิน) inɡ (อิง) iɑn (เอยี น) iɑnɡ (เอียง) ionɡ (อี+โอง) uɑn (อวาน) uɑnɡ (อวาง) uen (un) (อเวนิ ) uenɡ (เอวงิ ) üɑn(เอวียน) ün (อวนิ ) onɡ (อง) 5.สระเสียงพิเศษ 特殊韵母 ไดแ้ ก่ er (เออร์) วธิ กี ารผสมเสียง(พยญั ชนะ+สระ) วธิ กี ารผสมเสียงต้องประกอบดว้ ย พยัญชนะ + สระ พยญั ชนะ รวมกบั สระเดย่ี ว 1 ตวั P + a = Pa พยญั ชนะ รวมกบั สระผสม เชน่ ɡei hɑo tou ฯลฯ สระผสม 2 ตัว เชน่ bɑi สระผสม 3 ตัว เช่น bɑnɡ tenɡ tonɡ ฯลฯ สระผสม 4 ตัว เช่น xionɡ lianɡ xiɑnɡ ฯลฯ *ขอ้ ควรระวงั * เหมอื นแม่กนและกงในภาษาไทย -n - nɡ เหมือนแม่กง - r มีไว้แสดงเสียงเอ้อ ต้องเอาปลายล้ินงอขึน้ ไปแตะทเ่ี พดานปาก 1. สระ u อ(ู อู) ไม่ใชก้ ับพยญั ชนะ y, j, q, x 2. สระ ü อ.วี -ถ้าใช้ควบคกู่ ับพยญั ชนะ y, j, q, x จะต้องตัดจุดสองจุดทีอ่ ยขู่ ้างบนของ ü ออกไป เช่น ü –> yu üe –> yue - ถ้าใช้ควบคูก่ บั พยัญชนะ l, n จะละสองจุดไม่ได้ ไม่น้ันจะไปซ้ากบั เสยี งu (อู) ทาใหเ้ กิดการสบั สนได้ 3. สระ er เช่น 儿 เมอื่ ทาหนา้ ท่เี ป็นสระต่อท้าย จะเขยี นพินอินแค่ r เทา่ น้ัน เชน่ 一点儿 yīdiǎnr

4.2 เนือ้ หาที่ 2 tou ฯลฯ วธิ ีการผสมเสียง(พยัญชนะ+สระ) วธิ ีการผสมเสียงตอ้ งประกอบด้วย พยญั ชนะ + สระ พยัญชนะ รวมกับ สระเดยี่ ว 1 ตวั P + ɑ = Pɑ พยัญชนะ รวมกับ สระผสม เชน่ สระผสม 2 ตัว เชน่ bɑi ɡei hɑo สระผสม 3 ตวั เชน่ bɑnɡ tenɡ tonɡ ฯลฯ สระผสม 4 ตวั เช่น xionɡ liɑnɡ shuɑnɡ ฯลฯ *ขอ้ ควรระวงั * - n เหมอื นแม่กนและกงในภาษาไทย - nɡ เหมือนแมก่ ง - r มไี ว้แสดงเสียงเอ้อ ต้องเอาปลายลิ้นงอข้นึ ไปแตะที่เพดานปาก 1. สระ u อู (อ)ู ไมใ่ ชก้ บั พยญั ชนะ y, j, q, x 2. สระ ü อวี - ถา้ ใช้ควบคู่กบั พยญั ชนะ y, j, q, x จะต้องตัดจุดสองจุดท่อี ยู่ขา้ งบนของ ü ออกไป เชน่ ü –> yu üe –> yue - ถ้าใช้ควบคู่กบั พยัญชนะ l, n จะละสองจุดไม่ได้ ไมน่ ้ันจะไปซ้ากับเสยี งu (อ)ู ทาให้เกิดการ สับสนได้ 3. สระ er เชน่ 儿 เมือ่ ทาหนา้ ที่เปน็ สระต่อทา้ ย จะเขียนพินอนิ แค่ r เท่านัน้ เชน่ 一点儿 yīdiǎnr 4.3 เนื้อหาที่ 3 1. เสยี งวรรณยุกต์ 声调 เสยี งวรรณยุกต์ คอื การเปลี่ยนแปลงของระดบั เสียงสูงต่าในการออกเสียง เสยี งวรรณยกุ ต์ในภาษาจีนกลางมที ั้งหมด 4 เสียง ได้แก่ เสยี งหน่ึง “ — ” 阴平 คล้ายกับเสียงสามญั ในภาษาไทย แต่ออกเสียงสงู กวา่ และลากเสยี งยาว กวา่ เล็กนอ้ ย

เสียงสอง “ ̸ ” 阳平 คลา้ ยกับเสียงจตั วาในภาษาไทย แตจ่ ะลากเสยี งข้นึ สงู กวา่ เล็กน้อย เสียงสาม “ ˅”上声 เปน็ เสยี งวรรณยกุ ต์ทตี่ ้องกดเสียงลงต่ากอ่ น แล้วจึงลากเสยี งให้สงู ขน้ึ ตอนหลงั ในช่วงทกี่ ดเสยี งลงต่า จะออกเสยี งใกลเ้ คยี งกบั เสยี งเอก ในภาษาไทย เสยี งส่ี “ \\” 去声 คลา้ ยกับเสียงโทในภาษาไทย แต่จะออกเสยี งสั้น และจบเสยี งเร็วกวา่ ตัวอยา่ งการออกเสียงและการวางวรรณยุกต์ 1.เสยี ง 1 ā 2.เสียง 2 á 3.เสียง 3 ǎ 4.เสยี ง 4 à เทยี บเสยี งภาษาจนี เทยี บเสียงภาษาไทย 4.4 เนื้อหาที่ 4 กฎของการเตมิ วรรณยุกต์ การเขยี นเครื่องหมายแทนเสยี งวรรณยกุ ต์ การวางเครื่องหมายวรรณยุกตใ์ หว้ างไว้บนสระหลัก ซึ่งมี ɑoeiuü 1. ตาแหน่งการใสเ่ คร่ืองหมายวรรณยุกต์ จะใสไ่ ว้ตามลาดบั สระทเ่ี รยี งไว้ข้างบน 2. ถ้าไม่มี α ให้มองหา o และ e ตามลาดับ เช่น běi (วางไวบ้ นตัว e เพราะ e มากอ่ น i) 3. ถ้ามี iu หรอื ui ใหว้ างวรรณยุกตไ์ ว้ทต่ี วั หลังสุด diū 4. ในการเตมิ เสยี งวรรณยุกตล์ งบนตัว i น้ัน ใหต้ ัดจุดบนตัว i ออกด้วย เชน่ bī 5. สระ ü ให้ตดั จดุ บนตัว ü เช่นกนั yū

ตัวอย่าง วธิ ีใสว่ รรณยกุ ต์ พินอนิ ท่ีถกู ตอ้ ง วางไว้บนตวั α เพราะ α มาก่อน i และ o miāo běi วางไว้บนตวั e เพราะ e มากอ่ น i liè วางไว้บนตวั e เพราะ e มากอ่ น i yüē วางไว้บนตวั e เพราะ e มากอ่ น ü kū วางไวบ้ นตวั u เพราะมีสระตัวเดียว shuài วางไว้บนตัว α เพราะ α มาก่อน u และ i 5. สมรรถนะสาคญั ของนักเรียน 1. ความสามารถในการส่อื สาร ( วิเคราะห์ สังเคราะห์ ) 2. ความสามารถในการคดิ 6. คณุ ลกั ษณะของวิชา 1. ความรับผิดชอบ 2. ความตงั้ ใจ 3. ความสนใจ 4. มีมารยาทในการอ่านสนทนา 5. สมรรถนะสาคญั ของนักเรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร ( วเิ คราะห์ สังเคราะห์ ) 2. ความสามารถในการคิด 6. คณุ ลักษณะของวิชา 1. ความรบั ผดิ ชอบ 2. ความตั้งใจ 3. ความสนใจ 4. มมี ารยาทในการอา่ นสนทนา

7. คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์ 1. มวี นิ ยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุ่งมัน่ ในการทางาน 8. กิจกรรมการเรียนรู้ สัปดาห์ที่ 6 - 7 ขั้นนาเขา้ ส่บู ทเรียน 1. ครูกลา่ วทักทายนักเรยี น 同学们好 ( สวัสดคี ่ะนักเรยี นทกุ คน ) 2. ครูเปดิ เสยี งในแผ่นซดี ีภาษาจีนให้นักเรียนฟงั แล้วลองฝกึ อา่ นออกเสยี งตาม ขนั้ สอน 1.ครูถามนักเรียนวา่ ไดย้ นิ เสียงอะไรจากเสยี งท่ีได้ฟงั บา้ ง และเรมิ่ เข้าสู่บทเรยี นโดย ครนู าบตั รคาท่ี เปน็ สระของภาษาจีนใหน้ ักเรียนดู แล้วถามนักเรยี นวา่ รจู้ กั สระภาษาจนี ไหม? ถา้ หากนกั เรียนไมร่ ้กู ็ เรมิ่ อธิบายความหมายและความสาคญั ของสระภาษาจนี ใหน้ ักเรยี นเข้าใจ 2. ครูเปิดสือ่ การสอน ppt เกย่ี วกบั เรื่องสระและให้นกั เรียนเขียนสระภาษาจีนลงในสมดุ 3. ครนู าบตั รคาสระภาษาจนี ขึ้นมาพร้อมอา่ นออกเสียงสระภาษาจนี ทงั้ หมดใหน้ กั เรียนฟัง 1 รอบ 4. ครใู ห้นกั เรียนอ่านออกเสยี งสระภาษาจนี ท้ังหมดตามครู 2 รอบ 5. ครสู ุ่มบัตรคาสระภาษาจนี แล้วใหน้ ักเรยี นอา่ นออกเสียงพร้อมกนั ข้นั สรปุ 1. ครใู ห้นกั เรยี นกลบั ไปทบทวนสระภาษาจีนพรอ้ มให้ฝึกอ่านออกเสยี งสระ ข้ันนา 1. ครหู ยบิ บัตรคาขึ้นมาชใู หน้ กั เรียนเห็น แลว้ ถามนกั เรียนวา่ จา ตัวอักษรท่ีเห็นได้ไหมวา่ เรยี กวา่ อะไร เมอ่ื นกั เรยี นตอบแลว้ ใหน้ กั เรยี นอา่ นสระภาษาจีนนนั้ ๆ ใหฟ้ ังจนครบ หากมบี างตัวทอ่ี า่ นผิดครสู อน นักเรียนอ่านออกเสยี งใหถ้ ูกตอ้ ง ข้ันสอน 1. ครเู ปิดเสียงสระภาษาจนี ใหน้ กั เรยี นฟงั 1 รอบ แล้วให้นกั เรยี นอา่ นตาม 2. ครใู หน้ ักเรยี นอา่ นสระภาษาจีนพรอ้ มกันอีก 1 รอบ 3. ครูสมุ่ นักเรยี น 3-4 คน อ่านออกเสยี งสระภาษาจนี ตามบัตรคาทีค่ รชู ูให้เห็น เพอ่ื ทดสอบว่านกั เรยี นรู้ และสามารถอา่ นออกเสียงสระภาษาจนี นนั้ ๆ ไดถ้ กู ต้อง ขน้ั สรุป 1. ทบทวนสระภาษาจีน ครูใหน้ ักเรียนเอาสมุดมาสง่ พร้อมกบั สอบอา่ นออกเสียงสระภาษาจีนเปน็ รายบุคคล โดยให้นักเรียนอ่านออกเสียงสระแต่ละตัว ทไี่ ม่จาเป็นตอ้ งเป็นสระท่เี รียงตอ่ กัน

สปั ดาห์ที่ 8 -10 ขน้ั นาเข้าสบู่ ทเรียน 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน 同学们好 ( สวัสดคี ะ่ นกั เรียนทกุ คน ) 2. ครใู ห้นักเรียนฟงั คลปิ เสยี งภาษาจีน แล้วให้นกั เรยี นทายวา่ เสียงท่ีไดย้ ินน้นั คือเสียงอะไร ในเน้อื หาทจ่ี ะ เรยี นตอ่ ไป และมกี ารถามตอบนักเรยี นและครู ขัน้ สอน 1. หลงั จากท่นี ักเรียนฟังเสียงภาษาจนี แลว้ ตอบคาถาม ครผู สู้ อนเฉลยและอธิบายเกยี่ วกบั เสียง ท่ีผเู้ รียนไดย้ ินนน้ั ว่าเปน็ เรื่องสญั ลักษณ์แทนวรรณยุกตภ์ าษาจีนเพือ่ ใช้ในการออกเสียง 2. ครูผู้สอนเปิดส่อื การสอน (ppt) และอธบิ ายเนอื้ หาและวธิ กี ารใชว้ รรณยุกต์ภาษาจนี 3. ครผู ู้สอนยกตัวอย่างการใช้วรรณยุกต์ภาษาจีนและพูดออกเสยี งใหน้ กั เรียนฟังอย่างเขา้ ใจ 1 รอบ 4. ครผู ู้สอนใหน้ กั เรยี นอ่านออกเสียงวรรณยุกตภ์ าษาจนี พรอ้ มกัน 1 รอบ 5. ครสู มุ่ นกั เรยี น 2 – 3 คนอา่ นออกเสียงวรรณยุกต์และถามวิธีหรือกฎการใช้วรรณยุกตภ์ าษาจนี เพ่อื ทบทวนเนือ้ หาในบทเรยี น 6. ครูใหน้ กั เรยี นเขยี นเนอื้ หาท่ีสาคญั เรื่องวรรณยุกตภ์ าษาจนี ขน้ั สรปุ 1. ครูให้นักเรียนทาแบบฝกึ หดั เรื่องวรรณยกุ ตภ์ าษาจนี เพ่ือทาความเข้าใจ พร้อมส่งสมุด 2. ทบทวนการอา่ นออกเสียงวรรณยุกตภ์ าษาจนี และมชี ว่ งถาม – ตอบในเร่ืองท่เี รยี นไป 9. ภาระช้ินงาน 1. แบบฝึกหดั เร่ืองสระภาษาจีน 2. การอา่ นออกเสียงสระภาษาจนี 3. แบบฝึกหดั เรอื่ งพยัญชนะ สระ และวรรณยกุ ต์ 4. แบบทดสอบทกั ษะการอ่านออกเสียงเร่อื งการผสมพยญั ชนะ สระ และวรรณยุกต์ 10. สื่อการเรยี นการสอน / แหล่งเรยี นรู้ 1. เทปเสยี งเกีย่ วกบั สระภาษาจีน 2. Power Point /เพลงประกอบการสอน/วิดีโอประกอบการสอนเรอ่ื งสระภาษาจนี 3. บตั รคาเกี่ยวกบั สระภาษาจนี 4. ppt ,CD การออกเสยี งเรอ่ื งพยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ต์ 5. บตั รคาเกย่ี วกบั การผสมพยญั ชนะสระและวรรณยกุ ต์ภาษาจนี

รายการสือ่ จานวน สภาพการใชส้ อ่ื 1 ชดุ 1. แบบฝึกทกั ษะการอ่านออกเสียงสระภาษาจนี ขั้นทบทวนความรู้ 2. แบบฝึกหัดเรือ่ งพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ 1 ชุด ขน้ั สรา้ งความสนใจ 3. แบบฝึกทักษะการอา่ นออกเสียง ( สอบอา่ น ) 1 ชุด ขนั้ ขยายความรู้ 11. การวัดผลและประเมินผล รายการประเมิน 5 4 ระดบั คุณภาพ 2 1 คะแนน 3 1. นักเรียนสามารถ นักเรียนสามารถ นักเรยี นอา่ นออก นักเรยี นอ่านออก นักเรยี นอา่ นออก นักเรยี นอา่ นออก อา่ นออกเสียง อา่ นออกเสยี งสระ เสียงสระภาษาจนี เสียงสระภาษาจีน เสยี งสระภาษาจนี เสยี งสระภาษาจีน สระภาษาจีนได้ อย่างถกู ตอ้ ง ภาษาจนี ไดอ้ ยา่ ง ไดถ้ กู ต้อง ไดถ้ ูกต้อง ไดถ้ กู ตอ้ ง ไดถ้ ูกตอ้ ง 8 ตัว ถกู ต้องทงั้ หมด 35 – 27 ตวั 26 – 18 ตัว 17 – 9 ตวั 2.นกั เรยี นสามารถ นักเรยี นสามารถ นักเรียนทา นักเรยี นทา นักเรียนทา นกั เรียนทา ทาแบบฝกึ หัดเรื่อง การผสมพยญั ชนะ ทาแบบฝกึ หดั เรอื่ ง แบบฝึกหดั เร่อื ง แบบฝึกหัดเรื่อง แบบฝกึ หดั เร่อื ง แบบฝึกหัดเรื่อง สระและวรรณยกุ ต์ ภาษาจีนได้อยา่ ง การผสมพยัญชนะ การผสมพยญั ชนะ การผสมพยญั ชนะ การผสมพยญั ชนะ การผสมพยัญชนะ ถูกตอ้ ง 3.นักเรียนสามารถ สระแลวรรณยุกต์ สระแลวรรณยกุ ต์ สระแลวรรณยกุ ต์ สระแลวรรณยกุ ต์ สระแลวรรณยกุ ต์ อา่ นออกเสียง พนิ อินเรอื่ งการ ภาษาจนี ได้อย่าง ภาษาจนี ผิด ภาษาจนี ผดิ ภาษาจนี ผดิ 9 ขอ้ ภาษาจีนผดิ 10 ผสมพยญั ชนะสระ และวรรณยุกต์ ถูกต้องท้งั หมด 3 - 5 ขอ้ 6 - 8 ขอ้ ขอ้ ข้ึนไป ภาษาจนี ไดอ้ ย่าง ถกู ตอ้ ง นกั เรยี นสามารถ นกั เรยี นอ่านออก นักเรียนอา่ นออก นักเรียนอา่ นออก นักเรียนอ่านออก อ่านออกเสยี ง เสียงพนิ อนิ เร่ือง เสียงพินอนิ เร่ือง เสียงพนิ อินเร่อื ง เสยี งพินอนิ เร่ือง พินอินเร่ืองการ การผสม การผสม การผสม การผสม ผสมพยัญชนะ พยัญชนะสระ พยัญชนะสระ พยัญชนะสระ พยัญชนะสระ สระและ และวรรณยุกต์ และวรรณยกุ ต์ และวรรณยุกต์ และวรรณยุกต์ วรรณยุกต์ ภาษาจนี ได้ ภาษาจนี ได้ ภาษาจนี ได้ ภาษาจนี ได้ ภาษาจนี ไดอ้ ยา่ ง ถกู ตอ้ ง ถูกตอ้ ง ถูกตอ้ ง ถูกตอ้ ง ถูกต้องทงั้ หมด 24 – 20 ตวั 19 – 16 ตัว 15 – 12 ตวั 11- 8 ตวั

ระดบั คุณภาพ ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 5 ดีมาก 4 ดี 3 ปานกลาง 2 พอใช้ 1 ปรบั ปรุง

แบบฝึกทกั ษะการอ่าน 韵母 : สระ สระเดยี่ ว มี 6 เสียง uü ɑo e i สระประสมสองเสยี ง 9 เสยี ง ɑi ei ɑo ou iɑ ie uɑ uo üe สระประสมสามเสยี งมี 4 เสียง ui( uei ) iɑo iu( iou ) uɑi สระเสยี งนาสกิ (สระท่ีมีพยญชั นะสะกด n และ nɡ) ɑn en ɑnɡ enɡ onɡ ionɡ iɑn in iɑnɡ inɡ uɑn uen uɑnɡ uenɡ üɑn ün

แบบฝกึ ทกั ษะ ออกเสียงพินอนิ เรือ่ ง การผสมพยัญชนะสระและวรรณยกุ ต์ภาษาจีน quán wànɡ liànɡ yù wánɡ xiē duì nǚ jūn xiǎnɡ chī bò yànɡ wèn kùi jiào zhào chán hēi qián sì xué zhè shēnɡ shì

แบบฝึกหดั การผสมพยญั ชนะ สระและวรรณยกุ ต์ คาสง่ั เตมิ เสยี งพยญั ชนะ สระ และวรรณยุกตท์ ไี่ ด้ยนิ 1. b + ɑnɡ + ˋ = 10. m + ei + ˊ= 2. x + ionɡ + ˉ = 11. j + ie + ˇ = 3. k + uɑn + ˉ = 12. l + ie + ˋ = 4. zh + uɑnɡ + ˋ = 13. j + iɑnɡ + ˇ = 5. x + iu + ˉ = 14. sh + ɑnɡ + ˋ = 6. ɡ + ɑn + ˋ = 15. q + ün + ˉ = 7. j + ün + ˉ = 16. z + e + ˊ = 8. ɡ + e + ˋ = 17. s + e + ˋ = 9. ch + onɡ + ˊ= 18. ɡ + enɡ + ˋ =

แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เรอ่ื ง สัทอักษรภาษาจีน แผนจัดการเรยี นร้ทู ่ี 1 เรือ่ ง กลุ่มคาและวลี รายวชิ า ภาษาจนี กลาง 1 รหสั วชิ า จ 31201 ระดับช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 น้าหนกั เวลาเรียน 4 (นน./นก.) เวลาเรียน 8 ชวั่ โมง/สปั ดาห์ ระยะเวลาในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 5 สปั ดาห์ 40 ชวั่ โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคญั ในการเรียนภาษาจนี จะต้องเรียนรู้เร่อื งระบบสทั อกั ษรจีน(พินอิน) การเรียนรู้สทั อักษรจนี (พินอิน)เป็น การปูพื้นฐานในการ เรียนรู้ภาษาจีนเบ้ืองต้น ซ่ึงเป็นปัจจัยสาคัญที่จะทาให้ผู้เรียนสามารถอ่านออกเสียง ภาษาจีนได้ถูกต้อง ดังนั้น นักเรียนจึงควรเรียนรู้ระบบสัทอักษรจีน (พินอิน) ซ่ึงมี พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ การเติมเสียง การประสมสระ ลาดับขีด ไปจนถึงวิธีการใช้กฏต่างๆ เพื่อปูพ้ืนฐานเบื้องต้นในการเรียน ภาษาจนี ตอ่ ไป 2. ผลการเรยี นรู้ 1. ผ้เู รียนสามารถอ่านออกเสยี งกลมุ่ คาและวลีภาษาจีนได้ 2. ผเู้ รยี นสามารถเขียนกลุม่ คาและวลภี าษาจนี ได้ 3. ผ้เู รียนมคี วามร้คู วามเข้าใจเก่ียวกับวิธีการเขียนลาดับขีดตวั อกั ษรจีน 4. ผู้เรียนสามารถเขียนตวั อกั ษรจนี ได้อย่างถกู ต้องตามหลกั การเขียน 5. ผูเ้ รียนเกดิ เจตคตทิ ่ีดีตอ่ การเขยี นตวั อักษรจีน 3. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ดา้ นความรู้ (K) 1. นักเรียนมีความรู้ความเขา้ ใจเรอื่ งกล่มุ คาและวลีสน้ั ๆ 2. นักเรยี นสามรถบอกวธิ กี ารเขียนลาดบั ขดี ตัวอกั ษรภาษาจนี ได้ 3.2 ด้านทกั ษะ (P) 1. ทักษะการฟัง 1.1 นกั เรยี นฟงั ภาษาจนี ทคี่ รูพูดเป็นกลุ่มคาและวลสี ้นั ๆ 1.2 นกั เรียนดูคาศัพทภ์ าษาจนี แล้วสามารถเขยี นแยกลาดบั ขดี ได้ 2. ทกั ษะการพดู 2.1 นักเรียนพูดวลภี าษาจนี ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง 3. ทักษะการอา่ น 3.1 นักเรียนสามารถอา่ นกลุ่มคาและวลไี ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 4. ทักษะการเขียน 4.1 นกั เรยี นฟงั ภาษาจนี ทค่ี รพู ดู และ สามารถเขียนเป็นพินอนิ ทเ่ี ป็นเสียงเบา 4.2 นักเรยี นดคู าศพั ทภ์ าษาจนี แลว้ สามารถเขียนแยกลาดับขีดได้

3.3 ด้านจติ พิสัย/คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ (A ) 1. นักเรยี นมีความรับผดิ ชอบสง่ งานตรงเวลา 2. นักเรียนเปน็ ผ้มู ีคุณธรรมในการดารงชวี ิต ขยันใฝ่หาความรู้ 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 เนื้อหาที่ 1 เสียงเบา 轻声 เสยี งเบา หมายถงึ เสยี งท่เี ปล่งออกมาตอ่ จากพยางค์กอ่ นหนา้ นั้นอยา่ งกระชัน้ ชิด มลี ักษณะ การออกเสยี งส้ันและเบากว่าเสียงทัว่ ไป เสยี งเบาทีอ่ ยู่หลังวรรณยุกต์เสียงหน่งึ เสยี งสอง และเสยี ง สาม จะออกเสยี งตา่ ต่อเนื่องจากเสียงวรรณยุกตก์ ่อนหน้า ส่วนเสยี งเบาทอ่ี ย่หู ลังวรรณยุกต์เสียง สาม จะออกเสียงสงู ขึน้ จากระดบั เสยี งของพยางคห์ นา้ เลก็ น้อย เชน่ 妈妈 māmɑ มาหม่ะ แม่ 爷爷 yéye เย๋เย ปู่ 奶奶 nǎinɑi ไหน่ไน ยา่ 爸爸 bàbɑ ปา้ ปะ พ่อ การแปรวรรณยกุ ตเ์ สียงที่ 3 กรณเี สยี งวรรณยุกต์เสยี งที่ 3 เจอวรรณยุกตเ์ สียงท่ี 3 ดว้ ยกันเสียงขา้ งหนา้ จะเปลย่ี นเป็น เสียง 2 เช่น nǐhǎo níhǎo wǒ hěn hǎo wǒ hén hǎo หนหี่ ่าว หนหี ่าว หวอ่ เห่ิน หา่ ว หวอ่ เหนิ ห่าว wǒ yě hěn hǎo wó yě hén hǎo หวอ่ เย่ เฮ่ิน ห่าว หวอ๋ เย่ เฮนิ๋ หา่ ว การแปรเสยี งวรรณยุกต์ของ “不” เม่ือ 不 ใช้โดยลาพงั หรืออยู่หนา้ พยางคเ์ สียงวรรณยุกต์ท่ี 1 , 2 และ 3 ใหอ้ า่ นเปน็ เสยี งที่ 4 (bù) เช่น bù ɡāo ,bù mánɡ ,bù hǎo , bù tīnɡ , bù nán , bù dǒnɡ , bù nán แต่เมอื่ อยูห่ น้าพยางคเ์ สยี งที่ 4 ·กใ็ หอ้ ่านเป็นเสยี งที่ 2 (bú) เช่น bú dà , bú kàn , bú nià n , bú xiè

คาวา่ “不” และ “一” ในภาษาจนี กลางจะมีการกลายเสียงเฉพาะ กล่าวคอื เมื่อ “不” และ “一” อย่หู น้าพยางคเ์ สยี งส่หี รอื พยางค์เสยี งเบาทก่ี ลายมาจากเสียงส่ี จะต้องออกเสียงว่า “bú” และ “yí” ตามลาดับ เชน่ bú shì 不是; yí ɡè 一个 แตห่ ากสองคานี้อยูห่ นา้ พยางคเ์ สยี งหน่งึ เสียงสองและเสียงสาม กย็ งั คงออกเสยี งเปน็ เสยี งสี่ตามเดิมวา่ “bù” และ “yì” เชน่ bù shuō 不说; bù lái 不来; bù hǎo 不好 yì tiān 一天; yì nián 一年; yì qǐ 一起 พยางค์เสริมท้ายดว้ ยเสียง er พยางคเ์ สรมิ ท้ายด้วยเสียง er หมายถึง พยางค์ทเี่ กดิ จากการเพม่ิ เสียง er(-r) ตอ่ ขา้ งท้ายเสียงสระ ใน ภาษาจนี กลางมีคาจานวนมากทมี่ ีการเสรมิ ท้ายดว้ ยเสยี ง er เวลาเขียนสทั อกั ษรพินอินให้เพิ่มตัว r ตอ่ ทา้ ยสระ หากเขียนเปน็ ตัวอักษรจนี ให้เขียนตัว “儿” ตอ่ ท้ายคา เชน่ ɡēr 歌儿 (เพลง); huār 花儿 (ดอกไม้) หากเปน็ พยางค์มีสระทล่ี งทา้ ยดว้ ยเสียง –i หรอื –n เมื่อจะประกอบเปน็ พยางค์เสริมท้ายดว้ ยเสียง er ก็ จะไมอ่ อกเสยี ง –i หรอื -n เชน่ xiǎo háir 小孩儿 (เดก็ ); wánr 玩儿 (เล่น) 4.2 เน้อื หาท่ี 2 การเขยี นลาดบั ขดี 笔顺 คือ การลาดบั ขดี การเขียนภาษาจีน ซ่งึ พืน้ ฐานโดยทั่วไปมี 7 แบบ 规则 例子 笔顺 (ɡuīzé) (lìzi) (bǐshùn) ลาดับขีด ระเบียบการเขยี น อักษรตวั อยา่ ง 先横后竖 十 shí (xiānhénɡhòu shù) 下 xià เสน้ ขวางก่อนเสน้ ต้ัง 先撇后捺 八 bā 例子

规则 (lìzi) 笔顺 (ɡuīzé) อกั ษรตวั อยา่ ง ระเบยี บการเขยี น (bǐshùn) 天 ลาดับขีด (xiānpiēhòu nà) tiān 三 sān เส้นซ้ายก่อนเส้นขวา 京 从上到下 jīnɡ 地 de (chónɡshànɡdàoxià) 做 zuò เส้นบนก่อนเสน้ ล่าง 从左到右 (chónɡzuǒdàoyòu) จากซ้ายไปขวา 从外到内 月 yuè (chónɡwàidàonèi) 同 tónɡ จากนอกเขา้ ใน 先进入后关门 日 rì (xiānjìnrúhòuɡuānmén) ตีกรอบนอก เขยี นขา้ งใน 国 ɡuó แล้วคอ่ ยปดิ 先中间后两边 小 xiǎo (xiānzhōnɡjiānhòu 水 liǎnɡbiān) shuǐ ตรงกลางก่อนแล้วซา้ ยขวา

คาศพั ท์ 你 Nǐ : คุณ 好 hǎo : ดี 他 tā : เขา 吗 ma : อนุภาค คาถาม งา่ ยๆ 呢 ne : ปุจฉาอนุภาค (ใชเ้ พอื่ กลบั ไปคาถามทล่ี าโพงไดร้ ับเพยี งแค่ถาม. ตวั อยา่ งเช่นNǐ ne ? และ คุณ ?)

不 bù : ปฏเิ สธ ไม่ 我 wǒ : ฉนั ฉนั 再 zài : (อีกคร้งั ) 见 jiàn : (ดู ) 5. สมรรถนะสาคญั ของนักเรยี น 1. ความสามารถในการสอื่ สาร ( วิเคราะห์ สังเคราะห์ ) 2. ความสามารถในการคิด 6. คณุ ลักษณะของวิชา 1. ความรับผดิ ชอบ 2. ความตงั้ ใจ 3. ความสนใจ 4. มมี ารยาทในการอา่ นสนทนา 7. คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ มนั่ ในการทางาน

8. กิจกรรมการเรยี นรู้ สัปดาหท์ ่ี 11 ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรียน 10 นาที 1. ครูกล่าวทักทายนกั เรียน 同学们好 ( สวัสดีคะ่ นกั เรียนทกุ คน ) 2. ครูให้นกั เรยี นฟงั คลิปเสียงภาษาจีน แล้วให้นกั เรยี นทายว่าเสียงที่ไดย้ ินนน้ั คือเสียงอะไรในเน้อื หาท่ี จะเรียนตอ่ ไป และมกี ารถามตอบนกั เรียนและครู ข้นั สอน 1. หลงั จากท่ีนกั เรียนฟงั เสียงภาษาจนี แลว้ ตอบคาถาม ครูผูส้ อนเฉลยและอธิบายเกยี่ วกบั เสียงท่ี ผเู้ รียน ได้ยนิ นน้ั วา่ เป็นเสยี งเบาและการแปรเสียงวรรณยกุ ต์ภาษาจนี 2. ครผู ู้สอนเปิดสอ่ื การสอน (ppt) และอธบิ ายเน้ือหาและวธิ ีการออกเสียงเบาและการแปรเสียง วรรณยุกต์ภาษาจีน 3. ครผู ู้สอนเปิดคลิปตวั อย่างการออกเสียงเบาและการออกเสียงเมือ่ มีการแปรเสยี งวรรณยุกต์ ภาษาจีนและพูดออกเสียงใหน้ ักเรยี นฟังอยา่ งเข้าใจ 1 รอบ 4. ครผู ู้สอนให้นกั เรียนอ่านออกเสียงพนิ อนิ ภาษาจนี ทีเ่ ป็นเสยี งเบาพร้อมกนั 1 รอบ เช่น 妈妈 māmɑ มาหม่ะ แม่ และอา่ นออกเสียงพนิ อนิ ภาษาจนี ที่ต้องแปรเสยี งวรรณยกุ ตพ์ ร้อมกนั 1 รอบ เชน่ yìnián 一年 5. ครสู มุ่ นกั เรยี น 2 – 3 คนอ่านออกเสียงเบา อ่านออกเสียงพนิ อินทีแ่ ปรเสยี งวรรณยุกต์ และถาม วธิ ีการอ่านออกเสียงเบา และการแปรเสียงวรรณยุกตภ์ าษาจนี เพ่อื ทบทวนเนื้อหาในบทเรียน 6. ครใู ห้นักเรยี นเขยี นเนือ้ หาท่ีสาคญั เรื่องเสยี งเบาและการแปรเสียงวรรณยุกตภ์ าษาจีน ข้นั สรปุ 1. ครใู ห้นกั เรยี นฝกึ อ่านออกเสียงเบาและฝกึ อา่ นออกเสยี งเรือ่ งการแปรเสยี ง 2. ทบทวนการอา่ นออกเสยี งเบา การแปรเสยี งวรรณยกุ ตภ์ าษาจีนและมีช่วงถาม – ตอบในเรือ่ งท่ี เรยี นไป

สัปดาหท์ ี่ 12 ขั้นนา 1. ครทู บทวนเรือ่ งเสียงเบาและการแปรเสียงวรรณยกุ ต์ภาษาจีน 2. ครใู หน้ กั เรียนฟังเสียงการอ่านออกเสียงวรรณยกุ ตภ์ าษาจีนและให้นกั เรียนตอบคาถามที่สอดคล้อง กบั เนอ้ื หาทีเ่ รยี น ขั้นสอน 1. หลงั จากนักเรยี นตอบคาถามเสร็จแลว้ ครูผ้สู อนนาบัตรคาพนิ อนิ ภาษาจนี ขน้ึ มาแลว้ อ่านออกเสียง ได้ใหน้ ักเรียนฟังอยา่ งชดั เจน 2. อธบิ ายในสว่ นท่เี ปน็ บตั รคา เพื่อใหเ้ ช่ือมโยงและสอดคล้องกับเนอ้ื หาเร่อื งเสียงเบาและการแปร เสยี งวรรณยกุ ตภ์ าษาจนี 3 . ยกตัวอย่างพินอินที่เสียงเบาและพินอินทีม่ กี ารแปรเสียงวรรณยุกต์ภาษาจีน และสอนนกั เรียน อ่านออกเสียง 1 รอบ 4. สุ่มนักเรียนประมาณ 3 – 4 คนใหอ้ อกมาอ่านออกเสียงพินอนิ เสยี งเบา และให้นกั เรยี นอ่านออก เสยี งพนิ อินที่มกี ารแปรเสยี งวรรณยุกต์ภาษาจีนให้เพื่อนฟงั เช่น 儿子 érzi , yìqǐ 一起 5. ครูให้นักเรียนจดบันทกึ เนอื้ หาที่สาคญั ลงในสมดุ พรอ้ มกับสง่ สมดุ หลังเลิกเรียน 6 .กจิ กรรมแยกแยะพยางคเ์ สียง ครูเปดิ เสยี งจากแผน่ CD ใหน้ ักเรยี นฟงั แล้วให้นักเรียนยกมอื ตอบ ว่าท่ีไดย้ ินคือเสยี งแบบไหน เสยี งเบาหรอื ว่า การแปรเสยี ง ขนั้ สรุป 1. ทบทวนเรือ่ งเสียงเบาและการแปรเสยี งวรรณยกุ ต์ภาษาจีน 2. สง่ สมุดและพรอ้ มกับสอบอา่ นออกเสียงเรอ่ื งเสียงเบาและการแปรเสียงวรรณยกุ ต์ภาษาจีนท่ีครู กาหนดให้ สปั ดาห์ที่ 13 ขน้ั นาเขา้ สู่บทเรียน 1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน 同学们好 ( สวัสดีคะ่ นักเรยี นทุกคน ) 2. ครูเขยี นคาศพั ท์ภาษาจนี ทน่ี กั เรียนคุ้นเคย และเขียนแยกลาดับขีดของคาศพั ท์ขดี นั้น ขนั้ สอน 1 . ครูอธบิ ายเก่ียวกับการเขยี นลาดบั วา่ มวี ธิ ีการเขียนตัวอกั ษรภาษาจีนอย่างไร 2. ครผู ู้สอนเปดิ สือ่ การสอน ppt และอธิบายถงึ ความหมายของ 笔画 和 笔顺 3. ครยู กตัวอยา่ งคาศัพทภ์ าษาจีนท่นี กั เรยี นเคยใช้ผา่ นมาในชีวิตประจาวนั เช่น 你, 好, 吗 , 再 ,见, ซง่ึ เป็นคาศัพทภ์ าษาจนี ทพ่ี บเจอไดบ้ ่อยๆ ยกตวั อย่างพรอ้ มสอนวิธีการเขียน แยกเส้นขีดของตวั อกั ษรจนี 4. ครูให้นกั เรยี นจดบันทกึ คาศพั ท์ลงในสมุด โดยให้เขยี นแยกลาดับขดี ตามบนกระดาน 5. สมุ่ นกั เรียนออกมาเขียนแยกเส้นลาดับขดี ภาษาจีน

ข้นั สรปุ 1. ทบทวนหลกั การเขียนตัวอักษรจีน คาศัพท์ และสง่ สมุด สัปดาหท์ ่ี 14 - 15 1. ครกู ล่าวทกั ทายนักเรียน 同学们好 ( สวัสดีค่ะนกั เรียนทกุ คน ) 2. ครูเขียนคาศัพทภ์ าษาจีนท่ีบนกระดานแล้วให้นักเรียนออกมาเขียนแยกลาดับเส้นขดี ข้ันสอน 1. ครูสอนอา่ นออกเสียงคาศพั ทภ์ าษาจีนพร้อมแปลความหมาย 2. ครูสมุ่ ใหน้ กั เรยี นออกมาอ่านออกสียงคาศัพทแ์ ละแปลความหมาย 3. กิจกรรมครใู ห้นักเรยี นหาแผ่นป้ายของลาดบั ขีดของคาศัพทภ์ าษาจีน โดยครจู ะกาหนดแผ่นปา้ ยของ คาศัพทเ์ หลา่ นนน้ั แลว้ ให้นกั เรยี นหาแผ่นปา้ ยนาไปติดหน้าบนกระดาน โดยต้องเรยี งการเขียนลาดับ ขีดให้ถูกต้อง 4. กิจกรรมแจกแบบฝกึ การเขียนตัวอักษรจีน โดยให้ใชพ้ ู่กันจีนในการฝึกเขยี นตามตวั อย่าง 5. ใหน้ ักเรียนทาแบบฝกึ หัดฝกึ เขียนแยกลาดบั ขีด จากคาศพั ท์ภาษาจนี ลงในสมดุ เสรจ็ แล้วเฉลยแลว้ ตรวจพร้อมกัน 6. ให้นกั เรียนทากิจกรรมการฝึกเขียนอักษรจันดว้ ยพกู่ นั จนี แลว้ ขน้ั สรุป 1. ทบทวนการอ่านออกเสียงคาศัพทภ์ าษาจีน 2. ทบทวนวิธีการใช้ หลกั การการเขียน พร้อมส่งสมุด 9. ภาระช้ินงาน 1. แบบทดสอบทักษะการอ่านออกเสียง 2. แบบฝึกหดั การเขยี นลาดบั ขีด 10. ส่ือการเรยี นการสอน / แหล่งเรยี นรู้ 1. Power Point ,CD การออกเสยี ง 2. บตั รคาเกี่ยวกบั พินอินภาษาจีนใชฝ้ ึกการออกเสยี งเบาและการแปรเสยี ง 3. แผน่ ป้ายลาดับขดี ของตัวอักษรจีน 4. ใบงานการฝึกเขียนลาดบั ขีดด้วยพูก่ นั จนี รายการสอ่ื จานวน สภาพการใช้ส่ือ 1. แบบฝึกทกั ษะการอ่านออกเสียง ( สอบอ่าน ) 1 ชดุ ขัน้ ขยายความรู้ 2. แบบฝึกหัดการเขียนลาดบั ขดี 1 ชดุ ขนั้ ทบทวนความรู้ 3. ใบงานการฝกึ เขียนลาดบั ขีดดว้ ยพู่กันจีน 1 ชุด ขัน้ สร้างความสนใจ

11. การวัดผลและประเมนิ ผล รายการประเมนิ 5 4 ระดับคุณภาพ 2 1 คะแนน 3 1.นักเรยี นสามารถ นกั เรียน นกั เรียนอา่ นออก นักเรยี นอา่ นออก นักเรียนอา่ นออก นกั เรยี นอา่ นออก อ่านออกเสียงพนิ เสียงพินอินเสียง เสยี งพนิ อินเสียง อนิ เสียงเบาและพิน สามารถอา่ น เสยี งพนิ อินเสยี ง เสียงพนิ อินเสยี ง เบาและพนิ อินที่ เบาและพนิ อินท่ี อินท่แี ปรเสียง ออกเสยี งพนิ อนิ เบาและพินอินท่ี เบาและพนิ อินที่ แปรเสยี ง แปรเสยี ง วรรณยุกต์ภาษาจนี วรรณยุกต์ วรรณยุกต์ เสยี งเบาและพนิ แปรเสยี งวรรณยกุ ต์ แปรเสยี ง ได้อย่างถกู ตอ้ ง ภาษาจนี ถูกตอ้ ง ภาษาจนี ถกู ต้อง อินทแี่ ปรเสยี ง ภาษาจนี ไดถ้ กู ตอ้ ง วรรณยุกต์ 8 - 5 ตวั 4 ตวั วรรณยุกต์ 16 – 13 ตวั ภาษาจีนถูกต้อง ภาษาจีนได้ 12 – 9 ตัว อยา่ งถกู ต้อง ทัง้ หมด 2.นักเรียนสามารถ นักเรยี น นกั เรยี นทา นักเรียนทา นักเรยี นทา นกั เรยี นทา ทาแบบฝึกหัดเรือ่ ง สามารถทา แบบฝกึ หดั เรอื่ ง ลาดบั ขีดภาษาจนี แบบฝึกหดั เรือ่ ง ลาดบั ขดี ภาษาจนี แบบฝกึ หดั เร่อื ง แบบฝกึ หัดเรอ่ื ง แบบฝึกหดั เร่ือง ได้อย่างถูกต้อง ลาดบั ขดี ถูกต้อง ภาษาจนี ได้ 10 – 9 ข้อ ลาดับขดี ภาษาจีน ลาดับขดี ภาษาจนี ลาดับขีดภาษาจีน อยา่ งถูกตอ้ ง ทง้ั หมด ถูกตอ้ ง ถกู ตอ้ ง ถูกตอ้ งต่ากวา่ 8 – 7 ขอ้ 6 – 5 ขอ้ 5 ขอ้ ระดับคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 5 ดมี าก 4 ดี 3 ปานกลาง 2 พอใช้ 1 ปรบั ปรุง

แบบฝึกหดั 1 คาสงั่ : จงเตมิ เสียงวรรณยกุ ต์ทไ่ี ดย้ นิ ใหถ้ ูกตอ้ ง 说明 : 听生词,加正确声调 1. daxue มหาวิทยาลยั 2. yundong ออกกาลังกาย 3. jiji กระตอื รอื ร้น 4. canjia เขา้ ร่วม 5. tiyu กฬี า 6. shenti ร่างกาย 7. zuqiu ฟุตบอล 8. bangzu ช่วยเหลอื 9. dajia ทุกคน 10. gaoda สงู ใหญ่ 11. haopengyou เพอ่ื นทีด่ ี 12. gaozhongsheng ชนั้ มธั ยมศึกษา 13. bijiben สมุดบันทึก 14. kianshiji โทรทศั น์ 15. kongtiaoji เคร่อื งปรับอากาศ 16. dayinji เครอื่ งถ่ายเอกสาร 17. tizuqiu เตะฟตุ บอล 18. huiyishi หอ้ งประชุม 19. dadianhua โทรศพั ท์ 20. yaokongqi รีโมท

แบบฝึกหดั 2 คาส่งั : จงเติมสระ , วรรณยุกต์ ใหถ้ ูกตอ้ ง 说明 : 听生词,填空 (一) p_ng y_ _ (十四) f_ j_ _ zh_ _ x_ (二) _ _ou j_ (十五) d_ _ x_ _ _ r_ s_ _ (三) d_an _ao (十六) x_ _ j_ _ _ f_ _ (四) f_ _ _i (十七) y_ x_ n y_ y_ (五) ko_ _ t_ao (十八) s_n _in _ _ y_ (六) n_ _ h_ _ (十九) w_ y_ _ l_ _ s_ (七) _ang _ _an (二十) _ ang _ _an (八) _ang _ _an (九) y_ _an (十) t_o x_ _ (十一) ch_ ch_ k_ _ _ _ _ (十二) _en _iao x_ _ _ f_ _ (十三) k_ _ _en (十四) _ao h_ng h_ng

แบบฝกึ หดั 3 คาส่ัง : จงเขยี นลาดบั ขดี คาศพั ท์ตอ่ ไปนี้ให้ถกู ต้อง 说明 : 写这些生词的笔顺 你 好 他 吗好 呢好 不 我呢 再呢 见呢 们呢 她见 呢 呢见 呢 呢

แบบฝกึ ทักษะการอ่านออกเสียง érzi เสียงเบา zhuōzi shítou mántou yīfu kùzi bàbɑ ,māmɑ shétou bú shì dōnɡxi bù hǎo การแปรเสยี งวรรณยกุ ต์ bù lái yì qǐ yí ɡè bù shuō yì tiān yì nián

แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4 เรือ่ ง สัทอักษรภาษาจีน แผนจัดการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอ่ื ง บทความ รายวชิ า ภาษาจนี กลาง 1 รหัสวชิ า จ 31201 ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 4 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 นา้ หนกั เวลาเรียน 4 (นน./นก.) เวลาเรียน 8 ช่วั โมง/สัปดาห์ ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ 5 สัปดาห์ 40 ชว่ั โมง .......................................................................................................................................................... 1. สาระสาคัญ ในการเรียนภาษาจนี จะต้องเรียนรู้เรื่องระบบสัทอกั ษรจีน(พินอิน) การเรยี นรู้สัทอักษรจีน(พนิ อิน)เป็นการ ปูพ้ืนฐานในการ เรียนรู้ภาษาจีนเบื้องต้น ซ่ึงเป็นปัจจัยสาคัญที่จะทาให้ผู้เรียนสามารถอ่านออกเสียงภาษาจีนได้ ถูกต้อง ดังน้ัน นักเรียนจึงควรเรียนรู้ระบบสัทอักษรจีน (พินอิน) ซึ่งมี พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ การเติมเสียง การประสมสระ ลาดับขดี ไปจนถึงวธิ กี ารใชก้ ฏต่างๆ เพอื่ ปพู ื้นฐานเบื้องต้นในการเรยี นภาษาจนี ต่อไป 2.ผลการเรยี นรู้ 1. ผ้เู รยี นมคี วามรูค้ วามเข้าใจเกย่ี วกบั วิธีการอา่ นอักษรจีน 2. ผเู้ รียนสามารถอ่านอักษรจนี ได้ 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 3.1 ด้านความรู้ (K) 1. นกั เรยี นมีความรูค้ วามเขา้ ใจเร่ืองการอา่ นบทความภาษาจนี 2. นักเรียนสามารถอ่านบทความภาษาจีนได้ 3.2 ด้านทกั ษะ (P) ทกั ษะการพดู 1. นักเรยี นสามารถอ่านบทความภาษาจนี ได้ 3.3 ด้านจติ พิสัย/คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ (A ) 1. นกั เรียนมคี วามรบั ผดิ ชอบสง่ งานตรงเวลา 2. นกั เรยี นเปน็ ผ้มู คี ุณธรรมในการดารงชีวติ ขยันใฝ่หาความรู้

4. สาระการเรยี นรู้ บทท่ี 1 บทที่ 2

บทท่ี 3 บทที่ 4

บทที่ 5 บทความ วิชา ทกั ษะภาษาจนี กลาง 1 (บทท่ี 1 – 5) 老师早上好。这是老师的书吗?不是,这是我 同学的中文 书。您的同学,学中文,是不是?是的,他是好学生的,我是中文 老师,我朋友也是老师。 他是什么老师呢?他是英文老师。这是 谁?这是我的 哥哥。老师的哥哥在哪儿?,他不在家吗?我的 哥哥在书店。他去书店,我回家,我姐姐在家,再见! 你好!你是商人,对不对?是的,我是医生, 我的妈妈也是 商人。我不知道,这是谁的包?这是 我朋友的包。是什么包? 是书包。他的手在哪儿?,是什么手机?在这。是英国手机。

5. สมรรถนะสาคญั ของนกั เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 6. คุณลักษณะของวิชา 1. ความรับผดิ ชอบ 2. ความตั้งใจ 3. ความสนใจ 4. มมี ารยาทในการอ่านสนทนา 7. คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ มั่นในการทางาน 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ สปั ดาหท์ ี่ 1 – 5 ขนั้ นาเขา้ สูบ่ ทเรียน 1. ครกู ล่าวทักทายนกั เรียน 同学们好 ( สวัสดีคะ่ นกั เรียนทุกคน ) 2. ครูเปิดส่ือ Power Point คาศพั ท์ทัง้ หมดให้นกั เรยี นอ่านทบทวน ขั้นสอน 1 . สุม่ นักเรยี นอ่านอกั ษรภาษาจีนที่ได้เรยี นมาทง้ั หมด โดยใหด้ ูบตั รภาพภาษาจนี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook