89 1. นาขอ้ มลู จากการวเิ คราะหจ์ ากกฎของลกู เสอื มาระดมพลงั สมองเปรียบเทียบ กับฐานการเรียนรู้และฐานกิจกรรมที่สร้างขึ้นในค่ายพักแรม และสรุปความเส่ียงเพื่อป้องกัน ไมใ่ ห้เกดิ เหตหุ รอื ภยั ตา่ ง ๆ ไว้ล่วงหน้า 2. นาเสนอผลการจัดทามาตรการในการอยู่ร่วมกัน ทั้งการพบกลุ่มและการอยู่ ค่ายพกั แรม เพอื่ กาหนดมาตรการให้ใช้ร่วมกันอย่างเหมาะสม 3. ทดลองนาข้อบกพร่องของกระบวนการผลิตที่มีความเส่ียงในการปฏิบัติ มานาเสนอและแสดงบทบาทสมมุติ (Role play) เพื่อฝึกปฏิบัติ เป็นการเตรียมความพร้อม เพือ่ เตรียมการก่อนผลติ สอื่ หรือสรา้ งค่ายกิจกรรมลกู เสอื กศน. กจิ กรรมท้ายเร่ืองท่ี 4 การปฏบิ ตั ิตนตามหลักความปลอดภยั (ให้ผู้เรยี นไปทากิจกรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 4 ที่สมดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วชิ า)
90 หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 11 การปฐมพยาบาล สาระสาคญั การปฐมพยาบาล เป็นการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุ หรือผู้ที่ได้รับ บาดเจ็บเบื้องต้น โดยใช้เครื่องมืออุปกรณ์ท่ีหาได้ในบริเวณน้ัน เพื่อช่วยบรรเทาอาการและช่วย ให้ผู้บาดเจ็บได้รับอันตรายน้อยลงก่อนนาส่งโรงพยาบาล เพื่อรับการรักษาในโอกาสต่อไป ดังนั้น ผูใ้ หก้ ารชว่ ยเหลอื ตอ้ งมคี วามรู้ ความสามารถ ให้การช่วยเหลือ เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน หรอื เกิดอาการทรดุ ลงถงึ ขัน้ อนั ตรายถงึ แกช่ วี ิต การปฐมพยาบาลผู้ประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์ ทางน้า ตกจากท่ีสูง หกล้ม ที่มีอาการกระดูกหัก ข้อเคล็ด ข้อเคลื่อน ผู้ให้การช่วยเหลือควรมีความรู้ ความสามารถ เกย่ี วกบั การเขา้ เฝอื ก มดั เฝือก การพันด้วยผา้ การใช้ผา้ สามเหลี่ยม และการเคลือ่ นย้ายผปู้ ่วย การปฐมพยาบาล ผู้มีภาวการณ์เป็นลม ลมชัก ลมแดด หรือ หมดสติ ผู้ให้การ ช่วยเหลือ ควรมีความรู้ ความสามารถ เกี่ยวกับการประเมินอาการเบื้องต้น หรือตัดสินใจใช้วิธีการ ช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานอย่างถูกวิธี ถูกต้อง และรวดเร็ว เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนหรือ เกดิ อาการทรดุ ลงถึงข้นั อันตรายถึงแก่ชีวติ ตวั ช้ีวัด 1. อธิบายความหมายและความจาเปน็ ของการปฐมพยาบาล 2. อธิบายและยกตัวอยา่ งวิธีการปฐมพยาบาลกรณตี ่าง ๆ 3. อธบิ ายการวดั สัญญาณชพี และการประเมินเบื้องต้น ขอบข่ายเน้อื หา เรื่องที่ 1 การปฐมพยาบาล 1.1 ความหมายของการปฐมพยาบาล 1.2 ความจาเปน็ ของการปฐมพยาบาล เร่ืองที่ 2 วิธกี ารปฐมพยาบาลกรณีตา่ ง ๆ เร่ืองท่ี 3 การวัดสัญญาณชพี และการประเมินเบอ้ื งต้น
91 เวลาท่ีใช้ในการศึกษา 6 ช่ัวโมง สือ่ การเรียนรู้ 1. ชดุ วชิ าลกู เสอื กศน. รหสั รายวชิ า สค12025 2. สมุดบนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรูป้ ระกอบชุดวิชา 3. สอ่ื เสรมิ การเรยี นรู้อืน่ ๆ
92 เรอื่ งที่ 1 การปฐมพยาบาล 1.1 ความหมายของการปฐมพยาบาล การบาดเจ็บหรือเกิดการเจ็บป่วย ย่อมเกิดขึ้นได้ทุกเวลา โดยเฉพาะอุบัติเหตุ การชว่ ยเหลือผู้ประสบภยั ถ้าผ้ใู หก้ ารชว่ ยเหลอื รูห้ ลกั การ First Aid หรือทีเ่ รียกว่า การปฐมพยาบาล สามารถช่วยชีวิตผู้ป่วย ช่วยบรรเทาความเจ็บปวด ป้องกันอาการของโรคทรุดลง ป้องกันไม่ให้ เกิดความพิการ หรือโรคแทรกซ้อนตามมา การปฐมพยาบาล หมายถึง การให้ความช่วยเหลือผู้บาดเจ็บเบื้องต้น โดยใช้ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ท่ีพอจะหาได้ในบริเวณนั้น เพ่ือช่วยบรรเทาอาการและช่วยให้ผู้บาดเจ็บ ไดร้ บั อนั ตรายนอ้ ยลงกอ่ นจะส่งโรงพยาบาล เพอ่ื ให้แพทยท์ าการรักษา 1.2 ความจาเปน็ ของการปฐมพยาบาล ในช่วงชีวิตของมนุษย์ทุกคน อาจมีช่วงที่ได้รับบาดเจ็บหรือเจ็บป่วย ได้ทุกเวลา และสถานท่ี โดยเฉพาะอุบัติเหตุ การปฐมพยาบาลต้องกระทาอย่างรวดเร็วและถูกต้อง จึงไม่ จาเปน็ วา่ ผ้ใู หก้ ารปฐมพยาบาลจะต้องเป็นแพทย์หรือพยาบาลเท่านั้น เม่ือมีการบาดเจ็บเกิดขึ้น ผใู้ หก้ ารชว่ ยเหลือ สามารถให้การช่วยเหลอื ได้ เพ่อื บรรเทาความเจบ็ ป่วย ความสาคญั ของการปฐมพยาบาล มดี ังนี้ 1. เพ่อื ช่วยเหลือผู้บาดเจบ็ 2. เพื่อปอ้ งกันและลดความพกิ ารที่อาจจะเกดิ ขน้ึ 3. เพื่อบรรเทาความเจ็บปวดและป้องกันอันตราย กจิ กรรมทา้ ยเรื่องท่ี 1 การปฐมพยาบาล (ใหผ้ เู้ รียนไปทากิจกรรมทา้ ยเรอื่ งที่ 1 ทส่ี มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้ประกอบชุดวิชา) เร่อื งท่ี 2 วิธกี ารปฐมพยาบาลกรณตี ่าง ๆ 2.1 วธิ กี ารปฐมพยาบาลกรณอี บุ ัติเหตุ อุบัติเหตุ หมายถงึ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น โดยมิได้วางแผนไว้ล่วงหน้า ซ่ึงก่อให้เกิด การบาดเจ็บ พิการ หรือทาให้ทรัพย์สินได้รับความเสียหาย นอกจากน้ีความหมายในเชิง วิศวกรรมความปลอดภัยนั้น อุบัติเหตุ ยังมีความหมายครอบคลุมถึงเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นแล้ว มีผลกระทบกระเทือนต่อกระบวนการผลิตปกติ ทาให้เกิดความล่าช้า หยุดชะงัก หรือเสียเวลา
93 แม้จะไม่ก่อให้เกิดการบาดเจ็บ หรือพิการก็ตาม เช่น อุบัติเหตุทางรถยนต์ หรือทางถนน อุบัติเหตุ ทางนา้ อุบัตเิ หตุทั่วไป เปน็ ต้น อบุ ัตเิ หตุทางรถยนต์ หรอื ทางถนน อุบัติเหตุทางรถยนต์หรือทางถนน เป็นสาเหตุสาคัญที่คร่าชีวิตคนไทย ซ่ึงการ ช่วยเหลือผูป้ ระสบเหตุอย่างถูกวธิ ีจะช่วยลดการบาดเจ็บรุนแรงและเสียชีวิตได้ เพราะบ่อยคร้ังที่ ผู้เข้าช่วยเหลือได้รับอันตรายจากอุบัติเหตุซ้าซ้อน จึงมีข้อแนะนาที่ควรปฏิบัติในการช่วยเหลือ ผปู้ ระสบอบุ ตั เิ หตทุ างถนนอยา่ งถกู วธิ ี ดังน้ี 1. ประเมินสถานการณ์ จากสภาพแวดล้อมและสภาพการจราจรของจุดเกิดเหตุ โดยเฉพาะในชว่ งเวลากลางคนื หรือทศั นวสิ ยั ไม่ดี ควรเพิ่มความระมดั ระวังเปน็ พเิ ศษเพ่ือป้องกัน อบุ ตั เิ หตซุ า้ ซ้อน 2. ส่งสัญญาณเตือนให้ผู้ร่วมใช้เส้นทางเพิ่มความระมัดระวัง โดยเปิด สญั ญาณไฟฉุกเฉินของรถคันทเี่ กดิ เหตุ นากง่ิ ไม้ ป้ายสามเหลี่ยม หรอื กรวยสะท้อนแสงมาวางไว้ ดา้ นหลงั รถหา่ งจากจุดเกิดเหตใุ นระยะไม่ต่ากว่า 50 เมตร 3. โทรศัพท์แจง้ หน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง อาทิ ตารวจ หน่วยแพทย์ฉุกเฉิน พร้อมให้ ขอ้ มลู จุดเกดิ เหตุ จานวนและอาการของผูบ้ าดเจบ็ เพ่ือเจ้าหน้าที่จะได้วางแผนให้การช่วยเหลือ ผู้ประสบเหตไุ ดอ้ ย่างถูกต้อง 4. ช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุที่มีอาการรุนแรงเป็นลาดับแรก โดยเฉพาะผู้ที่ หมดสติหยุดหายใจ-หัวใจหยุดเต้นและเสียเลือดมาก กรณีผู้ประสบเหตุบาดเจ็บเล็กน้อย ใหป้ ฐมพยาบาลเบ้อื งต้นตามอาการ 5. หากไม่มีทักษะการช่วยเหลือ ห้ามเคล่ือนย้ายผู้ประสบเหตุด้วยตนเอง ควรรอให้ทีมแพทย์ฉุกเฉินมาช่วยเหลือ และนาส่งสถานพยาบาล จะช่วยลดการบาดเจ็บรุนแรง ทที่ าใหผ้ ูป้ ระสบเหตพุ ิการหรือเสยี ชีวติ การช่วยเหลือผู้ประสบอุบัติเหตุอย่างถูกวิธีจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการได้รับ อันตราย และทาใหผ้ ู้ประสบอุบัติเหตุได้รับการดูแลอย่างปลอดภัย จึงช่วยลดอัตราการบาดเจ็บ รุนแรงและเสียชวี ติ จากการชว่ ยเหลอื ไมถ่ กู วิธี อบุ ัตเิ หตทุ างนา้ อุบัติเหตุทางน้าอาจเกิดจากสาเหตุที่สาคัญ 2 ประการ คือ ตัวบุคคล และ สภาพแวดล้อม ซ่ึงสาเหตุส่วนใหญ่ของอุบัติเหตุทางน้า มักเกิดจากความประมาท และการกระทา ทีไ่ มป่ ลอดภัยของผขู้ ับเรอื และผู้โดยสาร
94 อย่างไรก็ตาม กรณีท่ีเกิดอุบัติเหตุทางน้า ส่วนใหญ่ผู้ที่ประสบเหตุที่จะได้รับ อนั ตราย คอื ผู้ท่อี ย่ใู นสภาวะจมน้า และขาดอากาศหายใจ ในท่ีนี้จึงยกตัวอย่างวิธีการปฐมพยาบาล กรณีจมน้า ดงั น้ี การจมนา้ การจมน้าทาใหเ้ กดิ อนั ตรายจากการขาดออกซเิ จนไปเล้ียงสมองการช่วยชีวิต และการกูฟ้ ืน้ คนื ชพี จงึ เปน็ ปจั จัยสาคัญท่ีทาใหผ้ ทู้ ี่จมน้ารอดชวี ติ จากการปฐมพยาบาล 1. จดั ใหน้ อนตะแคงกง่ึ คว่า รบี ตรวจสอบการหายใจ 2. ถ้าไมม่ กี ารหายใจใหช้ ว่ ยก้ชู พี ทนั ที โดยการผายปอด/เปา่ ปาก 3. ให้ความอบอุน่ กับรา่ งกายผู้จมน้าโดยถอดเส้ือผ้าที่เปียกน้าออกและใช้ผ้าแห้ง คลุมตัวไว้ 4. นาสง่ สถานพยาบาล ข้อควรระวงั 1. กรณีผู้จมนา้ มีประวัตกิ ารจมน้า เนอ่ื งจากการกระโดดน้าหรือเล่นกระดาน โต้คล่ืน การช่วยเหลือต้องระวังเรื่องกระดูกหัก โดยเฉพาะการเคลื่อนย้ายผู้จมน้า โดยเมื่อนา ผู้จมน้าข้ึนถึงน้าต้ืนพอท่ีผู้ช่วยเหลือจะยืนได้สะดวกแล้วให้ใช้ไม้กระดานแข็งสอดใต้น้ารองรับตัว ผจู้ มน้าใช้ผา้ รดั ตวั ผู้จมน้าใหต้ ิดกบั ไมไ้ ว้ 2. ไมค่ วรเสียเวลากับการพยายามเอาน้าออกจากปอดหรอื กระเพาะอาหาร 3. หากไม่สามารถนาผู้จมน้าขึ้นจากน้าได้โดยเร็วอาจเป่าปากบนผิวน้า โดยหลกี เลี่ยงการเป่าปากใต้นา้ และห้ามนวดหนา้ อกระหว่างอย่ใู นนา้ อบุ ัติเหตทุ ั่วไป (ตกจากทส่ี งู หกลม้ ไฟไหม/้ นา้ ร้อนลวก) อุบัติเหตุท่ัวไป เป็นส่ิงท่ีเกิดขึ้นได้ ทุกท่ี ทุกเวลา และเกิดได้กับบุคคลทุกเพศ ทุกวยั เชน่ การตกจากที่สงู หกล้ม ไฟไหม้ นา้ ร้อนลวก เป็นตน้ 1. การตกจากที่สูง การตกจากที่สูง สามารถทาให้เกิดอันตรายได้รุนแรงมากน้อยต่าง ๆ กันไป เช่น ตกจากท่ีสูงมากอาจทาให้เสียชีวิต ทาให้กระดูกสันหลังหักกดไขสันหลังกลายเป็นอัมพาต อาจทาให้กระดูกส่วนต่างๆ หัก ในรายท่ีรุนแรง อาจเป็นกระดูกซ่ีโครงหักทาให้เกิดเลือดออก ในช่องปอด และอาจทาใหอ้ วยั วะภายในช่องท้องท่สี าคญั แตกอันตรายถึงชวี ติ ได้ ทั้งนี้ จากการตกจากที่สูง ส่วนใหญ่จะส่งผลก่อให้เกิดการบาดเจ็บของ กล้ามเนื้อและกระดูก ดังน้ี
95 1.1 ข้อเคล็ด หมายถึง การท่ีข้อมีการเคล่ือนไหวมากเกินไป ทาให้เนื้อเยื่อ อ่อน ๆ และเอน็ รอบ ๆ ข้อ หรือกล้ามเนื้อ มีการชอกช้า ฉีกขาด หรือยึด เน่ืองจากข้อถูกบิด พลิก หรอื แพลงไป ทาให้เจ็บปวดมาก ขนั้ ตอนการช่วยเหลอื เบอ้ื งต้น 1. ใหข้ อ้ พักนง่ิ ๆ 2. ควรยกมอื หรอื เท้าท่ีเคล็ดให้สูงขึน้ ถ้าเปน็ ข้อมือควรใช้ผา้ คล้องแขนไว้ 3. ภายใน 24 ช่ัวโมงแรกให้ประคบด้วยความเย็น เพ่ือให้เลือดใต้ผิวหนัง หยดุ ไหล หลังจากนั้นใหป้ ระคบด้วยความร้อน 4. พันดว้ ยผา้ 5. ภายใน 7 วนั หากอาการไมด่ ีข้นึ ให้ไปโรงพยาบาล เพ่ือตรวจให้แน่นอนว่า ไม่มีกระดกู หกั รว่ มดว้ ย 1.2 ขอ้ เคลอ่ื น หมายถงึ ส่วนของข้อต่อบริเวณปลายกระดูกเคล่ือนหรือหลุด ออกจากที่เกิดจากการถกู กระชากอยา่ งแรง หรอื มีโรคที่ขอ้ อยกู่ อ่ นแลว้ เชน่ วัณโรคทีข่ อ้ สะโพก ขน้ั ตอนการชว่ ยเหลือเบอื้ งตน้ 1. ให้ข้อพกั น่งิ อยา่ พยายามดงึ กลับเขา้ ที่ 2. ประคบดว้ ยความเยน็ 3. เขา้ เฝือกชั่วคราว หรอื ใช้ผา้ พัน 4. รบี นาส่งโรงพยาบาล ควรงดอาหาร นา้ และยาทุกชนิด 1.3 กระดูกหัก หมายถึง ภาวะท่ีกระดูกได้รับแรงกระแทกมากเกินไป ส่งผลให้กระดูกไม่สามารถรองรับน้าหนักจากแรงกระแทกได้ ก่อให้เกิดอาการ ปวด บวม ร้อน บริเวณท่ีหัก ถ้าจับกระดูกน้ันโยกหรือบิดเล็กน้อยจะมีเสียงดังกรอบแกรบ เนื่องจากปลายกระดูก ทห่ี กั นั้นเสยี ดสีกนั การเคล่อื นไหวผิดปกตอิ าจมบี าดแผลและพบปลายกระดูกโผล่ออกมาเห็นได้ ข้นั ตอนการช่วยเหลือเบื้องตน้ การหกั ของกระดูกช้ินสาคญั เช่น กระดกู เชิงกราน กะโหลกศีรษะ ขากรรไกร คอ และกระดูกสันหลัง ต้องการการดูแลรักษาที่ถูกต้อง เพราะการหักของกระดูกเหล่านี้จะทา อันตรายอย่างรุนแรงต่อเน้ือเย่ือใกล้เคียงกะโหลกศีรษะแตก และสันหลังหักเป็นอันตราย มากท่สี ดุ เพราะวา่ เน้อื สมอง และไขสันหลังถกู ทาลายทง้ั นี้ เมื่อมีภาวะกระดูกแตกหักในบริเวณ กระดูกที่มีลักษณะเป็นแท่งยาว ผู้ปฐมพยาบาลต้องจัดให้มีการเข้าเฝือก ซ่ึงการเข้าเฝือก
96 หมายถึง การใช้วัสดุต่าง ๆ พยุง หรือห่อหุ้มอวัยวะท่ีกระดูกหักให้อยู่นิ่ง ซ่ึงมีประโยชน์ช่วยให้ บรเิ วณทบ่ี าดเจบ็ อยู่น่ิง เป็นการบรรเทาความเจ็บปวดและป้องกนั อนั ตรายเพมิ่ มากข้ึน การปฐมพยาบาลกระดูกหักต้องพยายามตรึงกระดูกส่วนที่หักให้อยู่กับที่ โดยใช้วัสดุท่ีหาง่าย เช่น ไม้ หรือกระดาษหนังสือพิมพ์พับให้หนา รวมทั้งผ้า และเชือกสาหรับ พนั รัดด้วย กระดูกโผล่ออกมานอกเนื้อ ห้ามดันกลับเข้าไปเป็นอันขาด ถ้ามีเลือดออก ให้ทาการหา้ มเลอื ด และปิดแผลก่อนทาการเข้าเฝอื กชั่วคราว การตรวจบริเวณท่ีหัก ต้องทาด้วยความระมัดระวัง เพราะอาจทาให้ปลาย กระดูกทหี่ ักเคลื่อนมาเกยกนั หรอื ทะลอุ อกมานอกผวิ หนัง การถอดเส้ือผ้าผู้บาดเจ็บ ควรใช้วิธีตัดตามตะเข็บอย่าพยายามให้ผู้บาดเจ็บ ถอดเอง เพราะจะทาให้เจ็บปวดเพิม่ ขึ้น หลักการเข้าเฝอื กชว่ั คราว 1. วสั ดทุ ีใ่ ช้ดาม ต้องยาวกว่าอวัยวะสว่ นทห่ี กั 2. ไม่วางเฝือกลงบนบริเวณที่กระดูกหักโดยตรง ควรมีสิ่งอ่ืนรอง เช่น ผ้าวาง ก่อนตลอดแนวเฝือก เพื่อไม่ใหเ้ ฝือกกดลงบรเิ วณผิวหนังโดยตรง ซึ่งทาให้เจ็บปวด และเกิดเป็นแผล จากเฝือกกดได้ 3. มัดเฝือกกับอวัยวะท่ีหักให้แน่นพอควร ถ้ารัดแน่นจนเกินไปจะกดผิวหนัง จนทาให้การไหลเวยี นของเลือดไมส่ ะดวกเปน็ อนั ตรายได้
97 2. การหกล้ม การหกล้ม เป็นอาการหรือพฤติกรรมที่รู้จักกันท่ัวไป ซึ่งหมายถึง การท่ีเกิด การเปลี่ยนทา่ โดยไมต่ ้ังใจ และเป็นผลใหร้ ่างกายทรุด หรือลงนอนกับพ้ืน หรือ ปะทะสิ่งของต่าง ๆ เชน่ โต๊ะ เตียง ทั้งนี้ จากการหกล้มอาจส่งผลทาให้เกิดการบาดเจ็บท่ีรุนแรงแตกต่างกัน ทัง้ น้ี ขน้ึ อยู่กับสภาพรา่ งกาย และสิ่งแวดล้อมในขณะที่เกิดเหตุ เช่น เกิดแผลเปิด บาดแผลปิด และ การบาดเจ็บในลักษณะฟกช้า ไม่มีเลือดออก เป็นต้น จึงสามารถนาเสนอข้อมูลวิธีการปฐมพยาบาล ไดด้ งั นี้ บาดแผล รอยฉีกขาดรอยแตกแยกของผิวหนัง หรือเย่ือบุส่วนที่ลึกกว่า ช้ันผวิ หนังถกู ทาลาย ทาให้อวัยวะน้ันแยกจากกันดว้ ยสาเหตุต่าง ๆ บาดแผลแบ่งออกเป็น 2 ชนิด 1. บาดแผลเปิด คือ บาดแผลที่ผิวหนังฉีกขาดจนเห็นเนื้อข้างใน เช่น แผลถลอก แผลท่ีเกิดจากการเจาะ การแทง การกระแทก แผลถูกของมีคมบาด แผลฉีกขาด เนื่องจากวตั ถุมคี มอาจลกึ ลงไปถงึ เนอ้ื เย่อื เสน้ เอน็ ทาให้เสยี เลือดมาก แขนขาขาดจากอุบัติเหตุ ถูกสตั วด์ รุ ้ายกัด หรอื ถูกยิง เป็นต้น ซึ่งบาดแผลบางอย่างอาจทาให้เสยี เลือดมาก และเสียชีวติ ได้ การปฐมพยาบาลเบื้ องต้ นส าหรั บบาดแผลท่ี มี เลื อดออกควรใช้ วิ ธี การ ห้ามเลือด โดยหลีกเล่ียงการสัมผัสกับเลือดของคนเจ็บโดยตรง แต่หากหลีกเล่ียงไม่ได้ให้รีบล้างมือ ด้วยสบู่ รวมทั้งบริเวณท่ีเปื้อนเลือดให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทาได้ ไม่ควรถอดหรือเปลี่ยนเส้ือผ้า ของคนเจบ็ แมว้ า่ จะเปือ้ นเลอื ดจนชุ่ม เพราะจะทาใหเ้ ลอื ดออกมาก หากสามารถทาได้ ควรทาความสะอาดแผลก่อนเพื่อป้องกันการติดเชื้อ โดยล้างแผลด้วยน้าสะอาด แล้วใช้ผ้าก็อซหรือผ้าสะอาดวางไว้ตรงบาดแผล ยกเว้นเม่ือเกิด บาดแผลท่ีดวงตา เพราะอาจมีสิ่งแปลกปลอมทาให้ดวงตาได้รับบาดเจ็บมากข้ึน แล้วใช้ผ้าสะอาด พันปิดแผลไว้ อย่าให้แน่นจนชา หากไม่มีผ้าพันแผล สามารถดัดแปลงสิ่งของใกล้ตัวมาใช้ได้ เชน่ ผ้าเชด็ หนา้ ชายเสื้อ ชายกระโปรง หรอื เนคไท แผลทีแ่ ขนหรอื ขาใหย้ กสูง จะชว่ ยให้เลอื ดไหลช้าลง ปกติเลอื ดจะหยุดไหล ภายในเวลาประมาณ 15 นาที หากเลือดไหลไม่หยุด ให้กดเส้นเลือดแดงใหญ่ที่ไปเลี้ยงแขนขา โดยกดบริเวณเหนือบาดแผล ถ้าเลือดออกท่ีแขนให้กดแขนด้านใน ช่วงระหว่างข้อศอกและ หัวไหล่ ถ้าเลือดออกที่ขาใหก้ ดทีห่ น้าขาบริเวณขาหนีบ การห้ามเลือดโดยการกดเส้นเลือดแดงใหญ่ ควรทาก็ต่อเม่ือใช้วิธีการ ห้ามเลือด โดยการกดบาดแผลหรือใช้ผ้าพันแผลแล้วไม่ได้ผล เพราะจะทาให้อวัยวะที่ต่ากว่า
98 จุดกดขาดเลือดไปเล้ียง หากกดนาน ๆ กล้ามเนื้ออาจตายได้ จึงไม่ควรกดเส้นเลือดแดงใหญ่ เกนิ กว่าครั้งละ 15 นาที สาหรับบาดแผลที่ศีรษะ ไม่ควรใช้น้าล้างแผล เพราะจะทาให้ปิดขวาง ทางออกของแรงดันภายใน และสมองอาจติดเชื้อโรคท่ีอยู่ในน้าได้ หากมีเลือดไหลออกจากปาก จมูกหรือหู อย่าพยายามหา้ มเลือด เพราะจะปิดก้ันทางออกของแรงดนั ในสมองเช่นกัน การทาความสะอาดบาดแผลเลก็ น้อย วิธีการปฐมพยาบาลบาดแผลเล็กน้อย ทาได้โดยล้างมือให้สะอาดทุกครั้ง กอ่ นทจี่ ะทาแผล ใช้น้าสะอาดล้างแผล ใช้สบู่อ่อน ๆ ล้างผิวหนังที่อยู่รอบ ๆ บาดแผล แล้วล้าง ด้วยน้าสะอาดอีกครั้ง หลีกเลี่ยงการสัมผัสบาดแผลโดยตรง ใช้ผ้าก๊อซหรือผ้าสะอาดซับแผลให้ แหง้ แลว้ ใส่ยาสาหรับแผลสด เช่น โพวิโดนไอโอดนี ซึ่งจะชว่ ยลดการตดิ เชื้อได้ จากน้ันเปิดแผล ด้วยผ้าพนั แผล 2. บาดแผลปิด คือ บาดแผลท่ีไม่มีรอยแผลให้เห็นบนผิวหนังภายนอก อาจเห็นเพียงแค่รอยเขียวช้า แต่บางกรณีเน้ือเย่ือภายในอาจถูกกระแทกอย่างแรง ทาให้เลือด ตกใน บางคร้ังอวัยวะภายในได้รับความเสียหายมาก เช่น ม้ามแตก ตับแตก หรือเลือดคั่งในสมอง ระยะแรกอาจไม่แสดงอาการใด ๆ แต่เมื่อเวลาผ่านไปคนเจ็บอาจอาเจียน เลือดออกปากหรือจมูก หนาวสนั่ ตัวซีด เจ็บปวดรุนแรง หมดสติ และอาจเสยี ชีวติ เนือ่ งจากเสยี เลือดมาก แผลฟกซ้าไม่มีเลอื ดออก บาดแผลฟกซ้าจะไม่มีเลือดออกมาภายนอก แต่เกิดอาการบวม ผิวเปล่ียนสี และมีรอยฟกซ้า ซึ่งเกิดจากเส้นเลือดบริเวณนั้นแตกแต่ผิวหนังไม่ฉีกขาด จึงทาให้เลือดซึม อยู่ใตผ้ วิ หนงั ระยะแรกจะมสี แี ดงแล้วเปลยี่ นเป็นสีมว่ งคล้าในเวลาตอ่ มา คนส่วนใหญ่มักไม่ใส่ใจกับแผลฟกซ้า แต่ความจริงแล้วแผลฟกซ้าก็มี วิธีการดูแลท่ีถูกต้องเช่นกัน ก่อนอื่นให้ตรวจดูว่าไม่มีบาดแผล หรืออาการอ่ืน ๆ หรือกระดูกหัก ร่วมด้วย ให้คนเจ็บนั่งในท่าที่สบาย แล้วประคบแผลด้วยถุงน้าแข็งหรือถุงน้าเย็นเพ่ือลดอาการ บวม หากเป็นแผลท่ีแขนให้ใช้ผ้าสามเหล่ียมคล้องแขนให้อยู่กับที่ หากเป็นแผลท่ีขาให้นอนหนุนขา ใหส้ ูง หากเปน็ ท่ีลาตวั ให้นอนตะแคงหนนุ หมอนทศี่ ีรษะและไหล่ 3. ไฟไหมน้ ้ารอ้ นลวก บาดแผลไฟไหม้ น้าร้อนลวก โดยมากมักจะมีสาเหตุจากอุบัติเหตุ ความ ประมาท ขาดความระมัดระวัง แผลไหม้จะทาให้เกิดอันตรายแก่ร่างกาย ตั้งแต่เล็กน้อยไปจนถึง เสียชวี ติ ได้ การชว่ ยเหลอื อยา่ งถูกตอ้ งจะชว่ ยลดความรนุ แรงได้
99 ข้นั ตอนการชว่ ยเหลอื เบอ้ื งต้น หลักการปฐมพยาบาลไฟไหม้น้าร้อนลวก ให้ดับไฟโดยใช้น้าราด หรือใช้ ผ้าหนา ๆ คลุมตัว ถอดเสื้อผ้าท่ีไหม้ไฟหรือถูกน้าร้อน พร้อมถอดเครื่องประดับที่อมความร้อน ออกให้หมด เมือ่ เกิดแผลไหม้ นา้ ร้อนลวกใหป้ ฐมพยาบาลตามลกั ษณะของแผล ดังน้ี 1. เฉพาะชั้นผิวหนัง (1) ระบายความร้อนออกจากแผล โดยใชผ้ ้าชุบน้าประคบบริเวณบาดแผล แชล่ งในน้าหรือเปิดให้นา้ ไหลผ่านบรเิ วณบาดแผลตลอดเวลา นานประมาณ 10 นาที ซ่ึงจะช่วย บรรเทาความเจ็บปวดได้ (2) ทาด้วยยาทาแผลไหม้ (3) ห้ามเจาะถงุ น้าหรอื ตดั หนังส่วนท่ีพองออก (4) ปิดดว้ ยผา้ สะอาด เพ่ือป้องกันการตดิ เช้ือ (5) ถา้ แผลไหม้บริเวณกว้าง หรืออวัยวะที่สาคัญตอ้ งรีบนาส่งโรงพยาบาล 2. ลึกถึงเนอื้ เยอ่ื ใตผ้ วิ หนงั (1) ไม่ต้องระบายความรอ้ นออกจากบาดแผล เพราะจะทาให้แผลติดเช้ือ มากขึ้น (2) หา้ มใสย่ าใด ๆ ทัง้ สนิ้ ลงในบาดแผล (3) ใช้ผา้ สะอาดห่อตัวผู้บาดเจ็บเพื่อป้องกันส่ิงสกปรกให้ความอบอุ่น และรีบนาส่งโรงพยาบาล
100 2.2 วิธกี ารปฐมพยาบาลกรณีการเจบ็ ปว่ ยโดยปจั จุบนั 2.2.1 การเปน็ ลม การเปน็ ลม เป็นอาการหมดสติเพียงช่ัวคราว เน่ืองจากเลือดไปเลี้ยงสมอง ไม่พอ สาเหตุ และลักษณะอาการของคนเป็นลมที่พบบ่อย เช่น หิว เหนื่อย เครียด ตกใจ กังวลใจ กลัว เสยี เลอื ดมาก มีอาการวิงเวียนศีรษะ ตาพร่า หน้ามืด ใจส่ัน มือเท้าไม่มีแรง หน้าซีด เหง่ือออก ตวั เย็น ชีพจร เบา เร็ว ขั้นตอนการช่วยเหลือเบือ้ งต้น 1. พาเขา้ ที่รม่ ที่อากาศถา่ ยเทสะดวก 2. นอนราบไม่หนนุ หมอน หรอื ยกปลายเท้าให้สูงเลก็ นอ้ ย 3. คลายเส้อื ผา้ ให้หลวม 4. พัดหรอื ใช้ผา้ ชบุ น้าเช็ดเหง่ือตามหน้า มอื และเท้า 5. ให้ดมแอมโมเนีย 6. ถ้ารู้สึกตวั ดี ใหด้ ืม่ น้า 7. ถ้าอาการไมด่ ีข้ึน นาส่งต่อแพทย์ 2.2.2 ลมชัก ลมชัก อาการชักของผู้ป่วย บางรายอาจชักด้วยอาการเหม่อลอย เริ่ม กระตุก ท่าทางแปลกๆ ผิดปกติ ตาเหลือก อาจจะเร่ิมทาท่าเหมือนเคี้ยวอะไรอยู่ หรือบางคน อาจจะเร่ิมตน้ ดว้ ยอาการสบั สนมนึ งง พดู จาวกวนกอ่ นทจี่ ะเริม่ มอี าการชัก ขั้นตอนการชว่ ยเหลือเบอื้ งต้น 1. สังเกตว่าผู้ป่วยมีสติสัมปะชัญญะหรือไม่ ส่วนใหญ่ยังไม่ถึงกับขั้นสลบ แต่จะควบคุมตัวเองไม่ได้เม่ือผู้ป่วยเร่ิมมีอาการชัก แล้วลงไปกองกับพ้ืน พยายามพาเขามาอยู่ ในทโี่ ล่ง ๆ ปลอดภยั ไมม่ สี ิ่งของใดๆ รอบตัว 2. คลายกระดุม เนคไทท่ีคอเส้ือ คลายกระดุม เข็มขัดท่ีกางเกงหรือ กระโปรง ถอดแว่นตา นาหมอน หรือเสื้อพับหนา ๆ มารองไว้ทศ่ี ีรษะ 3. จับผู้ป่วยนอนตะแคง 4. ไม่ง้างปาก ไม่งัดปากด้วยช้อน ไม่ย่ืนอะไรให้ผู้ป่วยกัด ไม่ยัดปากด้วย สง่ิ ของตา่ ง ๆ เดด็ ขาด ไม่กดทอ้ ง ไมถ่ ่างขา ไม่ทาอะไรทง้ั น้นั 5. จับเวลา ตามปกติผู้ป่วยลมชักจะมีอาการสงบลงได้เองเม่ือผ่านไป 2 – 3 นาที หากมีอาการชักเกิน 5 นาทีควรรีบส่งแพทย์ (หรอื กด 1669 บรกิ ารแพทย์ฉกุ เฉนิ )
101 6. อย่าลืมอธิบายผู้คนรอบข้างด้วยว่าเกิดอะไรขึ้น และขอความช่วยเหลือ เท่าที่จาเป็น เช่น อย่ามุงผู้ป่วยใกล้ ๆ หรือช่วยเรียกรถพยาบาลกรณีที่ผู้ป่วยชักเกิน 5 นาที หรอื มีอาการบาดเจบ็ ในกรณีทีผ่ ้ปู ่วยลมชักมีอาการกดั ลิน้ ตัวเอง ไม่ต้องตกใจ โดยส่วนใหญ่แล้ว จะไม่ได้กัดลิ้นตัวเองจนขาดหรือมีบาดแผลใหญ่มากนัก อาจจะมีความเป็นไปได้ท่ีเผลอกัดล้ิน ตัวเองจนได้รับบาดแผลมีเลือดออก แต่ไม่ได้เป็นอันตรายถึงชีวิตมากเท่ากับการยัดสิ่งต่าง ๆ เข้าไปในปากของผู้ป่วย ด้วยหวังว่าจะให้กัดแทนลิ้น เพราะมีหลายครั้งท่ีสิ่งของเหล่าน้ันทาให้ ผู้ป่วยมีอาการบาดเจ็บหนักกว่าเดิม แผลที่กัดล้ินใหญ่กว่าเดิม หรือผลัดหลุดเข้าไปติดในหลอดลม หลอดอาหาร 2.2.3 การเป็นลมแดด การเป็นลมแดด เกิดจากการท่ีร่างกายไม่สามารถปรับตัวกับความร้อน ท่เี กดิ ขน้ึ จนเกดิ ภาวะวกิ ฤตในภาวะปกติร่างกายจะมีระบบการปรับสมดุลความร้อน เมื่อความร้อน ในร่างกายเพิ่มขึ้น อาการสาคัญ ได้แก่ ตัวร้อน อุณหภูมิร่างกาย 41 องศาเซลเซียส หน้าแดง ไม่มีเหง่ือ มีอาการเพ้อ ความดันลดลง กระสับกระส่าย มึนงง สับสน ชักเกร็ง หมดสติ โดยกลไก การทางานของร่างกาย จะมีการปรับตัวโดยส่งน้า หรือเลือดไปเล้ียงอวัยวะภายใน เช่น สมอง ตับ กล้ามเนือ้ ทาให้ผวิ หนงั ขาดเลอื ดและขาดน้าไปเลี้ยงผิวหนัง จึงไม่สามารถระบายความร้อน ออกจากรา่ งกายได้ ขนั้ ตอนการช่วยเหลอื เบอื้ งต้น นาผทู้ ี่มีอาการเข้าในท่ีร่ม นอนราบ ยกเท้าสูง เพื่อเพ่ิมการไหลเวียนเลือด ถอดเสือ้ ผ้า ใช้ผ้าชบุ นา้ ประคบบรเิ วณใบหน้า ขอ้ พับ ขาหนีบ เช็ดตัวเพื่อระบายความร้อน และ ถ้าร้สู กึ ตวั ดใี หค้ อ่ ย ๆ จบิ นา้ เย็น เพ่อื ลดอุณหภมู ิร่างกายให้เรว็ ท่สี ุด และรบี นาส่งโรงพยาบาล 2.2.4 เลือดกาเดาไหล สาเหตุ มาจากการกระทบกระแทก การเป็นหวัด การสั่งน้ามูกการติดเช้ือ ในชอ่ งจมกู หรือความหนาวเย็นของอากาศ ขน้ั ตอนการชว่ ยเหลือเบอื้ งตน้ 1. ให้ผู้ปว่ ยน่งั นงิ่ ๆ เอนตวั ไปข้างหนา้ เล็กนอ้ ย 2. ใช้มือบีบปลายจมูก และให้หายใจทางปากโดยบีบปลายจมูกไว้ 10 นาที ให้คลายมือออกถ้าเลือดยังไหลต่อให้บีบต่ออีก 10 นาทีถ้าเลือดไม่หยุดใน 20 นาทีให้รีบนาส่ง โรงพยาบาล
102 3. ถ้ามีเลอื ดออกมาก ใหผ้ ปู้ ่วยบว้ นเลือดหรือน้าลายลงในอ่าง หรือภาชนะ ที่รองรับ 4. เมื่อเลือดหยดุ แลว้ ใชผ้ ้าสะอาดเชด็ บริเวณจมูกและปาก ขอ้ หา้ ม ห้ามสั่งน้ามูกหรอื ล้วงแคะ ขยี้จมูก เพราะจะทาใหอ้ าการแย่ลง 2.2.5 การหมดสติ การหมดสติ เป็นภาวะที่ร่างกายไม่มีการตอบสนองต่อส่ิงกระตุ้น สาเหตุ เนอื่ งจากสมองได้รับการกระทบกระเทือนบริเวณศีรษะ ซึ่งเป็นบริเวณที่มีเส้นเลือดใกล้ผิวชั้นนอก มาทาให้เลือดไหลออกมาก แต่มีบางกรณีไม่มีเลือดไหลออกมาภายนอก ทาให้ผู้บาดเจ็บหมดสติ หากไม่ได้รับการช่วยเหลืออาจทาให้เสียชีวิต-จึงต้องประเมินสถานการณ์และการบาดเจ็บ เพ่ือให้ การช่วยเหลอื เบื้องตน้ และนาสง่ โรงพยาบาลเพอื่ รับการรกั ษา ขน้ั ตอนการช่วยเหลือผหู้ มดสติ 1. สารวจสถานการณ์ บรเิ วณที่เกดิ เหตอุ ย่างรวดเร็ว ถ้าสถานการณ์ปลอดภัย ให้ตะโกนเรียกผูห้ มดสติ 2. หากไม่มีการตอบสนอง ใช้มือท้ัง 2 ข้างตบไหล่ เรียก พร้อมสังเกต การตอบสนอง (การลืมตา ขยับตัว และพูด) และดูการเคลื่อนไหวของทรวงอก หน้าท้อง ถ้าพบว่า ยังหายใจอยู่ให้รีบให้การช่วยเหลือ และขอความช่วยเหลือ โดยการโทรเรียกรถพยาบาล 1669 แต่หากไม่ตอบสนอง หน้าอกหน้าท้องไม่กระเพื่อมข้ึนลง แสดงว่า หมดสติและไม่หายใจต้อง ช่วยเหลอื โดยการปมั้ หัวใจ และการผายปอด 2.3 วธิ กี ารปฐมพยาบาลกรณสี ตั ว์ แมง หรอื แมลงท่มี พี ิษกัดต่อย 2.3.1 สนุ ัข/แมว โรคพษิ สุนัขบ้าหรอื โรคกลวั น้า เป็นโรคตดิ ตอ่ รา้ ยแรงทเ่ี กิดจากเชื้อเรบีส์ไวรัส โรคน้ีเกดิ ได้ในสัตว์เลย้ี งลูกดว้ ยนมทกุ ชนดิ ดงั นนั้ เมื่อถกู สุนขั กดั จะตอ้ งปฏิบตั ิตามขนั้ ตอน ดังน้ี 1.-ชาระล้างบาดแผล ด้วยการฟอกแผลด้วยน้าสะอาดและสบู่หลายคร้ัง ให้สะอาดโดยการถูเบา ๆ เท่าน้ัน หากแผลลึกให้ล้างจนถึงก้นแผล แล้วซับแผลให้แห้งด้วยผ้าก๊อซ หรือผ้าทส่ี ะอาด (ในกรณีนา้ ลายสนุ ัขเขา้ ตา ใหใ้ ช้น้าสะอาดล้างตาเท่าน้ัน แต่ลา้ งหลาย ๆ ครงั้ )
103 2. พบแพทย์เพ่ือดูแลแผล และฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าหรือ โรคกลัวน้า-ข้อสังเกต สาหรับสัตว์ท่ีเป็นโรคพิษสุนัขบ้า จะมีพฤติกรรมเปล่ียนแปลงไปจากเดิม เช่น สัตว์ท่ีมีนิสัยดุร้ายจะกลายเป็นสัตว์ท่ีเช่ือง สัตว์ท่ีเชื่องจะกลายเป็นสัตว์ดุร้าย ตื่นเต้น กระวนกระวาย สดุ ทา้ ยจะเป็นอัมพาต และตายในทสี่ ุด 2.3.2 งมู ีพษิ /งูไมม่ ีพษิ พิษจากการถูกงูกัดงูในประเทศไทยแบ่งเป็นงูมีพิษและไม่มีพิษซึ่งจะมี ลักษณะบาดแผลต่างกันคืองูพิษมีเข้ียวอยู่ด้านหน้าของขากรรไกรบนและมีฟัน ส่วนงูไม่มีพิษ มแี ต่รอยฟนั ไมม่ ีรอยเข้ยี ว ข้นั ตอนการช่วยเหลอื เบื้องตน้ การปฐมพยาบาล เป็นส่ิงที่ต้องกระทาหลังถูกงูกัดทันทีก่อนที่จะนาส่ง โรงพยาบาล การปฐมพยาบาลผทู้ ถี่ กู งกู ดั มดี งั นี้ 1. รีบนาผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล ระหว่างนาส่งอาจใช้เชือก ผ้า หรือสายยาง รัดแขนหรือขาระหว่างแผลงูกัดกับหัวใจเหนือรอยเขี้ยว ประมาณ 2 - 4 นิ้ว เพื่อป้องกันพิษงู ถูกกัดซึมเข้าร่างกายโดยเร็ว ในปัจจุบันนักวิชาการบางท่านไม่แนะนาให้รีบทาการใช้เชือกรัด และขันชะเนาะ เน่ืองจากอาจทาให้เกิดผลเสีย คือ การช่วยเหลือล่าช้าขึ้น และเส่ียงต่อการ ขาดเลอื ดบรเิ วณแขนหรือขา ทาใหพ้ ิษทาลายเน้ือเยือ่ มากข้นึ ดงั น้ันถ้ารัดควรคานึงถึงความเสี่ยง ของการรัดด้วย โดยคลายเชือกทุกๆ 15 นาที นานครั้งละ 30 - 60 วินาทีจนกว่าจะถึงโรงพยาบาล ในกรณีท่ีถูกงูมีพิษต่อเลือดกัด ไม่ควรรัด เพราะจะทาให้แผลที่บวมอยู่แล้ว เส่ียงต่อการเกิด เนอื้ ตาย และการบวมอาจกดเบียดเส้นประสาทและเส้นเลือดได้ 2. ควรล้างบาดแผลให้สะอาด อย่าใช้ไฟหรือเหล็กร้อนจ้ีท่ีแผลงูกัด และ อย่าใช้มีดกรดี แผลเปน็ อนั ขาด เพราะอาจทาให้เลือดออกมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้าถูกงูที่มีพิษ ต่อเลือดกัด หรืออาจกัดถูกเส้นเอ็นหรือเส้นประสาท รวมท้ังทาให้เกิดการติดเชื้อได้ รวมทั้ง ไม่แนะนาให้ใช้ปากดูดพิษจากแผลงูกัด เพราะพิษอาจเข้าทางเยื่อบุปากได้โดยเฉพาะอย่างย่ิง ถา้ มบี าดแผล ถา้ รู้สกึ ปวดแผลใหร้ บั ประทานพาราเซตามอล ห้ามให้แอสไพริน เพราะอาจทาให้ เลือดออกง่ายขนึ้ 3. เคลือ่ นไหวแขน หรือขาส่วนท่ีถูกงกู ดั ให้น้อยทส่ี ุด ควรจัดตาแหนง่ ของสว่ น ที่ถูกงูกัดให้อยู่ในระดับต่ากว่าหัวใจ เช่น ห้อยมือหรือเท้าส่วนท่ีถูกงูกัดลงต่า ระหว่างเดินทาง ไปยงั สถานพยาบาลอยา่ ให้ผปู้ ว่ ยเดนิ หรอื ขยับส่วนที่ถูกกัด เนื่องจากการขยับตัวจะทาให้กล้ามเน้ือ มกี ารยดื และหดตัว พิษงูเข้าสู่กระแสเลอื ดเรว็ ข้ึน
104 4.-ควรตรวจสอบว่างูอะไรกัด และถ้าเป็นได้ควรจับหรือตีงูที่กัด และนาส่ง ไปยงั สถานพยาบาลด้วย 5.-อยา่ ให้ผปู้ ่วยดื่มแอลกอฮอล์ หรอื ยาดองเหล้า หรือรับประทานยากระตุ้น ประสาท รวมทัง้ ชากาแฟ 6.-ถ้าผู้ป่วยหยดุ หายใจจากงูท่ีมีพิษต่อประสาท ให้ทาการเป่าปากช่วยหายใจ ไปตลอดทางจนกว่าจะถงึ สถานพยาบาลท่ีใกลบ้ า้ นทีส่ ดุ ข้อหา้ ม ห้ามรบั ประทานยาและเคร่อื งด่มื กระตนุ้ หัวใจ ข้อสังเกต ปลอบโยนให้กาลังใจอย่าให้ต่ืนเต้นตกใจซ่ึงจะทาให้หัวใจสูบฉีดโลหิต มากยิ่งขึ้นพษิ งูแพร่กระจายไดเ้ ร็วข้ึน ควรนางูท่กี ดั ไปพบแพทย์เพ่อื สะดวกต่อการวนิ ิจฉัยและรกั ษา 2.3.3 แมงปอ่ ง/ตะขาบ ผูท้ ถ่ี ูกแมงปอ่ งตอ่ ยหรอื ตะขาบกัด เมื่อถูกแมงป่องต่อยจะมีอาการปวดแสบ ปวดร้อนอย่างรุนแรงบริเวณที่ถูกต่อย สาหรับผู้ที่ถูกตะขาบกัด เขี้ยวตะขาบจะฝังลงในเนื้อ ทาให้มองเห็นเป็น 2 จุด อยู่ด้านข้าง เมื่อถูกตะขาบกัดจะมีอาการบวมแดงและปวด บางราย อาจมไี ข้ ปวดศรี ษะ คลนื่ ไส้ อาเจยี น ขนั้ ตอนการชว่ ยเหลือเบื้องต้น 1.-ใช้สายรัดหรือขันชะเนาะเหนือบริเวณท่ีถูกกัด หรือเหนือบาดแผล เพอื่ ปอ้ งกนั มใิ หพ้ ษิ แพร่กระจายออกไป 2. พยายามทาให้เลือดไหลออกจากบาดแผลให้มากท่ีสุด อาจทาได้หลายวิธี เช่น เอามือบบี เอาวตั ถุทีม่ รี ูกดให้แผลอยู่ตรงกลางรพู อดี เลือดจะได้พาเอาพษิ ออกมาด้วย 3. ใชแ้ อมโมเนยี หอมหรอื ทงิ เจอรไ์ อโอดี ทาบรเิ วณแผลให้ท่ัว 4.-ถา้ มอี าการบวมอกั เสบและปวดมาก ให้ใช้ก้อนน้าแข็งประคบบริเวณแผล เพอื่ ช่วยบรรเทาอาการความเจ็บปวดด้วย 5. ถ้าอาการยังไม่ทุเลาลง ต้องนาตัวส่งโรงพยาบาล เพ่ือให้แพทย์ตรวจรักษา ต่อไป 2.3.4 ผงึ้ ตอ่ แตน ผึง้ ตอ่ แตน แมลงเหลา่ น้มี พี ิษต่อคน เมื่อถูกแมลงเหล่านี้ต่อย โดยเฉพาะผึ้ง มันฝังเหล็กในเข้าไปในบริเวณท่ีต่อยและปล่อยสารพิษจากต่อมพิษออกมา ผู้ถูกแมลงต่อย
105 สว่ นมากมีอาการเฉพาะที่ คือ บริเวณทีถ่ ูกต่อยจะ ปวด บวม แดง แสบ ร้อน แต่บางคนแพ้มาก ทาให้อาการหายใจลาบาก หัวใจเต้นผิดปกติ หอบ คลื่นไส้ อาเจียน เจ็บหน้าอก มีไข้ และชัก ความรุนแรงข้นึ อยกู่ บั ภูมิไวของแต่ละคน และจานวนคร้ังทีถ่ กู ต่อย ขั้นตอนการชว่ ยเหลือเบ้อื งต้น 1) รีบเอาเหลก็ ในออกโดยระวังไม่ให้ถุงน้าพิษท่ีอยู่ในเหล็กในแตก อาจทา โดยใช้ใบมีดขูดออก หรือใช้สก็อตเทปปิดทาบบริเวณท่ีถูกต่อย แล้วดึงออกเหล็กในจะติด ออกมาดว้ ย 2) ประคบบรเิ วณที่ถกู ตอ่ ยดว้ ยความเย็นเพอ่ื ลดอาการปวด 3) ทาครีมลดอาการบวมแดง หรือน้ายาท่ีมีฤทธ์ิเป็นด่างอ่อน ๆ ปิดแผล เชน่ แอมโมเนีย น้าปูนใส 4) ถ้ามีอาการแพ้เฉพาะท่ี เช่น บวม คัน หรือเป็นลมพิษให้รับประทาน ยาแกแ้ พ้ 5) ในกรณที ่ีมีบวมตามหน้าและคอ ซึ่งทาให้หายใจไม่สะดวกต้องรีบนาส่ง โรงพยาบาลเพือ่ รับการรักษาข้นั ตอ่ ไป 2.4 วิธกี ารปฐมพยาบาลกรณหี มดสติจากการถกู ทาร้ายร่างกาย การหมดสติ เป็นภาวะท่ีร่างกายไม่มีการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น สาเหตุ เน่ืองจากสมองได้รับการกระทบกระเทือนจากการถูกทาร้ายร่างกายบริเวณศีรษะ ซ่ึงเป็นบริเวณ ที่มีเส้นเลือดใกล้ผิวช้ันนอก มาทาให้เลือดไหลออกมาก แต่มีบางกรณีไม่มีเลือดไหลออกมา ภายนอก ทาให้ผูบ้ าดเจบ็ หมดสติ หากไมไ่ ดร้ ับการช่วยเหลืออาจทาให้เสียชีวิต จึงต้องประเมิน สถานการณแ์ ละการบาดเจ็บ เพ่อื ให้การปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ และนาส่งโรงพยาบาลเพ่ือรับการ รกั ษา ขน้ั ตอนการช่วยเหลือผหู้ มดสติ 1. สารวจสถานการณ์บริเวณที่เกิดเหตุอย่างรวดเร็ว ถ้าสถานการณ์ปลอดภัย ใหต้ ะโกนเรยี กผหู้ มดสติ 2. หากไม่มีการตอบสนอง ใช้มือท้ัง 2 ข้างตบไหล่ เรียกพร้อมสังเกต การตอบสนอง (การลืมตา ขยับตัว และพูด) และดูการเคลื่อนไหวของทรวงอก หน้าท้อง ถ้าพบว่ายังหายใจอยู่ให้รีบให้การช่วยเหลือ และขอความช่วยเหลือโดยการโทรเรียก รถพยาบาล 1669 แต่หากไม่ตอบสนอง หน้าอกหน้าท้องไม่กระเพ่ือมข้ึนลง แสดงว่าผู้ถูกทาร้าย หมดสติและไม่หายใจ ต้องช่วยเหลือผู้หมดสติ โดยการทา CPR (Cardiopulmonary
106 Resuscitation) โดยเร็วทันทีให้แก่ผู้บาดเจ็บ ซึ่งจะช่วยให้เลือดได้รับออกซิเจนเพิ่มมากข้ึน และมกี ารไหลเวยี นเข้าสสู่ มองและอวยั วะสาคัญอืน่ ๆ ก่อนทจ่ี ะถึงมือแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ทั้งนี้ ในกรณีที่ศีรษะ ลาคอหรือหลังของผู้บาดเจ็บได้รับการบาดเจ็บด้วย ผู้ให้การปฐมพยาบาล จะต้องระมัดระวังไม่ให้ศีรษะ ลาคอหรือหลังของผู้บาดเจ็บมีการเคลื่อนไหว ซ่ึงทาได้ โดยดึงขากรรไกรล่างหรือคางของผู้บาดเจ็บไปข้างหน้าเพ่ือเปิดทางให้อากาศเดินทางเข้า ได้สะดวก กิจกรรมท้ายเรอื่ งท่ี 2 วิธีการปฐมพยาบาลกรณีต่าง ๆ (ให้ผู้เรยี นไปทากจิ กรรมทา้ ยเร่อื งที่ 2 ทีส่ มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้ประกอบชุดวชิ า) เรอ่ื งที่ 3 การวัดสัญญาณชีพและการประเมนิ เบื้องตน้ สญั ญาณชีพเป็นส่ิงที่บ่งบอกความมีชีวิตของบุคคล ถ้าสัญญาณชีพปกติ จะบ่งบอก ถึงภาวะร่างกายปกติ ถ้าสัญญาณชีพมีการเปล่ียนแปลง สามารถบอกได้ถึงการเปล่ียนแปลง ในการ ทาหน้าทีข่ องร่างกาย ความรนุ แรงของการเจบ็ ปว่ ย และความรีบด่วนท่ตี อ้ งการรกั ษา สัญญาณชีพ หมายถึง ส่ิงท่ีแสดงให้ทราบถึงการมีชีวิต สามารถสังเกตและ ตรวจพบได้จากชีพจร อัตราการหายใจ อุณหภูมิร่างกาย และความดันโลหิต ซ่ึงเกิดจากการ ทางานของอวัยวะของร่างกายที่สาคัญมากต่อชีวิต ได้แก่ หัวใจ ปอด และสมอง รวมถึงการ ทางานของระบบไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจ วตั ถปุ ระสงคข์ องการวดั สญั ญาณชีพ 1.-เพื่อประเมินระดับอุณหภูมิของร่างกาย อัตราการเต้น ลักษณะชีพจรการหายใจ และความดันโลหิต 2. เพ่อื สงั เกตอาการทัว่ ไปของผู้ป่วย และเป็นการประเมนิ สภาพผู้ปว่ ยเบอ้ื งตน้ ขอ้ บง่ ช้ีของการวัดสัญญาณชีพ 1. เม่อื แรกรับผ้ปู ่วยไว้ในโรงพยาบาล 2. วัดตามระเบียบแบบแผนทป่ี ฏิบตั ิของโรงพยาบาลหรอื ตามแผนการรกั ษาของแพทย์ 3. ก่อนและหลงั การผ่าตัด 4. กอ่ นและหลงั การตรวจวินิจฉัยโรคทีต่ ้องใส่เครื่องมือตรวจเข้าไปภายในร่างกาย 5. ก่อนและหลังใชย้ าบางชนดิ ท่ีมผี ลตอ่ หวั ใจและหลอดเลอื ด
107 6. เมื่อสภาวะทั่วไปของร่างกายผู้ป่วยมีการเปล่ียนแปลง เช่น ความรู้สึกตัวลดลง หรือความรุนแรงของอาการปวดเพิ่มข้นึ 7. ก่อนและหลงั การให้การพยาบาลท่ีมผี ลตอ่ สัญญาณชีพ สัญญาณชีพ ประกอบด้วย ชพี จร อัตราการหายใจ อุณหภูมิรา่ งกายและความดันโลหติ มีรายละเอยี ดดงั นี้ 7.1 ชพี จรเป็นการหดและขยายตัวของผนังหลอดเลือด ซึ่งเกิดจากการบีบตัว ของหัวใจ จังหวะการเต้นของเส้นเลือดจะสัมพันธ์กับการเต้นของหัวใจ การวัดอัตราการเต้น ของหัวใจ วัดนับจากการใช้นิ้วกลางและนิ้วช้ีคลาการเต้นของหลอดเลือดแดงตรงด้านหน้า ของขอ้ มือ (ด้านหัวแมม่ ือ) ที่อย่ตู า่ กวา่ ฐานของนิ้วหัวแม่มอื ประมาณ 60–100 ครงั้ ตอ่ นาที 7.2 อัตราการหายใจ การหายใจเป็นการนาเอาออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายและ นาคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกาย การวัดอัตราการหายใจดูจากการขยายตัวของช่องอก ประมาณ 12 – 20 ครงั้ ตอ่ นาที 7.3 อุณหภูมริ ่างกายเปน็ ระดับความร้อนของร่างกาย ซึ่งเกิดจากความสมดุล ของการสร้างความร้อนของร่างกายและการสูญเสียความร้อนของร่างกาย มีหน่วยเป็นองศา- เซลเซียส (°C) หรือองศาฟาเรนไฮต์ (°F) ซึ่งจะไม่ค่อยเปล่ียนแปลงมากนักถึงแม้อุณหภูมิ ภายนอกอาจจะเปล่ียนแปลง ค่าปกติ ประมาณ 37 องศาเซลเซียส +/- 0.5 องศาเซลเซียส 7.4 ความดันโลหิต เป็นแรงดันของเลือดที่ไปกระทบกับผนังเส้นเลือดแดง มหี น่วยเปน็ มิลลิเมตรปรอท (มม.ปรอท หรือ mm.Hg.) ความดันโลหิตใช้ตรวจวัดจากเคร่ืองวัด คนปกติจะมคี วามดันโลหติ ประมาณ 90/60 - 120/80 มิลลิเมตรปรอท กจิ กรรมท้ายเร่ืองท่ี 3 การวัดสัญญาณชีพและการประเมินเบื้องตน้ (ให้ผ้เู รียนไปทากจิ กรรมทา้ ยเรือ่ งที่ 3 ทสี่ มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วชิ า)
108 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 12 การเดินทางไกล อย่คู า่ ยพักแรม และชีวิตชาวค่าย สาระสาคัญ การเดินทางไกล เป็นการเดินทางของลูกเสือ จากกองลูกเสือ หรือกลุ่มลูกเสือ ไปทากิจกรรมต่าง ๆ ในสถานที่ใดท่ีหนึ่ง ซ่ึงนายหมู่ลูกเสือ และผู้กากับลูกเสือร่วมกันกาหนด เพอื่ ใหส้ มาชิกได้เกดิ การเรยี นรูร้ ว่ มกนั ปฏิบัตกิ ิจกรรมร่วมกัน ใชช้ ีวิตร่วมกัน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประสบการณร์ ่วมกัน โดยมีระบบหมู่ลกู เสือเปน็ หลักในการทากิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม และ อุดมการณ์ลูกเสือ มีความเป็นพ่ีน้องกัน และพัฒนาความเป็นพลเมืองดี ตามทักษะของลูกเสือ ทั้งนี้ เพื่อฝึกความอดทน ความสามัคคี ความมีวินัย และความเป็นระเบียบเรียบร้อย ตลอดจน รจู้ ักการเตรียมความพรอ้ มในการใช้ชีวติ กลางแจง้ การอยู่ค่ายพักแรม เป็นการไปพักแรมในสถานท่ีต่าง ๆ และนาสิ่งท่ีได้จากการ เรียนรู้ท้ังภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ โดยมีกระบวนการถ่ายทอดความรู้ และการแลกเปล่ียน ประสบการณ์ตลอดจนการเสริมสร้างพัฒนาทักษะลูกเสือ รวมทั้งการฝึกกระบวนการคิด วเิ คราะห์ และสรา้ งสรรค์ส่งิ ทเี่ ปน็ ประโยชน์ และสัมพนั ธ์กับวถิ ชี วี ติ ชีวิตชาวค่าย เป็นกิจกรรมเสริมสร้างลักษณะนิสัยที่ดีในการใช้ชีวิตร่วมกัน ทากิจกรรมร่วมกัน มีความเอ้ืออาทรซ้ึงกันและกัน มีการพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะการประกอบ อาชีพแบบชาวค่าย ทักษะการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ที่จาเป็นในการอยู่ค่ายพักแรม รวมท้ังการเสริมสร้างคุณธรรมในตนเอง โดยมีคาปฏิญาณและกฎของลูกเสือ เป็นหลักใน การดารงชวี ติ ชาวคา่ ย การจัดการค่ายพักแรม เป็นการกาหนดตาแหน่งท่ีจะสร้างเต็นท์ ครัว สุขภิบาล ราวตากผ้า ให้เหมาะสมกบั สถานทีต่ งั้ ค่ายพกั แรม ดังนั้น ต้องศกึ ษาสภาพภมู ิประเทศ คาดคะเน ความเหมาะสมของพื้นที่ แหลง่ นา้ เส้นทางคมนาคม และความปลอดภยั จากผ้กู อ่ การร้าย ตัวชวี้ ดั 1. อธบิ ายความหมาย วัตถปุ ระสงค์ และหลกั การของการเดินทางไกล 2. อธบิ ายและสาธิตการบรรจเุ ครอ่ื งหลังสาหรบั การเดินทางไกล 3. อธิบายความหมาย วัตถปุ ระสงค์ และหลกั การของการอยูค่ ่ายพกั แรม
109 4. อธิบายและยกตวั อยา่ งชีวิตชาวค่าย 5. อธิบายและสาธิตวธิ ีการจัดการคา่ ยพกั แรม ขอบข่ายเนอื้ หา เรอ่ื งที่ 1 การเดินทางไกล 1.1 ความหมายของการเดินทางไกล 1.2 วตั ถุประสงค์ของการเดนิ ทางไกล 1.3 หลักการของการเดินทางไกล 1.4 การบรรจุเครอ่ื งหลังสาหรับการเดนิ ทางไกล เรอ่ื งที่ 2 การอย่คู ่ายพกั แรม 2.1 ความหมายของการอย่คู ่ายพกั แรม 2.2 วัตถุประสงคข์ องการอยคู่ า่ ยพักแรม 2.3 หลกั การของการอยู่คา่ ยพกั แรม เรอ่ื งท่ี 3 ชีวติ ชาวคา่ ย 3.1 เครอื่ งมือ และเครอ่ื งใชท้ ี่จาเปน็ สาหรบั ชวี ติ ชาวคา่ ย 3.2 การสร้างครัวชาวค่าย 3.3 การสร้างเตาประเภทต่าง ๆ 3.4 การประกอบอาหารแบบชาวค่าย 3.5 การกางเตน็ ท์ และการเกบ็ เต็นท์ชนดิ ตา่ ง ๆ เร่ืองท่ี 4 วธิ กี ารจัดการคา่ ยพักแรม 4.1 การวางผังคา่ ยพกั แรม 4.2 การสขุ าภบิ าลในคา่ ยพักแรม เวลาที่ใชใ้ นการศกึ ษา 3 ช่วั โมง สอ่ื การเรียนรู้ 1. ชดุ วชิ าลกู เสอื กศน. รหสั รายวชิ า สค12025 2. สมุดบนั ทึกกิจกรรมการเรยี นรู้ประกอบชุดวชิ า 3. สอ่ื เสรมิ การเรียนรูอ้ ื่น ๆ
110 เร่อื งท่ี 1 การเดินทางไกล 1.1 ความหมายของการเดนิ ทางไกล การเดินทางไกล หมายถึง การเดินทางของลูกเสือจากกองหรือกลุ่มลูกเสือ เพ่ือไปทากิจกรรมท่ีใดที่หน่ึง โดยมีผู้กากับและนายหมู่ลูกเสือเป็นผู้กาหนดร่วมกัน เพ่ือนา ลูกเสือไปฝึกทักษะวิชาการลูกเสือเพ่ิมเติม ให้รู้จักการใช้ชีวิตกลางแจ้งและสัมผัสกับธรรมชาติ อย่างใกล้ชิด โดยลูกเสือได้ใช้ความสามารถของตนเอง การเดินทางไกลของลูกเสือสามารถ เดนิ ทางดว้ ยเทา้ เรือ จกั รยานสองล้อ และรถยนต์ 1.2 วัตถปุ ระสงคข์ องการเดนิ ทางไกล มีดงั นี้ 1) เพ่ือฝึกความอดทน ความมีระเบียบวินัยและเสริมสร้างสุขภาพอนามัยให้แก่ ลกู เสือ 2) เพ่ือให้ลูกเสือมีเจตนารมณ์ เจตคติท่ีดี รู้จักช่วยตนเองและรู้จักทางานร่วมกับ ผู้อน่ื 3) เพื่อให้มีโอกาสปฏิบัติตามคติพจน์ของลูกเสือ และมีโอกาสบริการต่อชุมชน ทีไ่ ปอยูค่ า่ ยพกั แรม 4) เพื่อเป็นการฝึกและปฏบิ ัติตามกฎของลูกเสือ 1.3 หลักการของการเดนิ ทางไกล การเดินทางไกล ใช้ระบบหมู่ เพ่ือฝึกความอดทน ความสามัคคี ความมีระเบียบ วินัย การช่วยเหลือซึ่งกันและกันรู้จักการระมัดระวังตัวจากอุบัติเหตุขณะเดินทาง และการ เตรียมตัวในการเดินทางในการใช้ชีวิตกลางแจ้ง 1.4 การบรรจเุ คร่ืองหลังสาหรับการเดนิ ทางไกล เป็นกิจกรรมหนึ่งของลูกเสือ ซ่ึงลูกเสือจะต้องมีการเตรียมการเร่ืองเครื่องหลัง ให้พร้อมเหมาะสมกบั เดินทางไกลไปแรมคืนซ่งึ อปุ กรณท์ ี่จะจัดเตรยี มคืออุปกรณ์เฉพาะบุคคลหรือ อปุ กรณป์ ระจาตวั ที่จาเป็นจะตอ้ งเตรียมพรอ้ มกอ่ นกาหนดเดนิ ทางควรมนี ้าหนักไม่มากนัก มีดงั น้ี 1) เครือ่ งแตง่ กาย ไดแ้ ก่ เคร่อื งแบบลูกเสอื และเครื่องหมายประกอบเคร่ืองแบบ คือ หมวก ผ้าผูกคอ เส้ือ กางเกงหรือกระโปรง เข็มขัด ถุงเท้า รองเท้าหรือชุดลาลองหรือชุดสุภาพ ชุดกีฬา ชุดนอน 2) เครื่องใช้ประจาตัว ได้แก่ สบู่ แปรงสีฟัน ยาสีฟัน ผ้าเช็ดตัว ผ้าขาวม้า ผ้าถุง ไฟฉาย ขันนา้ รองเทา้ แตะ จาน ชาม ช้อน ยากันยุง ยาขัดโลหะ เชือก หรือยาง สาหรับผูกหรือ รัดอปุ กรณ์เลก็ ๆ น้อย ๆ ถุงพลาสตกิ สาหรบั ใสเ่ ส้ือผ้าที่ใชแ้ ลว้ หรือเปียกชนื้
111 3) ยาประจาตัว หรืออปุ กรณ์ปฐมพยาบาล 4) อุปกรณ์ประกอบการเรียนรู้ และการจดบันทึกกิจกรรม เช่น สมุด ปากกา ดินสอ แผนที่ เข็มทศิ 5) อปุ กรณ์ทีจ่ าเปน็ ตามฤดกู าล เช่น เส้อื กันฝน เสอื้ กันหนาว 6) อปุ กรณเ์ ครอ่ื งนอน เช่น ผ้าห่ม ถงุ นอน 7) อุปกรณ์ท่ปี ระจากายลูกเสอื เชน่ ไม้งา่ ม กระตกิ นา้ เชอื กลูกเสอื ข้อแนะนาในการบรรจุเคร่ืองหลัง เครื่องหลัง คือ ถุงหรือกระเป๋าสาหรับใส่สิ่งของต่าง ๆ และใช้สะพายหลัง เพ่ือให้สามารถนาส่ิงของไปยังสถานที่ต่าง ๆ ได้อย่างสะดวก เครื่องหลังจึงเป็นสิ่งสาคัญ และมี ความจาเป็นมากสาหรับกิจกรรมการเดินทางไกล เพราะลูกเสือต้องใช้บรรจุอุปกรณ์ประจาตัว อุปกรณ์ประจาหมู่ ซ่ึงต้องนาไปใช้ในการอยู่ค่ายพักแรม การบรรจุสิ่งของลงในถุงเคร่ืองหลัง หรอื กระเปา๋ มีขอ้ แนะนา ดังนี้ 1. ควรเลอื กเครื่องหลังท่มี ขี นาดพอเหมาะไม่เลก็ หรอื ใหญจ่ นเกินไป 2. ควรบรรจุส่ิงของที่มีน้าหนักมากหรือสิ่งของที่ใช้ภายหลังไว้ข้างล่าง ส่วนสิ่งของ ท่ีใช้ก่อนหรือใช้รีบด่วน เช่น ไฟฉาย เส้ือกันฝน ไม้ขีดไฟ ฯ ให้ไว้ข้างบนสุดของเครื่องหลัง ซง่ึ สามารถนาออกมาใช้ได้อยา่ งสะดวก 3. ควรบรรจุส่ิงของนุ่ม ๆ เช่น ผ้าเช็ดตัว ผ้าห่ม เส้ือผ้าใส่ในเคร่ืองหลังตรงส่วน ท่จี ะสมั ผสั กบั หลังของลกู เสอื เพอื่ จะไดไ้ มเ่ จ็บหลังขณะเดนิ ทาง 4. สิ่งของบางประเภท เช่น ยารักษาโรค ข้าวสาร เป็นต้น ควรใส่ถุงผ้าหรือ ถุงพลาสติกก่อน แล้วจงึ บรรจุลงเครอื่ งหลงั 5. ในกรณีท่ีถุงนอน และผ้าห่มบรรจุเคร่ืองหลังไม่ได้ ให้ผูกถุงนอนและผ้าห่มนอน ของลูกเสือไว้นอกเครื่องหลัง คลุมดว้ ยพลาสตกิ ใสเพือ่ กนั เปยี กนา้ 6. เคร่ืองหลังท่ีลูกเสือนาไปต้องไม่หนักจนเกินไป เพราะถ้าหนักเกินไปจะทาให้ ลูกเสือเหน่ือยเร็ว น้าหนักของเคร่ืองหลังควรหนักไม่เกิน 1 ใน 5 ของน้าหนักตัวลูกเสือ เช่น ถา้ ลูกเสือหนกั 50 กิโลกรมั เครือ่ งหลังควรหนักไม่เกิน 10 กิโลกรมั เป็นต้น ปัจจุบัน เคร่ืองหลัง ทีใ่ ชบ้ รรจสุ ่ิงของนนั้ มีหลายชนดิ แลว้ แตล่ ูกเสือจะเลือกใช้ เช่น กระเป๋า ย่าม หรือเป้ ลูกเสือควร เลือกใช้เครื่องหลังที่มลี กั ษณะคลา้ ยเป้ เพราะมีชอ่ งสาหรบั บรรจสุ ิง่ ของหลายประเภท กิจกรรมท้ายเรื่องท่ี 1 การเดนิ ทางไกล (ใหผ้ ูเ้ รียนไปทากจิ กรรมท้ายเรือ่ งที่ 1 ทส่ี มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรู้ประกอบชุดวชิ า)
112 เรื่องท่ี 2 การอยูค่ า่ ยพักแรม 2.1 ความหมายของการอยคู่ า่ ยพักแรม การอยู่คา่ ยพักแรมลกู เสือ คือ องค์รวมของการเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยมีนวัตกรรมและขบวนการถ่ายทอด การทดสอบ การเสริมสร้างพัฒนาการให้แก่ลูกเสือ ในทุกระดับ โดยการนาลูกเสือออกจากท่ีตั้งปกติไปพักแรมคืนตามค่ายลูกเสือต่าง ๆ รวมท้ัง สถานที่ท่ีมีองค์ประกอบที่เหมาะสมกับการจัดกิจกรรมลูกเสือ เช่น วนอุทยาน ชายทะเล เป็นต้น โดยมีแผนการอยู่ค่ายพักแรมในแต่ละคร้ังสอดคล้องกับการเรียนการสอนกิจกรรม ลูกเสอื ในเวลาปกติ 2.2 วัตถปุ ระสงค์ของการอยู่คา่ ยพกั แรม มีดังนี้ 1) เพ่ือใหล้ กู เสอื ทบทวนสง่ิ ทีไ่ ดเ้ รยี นรูจ้ ากทฤษฎี และการฝึกปฏบิ ัติ 2) เพ่ือเปน็ การฝกึ ทกั ษะทางลูกเสอื ให้มีระเบียบวินัย มเี จตคติ มคี า่ นยิ มท่ดี งี าม 3) เพ่อื ใหล้ ูกเสอื ปฏบิ ัตติ ามคาปฏญิ าณและกฎของลูกเสอื 2.3 หลักการของการอยู่ค่ายพักแรม มดี งั น้ี 1) ยึดหลักการมีสว่ นร่วม โดยใหผ้ บู้ ังคับชาลูกเสอื ลกู เสือ และชุมชน มีส่วนร่วม ในการจัดกิจกรรม 2) ใช้กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นลูกเสือเป็นสาคัญ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ จากแหล่งเรยี นรู้ในชมุ ชน 3) ใช้กระบวนการกลุ่มในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ฝึกให้คิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ ทีเ่ ปน็ ประโยชนแ์ ละสมั พนั ธก์ บั วถิ ีชีวิต 4) มีกิจกรรมวิชาการและกิจกรรมนันทนาการที่ให้ลูกเสือได้รับความรู้ และ ความสนกุ สนาน ทางานร่วมกันเปน็ กลุ่มเพื่อเสรมิ สร้าง ความสามคั คี มนุษยสัมพนั ธ์ ความเปน็ ผนู้ า 5) ตอ้ งคานึงถึงความปลอดภัยในดา้ นตา่ ง ๆ ระหว่างการทากิจกรรม กิจกรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 2 การอยู่ค่ายพักแรม (ให้ผ้เู รียนไปทากจิ กรรมทา้ ยเรอ่ื งที่ 2 ท่สี มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วชิ า)
113 เรอ่ื งที่ 3 ชีวิตชาวค่าย ชีวิตชาวค่าย เป็นกิจกรรมสร้างนิสัย การบาเพ็ญประโยชน์ รู้จักการปรับตัวเข้า หากัน และการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข โดยการฝึกปฏิบัติตนด้วยการทางานร่วมกันเป็นหมู่ รู้จักยอมรับในบทบาทหน้าที่ซ่ึงกันและกัน ฝึกการเป็นผู้นา ผู้ตาม ฝึกให้รู้จักช่วยเหลือตนเอง เมื่อมีเหตุการณ์คับขัน รู้จักการดารงชีพกลางแจ้งโดยไม่น่ิงเฉย เชื่อฟังกฎกติกาอยู่ในระเบียบ อย่างเคร่งครดั สร้างเสริมคุณธรรม สร้างความมวี นิ ยั ชวี ติ ชาวค่าย ประกอบดว้ ย 1. เครอ่ื งมอื เคร่ืองใช้ ทจี่ าเป็นสาหรับชีวิตชาวค่าย 2. การสร้างครัวชาวคา่ ย 3. การสร้างเตาประเภทต่าง ๆ 4. การประกอบอาหารแบบชาวคา่ ย 5. การกางเต็นท์ และการเก็บเตน็ ท์ชนดิ ตา่ ง ๆ 3.1 เครือ่ งมือ และเครื่องใช้ ท่จี าเป็นสาหรับชีวิตชาวคา่ ย เคร่ืองมือ และเครื่องใช้ สาหรับการอยู่ค่ายพักแรม มีหลากหลายประเภท แยกตามลักษณะของการใช้งาน แบ่งออกเป็น ของมีคม ได้แก่ มีด ขวาน เลื่อย เคร่ืองมือท่ีใช้ สาหรับขุด ได้แก่ จอบ เสียม พลั่ว พลั่วสนาม และเคร่ืองมือที่ใช้สาหรับตอก ได้แก่ ค้อน โดย แยกเก็บตามประเภท และลักษณะการใช้งาน เพื่อความสะดวกในการหยิบใช้งาน และความเป็น ระเบยี บเรยี บร้อย มีด คือ เคร่ืองมือชนิดแรก ๆ ที่มนุษย์ประดิษฐ์ข้ึนเพื่อใช้ในชีวิตประจาวัน มาอยา่ งยาวนาน เกย่ี วข้องสัมพันธ์กันแทบทุกกิจกรรม ในการดาเนินชีวิต มีด เป็นเครื่องมือตัด เฉือนชนิดมีคม สาหรับใช้ สับ หั่น เฉือน ปาด บางชนิดอาจมีปลายแหลม สาหรับกรีดหรือแทง มักมขี นาดเหมาะสมสาหรับจบั ถือด้วยมือเดียว ขวาน เป็นเครื่องมือที่ทาด้วยเหล็ก มีสันหนาใหญ่ ใช้ในการตัดไม้ ฟันไม้ ผ่าไม้ ตอกไม้ รวมไปถงึ การใช้เป็นอาวุธ โดยทั่วไปขวานจะประกอบด้วยสองส่วนหลัก คือ ส่วนหัว และส่วนดา้ มจบั โดยขวานจะมีทัง้ แบบที่ด้ามยาว และแบบด้ามสนั้ ขึน้ อยกู่ ับงานที่ใช้ การดแู ลรักษามดี และขวาน 1. ไม่ควรวางมดี หรือขวานไวก้ บั พ้นื เพราะจะเป็นอันตรายต่อผู้อื่น ถ้าเผลอ ไปเหยียบ รวมทั้งจะทาให้คมมดี และขวานเปน็ สนิมได้
114 2. อย่าใช้มีดหรือขวานหั่นถากวัตถุท่ีแข็งเกินไป เพราะอาจทาให้หมดคม หรืออาจบน่ิ เสียหายได้ 3. ไม่ควรเอามีดหรือขวานลนไฟหรือห่ันสับสิ่งท่ีกาลังร้อนเพราะจะทาให้ ทื่องา่ ย 4. หลังจากใช้มีดหรือขวานเสร็จแล้ว ต้องล้างให้สะอาด เช็ดให้แห้ง ทาน้ามัน แล้วเก็บเข้าท่ีให้เรียบร้อย ถ้าเป็นมีดหรือขวานท่ีมีปลอก มีหน้ากาก ควรสวมปลอกหรือ หนา้ กากก่อนแลว้ นาไปเกบ็ 5. เมอ่ื คมมดี หรือคมขวานทื่อ ควรลบั กบั หนิ ลบั มดี หรือหินกากเพชร 6. ถ้าด้ามมีด หรือด้ามขวาน แตกร้าว ต้องรีบซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพดี ก่อนนาไปเกบ็ หรือนาไปใช้งาน วิธถี อื มดี และขวานให้ปลอดภัย 1. ต้องหันด้านคมของมดี หรือขวานออกนอกตัว 2. เวลาแบกขวาน ตอ้ งระวงั อยา่ ใหค้ มขวานหอ้ ยลง หรอื หันเขา้ หาตวั 3. ถ้าเป็นขวานขนาดเล็ก เวลาถือให้จบั ทตี่ วั ขวาน ปลอ่ ยด้ามขวานชลี้ งพืน้ หนั คมขวานไปทางด้านหลัง วิธีสง่ มดี และขวานใหป้ ลอดภยั 1. การส่งมีด ผู้ส่งจับสันมีดหันคมมีดออกนอกตัวหรือหันด้านคมลงพื้น ส่งดา้ นมดี ให้ผู้จบั 2. การส่งขวาน ผู้ส่งจับปลายด้ามขวานห้อยตัวขวานลง ให้คมขวานหันไป ด้านข้าง ผู้รบั ตอ้ งจับด้ามขวานใต้มือผูส้ ่ง เลอ่ื ย เป็นเลอ่ื ยสาหรบั งานไมโ้ ดยทวั่ ไป ทาดว้ ยโลหะแผน่ บาง มีฟันเป็นซ่ี ๆ โดยฟนั ของซ่เี ลอ่ื ยมคี วามแตกต่างกันตามความเหมาะสมกับการใช้งาน การดแู ลรักษา 1. หลังจากการใช้งานให้คลายใบเล่ือยออกเล็กน้อย เพื่อยืดอายุใบเล่ือยให้ ใช้งานไดย้ าวนานข้ึน 2. ใช้แปรงปัดทาความสะอาดทุกส่วน ทาด้วยน้ามัน แล้วเก็บไว้ในท่ีเก็บ หลังการใช้งาน
115 จอบ เป็นเคร่ืองมือขุดเดิน ที่มีน้าหนักปานกลางและมีความทนทานสูง จอบใช้ในการขุดดินแข็ง ๆ และขดุ หลมุ ใหม้ ีขนาดกว้างและลกึ ได้ ลกั ษณะเดน่ ของจอบ คือ มีใบ ที่แบนกว้างและคม สามารถเจาะผ่านพ้ืนดินหรือก้อนดินท่ีแข็ง ๆ ให้แยกขาดออกจากกัน ไดโ้ ดยง่าย การดูแลรักษา หลังจากการใช้ทุกครั้งควรล้างทาความสะอาดด้วยน้า เพื่อจัดดินท่ีติดตาม ใบจอบ และคมจอบให้หมดเสยี ก่อน จากน้ันให้ใช้ผ้าเช็ดให้แห้ง แล้วทาน้ามันกันสนิมและเก็บเข้าท่ี ใหเ้ รยี บร้อย เสียม เป็นเคร่ืองมือขุดดิน ที่มีน้าหนักเบาท่ีสุดในบรรดาเคร่ืองมือขุดดิน ทุกชนิดด้วยรูปทรงที่เล็กมีน้าหนักเบา จึงไม่กินแรงผู้ใช้ เสียมจึงมีบทบาทสาคัญในงานด้าน การเกษตรทุกชนดิ จงึ พูดได้ว่าเสียมเป็นเครื่องมือการเกษตรที่มาคู่กับจอบ เพราะสิ่งที่จอบทาได้ เสียมก็สามารถทาได้ เช่น การขุดดิน ขุดลอก เป็นต้น แต่ส่ิงท่ีเสียมทาได้นั้นจอบไม่สามารถ ทาไดก้ ็ คือ การขุดหลุดที่ลึกและแคบ และการขุดดินในท่ีแคบ ๆ ที่ต้องใช้ความความระมัดระวังสูง เช่น การขดุ ล้อมตน้ ไมข้ นาดเล็ก และการขดุ หน่อกล้วย เป็นต้น การดูแลรักษา หลังจากการใช้งานทุกครั้งควรล้างทาความสะอาดด้วยน้า เพ่ือกาจัดดินที่ติด ปลายเสียมใหห้ มดเสียกอ่ น จากนนั้ ใชผ้ า้ เชด็ ใหแ้ หง้ ทาน้ามนั กนั สนมิ แล้วนาเกบ็ เข้าท่ีให้เรียบร้อย พลั่ว เป็นเคร่ืองมือใช้ในการตักดิน หรือตักทรายท่ีมีความละเอียดมาก หรือเป็นก้อนที่ไม่ใหญ่นัก พล่ัวมีน้าหนักพอ ๆ กับเสียม แต่มีใบท่ีกว้างและบางกว่าเสียมและ จอบเล็กน้อย คมของพล่ัวไม่ได้มีไว้ใช้ในการขุดหรือเจาะ แต่มีไว้ในการตักหรือโกย เศษทราย เศษดิน หรือเศษวัชพืช ที่ได้ทาการกวาดรวม ๆ กันไว้เป็นกอง ๆ เรียบร้อยแล้ว เพื่อตักไปใส่ ถุงปยุ๋ หรือปงุ้ ก๋ี หรือถงั ขยะ เพอื่ เพ่มิ ความรวดเรว็ ในการจัดเก็บและทาความสะอาด การดแู ลรักษา หลังจากการใช้ทุกคร้ังควรล้างทาความสะอาดด้วยน้า เพ่ือกาจัดเศษดิน เศษทรายที่ติดตามปลายพล่ัวให้หมดเสียก่อน จากนั้นก็ใช้ผ้าเช็ดให้แห้ง ทาน้ามันกันสนิมแล้ว เก็บเขา้ ทใ่ี หเ้ รยี บร้อย ค้อน คือเคร่ืองมือสาหรับตอกหรือทุบบนวัตถุอ่ืน สาหรับการใช้งาน เช่น การตอกตะปู การจัดชิ้นส่วนให้เข้ารูป และการทุบทลายวัตถุ ค้อนอาจได้รับการออกแบบมา ให้ใช้งานเฉพาะทาง และมีรปู รา่ งกบั โครงสรา้ งท่หี ลากหลาย แต่มีโครงสร้างพ้ืนฐานท่ีเหมือนกัน
116 คือ ด้ามจบั และหวั คอ้ น ซง่ึ น้าหนักจะค่อนไปทางหัวค้อนมากกว่า แรงท่ีกระทบเป้าหมายจะมาก เท่าใด ข้ึนอยู่กับมวลของค้อนและความเร่งของการตอก ดังนั้นเม่ือค้อนย่ิงหนักมากและหวด ดว้ ยความเร่งมาก แรงทีไ่ ด้จากค้อนยงิ่ มากตามไปดว้ ย การดแู ลรกั ษา 1. เลอื กชนิดของค้อนให้เหมาะกับงาน 2. เมื่อใช้งานเสรจ็ ควรเชด็ ทาความสะอาด แล้วทาน้ามันท่หี ัวคอ้ นเพ่ือป้องกัน สนิม 3.2 การสรา้ งครัวชาวค่าย การสร้างครัว เป็นการกาหนดพ้ืนที่สาหรับใช้ในการประกอบอาหาร ตลอด ระยะเวลาในการอย่คู ่ายพกั แรม มอี งค์ประกอบในการสรา้ งครวั ดังน้ี ทที่ าครัว ควรมีเขตทาครัวโดยเฉพาะ โดยเลือกพ้ืนที่ท่ีจะเป็นเหตุให้เสียหาย แก่พื้นทนี่ ้อยท่สี ุด ถ้ามีหญ้าขึ้นอยู่ต้องแซะหญ้าออก (ให้ตดิ ดนิ ประมาณ 10 ซม.) แล้วจึงค่อยตั้ง เตาไฟ ส่วนหญ้าทแ่ี ซะออกนน้ั จะตอ้ งหมั่นรดน้าไว้ เมื่อการอยู่ค่ายพักแรมได้สิ้นสุดลงแล้ว ก็ให้ ปลูกหญา้ ไว้ทเ่ี ดิม แล้วรดน้าเพอื่ ใหค้ ืนสสู่ ภาพเดิม ในการจัดทาเครื่องใช้นั้น อะไรควรจัดทาก่อน อะไรควรจัดทาภายหลัง ถือหลักว่า อันไหนสาคัญท่ีสุดก็ให้จัดทาก่อน แล้วจึงค่อย ๆ จัดทาสิ่งท่ีมีความสาคัญรองลงมาตามลาดับ ต่อไปนี้ คือ คาแนะในการสรา้ งเคร่ืองใช้ต่าง ๆ เตาไฟ มีหลายแบบ เช่น แบบขุดเป็นราง แบบใช้อิฐ หรือก้อนหินวางเป็น สามเสา้ แบบเตายืนเป็นแบบสะดวกในการทาครัว ก่อนต้ังเตาไฟควรทาความสะอาดบริเวณน้ัน อย่าให้มเี ชอ้ื ไฟหรือสิง่ ทต่ี ิดไฟงา่ ยอย่ใู กล้ ๆ กองฟืน ลักษณะของฟืนที่นามาใช้ควรเป็นไม้แห้ง เพ่ือง่ายต่อการก่อไฟ ควรกองให้เป็นระเบียบ อยู่ไม่ห่างจากเตาไฟ ถ้าฝนตกจะต้องมีหลังคาคลุมดิน สาหรับเตายืน อาจเอาฟนื ไว้ใต้เตาก็ได้ เคร่ืองใช้ต่าง ๆ หม้อ กระทะ แก้วน้า มีด เขียง ฯลฯ ที่เก็บมีด ท่ีเก็บกระบอกน้า ท่ีเก็บจาน ที่เก็บถังน้า ทเ่ี กบ็ อาหาร จะตอ้ งจัดทาขึ้น ที่หุงต้มและรับประทานอาหาร ควรมี หลังคามุงกันแดดกันฝน อาจใช้โต๊ะอาหารและม้าน่ัง ควรจัด ทาขึ้นตามแบบงา่ ย ๆ
117 หลุมเปียก ขุดหลุมขนาดใหญ่ให้ลึกพอสมควร ท่ีปากหลุมใช้ก่ิงไม้ ใบไม้ สานเป็นแผงปิด แล้วเอาหญ้าโรยข้างบน หลุมเปียกสาหรับเทน้าต่าง ๆ ที่ไม่ใช้แล้ว เช่น น้าปน ไขมัน ซึ่งส่ิงเหล่าน้ีเม่ือเทลงไป ไขมันและสิ่งต่าง ๆ จะติดอยู่ท่ีหญ้า มีแต่น้าแท้ ๆ ไหลลงไป ในหลุม แผงที่ปากหลุมจะต้องนาไปเผา และเปลี่ยนใหมว่ นั ละครั้งเปน็ อยา่ งนอ้ ย หลุมแห้ง ขุดเป็นอีกหลุมหนึ่ง เม่ือทิ้งเศษอาหารแล้ว จะต้องเอาดินกลบ ถา้ เป็นกระป๋อง กอ่ นท้งิ ตอ้ งทุบใหแ้ บนและเผาไฟ ในกรณีท่ีค่ายน้ันมีถังสาหรับเผาขยะหรือเศษ อาหารโดยเฉพาะอยแู่ ล้ว กใ็ หน้ าขยะและเศษอาหารไปเผา ณ ทก่ี าหนดไว้ 3.3 การสรา้ งเตาประเภทตา่ ง ๆ เตาสาหรบั หุงอาหาร เตาไฟที่ใช้ในการหุงอาหารในการอยู่ค่ายพักแรมมีอยู่หลายแบบ ซ่ึงจะจัดการ สรา้ งได้ขณะอยู่ค่ายพักแรมตามสภาพของพื้นท่ี เตาไฟแบบต่าง ๆ ได้แก่ เตาราง เตาใช้อิฐและ หิน เตายืน เตาแขวน ในการก่อสร้างเตาแต่ละคร้ัง ลูกเสือจะต้องทาความสะอาดรอบ ๆ บริเวณ ที่ก่อสรา้ งเตา ให้เตียนและอยา่ ให้มเี ชือ้ ไฟหรือวสั ดุท่ีตดิ ไฟได้ง่าย ๆ อย่ใู กลบ้ รเิ วณนัน้ เตาสามเส้า เปน็ การนากอ้ นหินสามกอ้ นมาวางบนพื้น จัดระยะห่างให้พอดี กบั ก้นหม้อเป็นสามมุมดูให้อากาศถา่ ยเทได้สะดวก
118 เตาหลุม ขดุ หลุมให้มขี นาดกวา้ งพอเท่ากับหมอ้ ลกึ พอประมาณ แล้วเจาะรู เพื่อใส่ฟืนด้านหน้า แล้วมรี รู ะบายอากาศ ดา้ นข้างเพ่ือให้ควันออก เตาลอย ให้ขุดหลมุ สี่มมุ แลว้ นาท่อนไม้แข็งแรงส่ีต้นทาเป็นเสาส่ีมุม นาไม้มา วางพาดผูกเป็นสี่เหล่ียมและวางคานให้เต็มพ้ืนที่ ใช้ใบไม้ปูให้ราบ เอาดินปูพ้ืนให้หนาพอสมควร อีกช้ัน แล้วใช้ก้อนหินทาเป็นเตาสามเส้า หรือเตารางแล้วแต่สะดวก (หากเป็นหน้าฤดูฝน สามารถสร้างหลังคาตอ่ เตมิ ได)้ เตารางไม้ นาไมท้ ี่มีงา่ มสองท่อนมาปักลงดินตรงข้ามกัน แล้วนาไม้ท่อนตรง วางพาดเป็นคานไวแ้ ขวนภาชนะ (ไมท้ ่ีควรใชพ้ าดควรเป็นไมด้ ิบ ซง่ึ จะไมท่ าให้ไหมไ้ ด้งา่ ย)
119 เตาแขวน หรือเตาราว ใช้ไม้ทมี่ งี ่ามมาปักลงดินเป็นระยะห่างให้พอดี แล้วหาไม้ยาวเป็นคานมาพาดง่ามไว้สาหรบั แขวนภาชนะ เตากระป๋อง นากระปอ๋ งหรอื ถังขนาดเลก็ ท่ีพอดกี บั หมอ้ หรือภาชนะ มาผา่ ขา้ ง ออกเปน็ ประตลู มแล้วเจาะรสู ว่ นบนสรี่ เู พื่อให้อากาศถา่ ยเท 3.4 การประกอบอาหารแบบชาวค่าย การปรุงอาหารในขณะอยู่ค่ายพักแรมหรือเดินป่า เป็นการปรุงอาหาร เเบบชาวค่าย ไม่สามารถเตรียมเคร่ืองมือเครื่องใช้ในการหุงต้มได้ครบถ้วน เช่น ใช้เตาหลุม เตาสามเสา้ เตาราง ใช้มะพรา้ วอ่อนแทนหม้อ กระบอกไม้ไผ่ ใช้ดินพอกเผาแทนการต้ม การป้ิง เปน็ ต้น การปฏิบัติหรือประกอบอาหารบางอย่างที่จาเป็นในขณะที่อยู่ค่ายพักแรม ควรเลอื กประกอบอาหารอยา่ งงา่ ย รวดเรว็ คงคุณคา่ ทางอาหาร ดว้ ยวิธกี ารต่าง ๆ ดังนี้ การหุงข้าวด้วยวธิ ตี ่าง ๆ 1. การหงุ ขา้ วด้วยหมอ้ หู สามารถหุงขา้ วได้ 2 แบบ คือ แบบไมเ่ ชด็ น้า และเช็ดนา้ 1.1 การหงุ ขา้ วไม่เชด็ น้า ขา้ ว 1 สว่ น ตอ่ นา้ 2 - 2.5 ส่วน วิธีหุง 1) ซาวขา้ วใหห้ มดส่งิ สกปรก รนิ นา้ ท้ิง 2) ตวงน้าใสน่ ้าหมอ้ ปดิ ฝาใหส้ นทิ ตั้งบนเตา ใส่ไฟแรงจัด 3) เม่ือน้าเดือดใช้พายกวน 1 คร้ัง พอน้าจวนแห้งปิดฝาหม้อให้สนิท นาถ่าน หรอื ฟนื ออกเหลอื เกล่ยี ไว้ให้ไฟน้อยท่สี ุด (การกวนคนขา้ วนเ้ี พื่อให้ไดร้ ับความร้อนทว่ั ถึงกัน) 4) เอยี งขา้ ง ๆ หมอ้ ใหร้ อบ ๆ ตั้งต่อไปจนน้าแห้งใหข้ ้าวสกุ และระอุดี ใช้เวลา ประมาณ 20 - 25 นาที
120 1.2 การหงุ ข้าวเช็ดนา้ ขา้ ว 1 สว่ น ต่อ น้า 3 ส่วน วิธหี งุ 1) ซาวข้าวพอหมดส่ิงสกปรก รินน้าท้งิ 2) ตวงนา้ ใส่หม้อ ปดิ ฝาใหส้ นทิ ตั้งบนไฟใชไ้ ฟแรงจนกระท่ังขา้ วเดอื ด 3) เม่อื น้าเดอื ดใช้พายกวนข้าว 1 ครัง้ หรอื มากกวา่ เพื่อให้ได้รับความร้อนทั่วถงึ 4) สังเกตดพู อเมด็ ข้าวบาน รินน้าข้าวท้งิ เอาขึน้ ดงบนเตา ใช้ไฟออ่ น ตะแคงหม้อ หมนุ ใหไ้ ด้ความร้อนทัว่ จนน้าแหง้ จากน้ันใหย้ กลงจากเตา วิธีการแกข้ ้าวแฉะ ข้าวแฉะเกิดจากปล่อยท้งิ ไว้จนเม็ดขา้ วบานมาก หรอื ใสน่ า้ น้อยจนนา้ ข้าวขน้ มาก ก่อนจะเช็ดน้าข้าวให้ใส่น้าเปล่าลงไปให้น้าไม่ข้น คนให้ทั่วหม้อ แล้วเช็ดน้าให้แห้งปิดฝาหม้อ ใหส้ นทิ แล้วหมนุ หมอ้ ไปมา และนาหม้อข้าวไปตั้งที่เตาไฟ โดยใชไ้ ฟอ่อน ๆ วธิ แี ก้ขา้ วดบิ ให้ใช้น้าพรมข้าวพอประมาณ คุ้ยพรมให้ท่ัวหม้อ แล้วจึงนาหม้อข้าวขึ้นดงใหม่ หมุนให้ท่ัว ดงให้นานกว่าดงข้าวธรรมดา เมื่อยกลงห้ามเปิดฝาดู ควรปิดให้สนิท เพ่ือข้าวจะได้สุก ระอดุ ี วิธีแก้ขา้ วไหม้ หากได้กล่ินขา้ วไหม้ รีบเปดิ ฝาหมอ้ เพื่อใหไ้ อนา้ ออก และความร้อนในหม้อจะได้ ลดลงเรว็ ขณะเดียวกนั กลนิ่ ไหมจ้ ะไดอ้ อกไปดว้ ย คุ้ยข้าวตอนบนที่ไมไ่ หมใ้ หส้ ุก แลว้ เปิดฝาทง้ิ ไว้ การประกอบอาหารด้วยวธิ ีตา่ ง ๆ การตม้ ทาได้ 2 วธิ ี คอื 1. โดยการใสข่ องท่ีจะทาให้สกุ ลงไปพร้อมกับน้า แล้วนาไปตั้งไฟ เช่น การต้มไข่ ถ้าใส่ในนา้ เดือดแล้วไขจ่ ะแตกเสยี ก่อน 2. โดยการใสข่ องท่จี ะทาให้สุก เมื่อน้านนั้ เดอื ดแลว้ เชน่ การตม้ ปลากันเหม็นคาว การผัด หมายถึง การทาวัตถุส่ิงเดียวหรือหลายส่ิง ซ่ึงต้องการให้สุกสาเร็จเป็น อาหารสิ่งเดียว วธิ กี ารผัด โดยการใช้น้ามันหรือกะทิ ใส่ในภาชนะที่จะใช้ผัด แล้วนาของท่ีจะผัดรวมลงไป คนใหส้ ุกท่ัวกนั และปรุงรสตามชอบ
121 การทอด ใส่น้ามันลงในภาชนะที่จะใช้ในการทอด โดยประมาณให้ท่วมของ ที่จะทอด ตั้งไฟให้น้ามันร้อนจัด จึงใส่ของลงไปทอด การสังเกตของ ที่ทอดว่าสุกหรือยังให้สังเกต ตามขอบของส่ิงท่ีทอด การถนอมอาหาร การตากแห้ง เป็นวิธีท่ีง่ายและประหยัด มากที่สุด ใช้ได้กับอาหารประเภทเนื้อสัตว์ ผักและ ผลไม้ เป็นวิธีท่ีทาให้อาหารหมดความช้ืนหรือมี ความช้ืนอยู่เพียงเล็กน้อย เพื่อไม่ให้จุลินทรีย์ สามารถเกาะอาศัยและเจริญเติบโตได้ทาให้อาหาร ไมเ่ กิดการบดู เน่า โดยการนานา้ หรอื ความชนื้ ออกจากอาหารให้มากที่สุด เช่น เน้ือเค็ม ปลาเค็ม กลว้ ยตาก เป็นตน้ การรวน เป็นวิธีการท่ีคล้ายกับการค่ัว แต่ต้องใส่น้ามัน นิยมใช้ประกอบอาหารประเภท เนื้อสัตว์ และปรุงรสให้เค็มมากข้ึน เพื่อให้สามารถ เก็บไวร้ บั ประทานไดน้ าน เช่น ไกร่ วน เป็ดรวน และ ปลาหมกึ รวน เป็นต้น 3.5 การกางเต็นท์และการเกบ็ เต็นทช์ นดิ ตา่ ง ๆ การไปอยู่ค่ายพักแรมของลูกเสือ แต่ก่อนนั้นลูกเสือไปหาท่ีพักข้างหน้า ตามแต่จะดัดแปลงได้ในภูมิประเทศ ซ่ึงเป็นการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าถ้าลูกเสือไม่พักในอาคาร ลูกเสอื จะตอ้ งนอนกลางแจง้ ซ่ึงจะต้องหาวธิ สี รา้ งเพิงที่พกั ง่าย ๆ ทสี่ ามารถกนั แดดกันฝนกันลม และป้องกันสัตว์เลื้อยคลานได้ โดยใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ เท่าที่จะหาได้ ต่อมาเริ่มมีการเตรียม อุปกรณไ์ ปด้วย เชน่ เชือกหลาย ๆ เสน้ พลาสติกผืนใหญ่ เป็นต้น ทาให้ง่ายต่อการสร้างเพิงท่ีพัก มากขนึ้ ปัจจุบันลูกเสือส่วนมากจะเตรียมเต็นท์สาเร็จรูปไปด้วย เพราะเต็นท์มีขาย อย่างแพร่หลาย และมีให้เลือกหลายแบบหลายสีหลายขนาดมีน้าหนักเบามีขนาดกะทัดรัด สามารถนาพาไปได้สะดวก
122 การกางเต็นทก์ ระแบะ หรอื เต็นท์ 5 ชาย อปุ กรณ์และส่วนประกอบ ในการใช้เต็นท์สาหรับอยู่ค่ายพักแรม จะใช้เต็นท์ 5 ชาย ซึ่งเหมาะสาหรับลูกเสือ จานวน 2 คน ซึ่งจะใช้พ้ืนที่ในการกางเต็นท์ไม่มากนักและวิธีกางก็ไม่ยุ่งยาก ส่วนประกอบของ เต็นท์ 5 ชาย มีดังน้ี 1. ผ้าเตน็ ท์ 2 ผนื 2. เสาเตน็ ท์ 2 ชุด (2 เสา) ชุดละ 3 ท่อน (3 ทอ่ นตอ่ กันเป็น 1 ชดุ ) 3. สมอบก 10 ตัว (หัวท้าย 2 ตัว ชายด้านล้างด้านละ 3 ตัว ประตูหน้า 1 ตัว และหลงั 1 ตวั ) 4. เชือกยึดสมอบก 10 เส้น (เชือกยาวใช้ร้ังหัวท้ายเต็นท์ 2 เส้น เชือกสั้นใช้ยึด ชายเตน็ ท์ 6 เสน้ และประตูหนา้ - หลัง 2 เส้น) การกางเต็นท์ การกางเต็นท์ 5 ชายน้ันมีวิธกี ารดังตอ่ ไปน้ี 1. ตดิ กระดมุ ทั้ง 2 ผืนเขา้ ด้วยกัน 2. ต้งั เสาเต็นท์ท้ัง 2 เสา 3. ผกู เชือกร้ังหวั ทา้ ยกับสมอบก 4. ตอกสมอบกยึดชายเต็นท์ การร้อื เต็นท์ท่พี กั แรม 1. แกเ้ ชือกที่ร้งั หวั ทา้ ยกับสมอบกออก 2. ล้มเสาเต็นท์ทัง้ 2 เสาลง 3. ถอนสมอบกท่ยี ึดชายเต็นทแ์ ละท่ใี ชร้ ้งั หวั ท้ายเต็นท์ 4. แกะกระดุมเพอื่ แยกให้เต็นทเ์ ปน็ 2 ผืน
123 5. ทาความสะอาด เก็บพับให้เรียบร้อย 6. นาผ้าเต็นท์และอุปกรณ์เกบ็ รวมไวเ้ ป็นท่ีเดยี วกนั เตน็ ท์สาเร็จรูป เตน็ ทส์ าเรจ็ รูปจะมีลักษณะและ รปู แบบท่หี ลากหลาย ซึ่งมีวางจาหน่าย โดยทั่วไป ง่ายตอ่ การประกอบและการเก็บ แต่ละแบบจะ มีรูปแบบการประกอบไม่เหมือนกัน จึงให้ผู้ใช้ พิจารณาตามวิธกี ารของเตน็ ท์ เตน็ ทส์ าเร็จรูปใชเ้ ป็นทพ่ี ัก สาหรบั ลูกเสอื ทั้งหมู่ (1 หม่)ู เป็นเต็นท์ท่ีมขี นาดใหญ่กว่าเตน็ ท์กระแบะ มีนา้ หนกั มากกว่าเตน็ ท์ กระแบะสามารถพกพาไปไดส้ ะดวก พนื้ ทีท่ ใี่ ช้กางเตน็ ท์จะมีบริเวณกวา้ งพอสมควร สว่ นวธิ ีกางเต็นท์ ไม่ยุ่งยากมลี ูกเสือช่วยกันเพียง 2 คนก็สามารถกางเต็นท์ได้ ส่วนประกอบของเต็นท์สาเร็จรูป มดี งั น้ี 1. ผ้าเต็นท์ 1 ชดุ 2. เสาเต็นท์ 2 ชุด (2 เสา) ชดุ ละ 3 ท่อน (3 ทอ่ นต่อกนั เปน็ 1 ชดุ หรือ 1 เสา) 3. สมอบก 12 ตัว (ยึดมุมพื้น 4 ตัว ยดึ ชายหลงั คา 6 ตัว หวั 1 ตัว ท้าย 1 ตัว) 4. เชือกยึดสมอบก 8 เส้น ทุกเส้นมัดติดกับแผ่นเหล็กสาหรับปรับความตึงหย่อน ของเชือก (เชือกสั้น 6 เสน้ ใช้ยดึ ชายหลังคา เชือกยาว 2 เส้นใชร้ ัง้ หัวทา้ ยเต็นท์) วิธกี างเตน็ ท์สาเร็จรปู ปฏิบตั ิดังนี้ 1. ยดึ พน้ื ของเตน็ ท์ทง้ั 4 มุมดว้ ยสมอบก 4 ตวั 2. นาเสาชุดที่ 1 (ตอ่ 3 ทอ่ นเข้าด้วยกนั ) มาเสียบทร่ี ูหลังคาเตน็ ท์ ใหค้ นท1ี่ จบั ไว้ 3. ให้คนท่ี 2 ใช้เชือกยาว 1 เส้น ยึดจากหัวเสา (หรือห่วง) ไปยังสมอบกด้านหน้า (โดยผูกด้วยเง่ือนตะกรุดเบ็ด หรือผูกเงื่อนกระหวัดไม้ ไม่ต้องใช้เง่ือนผู้ร้ัง เพราะเป็นแผ่นปรับ ความตึงอยู่แล้ว) แล้วใช้เชือกส้ัน 2 เส้น ยึดชายเต็นท์เข้ากับสมอบกให้เต็นท์กางออกเป็นรูป หนา้ จ่ัว 4. ใหค้ นท่ี 2 เดินอ้อมไปอกี ดา้ นหนึ่งต่อเสาที่ 2 เสียบเข้ารูหลังคา เต็นท์อีกด้าน หน่ึงแล้วจับเสาไว้ให้คนท่ี 1 ปล่อยมือจากเสาท่ี 1 แล้วนาเชือกยาวเส้นท่ี 2 ยึดจากหัวเสาท่ี 2 ไปยังสมอบกด้านหลัง
124 5. ใหค้ นที่ 2 ปล่อยมือจากเสาที่ 2 ได้ เต็นท์จะไม่ล้ม ท้ังสองคนช่วยกันใช้เชือก ยึดชายหลังคาเต็นท์ (จุดท่ีเหลือ) ให้เข้ากับสมอบกแล้วปรับความตึงหย่อนของเต็นท์ ให้เรียบร้อย หมายเหตุ เตน็ ท์ สาเร็จรูปมีหลายแบบ มีรูปทรงไม่เหมือนกัน บางแบบคล้ายเต็นท์ กระแบะ เป็นตน้ ใชส้ ะดวกและเบามากแตบ่ อบบาง เต็นท์อย่างง่าย วิธีน้ีปัจจุบันสะดวกมาก ทั้งยังราคาถูกหาซ้ือง่ายใช้ประโยชน์ได้ดีสามารถใช้วัสดุ อุปกรณ์ทห่ี าได้ในทอ้ งถนิ่ โดยใช้ถงุ ป๋ยุ หรอื เสื่อเย็บต่อกนั ใหไ้ ดเ้ ปน็ ผืนใหญ่ ๆ สามารถใช้แทนผ้า เต็นท์ได้ จะให้มีขนาดใหญ่เท่าใดก็ได้ตามที่ต้องการ แต่ส่วนใหญ่มักจะทาเป็นผืนใหญ่ใช้เป็น ท่พี ักของลกู เสือได้ทัง้ หมู่ วิธที า หาไม้สองท่อนมาทาเสา ปักลงในดินให้แน่น แล้วเอาไม้อีกอันหน่ึงพาดทาเป็นขื่อ เสร็จแล้วใชถ้ ุงทเ่ี ยบ็ หรอื ผ้าใบ พาดกบั ขอื่ น้ัน ทป่ี ลายท้ังสองขา้ ง ร้งั เชือกกับสมอบก การนาวัสดุต่าง ๆ ท่ีหาไดใ้ นทอ้ งถิ่นจะง่าย สะดวกและประหยัด เพ่ือเป็นการส่งเสริม และปฏิบัตติ ามแนวพระราชดารเิ ศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดลุ ยเดช (รัชกาลท่ี 9) รปู แบบเต็นทแ์ บบตา่ ง ๆ เต็นทแ์ บบโดม
125 เต็นทแ์ บบโครง เตน็ ทแ์ บบสามเหลย่ี ม เตน็ ทแ์ บบกระโจม เตน็ ท์แบบกึ่งถงุ นอน
126 เตน็ ทแ์ บบอโุ มงค์ ข้อควรระวงั ในการกางเต็นท์ เม่ือต้องการกางเต็นท์หลายหลังเป็นแนวเดียวกัน ขั้นแรกเล็งให้สมอบกและ เสาต้นแรกของทุกเต็นท์อยู่ในแนวเดียวกันการกางเต็นท์แต่ละหลัง ให้เล็งสมอบกตัวแรก เสาแรก เสาหลัง และสมอบกตัวหลังทั้ง 4 จุดอยู่ในแนวเดียวกันเสาทุกต้นท่ียึดเต็นท์จะต้อง ต้ังฉากกับพื้นเสมอหลังคาเต็นท์จะต้อง ไม่มีรอยย่น สมอบกด้านข้างของเต็นท์แต่ละหลัง จะต้องเรียงกันอย่างเป็นระเบียบ ถ้าเต็นท์ตึงไปอาจจะขาดได้ หรือ ถ้าหย่อนเกินไปก็จะกันฝน ไม่ได้ ซึ่งจะเป็นสาเหตุทาให้น้าซึมได้ง่ายและถ้าหากลมพัดแรง อาจทาให้เต็นท์ขาดได้ การผูก เต็นท์ควรใชเ้ งอ่ื นผกู รงั้ เพราะสามารถปรบั ให้ตึงหยอ่ นได้ตามตอ้ งการ การดแู ลรักษาเตน็ ท์ การดูแลรักษาเต็นท์ให้มีอายุการใช้งานที่ยาวนาน หลายคนอาจจะคิดว่าเป็น เร่ืองยาก ลองอ่านวธิ กี ารเหล่าน้ีดแู ลว้ คณุ จะร้วู ่า เตน็ ท์ดแู ลง่ายนดิ เดียว 1. ฝึกกางเต็นท์ให้ถูกวิธี การท่ีคุณเรียนรู้วิธีการกางเต็นท์อย่างถูกวิธี จะทาให้ เต็นท์ของคุณไม่เกิดความเสียหาย เพราะบางคร้ังการกางเต็นท์ไม่ถูกวิธี อาจทาให้อุปกรณ์บางชิ้น เกิดความเสียหายได้ เช่น อาจจะใส่เสาเต็นท์ผิดอันทาให้เกิดความเสียหายเวลางอเสาเข้ากับ เตน็ ท์ เป็นต้น 2. ถ้าไม่จาเป็น อย่าเก็บเต็นท์ในขณะท่ีเปียก เพราะอาจจะทาให้เกิดกลิ่นอับได้ เราควรจะนาเต็นท์มาผ่ึงลมให้แห้งก่อนและนาเศษส่ิงสกปรกออกจากเต็นท์ แล้วจึงปิดซิปให้ เรยี บร้อย 3. ไม่ควรใชส้ ารเคมีในการทาความสะอาดเต็นท์ เพราะสารเคมีเหล่าน้ีจะทาลาย สารท่ีเคลือบเต็นท์ไว้ ควรใช้แค่ผ้าชุบน้าเช็ดก็พอ ห้ามใช้แปรงขัดเพราะแปรงจะทาให้สารเคลือบ หลุดออกเชน่ กัน
127 4. ใช้ผ้าพลาสติกปูรองพ้ืน ผ้ารองพ้ืนจะใช้ปูรองพ้ืนก่อนกางเต็นท์ ประโยชน์ คือ ช่วยปกป้องตัวเต็นท์ จากหินและก่ิงไม้อันแหลมคม ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีอาจจะทาให้พ้ืนเต็นท์ เกิดความเสียหายได้ และนอกจากนี้ยังช่วยลดเวลาในการทาความสะอาด เพราะเราเพียงแต่ ทาความสะอาดทผี่ า้ ปูเทา่ น้ัน 5. ใช้สมอบกปักเต็นท์ บางคนอาจคิดว่าสมอบกไม่จาเป็นเพราะเต็นท์สามารถ ทรงตัวได้อยู่แล้ว แต่บางครั้งเม่ือลมแรง เต็นท์อาจจะมีการพลิกซึ่งอาจจะทาให้เต็นท์เสียหาย ถ้าช่วงที่คุณกางเต็นท์มีลมแรงควรจะนาสัมภาระเข้าไปไว้ในเต็นท์ แล้วปักสมอบกยึดไว้ ซึ่งจะ ชว่ ยป้องกันเต็นทพ์ ลกิ จากแรงลมได้ 6. ใช้อุปกรณ์ซ่อมแซมเต็นท์ถ้าจาเป็น หากเต็นท์คุณเกิดการเสียหาย เช่น ผนัง เต็นท์มีรอยฉีกขาด ควรใช้พวกผ้าเทปปิดรอยขาดนั้นไว้ มิฉะนั้นรอยขาดน้ันจะใหญ่ข้ึนเรื่อยๆ (ลองคิดถึงเสื้อผ้าที่ขาดดู ถ้าเราย่ิงดึงก็จะย่ิงขาดมากขึ้น) อุปกรณ์ซ่อมแซมเต็นท์สามารถหาซ้ือได้ ตามรา้ นอุปกรณ์ทัว่ ไป กิจกรรมทา้ ยเรอ่ื งท่ี 3 ชวี ิตชาวค่าย (ให้ผ้เู รยี นไปทากิจกรรมท้ายเร่ืองท่ี 3 ทีส่ มดุ บันทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้ประกอบชดุ วิชา) เรื่องท่ี 4 วธิ ีการจดั การค่ายพกั แรม การจัดการค่ายพักแรม เป็นการจัดวางผังการอยู่ค่ายพักแรม ลูกเสือจะต้อง สารวจ คาดคะเนความเหมาะสมของพนื้ ที่ แหล่งน้า เส้นทางคมนาคม เพ่ือไม่ให้เกิดความผิดพลาด ในการเลือกสถานทตี่ ง้ั ค่ายและกางเตน็ ท์ ก่อนที่จะไปตั้งค่ายพักแรมนั้น ควรจะได้มีการศึกษาลักษณะพ้ืนท่ีภูมิประเทศ ใหด้ เี สยี ก่อน โดยพิจารณาความเหมาะสมจากส่ิงต่อไปนี้ 1. อยู่บนที่สูง หรือเชิงเขา เวลาฝนตกมีทางระบายน้าออกอย่างรวดเร็ว ทาให้ไม่มีน้าขังในบริเวณค่าย หรือมิฉะน้ันควรตั้งค่ายบริเวณท่ีเน้ือดินเป็นดินปนทราย เพ่ือให้ น้าดดู ซมึ ไดโ้ ดยรวดเร็ว 2. ไมค่ วรอยู่ใกล้สถานทที่ ี่มคี นพลุกพลา่ น เชน่ สถานทีต่ ากอากาศ 3. ไม่ควรอยู่ใกลถ้ นนหรอื ทางรถไฟ เพราะอาจเกดิ อุบัติเหตกุ ับลูกเสอื ได้ 4. ไมค่ วรอยใู่ กล้ตน้ ไม่ใหญ่ เพราะเม่อื เกิดลมพายุอาจหักโคน่ ลงมาทาให้ เกิดอันตรายได้
128 5. สถานที่ต้ังค่าย ควรมีน้าด่ืมน้าใช้เพียงพอ แต่ไม่ควรอยู่ใกล้แม่น้า ลาคลอง หนองหรือบงึ เพราะอาจเกิดอบุ ตั เิ หตุกบั ลูกเสอื ได้ 6. สถานที่ต้ังค่าย ไม่ควรอยู่ไกลจากตลาดมากนัก ท้ังน้ี เพื่อสะดวกแก่ การไปซื้อกับข้าว และไม่ควรอยู่ไกลจากสถานีอนามัยมากนัก เพ่ือว่าเกิดการเจ็บป่วยหรือเกิด อุบตั ิเหตุร้ายแรง จะไดช้ ่วยเหลือไดท้ นั ท่วงที 7. ควรอยูใ่ นสถานทท่ี ีป่ ลอดภยั จากผู้กอ่ การรา้ ย 4.1 การวางผังคา่ ยพักแรม การวางผังค่ายพักแรม คอื การกาหนดตาแหน่งทจ่ี ะสรา้ งเต็นท์ สุขาภบิ าล ครัว ราวตากผ้า ขึ้นอยู่กบั ความตอ้ งการ และความเหมาะสมของสถานที่นัน้ ๆ รปู แบบการจดั คา่ ยหมู่ลกู เสือ
129 4.2 การสุขาภบิ าลในคา่ ยพกั แรม ในการเข้าค่ายพักแรม ควรมีการขุดหลุม เพื่อเป็นการสุขาภิบาล ควรมีท้ัง หลุมแห้งและหลุมเปียกในการขุดหลุมมีขนาดลึกพอสมควร ที่ปากหลุมให้ใช้กิ่งไม้ ใบไม้ สานเป็นแผงปิดปากหลุม เพ่ือสาหรับเทน้าท่ีไม่ใช้ในหลุมเปียก เมื่อมีเศษอาหารติดบนฝาปิด ใหน้ าฝาปดิ ไปเคาะท้ิงเศษอาหารในหลมุ แห้งและควรเปลี่ยนใบไมท้ กุ ๆ วัน กจิ กรรมท้ายเร่อื งท่ี 4 วธิ กี ารจดั การคา่ ยพักแรม (ใหผ้ ูเ้ รยี นไปทากิจกรรมทา้ ยเรื่องที่ 4 ท่สี มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ประกอบชดุ วิชา)
130 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 13 การฝกึ ปฏบิ ัติการเดนิ ทางไกล อยูค่ า่ ยพักแรม และชีวิตชาวค่าย สาระสาคัญ การฝึกปฏิบัติการเดินทางไกล อยู่ค่ายพักแรม และชีวิตชาวค่าย เป็นการนา ความรู้จากการได้ศึกษาบทเรียนภาคทฤษฎีไปสู่การปฏิบัติ โดยมุ่งให้ลูกเสือ สามารถวางแผน และปฏิบัติกิจกรรมการเดินทางไกล อยู่ค่ายพักแรมและชีวิตชาวค่ายทุกกิจกรรม คือ กิจกรรม เสริมสร้างคณุ ธรรมและอดุ มการณท์ างการลกู เสือ กจิ กรรมสร้างค่ายพักแรม กิจกรรมชีวิตชาวค่าย กิจกรรมทักษะลูกเสือ กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมนันทนาการและชุมนุมรอบกองไฟ กิจกรรม นาเสนอผลงานตามโครงการที่ได้ดาเนินการมาก่อนการเข้าค่าย และสามารถใช้ชีวิตชาวค่าย รว่ มกับผูอ้ น่ื ในคา่ ยพกั แรมได้อยา่ งสนกุ สนานและมคี วามสขุ ตวั ชวี้ ัด 1. วางแผนและปฏบิ ตั ิกิจกรรมการเดินทางไกล อยู่คา่ ยพกั แรม และชีวติ ชาวคา่ ย ทกุ กจิ กรรม 2. ใชช้ วี ิตชาวค่ายรว่ มกับผู้อนื่ ในค่ายพกั แรมไดอ้ ยา่ งสนกุ สนานและมคี วามสุข ขอบข่ายเน้อื หา เรื่องที่ 1 กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม และอดุ มการณ์ลกู เสือ เรอื่ งท่ี 2 กิจกรรมสร้างคา่ ยพกั แรม เรื่องที่ 3 กจิ กรรมชวี ิตชาวค่าย เรอ่ื งท่ี 4 กิจกรรมฝกึ ทักษะลูกเสือ เร่อื งท่ี 5 กจิ กรรมกลางแจ้ง เรื่องท่ี 6 กจิ กรรมนนั ทนาการ และชุมนุมรอบกองไฟ เรือ่ งท่ี 7 กจิ กรรมนาเสนอผลการดาเนนิ งาน ตามโครงการที่ได้ดาเนนิ การมา กอ่ นการเขา้ ค่าย
131 เวลาท่ีใช้ในการศึกษา 40 ชั่วโมง สื่อการเรยี นรู้ 1. ชดุ วิชาลกู เสือ กศน. รหสั รายวชิ า สค12025 2. สมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ประกอบชดุ วิชา 3. สือ่ เสริมการเรยี นรู้อ่ืน ๆ
132 เรอ่ื งท่ี 1 การวางแผนและปฏิบัติกจิ กรรมการเดนิ ทางไกลการอยู่คา่ ยพักแรม และชวี ติ ชาวค่าย การเดินทางไกล ลูกเสือต้องเตรียมความพร้อมทุกด้าน ท้ังด้านร่างกาย จิตใจ ความรู้ ความสามารถทักษะท่ีจาเป็น รวมท้ังการบรรจุเคร่ืองหลัง ซ่ึงประกอบด้วย เครื่องแต่งกาย เครื่องใชป้ ระจาตัว ยาประจาตวั อุปกรณ์การเรียนรู้และการจดบันทึกกิจกรรม อุปกรณ์ท่ีจาเป็น ตามฤดูกาล อุปกรณเ์ ครือ่ งนอนส่วนตวั และอุปกรณ์ประจากายลกู เสือ ลูกเสือและผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ร่วมกันวางแผนการเดินทางไกล โดยการ สารวจเส้นทางการเดินทาง ความปลอดภยั ในการเขา้ รว่ มกจิ กรรม และกาหนดวัน เวลา สถานที่ ให้เหมาะสม กาหนดบทบาทให้แต่ละคนในฐานะผู้นา ผู้ตาม ผู้ประสานงาน ผู้ควบคุม ผู้รับผิดชอบร่วมกัน ประชุมซักซ้อมความเข้าใจท่ีตรงกัน กาหนดนัดหมายที่ชัดเจน รัดกุม และ ปฏบิ ัติตามแผน การอยู่ค่ายพักแรม ต้องมีกิจกรรมการแสดงรอบกองไฟ เพื่อปลุกใจ และส่งเสริม ความสามัคคีของหมู่คณะ เปิดโอกาสให้ลูกเสือได้แสดงออก และรู้จักกันมากย่ิงขึ้น ซึ่ง บี.พี. ได้ริเริ่มในการนาเด็กไปอยู่ค่ายพักแรมท่ีเกาะบราวน์ซี ประเทศอังกฤษ การชุมนุมรอบกองไฟ ภาษาอังกฤษเรียกว่า Camp Fire ในภาษาไทย เดิมมักเรียกกันว่าการเล่นหรือการแสดงรอบ กองไฟ ซึง่ ความจรงิ การเลน่ หรอื การแสดงเป็นเพียงส่วนหนึง่ ของการชุมนมุ รอบกองไฟ การชมุ นมุ รอบกองไฟ มคี วามมุง่ หมาย ดังน้ี 1. เพ่อื เป็นการฝกึ อบรมในตอนกลางคนื ดังท่ี บ.ี พ.ี ได้ใชเ้ ปน็ หลักในการ ฝึกอบรมผู้ทไี่ ปอยู่คา่ ยพกั แรม 2. เพ่อื ให้ลูกเสอื ไดร้ อ้ งเพลงร่วมกัน หรือแสดงกิริยาอาการอยา่ งเดียวกนั 3. เพ่อื ให้ลูกเสือแตล่ ะหมูไ่ ดม้ โี อกาสออกมาแสดงรอบกองไฟ 4. ในบางกรณี อาจใช้เป็นโอกาสสาหรบั ประกอบพธิ สี าคญั 5. ในบางกรณีอาจเชญิ บคุ คลสาคญั ในทอ้ งถิน่ ตลอดจนชาวบ้านใหม้ ารว่ ม การชุมนมุ รอบกองไฟ เพ่อื เป็นการประชาสมั พนั ธแ์ ละสง่ เสรมิ กจิ การลกู เสอื การแสดงรอบกองไฟมีข้อกาหนดบางประการ เพ่ือให้เกิดความเหมาะสม ได้แก่ 1) เร่ืองท่ีจะแสดง ควรเป็นเร่ืองสนุกสนาน ขนบธรรมเนียมประเพณี ประวตั ศิ าสตรเ์ รอื่ งท่เี ปน็ คติเตือนใจ
133 2) เรื่องที่ไม่ควรนามาแสดง เช่น เรื่องไร้สาระ เร่ืองผีสาง เรื่องลามก เรื่องอนาจาร เรื่องเสียดสีสังคม เร่ืองล้อเลียนการเมือง เรื่องหม่ินสถาบัน ชาติ ศาสนา และ พระมหากษตั ริย์ 3) การใชค้ าพดู และวาจาท่ีเหมาะสม คาสภุ าพ คาท่ีไม่หยาบคาย คาด่าทอ 4) ชุดการแสดง ควรเปน็ ชดุ ทีม่ คี วามเหมาะสมกับเรื่องที่จะแสดงมีความ สุภาพสอดคล้องกบั เนือ้ เร่อื งท่แี สดง แผนการปฏบิ ตั กิ ิจกรรมการเดนิ ทางไกล อยคู่ า่ ยพักแรม และชวี ติ ชาวคา่ ย วนั – เวลา กจิ กรรม เวลา ขอบขา่ ยเน้อื หา วนั ท่ี 1 (นาที) 07.00 – 08.00 น. รายงานตวั /ลงทะเบยี น 08.00 – 09.00 น. ปฐมนเิ ทศ ช้ีแจงวตั ถุประสงคก์ ารเขา้ คา่ ย 60 กจิ กรรมเสริมสร้างคุณธรรม 09.00 – 10.00 น. พิธีเปดิ ทางราชการ (ในหอประชมุ ) 60 กิจกรรมเสรมิ สรา้ งอดุ มการณ์ - กลา่ วรายงาน 60 กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งคุณธรรม 10.00 – 10.30 น. - ประธานกลา่ วเปิด ให้โอวาทและ ถวายราชสดุดี และอดุ มการณ์ลกู เสือ 10.30 – 11.15 น. พิธเี ปิดทางการลกู เสอื (รอบเสาธง) 11.15 – 12.00 น. - ผ้อู านวยการฝกึ อบรมกล่าวต้อนรบั 30 กจิ กรรมเสริมสรา้ งอุดมการณ์ 12.00 – 13.00 น. - แนะนาคณะวิทยากร ลกู เสอื 13.00 – 13.30 น. วชิ าประวัตลิ ูกเสอื ไทย 45 กจิ กรรมเสรมิ สร้างอดุ มการณ์ วิชาประวตั ลิ กู เสือโลก ลกู เสือ พกั รับประทานอาหารกลางวนั 45 กจิ กรรมเสริมสร้างอดุ มการณ์ นนั ทนาการ ลูกเสือ 60 กิจกรรมชีวิตชาวคา่ ย 30 กิจกรรมนันทนาการ
134 วนั – เวลา กจิ กรรม เวลา ขอบข่ายเนอ้ื หา (นาท)ี 13.30 – 14.30 น. วชิ าวินยั ความเป็นระเบียบเรยี บร้อย 60 กจิ กรรมทักษะลกู เสือ 14.30 – 17.00 น. สัญญาณนกหวดี และระเบียบแถว 17.00 – 18.00 น. วชิ าชาวค่าย 150 กิจกรรมสรา้ งค่ายพกั แรม 18.00 – 19.00 น. ฐานที่ 1 อุปกรณ์ เคร่ืองมือ เครอ่ื งใช้ 60 กจิ กรรมชีวิตชาวคา่ ย ฐานท่ี 2 สุขาภิบาล 60 กจิ กรรมชวี ติ ชาวค่าย 19.00 – 19.30 น. ฐานที่ 3 อุปกรณ์ครัว 19.30 – 21.30 น. ฐานท่ี 4 เตน็ ท์ 30 กจิ กรรมนนั ทนาการ 21.30 น. ประกอบอาหารแบบชาวค่าย 120 กจิ กรรมฝกึ ทักษะลกู เสอื วันที่ 2 ชักธงลง/รับประทานอาหาร 30 กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม 05.00 – 05.30 น. ภารกจิ สว่ นตวั 05.30 – 06.30 น. นันทนาการ 60 กิจกรรมชีวิตชาวค่าย 06.30 – 07.30 น. พธิ ปี ระจากองลูกเสอื วสิ ามัญ 60 กิจกรรมกลางแจง้ /ทักษะ 07.30 – 08.00 น. นดั หมาย สวดมนต์ เข้านอน ลูกเสือ 08.00 – 08.30 น. ตืน่ นอน ภารกจิ ส่วนตัว 60 กิจกรรมชวี ิตชาวคา่ ย กายบริหาร/ระเบยี บแถว/ประกอบ 30 กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งคุณธรรม อาหาร รับประทานอาหาร/ภารกิจสว่ นตัว 30 กจิ กรรมเสรมิ สร้างอดุ มการณ์ ตรวจเยี่ยม ลกู เสอื สายที่ 1 เครื่องแบบ ที่พกั สขุ าภิบาล สายที่ 2 เครื่องแบบ ทีพ่ กั สขุ าภบิ าล 30 กิจกรรมนนั ทนาการ สายบริการ (พิเศษ) ความสะอาด ความเรียบรอ้ ยรอบบริเวณ ประชุมกองรอบเสาธง 08.30 – 09.00 น. นันทนาการ
135 วนั – เวลา กิจกรรม เวลา ขอบขา่ ยเนื้อหา (นาท)ี 08.30 – 09.00 น. สารวจชุมชน 180 กจิ กรรมเสริมสรา้ งอุดมการณ์ ลูกเสอื 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 60 กิจกรรมชีวิตชาวคา่ ย 13.00 – 13.30 น. นันทนาการ 13.30 – 14.30 น. วชิ าแผนที่ – เขม็ ทศิ 30 กิจกรรมนันทนาการ 14.30 – 16.00 น. กจิ กรรมบกุ เบิก - ผูกประกบ 60 กิจกรรมฝกึ ทกั ษะลกู เสอื 16.00 – 17.00 น. - ผกู กากบาท 17.00 – 18.00 น. - ผกู ทแยง 90 กจิ กรรมฝึกทักษะลูกเสือ 18.00 – 19.00 น. การชมุ นมุ รอบกองไฟ (ทฤษฎ)ี ประกอบอาหารแบบชาวค่าย 60 กจิ กรรมนนั ทนาการ 19.00 – 21.00 น. ชกั ธงลง/รับประทานอาหาร/ภารกจิ 60 และชุมนมุ รอบกองไฟ ส่วนตวั 60 กจิ กรรมชีวิตชาวค่าย ชมุ นุมรอบกองไฟ (ปฏบิ ัติ) กิจกรรมชีวิตชาวคา่ ย 21.00 – 21.30 น. นดั หมาย สวดมนต์ เข้านอน 120 กจิ กรรมนนั ทนาการ วันท่ี 3 05.00 – 05.30 น. ตน่ื นอน ภารกิจสว่ นตวั และชุมนุมรอบกองไฟ 05.30 – 06.30 น. กายบริหาร/ระเบียบแถว/ประกอบ 30 กจิ กรรมเสริมสรา้ งคุณธรรม อาหาร 06.30 – 07.30 น. รบั ประทานอาหาร/ภารกิจสว่ นตัว 60 กจิ กรรมชีวิตชาวค่าย 07.30 – 08.00 น. ตรวจเยี่ยม 60 กิจกรรมกลางแจ้ง/ทกั ษะ สายที่ 1 เครื่องแบบ ทพ่ี กั สุขาภบิ าล สายที่ 2 เครอ่ื งแบบ ทพี่ กั สุขาภิบาล ลกู เสอื สายบริการ ความสะอาดบรเิ วณ 60 กจิ กรรมชวี ิตชาวค่าย 30 กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม
136 วัน – เวลา กิจกรรม เวลา ขอบขา่ ยเนื้อหา (นาท)ี 08.00 – 08.30 น. ประชุมกองรอบเสาธง 30 กิจกรรมเสริมสรา้ งอุดมการณ์ ลกู เสอื 08.30 – 09.00 น. นันทนาการ 30 กิจกรรมนนั ทนาการ 09.00 – 12.00 น. วิชาปฐมพยาบาล 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน 180 กิจกรรมทักษะลูกเสือ 13.00 – 13.30 น. นันทนาการ 13.30 – 14.30 น. จติ อาสากับการสร้างปณิธานความดี 60 กจิ กรรมชวี ติ ชาวคา่ ย ของลูกเสอื กศน. 14.30 – 15.30 น. สรปุ บทเรียนสะทอ้ นความคดิ เห็น 30 กิจกรรมนันทนาการ ประเมินผล 15.30 – 16.30 น. พธิ ีปิดการอบรม 60 กจิ กรรมเสริมสร้างอุดมการณ์ - ในหอ้ งประชมุ 16.30 น. - รอบเสาธง ลกู เสอื เดินทางกลบั 60 กจิ กรรมนาเสนอผลการ ดาเนนิ งานตามโครงการ 60 กจิ กรรมเสริมสรา้ งอดุ มการณ์ ลกู เสือ กิจกรรมเสริมสรา้ งอดุ มการณ์ ลูกเสอื กิจกรรมท้ายเรือ่ งท่ี 1 การวางแผนและปฏบิ ตั กิ ิจกรรมการเดนิ ทางไกล การอยคู่ า่ ยพกั แรม และชีวติ ชาวคา่ ย (ให้ผู้เรยี นไปทากจิ กรรมท้ายเรอื่ งท่ี 1 ทส่ี มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู้ประกอบชุดวิชา)
137 เร่อื งท่ี 2 การใช้ชวี ติ ชาวคา่ ยรว่ มกบั ผู้อื่นในค่ายพักแรม กจิ กรรมในค่ายพักแรมมีหลากหลายมากมาย ได้แก่ กิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม และอุดมการณ์ลูกเสือ กิจกรรมสร้างค่ายพักแรม กิจกรรมชีวิตชาวค่าย กิจกรรมทักษะลูกเสือ กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมนันทนาการ และชุมนุมรอบกองไฟ ตลอดจนกิจกรรมนาเสนอ ผลการดาเนินงานตามโครงการพัฒนาชุมชนและสังคม ซึ่งได้ดาเนินการไว้ก่อนการเข้าค่ายพัก แรม ซึ่งกิจกรรมท้ังหลายเหล่าน้ีได้กาหนดให้ลูกเสือทุกคน ทุกหมู่ ร่วมกันคิดแก้ปัญหา ร่วมกัน วางแผน ลองผิดลองถูกร่วมกัน ตัดสินใจปฏิบัติร่วมกันอย่างมีความสุข และมีความภาคภูมิใจ ร่วมกัน ซ่ึงกิจกรรมทุกกิจกรรมจะทาให้ลูกเสือได้สัมผัสประสบการณ์ของการผจญภัย การมีเพื่อน การได้สัมผัสกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การได้หัวเราะอย่างมีความสุข และมีความสาเร็จสุขสม รว่ มกัน การใช้ชีวิตชาวค่าย และการปฏิบัติกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นในค่ายพักแรม เป็นการฝึก ทกั ษะชวี ติ ฝึกใหร้ ู้จักความเออื้ อาทร ความเข้าใจ รจู้ กั การใหอ้ ภัย รู้จักรู้รัก รู้สามัคคี รู้จักหน้าท่ี มีวินัย รู้จักการปรับตัวเข้าหากัน เพ่ือการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขในสถานการณ์ท่ีคับขัน และมีข้อจากัดมากมาย ทาให้มีโอกาสพัฒนากระบวนความคิดจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การทางานเป็นหมู่ ยอมรับบทบาท หน้าท่ีของกันและกัน พัฒนาความเป็นผู้นา ผู้ตาม เสรมิ สร้างคุณธรรม จรยิ ธรรม ความมวี นิ ยั เพอ่ื การเปน็ พลเมอื งดีของสังคม กจิ กรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 2 การใชช้ วี ิตชาวค่ายรว่ มกับผอู้ ืน่ ในค่ายพกั แรม (ใหผ้ ูเ้ รยี นไปทากจิ กรรมท้ายเร่ืองท่ี 2 ทส่ี มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรียนรู้ประกอบชดุ วิชา)
138 บรรณานกุ รม กรมการแพทยก์ ระทรวงสาธารณสขุ . คู่มือปฐมพยาบาลสาหรับประชาชน ฉบบั จิตอาสา เฉพาะกิจด้านการแพทย.์ พิมพ์ครง้ั ท่ี 1. กรุงเพทฯ : บริษัท โอ – วิทย์ (ประเทศไทย) จากัด, 2560. กวี พันธม์ุ ีเชาว์. เง่อื นเชือก. พิมพค์ รง้ั ท่ี 7. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ สกสค., 2555. คณะอนุกรรมการลกู เสือฝ่ายฝึกอบรม สานักงานคณะกรรมการบรหิ ารลูกเสือแห่งชาติ. คู่มือฝกึ อบรมวชิ าผกู้ ากับลกู เสือวิสามญั ข้ันความรเู้ บ้ืองตน้ (B.T.C.).พิมพค์ รง้ั ที่ 3. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค.ลาดพร้าว, 2550. “จรยิ ธรรม”. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : https://th.wikipedia.org/wiki/จริยธรรม. (วันทค่ี ้นข้อมลู : 16 กุมภาพันธ์ 2561). ชินวรณ์ บุญยเกียรติ. ในสารานุกรมลกู เสือ (เลม่ 1, หน้า ข). กรงุ เทพฯ : ชุมนมุ สหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย, 2554. เทวินทร์ วารศี ร.ี “วชิ าอุบัตเิ หตุและการปอ้ งกนั อบุ ตั เิ หตุ”. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก : http://www.tawin.org. (วนั ที่คน้ ขอ้ มูล : 6 กุมภาพนั ธ์ 2561). นุชจรยี ์ ปดั สวน. ประเภทเขม็ ทิศซลิ วา. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก : https://noppadonnie2222. wordpress.com (ส่วนประกอบของเขม็ ทิศซิลวา). (วันท่คี ้นขอ้ มลู : 6 กมุ ภาพันธ์ 2561). บญุ ไสย์ มาตย์นอก L.T..คมู่ อื ลกู เสอื วิสามัญ 1 หลกั สตู รเครื่องหมายลกู เสอื โลก. พิมพ์ครงั้ ท่ี 4. กรุงเทพมหานคร : บี.พี.ท.ี บุ๊คแอนด์ปรน้ิ , 2554. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอย่หู ัว. [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก : https://th.wikipedia.org/wiki/พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจา้ อยู่หัว. (วันท่ีค้นข้อมูล : 7 กมุ ภาพันธ์ 2561). วธิ ีการผายปอด และการชว่ ยหายใจ”. [ออนไลน]์ . เขา้ ถึงได้จาก : https://www.honestdocs.co/ artificial-respiration-methods. (วันท่คี ้นขอ้ มูล : 8 กมุ ภาพันธ์ 2561). วภิ าพร วรหาญ. การปฐมพยาบาลและการพยาบาลฉุกเฉนิ . พิมพค์ รงั้ ที่ 13. ขอนแก่น : ขอนแกน่ การพมิ พ์, 2552.
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159