Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอนกีต้าร์

แผนการสอนกีต้าร์

Published by decha2513aa, 2020-08-19 03:51:12

Description: แผนการสอนกีต้าร์

Search

Read the Text Version

246 เอกสารประกอบการเรียนหนว ยที่ 7 การปฏบิ ตั คิ อรดกตี ารเบื้องตน จดุ ประสงคก ารเรียนรูปลายทาง (ผลการเรยี นรทู ี่คาดหวงั ) นักเรียนสามารถอธิบายเร่ืองคอรด เบอ้ื งตน และปฏิบตั ิคอรด กีตารเบ้ืองตน ได จดุ ประสงคก ารเรยี นรนู ําทาง (จดุ ประสงคเ ชงิ พฤตกิ รรม) 1. นกั เรียนสามารถอธิบายเร่ืองคอรด เบอื้ งตน ได 2. นกั เรยี นสามารถอธิบายลักษณะของคอรดกีตารได 3. นกั เรยี นสามารถปฏบิ ัตคิ อรดกตี ารเ บื้องตนได สาระสําคัญทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท คอรด หมายถึงกลุมของเสียงตั้งแต 3 เสียงขึ้นไป ซ่ึงอาจปฏิบัติออกมาพรอมกันหรือไลเรียง กันอยางประสานกลมกลืนกันเสียงท่ีไดมักจะเปนเสียงที่มีเอกลักษณเฉพาะตัวการปฏิบัติคอรดมี ความจําเปนมากที่นักกีตารจะตองรูจักและปฏิบัติได โดยเฉพาะการปฏิบัติคอรดแบบแตกคอรด (Broken Chord) หรือการไลสายเสียงซ่ึงตองใชในการปฏิบัติแบบเกากีตาร หรือท่ีมีศัพทเฉพาะทาง ดนตรวี า การปฏบิ ัติแบบ อาเปจจโิ อ.(Arpeggio) การอา นชื่อคอรด ทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท ใชตัวอักษรภาษาอังกฤษ 7 ตัว คือ A – B – C – D – E – F และ G เปนชื่อเรียกคอรดตัวอยาง เชน คอรดเอ (A) คอรดบี (B) คอรดซี (C) เปนตน นอกจากตัวอักษรทั้ง 7 น้ียังมีตัวอักษรและเคร่ืองหมาย ประกอบทน่ี อกเหนอื ไปอีกดังน้ี ตัวอักษร b (บีตัวเล็ก) เปนตัวยอแทนเสียงแฟลต (Flat) เชน คอรด Bb อานวา คอรดบีแฟลต เปนตน เสียงแฟลต คือเสียงที่เล่ือนต่ําลงไปจากเสียงปกติ 1 ชอง (หรืออาจเรียกวาตํ่าลงครึ่งเสียง) คอรด Bb ก็คอื จับคอรด B แลว เลื่อนลงไปทางหัวกตี าร 1 ชอ งหรือ 1 เฟรต็ นนั่ เอง เครื่องหมาย # (หรือเครื่องหมายส่ีเหลี่ยม) แทนเสียง ชารฟ (Sharp) เชน คอรด A# อานวา คอรดเอชารฟ เสียงชารฟคือเสียงที่เลื่อนสูงขึ้นมาจากเสียงปกติ 1 ชองบนคอกีตาร (หรือเรียกวาสูงข้ึน คร่ึงเสียง) คอรด A# ก็คือจับคอรด A แลวเล่ือนสูงขึ้นไปทางตัวกีตาร 1 เฟร็ตน่ันเอง (เลื่อนในทิศ ทางตรงขามกบั b นน่ั เอง) ตัวเลข 7 (เจด็ เลขอารบิค) แทนเสยี งเซเวน (Seventh) เชน คอรด C7 อานวา คอรดซีเซเวน ซ่ึงก็ คือการจับคอรด.C.แลวเพิ่มเสียงท่ี.7.ของบันไดเสียงขึ้นมาอีก.1.เสียงทททททททททททททททททททท

247 ลกั ษณะของคอรดกตี าร สําหรับกีตารคอรดหนึ่งๆ สามารถปฏิบัติไดหลายตําแหนงบนคอกีตาร แตผูเริ่มฝกกีตาร สวนใหญ คุนเคยกันมากท่ีสุดก็คือ การปฏิบัติที่ตําแหนงปลายสุดของกีตารหรือชิดหัวกีตารซ่ึงเปน การจับคอรดที่มีการใชสายเปลาดวยเราอาจเรียกการจับคอรดพวกนี้วาเปนการจับคอรดแบบงาย. (Basic.Chord) การปฏิบตั ิการตีคอรด.(Strumming)mmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm การปฏิบัติการตีคอรดหรือสตรัมมิ่ง (Strumming) เปนอีกรูปแบบหนึ่งของการปฏิบัติกีตาร หมายถึงการดีดสายทั้ง 6 หรือบางสายของกีตารในเวลาเดียวกันอาจจะดีดดวยปค หรือนิ้วมือก็ไดใน ทิศทางข้ึนหรือลงตามจังหวะ ซ่ึงไมไดกําหนดวามีกี่แบบ เพียงแตตองดีดใหสอดคลองกับจังหวะ ของเพลง การเลนกีตารแนวโฟลค คันทรี (Folk & Country) เกิดจากการเผยแพรการปฏิบัติกีตารไปสู คนผวิ ดาํ ทเ่ี ปนทาส และพฒั นารูปแบบไปเร่ือยๆ ในหมชู าวบานสามัญชนท่ัวไปซึ่งมักจะเปนกสิกรหรือ คนทําฟารมและปฏิบัติในยามพักผอนจากการทํางาน เพลงจึงมีลักษณะที่เรียบงายสบายๆ จังหวะ สนกุ สนานเลา ถงึ วถิ ชี วี ติ ชาวบา น เนอื้ หา ตอนท่ี 1 คอรด เบ้อื งตน ตอนที่ 2 ลักษณะของคอรด กตี าร ตอนท่ี 3 การปฏิบตั จิ ังหวะคอรดกีตารเ บอ้ื งตน. ตอนที่ 4 การปฏบิ ตั กิ ตี ารแนวโฟลค คนั ทรี ตอนที่ 5 แบบฝกปฏิบัติคอรด กตี ารเ บือ้ งตน ตอนท่ี 1. คอรดเบอื้ งตน คอรด คืออะไร คอรด หมายถงึ กลุมของเสยี งตง้ั แต 3 เสียงขนึ้ ไปซึง่ อาจปฏบิ ัตอิ อกมาพรอมกันหรือไลเรียงกัน อยา งประสานกลมกลืนกนั เสยี งทีไ่ ดม ักจะเปนเสียงท่ีมีเอกลกั ษณเฉพาะตัวการปฏิบัติคอรดมีความจําเปน มากท่ีนักกีตารจะตองรูจักและปฏิบัติได โดยเฉพาะการปฏิบัติคอรดแบบแตกคอรด (Broken Chord)

248 การอานชอื่ คอรด ใชตัวอักษรภาษาอังกฤษ 7 ตัว คือ A – B – C – D – E – F และ G เปนช่ือเรียกคอรดตัวอยาง เชน คอรดเอ (A) คอรดบี (B) คอรดซี (C) เปนตน นอกจากตัวอักษรท้ัง 7 นี้ยังมีตัวอักษรและ เครือ่ งหมายประกอบทีน่ อกเหนอื ไปอีกดังนี้ ตัวอักษร b (บีตัวเล็ก) เปนตัวยอแทนเสียงแฟลต (Flat) เชน คอรด Bb อานวา คอรดบีแฟลต เปนตน เสียงแฟลต คือเสียงที่เล่ือนตํ่าลงไปจากเสียงปกติ 1 ชอง (หรืออาจเรียกวาตํ่าลงครึ่งเสียง) คอรด Bb กค็ ือจบั คอรด B แลวเล่อื นลงไปทางหัวกตี าร 1 ชอ งหรือ 1 เฟร็ต นั่นเอง เคร่ืองหมาย # (หรือเคร่ืองหมายสี่เหล่ียม) แทนเสียง ชารฟ (Sharp) เชน คอรด A# อานวา คอรดเอชารฟ เสียงชารฟคือเสียงท่ีเล่ือนสูงข้ึนมาจากเสียงปกติ 1 ชองบนคอกีตาร (หรือเรียกวาสูงขึ้น คร่ึงเสียง) คอรด A# ก็คือจับคอรด A แลวเลื่อนสูงข้ึนไปทางตัวกีตาร 1 เฟร็ตน่ันเอง (เล่ือนใน ทศิ ทางตรงขามกบั b นั่นเอง) ตัวเลข 7 (เจ็ดเลขอารบิค) แทนเสียงเซเวน (seventh) เชน คอรด C7 อานวา คอรดซีเซเวน ซึ่งก็คือการจับคอรด.C.แลวเพ่ิมเสียงท่ี.7.ข้ึนมาอีก.1.เสียงmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm ตัวอักษร M, Major, maj (เอ็มใหญหรือ เมเจอร) เปนตัวยอแทนเสียงคอรดที่เปนเมเจอร (Major) มักใชรวมกับคอรดท่ีมีเลข 7 ดวย เชน CM7, C Major7, Cmaj7 อานวา คอรดซีเมเจอรเซเวน ตัวอักษร m (เอ็มเล็ก) เปนตวั ยอ แทนเสียงคอรดไมเนอร เชน Cm7 อานวา คอรด ซีไมเนอรเซเวน ความสําคญั ของการปฏบิ ัตคิ อรด การปฏิบัติคอรดชวยใหเสียงดนตรีท่ีออกมากระหึ่มกองกังวาน เพราะประกอบดวยโนตหลาย ระดับเสียง เสียงดนตรีที่ไดเปนเสียงพื้นหรือเสียงแบคกราวด (Background) ของทวงทํานองเม่ือมีเสียง รองหรือเมโลด้ี (Melody) ของทํานองเพลงปฏิบัติควบคูไปพรอมกันดวยก็จะทําใหเพลงสมบูรณย่ิงขึ้น การปฏบิ ัติคอรด ของกีตารลําพังตัวเดียวหรือ 2- 3 ตัวยังมีผลเปนการคุมจังหวะแทนกลองไดเปนอยางดี อกี ดวย ตอนท.่ี 2.เรอ่ื ง.ลกั ษณะของคอรด กีตารmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm สําหรับกีตารคอรดหนึ่งๆ สามารถปฏิบัติไดหลายตําแหนงบนคอกีตาร แตที่นักกีตารสวน ใหญคุนเคยกันมากที่สุดก็คือการปฏิบัติที่ตําแหนงปลายสุดของกีตาร หรือชิดหัวกีตาร ซึ่งเปนการจับ คอรดที่มีการใชสายเปลาดว ยเราอาจเรียกการจับคอรดพวกนวี้ า เปนการจับคอรดแบบงาย.(Basic.Chord)

249 การอา นแผนภาพคอรด กีตาร ภาพท.่ี 211.แผนภาพคอรดซี.(C) แผนภาพของคอรด ซ.ี (C).ซ่งึ การเขียนแผนภาพแบบนส้ี ามารถอธบิ ายไดจ ากภาพตอ ไป ภาพท.่ี 212.แผนภาพคอรด ซ.ี (C) ที่มา : http://www.guitarchordsmagic.com/

250 สัญลกั ษณของนิ้วมือซาย ภาพที่ 213 สญั ลกั ษณของน้วิ มอื ซา ย ทมี่ า : http://www.guitarchordsmagic.com/ สญั ลกั ษณตําแหนง ของนวิ้ มอื มอื ซายทใี่ ชก ดคอรด 1. อักษร T หรือ P แทนนว้ิ หวั แมมือ 2. เลข 1 แทนนิ้วช้ี 3. เลข 2 แทนน้วิ กลาง 4. เลข 3 แทนนว้ิ นาง 5. เลข 4 แทนนวิ้ กอ ย ซ่งึ ตัวเลขจะเขยี นไวใ ตแ ผนผงั ของคอรด กีตารต รงเครื่องหมายขดี กลาง ( - ) หมายถงึ ไมต อ งใช นว้ิ กดสายตําแหนงการวางนว้ิ ตองเปน ไปตามท่ีเขียนไวใ นแผนผัง

251 ภาพท่ี 214 ตําแหนงของนวิ้ มือมือซายทใ่ี ชกดคอรด ซี (C) จากภาพที่ 215 ตัวเลขดานลางของผังคอรดเปนสัญลักษณของน้ิวมือซายขางบนเปนรูป คอรดซี (C) ซึ่งสามารถอธบิ ายไดด งั นี้ 1. สายท่ี 6 (Low E) มเี คร่อื งหมาย X คอื ไมปฏิบัติ 2. สายท่ี 5 (A) มจี ุดในชองท่ี 3 ใหใชน ว้ิ นางกดในชองที่ 3 3. สายที่ 4 (D) มีจุดในชอ งที่ 2 ใหใ ชน ิว้ กลางกดในชอ งที่ 2 4. สายท่ี 3 (G) ปฏบิ ัติสายเปด หรือสายเปลา 5. สายที่ 2 (B) มีจุดในชอ งท่ี 1 ใหใ ชน ิว้ ชกี้ ดในชองท่ี 1 6. สายท่ี 1 (High E) ปฏบิ ตั สิ ายเปดหรือสายเปลา ภาพท่ี 215 แผนผงั คอรดดีไมเนอร (Dm) จากภาพท่ี 5 แผนผังคอรด ดีไมเนอร (Dm) สามารถอธิบายไดดังน้ี 1. สายที่ 6 (Low E) มีเครอื่ งหมาย X คือไมปฏบิ ตั ิ 2. สายที่ 5 (A) มเี ครือ่ งหมาย X คือไมปฏบิ ตั ิ 3. ใชนว้ิ ชกี้ ดชองที่ 1 บนสายที่ 1 4. ใชน ิ้วกลางกดชองที่ 2 บนสายท่ี 3 5. ใชน้วิ นางกดชองที่ 3 บนสายท่ี 2

252 ตัวอยางลกั ษณะการจับคอรดกีตารเ บอ้ื งตน ภาพที่ 216 ลักษณะการจับคอรด Am, D, Em, F, A7, G7 ท่มี า : http://www.guitarchordsmagic.com/

253 ตอนที่.3.การเลนจังหวะคอรดกีตารเบ้ืองตนทททททททททททททททททททททททททททททททททท. (Basic. Guitar. Strumming)mmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm การเลนจังหวะคอรด.(Strumming)mmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm การเลนจังหวะคอรดหรือ Strumming เปนอีกรูปแบบหน่ึงของการเลนกีตารหมายถึงการดีด สายทั้ง 6 หรือบางสายของกีตารในเวลาเดียวกันอาจจะดีดดวยปค หรือน้ิวมือก็ไดในทิศทางขึ้นหรือลง ต า ม จั ง ห ว ะ ซ่ึ ง ไ ม ไ ด กํ า ห น ด ว า มี ก่ี แ บ บ เ พี ย ง แ ต ต อ ง ดี ด ใ ห ส อ ด ค ล อ ง กั บ จั ง ห ว ะ ข อ ง เ พ ล ง สญั ลักษณท างการเลนคอรด ทททททททททททททททททททททททททททททททททททททท กอนอืน่ มารจู กั สัญลกั ษณทีใ่ ชใ นการเลนคอรดกอน ไดแกเครื่องหมายบอกถึงจังหวะความส้ัน ยาวของการเลน คอรด ซึง่ จะคลายกับโนต.(Note).สากลน่นั เอง ตารางท่ี 10 แสดงสัญลักษณการเลนคอรด ความหมาย สญั ลักษณ เหมือนกับโนต ตัวกลม (Whole Note) หรอื มีคา เปน 4 จงั หวะ (Time Signature 4/4) หรอื เมอื่ เขียนหลายตัวตดิ กนั เหมือนกับโนต ตวั ขาวประจดุ (Half Note Dotted) หรอื มีคา เปน 2+1 = 3 จังหวะ เหมือนกับโนต ตวั ขาว (Half Note) หรือมีคา เปน 2 จงั หวะ เหมอื นกบั โนต ตวั ดาํ (Quarter Note) หรือมีคา เปน 1 จงั หวะ เหมอื นกบั โนต เขบต็ 1 ชนั้ (Eight Note) หรือมี คา เปน ½ จังหวะ เปนการดดี เสียงบอด

254 สญั ลักษณเกย่ี วกบั ทศิ ทางในการดดี กีตาร ตารางท่ี 11 แสดงสญั ลกั ษณเกยี่ วกับทศิ ทางในการดดี กตี าร หรอื การดีดข้ึน – ดดี ลง สัญลกั ษณ ความหมาย V ดดี ลงจากสาย 6 ไปหาสาย 1 ดดี ขน้ึ จากสาย 1 ไปหาสาย 6 ตารางที่ 12 การเลน คอรดและการใชส ญั ลักษณต างๆในแบบของระบบบรรทัด 5 เสน แบบที่ 1 รูปแบบการดดี คอรดแบบที่ 1 ดดี ลง 4 จังหวะ ตอ 1 หอ ง จงั หวะนบั 1 2 3 4 ตารางท่ี 13 รูปแบบการเลนคอรดและการใชส ญั ลกั ษณตา งๆในแบบของระบบบรรทดั 5 เสนแบบท่ี 2 รปู แบบการดดี คอรด แบบท่ี 2 ดีดลง 1 จงั หวะ สลับกบั ดดี ขนึ้ 1 จังหวะ VV จงั หวะนับ 1 2 3 4

255 ตารางที่ 14 การเลนจังหวะคอรดในระบบแท็บเลเจอร (Tablature) แบบท่ี 1 การเลน จงั หวะคอรดแบบท่ี 1 VV จงั หวะนบั 1 & 2 & 3 & 4 & อธิบาย 1. ดดี ลงนบั 1 จงั หวะ ตวัดมือขนึ้ โดยไมต อ งดดี 2. ดดี ลงนับ ½ จังหวะตวดั มือดดี ขน้ึ นับ 1 จังหวะ ตวดั มือลงโดยไมตองดดี 3. ดีดขนึ้ นบั ½ จงั หวะ 4. ดดี ลงนบั 1 จังหวะ รวมท้ังสิ้น 4 จงั หวะ ตารางท่ี 15 การเลนคอรด ในระบบแทบ็ เลเจอร (Tablature) แบบท่ี 2 การเลนจงั หวะคอรด แบบที่ 2 V V จังหวะนบั 1 & 2 & 1& 2 & อธิบาย 1. ดดี ลงนับ 1 จังหวะ 2. ดดี ขึ้นนับ ½ จังหวะ 3. ดดี ลงนบั ½ จงั หวะ 4. รวมท้ังส้นิ 2 จงั หวะ

256 ตารางท่ี 16 การเลนคอรด ในระบบแท็บเลเจอร (Tablature) แบบที่ 3 การเลน จงั หวะคอรดแบบท่ี 3 VV V จงั หวะนับ 1 & 2 & 3 & 4 & อธบิ าย 1. ดีดลงนับ 1 จงั หวะ ตวัดมือขึ้นโดยไมด ดี 2. ดดี ลงนับ ½ จังหวะ และดดี ข้ึนนับ ½ จังหวะ 3. ดดี ลงนับ ½ จังหวะ และดดี ข้นึ นับ ½ จงั หวะ 4. ดดี ลงนบั ½ จังหวะ และดดี ขึน้ นับ ½ จังหวะ 5. รวมทงั้ ส้นิ 4 จงั หวะ ตารางที่ 17 การเลนคอรด ในระบบแทบ็ เลเจอร (Tablature) แบบท่ี 4 การเลน จงั หวะคอรดแบบท่ี 4 VVV จงั หวะนบั 1 & 2 & 3 & 4 & อธิบาย 1. ดีดลงนบั 1 จงั หวะ ตวัดมอื ขนึ้ โดยไมต องดดี 2. ดดี ลงโดยทําเสยี งบอด อดุ เสยี งดวยสนั มอื ขวานับ ½ จงั หวะ 3. ดีดข้นึ นับ 1 จงั หวะ ตวัดมอื ลงโดยไมต องดดี 4. ดดี ขึ้นนบั ½ จังหวะ 5. ดีดลงโดยทาํ เสยี งบอด อุดเสยี งดวยสนั มอื ขวานับ ½ 6. ดีดขึ้นนบั ½ จงั หวะ รวมท้ังสิ้น 4 จงั หวะ

257 ตารางท่ี 18 การเลน คอรดในระบบแทบ็ เลเจอร (Tablature) แบบที่ 5 การเลน จังหวะคอรดแบบท่ี 5 VV V V จงั หวะนับ 1 & 2 & 3 & 4 & อธบิ าย 1. ดดี ลงนับ ½ จังหวะ และดีดขนึ้ นบั ½ จงั หวะ 2. ดีดลงโดยทําเสยี งบอดอุดเสยี งดวยสนั มือขวานบั ½ จังหวะและดดี ข้นึ นบั ½ จังหวะ 3. ดีดลงนบั ½ จงั หวะ และดดี ขน้ึ นบั ½ จังหวะ 4. ดีดลงโดยทาํ เสียงบอดอุดเสยี งดวยสันมือขวานับ ½ จงั หวะและดดี ข้นึ นบั ½ จังหวะ 5. รวมทง้ั สนิ้ 4 จงั หวะ เวลานับใหนับ 1 และ 2 และ 3 และ 4 และโดยเริ่มจากชาๆ กอนนอกจากตัวอยางขางตนแลว สามารถจะสรางรูปแบบ (Pattern) การเลนคอรด ไดเองโดยใหเขากับจังหวะของเพลงน้ันๆ และสามารถ หารูปแบบการปฏิบัติคอรดอ่ืนๆ.ไดจากการฟงเพลงmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm ยังมีการเลนคอรด กตี ารอกี แบบหน่งึ ทีไ่ มไดใชสญั ลกั ษณใ ดๆ นอกจากเนอื้ เพลงกบั ช่ือคอรดกตี าร ที่เปนอักษรภาษาอังกฤษเขียนไวขางบนเนื้อเพลงเทานั้นซึ่งวิธีการน้ีก็เปนที่นิยมอยางแพรหลาย แตผูที่จะ ปฏิบัติแบบนี้ไดตองรูจักทํานองเพลงหรือไดฟงเพลงน้ันมากอนจึงจะสามารถปฏิบัติไดเพราะตองรูจัก จังหวะในการปฏบิ ัติของเพลงนั้นเปนอยางดีดังเชนทททททททททททททททททททททททททททททท ททททททททททททททททททททททท เพลงตนไมข องพอ ทททททททททททททททททททททททททท ศลิ ปน ธงไชย แมคอนิ ไตย (เบิรด ) Intro : C / C / Dm / C / C / C F Em E7 Am G นานมาแลว พอ ไดป ลูกตนไมไ วใ หเ รา เพอื่ วันหนึ่งจะบงั ลมหนาว Dm G C และคอยเปนรม เงา ปลูกไวใหพ วกเรา ทุกทกุ คน

258 ตอนท่ี 4 การเลนกตี ารแบบโฟลค แอนด คนั ทรี (Folk & Country Style) การเลนกีตารแนวโฟลค แอนด คันทรี (Folk & Country Style) เกิดจากการเผยแพรการเลน กีตารไปสูคนผิวดําที่เปนทาสและพัฒนารูปแบบไปเร่ือยๆ ในหมูชาวบานสามัญชนท่ัวไปซ่ึงมักจะเปน กสกิ รหรอื ทาํ ฟารมและปฏิบัตใิ นยามพักผอ นจากการทาํ งานเพลงจึงมีลักษณะที่เรียบงายสบายๆ จังหวะ สนุกสนานเลาถงึ วิถีชวี ติ ชาวบานอาจจะแบงไดด งั นี้ 1. ฟงเกอรสไตล (Finger Style) คือการเกาหรือเลนกีตารดวยน้ิว อาจจะเลนตัวเดียวหรือ 2 ตัว ประสานกันมีความละเอียดในการเลนมากพอสมควรปฏิบัติคอนขางยาก ศิลปนที่มีชื่อเสียงในการเลน กตี ารแ บบน้ีมีหลายคนเชน เซท็ แอท็ กิน้ (Chet atkins), ด็อก วัตตสัน (Doc Watson) เปนตน ททททททท 2. โฟลค (Folk Style) เปนดนตรีพ้ืนบานท่ีมีการเลนที่อาจจะเปนการเกากีตารการใช ปคดีด การปฏิบัติประสานกันตั้งแต 2 ตัวข้ึนไปมีการรองประสานเสียงกันสวนมากจะกลาวถึงชีวิตความ เปนอยูประจําวันทั่วไป ศิลปนที่มีช่ือเสียงในการเลนกีตารแบบนี้ก็เชน ปเตอร พอล แอนด แมรี่ (Peter Paul & Mary), พอล ไซมอล.แอนด.กาฟง เก้ลิ .(Paul.Simon.And.Garfunkel) ภาพท่ี 217 ปเ ตอร พอล แอนด แมร่ี (Peter Paul & Mary) ทีม่ า : http://gobindkhalsa.files.wordpress.com/

259 การเกากตี ารเ บอื้ งตน .(Basic.Picking.Guitar)ทททททททททททททททททททททททททททท การเกากีตาร.(Picking>Style).หรือการเลนแบบกระจายคอรด.(Arpeggio) เปนอีกรูปแบบ หน่ึงในการเลนกีตารที่มีความไพเราะและมีเสนหมากแตกอนที่จะฝกในจุดนี้ควรจะตองฝกการเลน คอรดใหชํานาญทั้งการเปลี่ยนคอรดจังหวะและการดีดที่สัมพันธกันการเกากีตาร (Picking Style) เปน การเลนกีตารท่ีตองใชทั้งมือซายและมือขวาที่มีความประสานสัมพันธกันอยางดีดังรายละเอียดของการ ใชม อื แตละขา งดงั น้ี มือขวา ภาพท่ี.218.สัญลักษณของมือขวาทททททททททททททททททททท - น้ิวโปง แทนดว ย T,ใ(P) mmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm - น้ิวช้ี แทนดว ย 1,ใ immmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm - นว้ิ กลาง แทนดว ย 2, mmmmmvmmmmmmmmmmmmmmmmmm - นว้ิ นาง แทนดว ย 3,ใ ammmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm ระบบ Right Hand Diagram และเหมาะสําหรับฝก ในเบอ้ื งตน โดยจะบอกเลยวา ใชน วิ้ ไหนดดี สายไหน การวางนว้ิ ทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท ตําแหนงหนาที่ของแตละน้ิวสามารถกําหนดไดดังนี้mmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm - นวิ้ โปง ซงึ่ ถนัดในการดดี สายลง จะควบคุมสายเบส (Bases) หรือสายเสียงตํ่าทั้งหมด คือสาย.4,ใ5.และ.6 mmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm - นิ้วช้ี นิ้วกลาง และนิ้วนาง จะถนัดในการเกี่ยวสายขึ้นดังนั้นจะควบคุม 3 สายลาง เสียงสูง (Soprano) โดยท่ีน้ิวชี้จะคุมสายท่ี 3 น้ิวกลางจะคุมสายท่ี 2 และนิ้วนางคุมสายที่ 1 สวนนิ้วกอย จะไมใชในการเกากีตารแตอาจจะใชยันกับตัวกีตารเพื่อใหมือม่ันคงเปนตนทททททททททททททททท แตไ มใ ชก ฎตายตวั วาตอ งใชน้ิวโปงดีดสายเบสหรือนิว้ ชดี้ ดี สาย 3 เสมอไปอาจจะเปลี่ยนไปได ตามความเหมาะสมของเพลงแตเบื้องตนควรจะฝกแบบน้ีกอนmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm

260 ภาพที่.219.แสดงการวางตําแหนงมือขวาในทาเตรียมพรอมทททททททททททท ท่ีมา.:ใhttp://www.musiconthefield.com/.mmmmmmmmmmmmmmmmm การวางมือในทาเตรียมพรอมน้ันคือ mmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm 1.ใ.วางน้วิ โปง บนสายเบสเสนใดเสนหนง่ึ .(สวนมากคอื เบสของคอรด แรกของเพลง)ทททททท 2.ใ.วางน้ิวชี้ไวใตสาย..3.ใเพ่ือพรอมจะเก่ียวขึ้นmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm 3.ใ.วางนิ้วชี้ไวใตสาย..2.ใเพื่อพรอมจะเก่ียวข้ึนmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm 4.ใ.วางน้ิวช้ีไวใตสาย..1.ใเพื่อพรอมจะเกี่ยวขึ้นmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm 5..ใน้ิวกอยอาจจะปลอยไวลอยๆหรือแตะไวกับตัวกีตารเพ่ือใหการวางน้ิวมั่นคงข้ึน ข้ันตอนการเกากีตารมักจะเร่ิมดวยสายเบสกอน ดังรูปท่ี 1 และ 2 เปนการใชน้ิวโปงหรือ P (หรอื T) จงึ ตามดว ยสายอื่นตามมา (3 สายลาง) ดวย 3 นิ้วท่ีเหลือ คือน้ิวชี้ i (หรือ 1) , นิ้วกลาง m (หรือ 2), และนิ้วนาง a (หรือ 3) ดังนั้นข้ันแรกจะตองรูจักเบสของแตละคอรดกอน ซ่ึง โนตเบสของคอรดปกติก็ คือ Root หรือโนตท่ีเปนช่ือคอรดน่ันเองเชนคอรด C เบสก็คือ C สวนตําแหนงก็สามารถหาจาก รูปแสดงโนตบนฟงเกอรบอรดท่ีอยูบนสายเบสคือสาย 4, 5 และ 6 โดยอาจจะสรุปเบ้ืองตนไดดังน้ี ถา ปฏบิ ตั คิ อรดที่ขน้ึ ดว ยเบส E, G ใหดีดสายเบสเสนท่ี..6mmmmmmmmmm ถา ปฏิบตั คิ อรด ที่ข้ึนดว ยเบส A, B และ C ใหดีดสายเบสเสนที่..5mmmmmmmmmm ถา ปฏิบัตคิ อรดทขี่ ้ึนดว ยเบส D, F ใหดีดสายเบสเสนท่ี..4 mmmmmjmmmm คอรด F ถาใช ลักษณะ บารคอรด (Bar Chord) อาจปฏิบัติเบสที่สาย 6 อยางไรก็ตามอาจจะ

261 มอื ซา ย ภ า พ ท่ี . 220. สั ญ ลั ก ษ ณ ตํ า แ ห น ง ข อ ง น้ิ ว มื อ มื อ ซ า ย ที่ ใ ช ก ด ค อ ร ด 1. อักษร T หรือ P แทนนิ้วหัวแมมือmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm 2. เลข 1 แทนน้ิวชี้ mmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm 3. เลข 2 แทนน้ิวกลางmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm 4. เลข 3 แทนนิ้วนางmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm 5. เลข 4 แทนนิ้วกอยmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm สําหรับนิ้วโปงมือซายสวนใหญไมคอยไดใชในการกดคอรดโดยตรงแตจะใชเปนตัวยึดหรือ เพิ่มแรงกดใหนิ้วอื่นๆ มากกวาแตก็มีบางท่ีใชนิ้วโปงชวยในการกดคอรดแบบทาบแทนท่ีจะใชน้ิวช้ี ทาบไปทั้ง 6 สายก็อาจจะใชน้ิวโปงออมมากดสายท่ีเปนสายเบส คือสายท่ี 5 และสายท่ี 6 แทน แตก็จะ ทาํ ไดเฉพาะคนท่มี นี ิว้ มือยาวเทานนั้

262 ภาพที่ 221 ลักษณะการวางปลายน้วิ มือซา ยกดสาย ทมี่ า : http://www.musiconthefield.com/ การวางปลายนวิ้ ควรใหปลายน้วิ กดลงบนสายกตี ารทตี่ อ งการและควรระวงั ไมใหไปโดนสายอืน่ ภาพที่ 222 ลกั ษณะการวางนวิ้ มอื ซา ย (ดา นหนา – ดา นหลัง) ทีม่ า : www.start – playing - guitar.com นิว้ มอื ซา ยดา นหนา คอกีตารค ือ นิ้วชี้ นว้ิ กลาง นิ้วนาง และนิ้วกอย ควรพยายามฝกแยกน้ิวตาม ภาพเพื่อใหนิว้ มคี วามคลองตัวและสามารถปฏิบัติไดอยางอิสระสวนดานหลังคอกีตารคือนิ้วโปงใหวาง น้ิวไวตรงกลางคอกีตารใชยดึ คอกตี ารเพื่อเพ่ิมแรงกดใหก บั นิว้ ทางดานหนา

263 ภาพที่ 223 แผนผังการวางนว้ิ มอื ซายในการปฏบิ ตั ิคอรดซี (C) คําอธบิ าย 1. สายท่ี 6 (Low E) มีเครอื่ งหมาย X คอื ไมป ฏิบตั ิ 2. สายท่ี 5 (A) มจี ดุ ในชองที่ 3 ใหใชน ิ้วนางกดในชองท่ี 3 3. สายที่ 4 (D) มจี ุดในชองที่ 2 ใหใ ชน ้วิ กลางกดในชอ งที่ 2 4. สายที่ 3 (G) ปฏบิ ตั ิสายเปดหรือสายเปลา 5. สายท่ี 2 (B) มีจดุ ในชองที่ 1 ใหใชน ิว้ ชก้ี ดในชอ งท่ี 1 6. สายท่ี 1 (High E) ปฏิบตั ิสายเปดหรือสายเปลา ตารางที่ 19 แสดงรปู แบบการเกากีตารเบอ้ื งตนแบบที่ 1 โดยใชคอรด ซี (C) รูปแบบการเกา(สายกตี าร) แบบท่ี 1 1. นิ้วโปงดีดเบสของคอรด อธบิ ายวิธีการปฏบิ ตั ิ 6. นว้ิ ชเ้ี กี่ยวสาย 3 2. น้วิ ช้เี กี่ยวสาย 3 7. เริ่มขั้นที่ 1 ใหม 3. นิ้วกลางเกย่ี วสาย 2 4. นิว้ นางเก่ียวสาย 1 5. น้ิวกลางเกยี่ วสาย 2

264 ภาพท่ี 224 แสดงตาํ แหนงการจบั คอรด C - Am - Dm - G7 ตารางที่ 20 แสดงรปู แบบการเกากตี ารเบอื้ งตน แบบที่ 2 โดยใชค อรด C - Am - Dm - G7 รูปแบบการเกา(สายกตี าร) แบบท่ี 2 1. น้ิวโปง ดดี เบสของคอรด อธิบายวิธกี ารปฏบิ ัติ 2. นิ้วช้ีเกย่ี วสาย 3 3. นิ้วกลางเกย่ี วสาย 2 4. น้ิวนางเกย่ี วสาย 1 5. เปลี่ยนคอรด

265 ตารางท่ี 21 แสดงรูปแบบการเกากตี ารเ บอื้ งตนแบบที่ 3 โดยใชคอรด C - Am - Dm - G7 รูปแบบการเกา(สายกีตาร) แบบท่ี 3 1. นิ้วโปง ดีดเบสของคอรด อธบิ ายวธิ กี ารปฏบิ ตั ิ 1. นิ้วโปงดดี เบสของคอรด 2. นิ้วชี้เก่ียวสาย 3 2. นว้ิ ชีเ้ กยี่ วสาย 3 3. นิ้วกลางเกย่ี วสาย 2 1. นว้ิ โปง ดีดเบสของคอรด 3. นวิ้ กลางเกย่ี วสาย 2 2. นว้ิ ชี้เก่ยี วสาย 3 3. น้ิวกลางเกยี่ วสาย 2 ตารางที่ 22 แสดงรูปแบบการเกากีตารเ บอ้ื งตน แบบที่ 4 โดยใชคอรด C - Am - Dm - G7 รปู แบบการเกา(สายกีตาร) แบบท่ี 4 1. ดดี เบสดว ยนิว้ โปง อธิบายวิธกี ารปฏิบัติ 1. ดีดเบสดว ยน้วิ โปง 2. นวิ้ ชีเ้ ก่ยี วสาย 3 2. นิ้วช้เี กี่ยวสาย 3 1. ดดี เบสดว ยนวิ้ โปง 2. น้วิ ชเี้ กย่ี วสาย 3

266 ตารางที่ 23 แสดงรปู แบบการเกากีตารเ บอ้ื งตนแบบท่ี 5 โดยใชค อรด C - Am - Dm - G7 รูปแบบการเกา(สายกตี าร) แบบท่ี 5 อธิบายวธิ กี ารปฏบิ ตั ิ 1. ดดี เบสดว ยนิ้วโปง 5. นิว้ กลางและนวิ้ นาง 2. นิว้ ชเี้ กยี่ วสาย 3 6. เกย่ี วสาย 2 และ 1 พรอ มกัน 3. น้วิ กลางและนวิ้ นาง เกย่ี วสาย 2 และ 1 พรอ มกัน 7. นิ้วชเ้ี กีย่ วสาย 3 4. นิว้ ช้เี ก่ียวสาย 3 8. เปลีย่ นคอรด ตารางท่ี 24 แสดงรปู แบบการเกากีตารเ บอ้ื งตน แบบท่ี 6 โดยใชค อรด C - Am - Dm - G7 รปู แบบการเกา(สายกีตาร)แบบที่ 6 อธิบายวธิ กี ารปฏบิ ัติ 1. ดดี เบสดว ยนิ้วโปง 5. เกีย่ วสาย 3, 2 และ 1 ขึ้นพรอมกนั ดว ย 2. เกีย่ วสาย 3, 2 และ 1 ขนึ้ พรอมกนั ดวยนว้ิ ช,ี้ น้ิวช,้ี นว้ิ กลาง และนว้ิ นาง นวิ้ กลาง และนิ้วนาง 6. เกี่ยวสาย 3, 2 และ 1 ขนึ้ พรอมกันดว ยนวิ้ ช,้ี 3. เกย่ี วสาย 3, 2 และ 1 ขนึ้ พรอมกันดวยนว้ิ ช,ี้ น้วิ กลาง และนวิ้ นาง นิ้วกลาง และนิ้วนาง 7. เปลีย่ นคอรด 4. เปลยี่ นดีดเบสสลบั

267 ตารางที่ 25 แสดงรปู แบบการเกากตี ารเบอื้ งตนแบบท่ี 7 โดยใชค อรด C - Am - Dm - G7 รูปแบบการเกา(สายกตี าร) แบบท่ี 7 อธบิ ายวิธีการปฏิบตั ิ 1. ดดี เบสดว ยน้วิ โปง 4. เกย่ี วสาย 3, 2 และ 1 ขึ้นพรอ มกันดว ยนว้ิ ชี้ 2. เกี่ยวสาย 3, 2 และ 1 ข้ึนพรอมกันดวยนว้ิ ช,้ี นวิ้ กลาง และนวิ้ นาง น้ิวกลาง และน้ิวนาง 5. เปลี่ยนคอรด 3. เปลี่ยนดีดเบสสลับ ตารางท่ี 26 แสดงรูปแบบการเกากีตารเบอื้ งตนแบบท่ี 8 โดยใชคอรด C - Am - Dm - G7 รปู แบบการเกา(สายกตี าร) แบบท่ี 8 อธิบายวิธีการปฏบิ ตั ิ 1. นว้ิ โปงดดี เบสของคอรด พรอ มกับใชน ว้ิ นางเกยี่ ว 4. นว้ิ โปงดีดเบสสลับของคอรด สายที่ 1 ความยาวเสยี ง 1 จงั หวะ 5. นิว้ นางเก่ยี วสาย 1 2. น้วิ ชีเ้ กีย่ วสาย 3 6. นิ้วชี้เกย่ี วสาย 3 ความยาวเสยี ง 1 จงั หวะ 3. น้ิวกลางเกย่ี วสาย 2 7. เปลยี่ นคอรด

268 ทั้งหมดเปนการเกาแบบพื้นฐานเทาน้ัน ยังมีรูปแบบการเกากีตารอีกมากมายซึ่งอาจจะศึกษา จากเพลงตางๆ หรือตําราอื่นๆ ควรจะพยายามฝกหัดใหคุนกับจังหวะการใชนิ้วตางๆ ในการเกี่ยวหรือ ดดี สายใหสมั พนั ธก บั จงั หวะ ซงึ่ จะเปนประโยชนตอไปเมื่อจะหัดแกะเพลง ท้ังน้ีขึ้นอยูกับความขยันใน การฝกฝนและศึกษาเพลงตางๆ mmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm เบสสลับmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm เปนอีกสีสันหน่ึงในการเกากีตารคือมีการสลับเบสในการเกา 1 คอรดมีการสงเบสเพ่ือเปลี่ยน คอรดเปนตนการปฏิบัติสลับเบสก็คือการดีดเบสสลับระหวางเบสหลักหรือโนตที่เปน Root ของคอรด กับเบสซึ่งเปนโนตลําดับที่ 5 ของสเกลเมเจอร ในการไลโนตปกติเชน คอรด C เบสหลักคือ C หรือสาย ที่ 5 ชองที่ 3 จะหาเบสสลับโดยนับจากโนต C ไป 5 ตัว คือ C – D – E – F – G จะไดวาโนต G คือ เบสสลับของคอรด C น่ันเอง ซึ่งอยูบนสาย 6 ชองท่ี 3 ดังนั้นเม่ือจะปฏิบัติเบสสลับกับคอรด C จะตอง จับคอรด C ในอีกแบบหนงึ่ ดงั นี้ ภาพที่ 225 ตาํ แหนง การปฏิบตั ิสลบั เบสในคอรด ซี (C) ภาพที่ 226 ตําแหนง การปฏิบตั สิ ลบั เบสในคอรด เอ (A) สําหรบั คอรด A เบสหลกั คอื A หรือสายเปลาเสน ที่ 5 หาเบสสลบั โดยนบั ไป 5 ตวั โนต A – B – C – D – E จะไดว า เบสสลับของคอรด A คือ E หรอื สายเปลาเสน ท่ี 6 เปนตน

269 เบส D E คอรด GA B C สายเปลา สายเปลา F เบส สาย 5 เสน 4 เสน 6 สาย 4 สาย 6 สายเปลา สาย 5 หลัก ชอง 3 ชอ ง 3 ชอง 3 เสน 5 ชอง 2 A B หรอื สาย G 6 ชอง 1 D E F# สายเปลา เสน 5 C สายเปลา สายเปลา สาย 6 เสน 4 เสน 6 หรือ ชอ ง 2หรอื เบส สาย 6 สาย 5 ชอง สาย 5 สาย 4 ชอง สาย 4 สลับ ชอง 3 2 ชอง 3 2 ชอ ง 4 แผนภูมทิ ี่ 9 แสดงตําแหนงโนต บนสายเบสกตี ารสายท่ี 4 – 6 บนฟง เกอรบ อรด

270 ตอนที่ 5 แบบฝก ปฏบิ ตั ิคอรด กตี ารเบื้องตน แบบฝก ที่ 1 ใหนักเรยี นฝกปฏบิ ัตใิ ชนว้ิ มอื ซายกดคอรด ตอไปนีใ้ หถูกตอง แบบฝก ท่ี 2 ใหน ักเรยี นฝก เลนคอรด ตอ ไปนี้ตามเคร่อื งหมายที่กําหนดใหถ กู ตอง VV 1 2 3 4 1234 แบบฝก ที่ 3 ใหนกั เรยี นฝกเลน คอรด ตอ ไปนตี้ ามเครอ่ื งหมายท่กี าํ หนดใหถูกตอง V V V V 12 1 2& 1 2& 1 2& 1 2&

271 แบบฝกท่ี 4 ใหน ักเรยี นฝก เลนคอรดตอไปนตี้ ามเครอ่ื งหมายที่กําหนดใหถกู ตอ ง VV VV 1& 2 & 3& 4 & 1 2 & 3&4 & แบบฝก ท่ี 5 ใหนกั เรยี นฝก เลนคอรด ตอไปนีต้ ามเครื่องหมายท่กี ําหนดใหถ ูกตอ ง VV V VVV 1 & 2 & 3 & 4 & 1 & 2 & 3 & 4 & 1234 แบบฝก ท่ี 6 ใหนกั เรยี นฝกเลน คอรด ตอไปน้ตี ามเคร่อื งหมายท่กี าํ หนดใหถ ูกตอ ง V VV V VVV V 1& 2 & 3& 4 & 1 & 2 & 3 & 4 & 1234

272 แบบฝกที่ 7 ใหนักเรยี นฝกเลน คอรดตอ ไปนี้ตามเครื่องหมายทกี่ าํ หนดใหถูกตอ ง VVV VV V 1 2 & 3 &4 & 1 2 & 3 & 4 & 1234 แบบฝก ท่ี 8 ใหนักเรียนฝกปฏิบัติการเกากีตารตอไปน้ีตามรูปแบบที่กําหนดใหๆ ถูกตอง แบบฝก ที่ 9 ใหน กั เรยี นฝก ปฏบิ ตั ิการเลนเบสสลบั ตามรูปแบบ (Pattern) ทกี่ ําหนดใหถกู ตอง

273 กจิ กรรมการเรียนการสอน ชัว่ โมงที่ 1 – 2 1....ขั้นนําเขาสูบทเรียนmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm 1.1xxครูสาธิตการปฏิบัติคอรดแบบตางๆ แลวใหนักเรียนชวยกันบอกลักษณะของคอรด การจับคอรดและชอื่ คอรดกตี ารที่นักเรียนรูจักแลวอาสาสมัครนักเรียนออกมาแสดงการปฏิบัติคอรดกีตาร ที่นักเรียนรูจักพรอมทั้งแจงจุดประสงคการเรียนรูใหทราบวาหลังจากจบช่ัวโมงเรียนน้ีแลวนักเรียน สามารถอธิบายเร่ืองคอรด เบ้ืองตนและสามารถเรียกชื่อคอรดไดอยางถกู ตอง 1.2 นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียนโดยใชแบบทดสอบทายหนวยการเรียนท่ี 7 เรื่อง คอรดกีตารเบอื้ งตน จํานวน 10 ขอ 2. ขนั้ ดาํ เนนิ การสอน 2.1..แบง กลมุ นักเรยี นออกเปนกลุมๆ ละ 5 – 6 คนโดยแตละกลุมใหเลือกประธานมีหนาที่ กํากับบทบาทของแตละคนใหดําเนินไปตามจุดมุงหมายของการเรียนรูและนําเสนอเลขานุการเปนผู จดบันทึกขอมลู และเตรยี มขอมลู พรอมทัง้ อุปกรณตา งๆ ท่จี ะตองนําเสนอ 2.2 ครแู จกใบงานท่ี 1 เรือ่ ง การอา นคอรด กีตารเบือ้ งตน และใบงานที่ 2 เรื่อง ลกั ษณะของ คอรดกีตาร พรอมท้ังแจกเอกสารประกอบการเรียนวิชากีตารกับโนตสากลเบื้องตน ศ 40201 หนวย การเรยี นท่ี 7 เร่อื ง คอรด กตี ารเบื้องตน ของนายนพดล..ประวงั .. โรงเรียนสันกาํ แพง ..อําเภอสนั กําแพง. จังหวัดเชียงใหมmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm 2.3 ครูใหนักเรียนแตละกลุม ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนวิชา กีตารกับโนตสากล เบ้ืองตน ศ 40201 หนวยการเรียนที่ 7 โดยใหศึกษาตอนที่ 1 เรื่อง คอรดกีตารเบ้ืองตน และตอนที่.2. เร่ือง.ลักษณะของคอรดกีตารของนายนพดล ประวัง โรงเรียนสันกําแพง อําเภอสันกําแพง จังหวัด เชยี งใหม แลว เขียนคําตอบลงในใบงานทีไ่ ดร บั มอบหมาย 3. ขั้นสรปุ บทเรียน 3.1 นกั เรียนแตละกลุม นําเสนอผลการศึกษาใบงานที่ 1 เรื่อง การอา นคอรดกตี ารเบ้อื งตน และใบงานท่ี 2 เรื่อง ลักษณะของคอรด กีตาร ในเอกสารประกอบการเรียนวิชา กีตารกับโนตสากล เบื้องตน ศ 40201 หนว ยการเรยี นท่ี 7 โดยใหน าํ เสนอทลี ะกลมุ 3.2 นักเรียนและครูรวมกนั สรปุ คําตอบท่ถี ูกตอง พรอมท้งั แกไขคําตอบในใบงาน 3.3 ครูยกยองชมเชยการรายงานและการทํากิจกรรมตามใบงานที่ 1 และ 2 ในเอกสาร ประกอบการเรียนวิชา กีตารกับโนตสากลเบื้องตน ศ 40201 หนวยการเรยี นท่ี 7 ของนกั เรียนmmm

274 ส่อื การเรยี นการสอน 1. ปากกา 2. สมุด 3. เอกสารประกอบการเรยี นวชิ า กตี ารกบั โนตสากลเบ้อื งตน ศ 40201 หนว ยการเรยี นที่ 7 ของนายนพดล ประวัง โรงเรยี นสนั กาํ แพง อําเภอสันกําแพง จังหวดั เชยี งใหม 4. ใบงาน 4.1 ใบงานที่ 1 เร่ืองคอรดเบอื้ งตน 4.2 ใบงานที่ 2 เรอ่ื งลักษณะของคอรดกีตาร 5. กตี าร การวัดผลและประเมนิ ผล 1. วิธีวดั / สง่ิ ที่วัด 1.1 การทดสอบ 1.2 สังเกตพฤติกรรมขณะปฏบิ ัติกจิ กรรม 2. เครื่องมอื วดั 2.1 แบบทดสอบ 2.2 แบบสงั เกตพฤติกรรมขณะปฏบิ ัติกจิ กรรม (ภาคผนวก) 3. เกณฑก ารวดั 3.1 แบบทดสอบ 3.1.1 ทาํ ถกู 9 - 10 ขอ หมายถึง ดมี าก 3.1.2 ทําถกู 7 - 8 ขอ หมายถงึ ดี 3.1.3 ทําถูก 5 - 6 ขอ หมายถงึ พอใช 3.1.4 ทําถูก 1 – 4 ขอ หมายถงึ ปรับปรงุ 3.2 แบบสังเกตพฤติกรรมขณะปฏิบัติกจิ กรรม 3.2.1 ไดคะแนน 9 – 10 หมายถึง ดีมาก 3.2.2 ไดค ะแนน 7 – 8 หมายถงึ ดี 3.2.3 ไดคะแนน 5 – 6 หมายถงึ พอใช 3.2.4 ไดค ะแนนตาํ่ กวา 1 - 4 หมายถึง ตอ งปรับปรุง

275 เกณฑก ารตดั สิน 1. รายบคุ คล นักเรยี นมีผลการเรียนรแู ตละดานตง้ั แตร ะดบั พอใช 2. รายกลุม นักเรียนรอ ยละ 80 มผี ลการเรยี นรตู ัง้ แตระดับพอใช เนอ้ื หาบรู ณาการ 1. สาระวิทยาศาสตร ลกั ษณะของเสียง ระดบั เสียง 2. สาระภาษาไทย การพดู การนําเสนอ การเขยี นสรปุ กจิ กรรมการสอน ชว่ั โมงที่ 3 – 4 1. ขนั้ นําเขา สบู ทเรยี น ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาเร่ืองคอรดเบ้ืองตนและลักษณะของคอรดกีตารท่ีไดเรียน ผา นมาเปน การทบทวน พรอ มทั้งแจง จุดประสงคการเรียนรูใหนักเรียนทราบวาเมื่อเรียนจบชั่วโมงเรียน นแ้ี ลว นักเรยี นสามารถอธิบายการปฏิบตั คิ อรดกตี ารเ บ้อื งตน (Basic Guitar Chords) ได 2. ขนั้ ดาํ เนนิ การสอน 2.1 แบงกลุมนักเรียนกลุมละ 5 – 6 คน โดยแตละกลุมใหเลือกประธาน มีหนาที่กํากับ บทบาทของแตละคนใหด ําเนนิ ไปตามจดุ มุง หมายของการเรียนรูและนําเสนอเลขานุการเปนผูจดบันทึก ขอ มูลและเตรยี มขอ มูลพรอ มท้ังอปุ กรณตางๆ ท่จี ะตองนาํ เสนอ 2.2 แจกใบงานท่ี 3 เร่ือง คอรด กตี ารเ บ้อื งตน (Basic Guitar Chords) พรอมท้ังแจกเอกสาร ประกอบการเรียนวิชา กีตารกับโนตสากลเบื้องตน ศ 40201 หนวยการเรียนท่ี 7 โดยใหศึกษาตอนท่ี 3 เร่ือง การเลนจังหวะคอรดกีตารเบื้องตน.(Basic.Guitar.Strumming) และตอนท่ี 4 เร่ือง การเลนกีตาร แบบโฟลค แอนด คันทรี (Folk & Country Style) ของนายนพดล ประวัง โรงเรียนสันกําแพง อําเภอ สนั กําแพง จงั หวัดเชยี งใหม 2.3zใหนักเรียนแตล ะกลมุ ศกึ ษาเอกสารประกอบการเรยี นวิชา กตี ารก ับโนต สากลเบื้องตน ศ 40201 หนวยการเรียนท่ี 7 โดยใหศึกษาตอนท่ี 3 เร่ืองการเลนจังหวะคอรดกีตารเบื้องตน (Basic.Guitar Strumming) และตอนท่ี 4 เรือ่ ง การเลนกีตารแบบโฟลค แอนด คันทรี (Folk & Country Style) ของนาย นพดล ประวัง โรงเรยี นสันกาํ แพง จงั หวัดเชียงใหม แลวเขียนคาํ ตอบลงในใบงานทไ่ี ดร บั มอบหมาย

276 3. ขั้นสรปุ บทเรียน 3.1 นักเรียนแตละกลุมนําเสนอผลการศึกษาใบงานท่ี 3 เรื่อง คอรดกีตารเบ้ืองตน (Basic Guitar Chords) ในเอกสารประกอบการเรียนวิชา กีตารกับโนตสากลเบื้องตน ศ 40201 หนว ยการเรียนที่ 7 โดยใหนําเสนอทีละกลุมmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm 3.2 นักเรียนและครูรว มกนั สรปุ คาํ ตอบที่ถกู ตองพรอ มท้งั แกไ ขคําตอบในใบงาน 3.3 ครูยกยองชมเชยการรายงานและการทํากิจกรรมตามใบงานที่ 3 ในเอกสาร ประกอบการเรียนวิชา กีตารกับโนตสากลเบื้องตน ศ 40201 หนว ยการเรียนที่ 7 ของนักเรียน สอ่ื การเรียนการสอน 1. ปากกา 2.สมุดทmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm 3. เอกสารประกอบการเรียนวิชากีตารกับโนตสากลเบ้ืองตน ศ 40201 หนวยการเรียนท่ี 7 เรื่อง การปฏิบัติคอรดกีตารเบื้องตนของนายนพดล ประวัง โรงเรียนสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม 4. ใบงานที่ 3 เรื่อง คอรดกีตารเบื้องตน (Basic Guitar Chords)ททททททททททททททททท 5. กีตารททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท การวดั ผลและประเมินผล 1. วิธีวัด / สงิ่ ท่ีวัด 1.1 การทดสอบ 1.2 สังเกตพฤติกรรมขณะปฏบิ ตั กิ ิจกรรม 2. เครอื่ งมือวัด 2.1 แบบทดสอบ 2.2 แบบสังเกตพฤตกิ รรมขณะปฏิบตั ิกจิ กรรม (ภาคผนวก ข) 3. เกณฑก ารวดั 3.1 แบบทดสอบ 3.1.1 ทําถูก 9 - 10 ขอ หมายถึง ดมี าก 3.1.2 ทาํ ถกู 7 - 8 ขอ หมายถงึ ดี 3.1.3 ทําถกู 5 - 6 ขอ หมายถงึ พอใช 3.1.4 ทําถูก 1 – 4 ขอ หมายถงึ ปรบั ปรงุ 3.2 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมขณะปฏิบัติกจิ กรรม 3.2.1 ไดค ะแนน 9 – 10 หมายถึง ดมี าก 3.2.2 ไดค ะแนน 7 – 8 หมายถงึ ดี

277 3.2.3 ไดค ะแนน 5 – 6 หมายถึง พอใช 3.2.4 ไดคะแนนต่ํากวา 1 - 4 หมายถึง ตอ งปรับปรุง เกณฑก ารตดั สิน 1. รายบุคคล นักเรียนมีผลการเรียนรูแ ตล ะดา นต้ังแตร ะดับพอใช 2. รายกลุม นกั เรยี นรอยละ 80 มผี ลการเรียนรูต้ังแตร ะดบั พอใช เนือ้ หาบรู ณาการ 1. สาระวทิ ยาศาสตร ลกั ษณะของเสียง ระดบั เสยี ง 2. สาระสังคม ประวตั ิเครือ่ งดนตรี 3. สาระภาษาไทย การพดู การนาํ เสนอ การเขียนสรปุ กิจกรรมการสอน ช่วั โมงท่ี 5 – 6 1. ข้นั นําเขา สบู ทเรยี น ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาเก่ียวกับเร่ือง คอรดกีตารเบื้องตน (Basic Guitar Chords) ท่ีไดศึกษาในช่ัวโมงเรียนท่ีผานมาพรอมท้ังแจงจุดประสงคการเรียนรูใหทราบวาหลังจากจบชั่วโมง เรียนนี้แลวนักเรียนสามารถเลนคอรดกีตารเบื้องตนไดทททททททททททททททททททททททททททท 2. ขัน้ ดาํ เนินการสอน 2.1..แบงนักเรียนออกเปนกลุมๆ ละ 5 – 6 คน โดยแตละกลุมใหเลือกประธานมีหนาที่ กาํ กับบทบาทของแตล ะคนใหด าํ เนินไปตามจดุ มงุ หมายของการเรียนรูแ ละนําเสนอเลขานุการเปน ผู จดบนั ทึกขอ มลู และเตรยี มขอ มูลพรอ มท้งั อปุ กรณต างๆ ทจ่ี ะตองนําเสนอ 2.2 แจกเอกสารประกอบการเรียนวิชา กีตารกับโนตสากลเบื้องตน ศ 40201 หนวยการ เรียนที่ 7 ตอนท่ี 5 แบบฝกการปฏิบัติคอรดกีตารเบื้องตนของนายนพดล ประวัง โรงเรียนสันกําแพง อําเภอสนั กําแพง จงั หวัดเชียงใหม แลว ใหน ักเรียนวิเคราะหแ บบฝก 2.3..ครูสาธิตการปฏิบัติตามแบบฝกการปฏิบัติคอรดกีตารเบื้องตนในเอกสารประกอบการ เรยี นวชิ า กีตารกับโนตสากลเบื้องตน ศ 40201 หนวยการเรียนที่ 7 ตอนที่ 5 แบบฝกปฏิบัติคอรดกีตาร เบ้ืองตนของนายนพดล ประวัง โรงเรียนสันกําแพง อําเภอสันกําแพง จังหวัดเชียงใหม ใหนักเรียนดู ทลี ะขอ พรอมท้งั ใหน กั เรยี นฝกปฏิบัติกีตารต าม โดยครูคอยแกไขในสง่ิ ท่ไี มถูกตอง 2.4.ในักเรียนฝกปฏิบัติกีตารตามแบบฝกการปฏิบัติคอรดกีตารเบ้ืองตนในเอกสารประกอบ การเรียนวิชา กีตารกับโนตสากลเบ้ืองตน ศ 40201 หนวยการเรียนที่ 7 ตอนท่ี 5 แบบฝกปฏิบัติคอรด กีตารเบื้องตนของนายนพดล ประวัง โรงเรียนสันกําแพง..จังหวัดเชียงใหม.โดยไมมีครูปฏิบัติใหดู

278 3. ข้นั สรปุ บทเรยี น 3.1ผครูสุมนักเรียนนําเสนอการปฏิบัติตามแบบฝกการปฏิบัติคอรดกีตารเบื้องตน ในเอกสารประกอบการเรียนวิชา กีตารกับโนตสากลเบื้องตน ศ 40201 หนวยการเรียนที่ 7 ตอนที่ 5 ของนายนพดล ประวัง โรงเรียนสันกาํ แพง.จังหวัดเชียงใหม หนาช้ันเรียนประมาณ 5 คน 3.2 ครูและนักเรียนรวมกันสรุปการปฏิบัติตามแบบฝกการปฏิบัติคอรดกีตารเบื้องตนใน เอกสารประกอบการเรียนวิชา กีตารกับโนตสากลเบ้ืองตน ศ 40201 หนวยการเรียนท่ี 7 ตอนที่ 5 ของ นักเรยี นท่ีนําเสนอหนาหองเรียนพรอมทง้ั ชแ้ี จงใหแ กไขในสิง่ ทีไ่ มถ กู ตอง 3.3 ครูชมเชยการปฏิบัติการปฏิบัติคอรดกีตารเบื้องตน (Basic Guitar Chords) ของนักเรียน 3.4 นักเรียนทําแบบทดสอบกอนเรียนโดยใชแบบทดสอบทายหนวยการเรียนที่ 7 เร่ือง คอรด กีตารเ บ้อื งตน จาํ นวน 10 ขอ ทททททททททททททททททททททททททททททททททททททททท สอ่ื การเรียนการสอน 1. เอกสารประกอบการเรียนวิชา กีตารกับโนตสากลเบื้องตน ศ 40201 หนวยการเรียนที่ 7 ของนายนพดล ประวงั โรงเรียนสันกําแพง..จังหวัดเชยี งใหม 2. กีตาร 3. สแตนโนต การวดั ผลและประเมนิ ผล 1. วธิ ีวดั / ส่ิงที่วดั 1.1 สงั เกตพฤติกรรมขณะปฏบิ ัติกิจกรรม 2. เครอ่ื งมอื วัด 2.1 แบบสงั เกตพฤตกิ รรมขณะปฏบิ ตั กิ จิ กรรม (ภาคผนวก ค) 3. เกณฑก ารวดั 3.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมขณะปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 3.2.1 ไดค ะแนน 9 – 10 หมายถงึ ดมี าก 3.2.2 ไดค ะแนน 7 – 8 หมายถึง ดี 3.2.3 ไดค ะแนน 5 – 6 หมายถึง พอใช 3.2.4 ไดคะแนนต่าํ กวา 1 - 4 หมายถึง ตอ งปรับปรงุ

279 เกณฑการตัดสิน 1. รายบุคคล นักเรยี นมผี ลการเรยี นรแู ตล ะดา นตั้งแตระดบั พอใช 2. รายกลุม นกั เรยี นรอยละ 80 มผี ลการเรยี นรตู ั้งแตร ะดับพอใช เน้อื หาบรู ณาการ 1. สาระวทิ ยาศาสตร ลักษณะของเสยี ง ระดับเสยี ง 2. สาระภาษาไทย การพดู การนําเสนอ การเขยี นสรุป

280 ใบงานท่ี 1 เรอ่ื ง การอานคอรด กตี ารเ บอ้ื งตน เอกสารประกอบการเรียนวชิ า กตี ารกับโนตสากลเบอื้ งตน รหัสวิชา ศ 40201 ชั้น มธั ยมศึกษาปท ี่ 4 กลุมสาระศิลปะ โรงเรยี นสันกาํ แพง อําเภอสันกําแพง จงั หวดั เชยี งใหม ชือ่ ..........................................นามสกลุ ........................................ ม. 4 /................. เลขที่............... คําชี้แจง 1. ใหนักเรียนศึกษาเนื้อหาจากเอกสารประกอบการเรียนวิชา กีตารกับโนตสากลเบื้องตน ศ 40201 หนวยการเรียนที่ 7 ของนายนพดล ประวัง โรงเรียนสันกําแพง อําเภอ สนั กําแพง จงั หวัดเชียงใหม 2. ใหน กั เรยี นเขียนคําอานชื่อคอรดตอ ไปนใ้ี หถ กู ตอ ง ขอท่ี 1. ............................................................................................................................. ขอท่ี 2. ............................................................................................................................ ขอที่ 3. .......................................................................................................................... ขอท่ี 4. .......................................................................................................................... ขอ ท่ี 5. ..........................................................................................................................

281 ใบงาน ท่ี 2 เร่อื ง ลกั ษณะของคอรด กตี าร เอกสารประกอบการเรียนวชิ า กตี ารกบั โนตสากลเบอ้ื งตน รหสั วชิ า ศ 40201 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท่ี 4 กลุมสาระศิลปะ โรงเรยี นสันกาํ แพง อาํ เภอสันกาํ แพง จงั หวดั เชยี งใหม ช่ือ..........................................นามสกลุ ........................................ ม. 4 /................. เลขท่ี............... ............................................................................ คําช้ีแจง 1. ใหนักเรียนศึกษาเน้ือหาจากเอกสารประกอบการเรียนวิชา กีตารกับโนตสากลเบื้องตน ศ 40201 หนวยการเรียนที่ 7 ของนายนพดล ประวัง โรงเรียนสันกําแพง..อําเภอ สันกําแพงcจังหวัดเชียงใหมททททททททททททททททททททททททททททททททท 2. ใหน ักเรียนอธิบายการใชนวิ้ กดคอรด ตอ ไปนใ้ี หถกู ตอ งถกู ตอง ............................................................................ ขอ ท่ี 1. .............................................................................................................. ขอที่ 2. ............................................................................................................... ขอท่ี 3. ................................................................................................................... ขอ ท่ี 4. ..………………………………………………………………………….

คําชี้แจง 282 ขอ 1. ใบงาน ที่ 3 เร่ือง คอรด กตี ารเ บอ้ื งตน (Basic Guitar Chords) เอกสารประกอบการเรียนวชิ า กตี ารก ับโนต สากลเบอื้ งตน รหัสวชิ า ศ 40201 ชั้น มธั ยมศึกษาปท ่ี 4 กลมุ สาระศิลปะ โรงเรียนสันกําแพง อาํ เภอสันกาํ แพง จังหวดั เชยี งใหม ............................................................................ 1. ใหนักเรียนศึกษาเนื้อหาจากเอกสารประกอบการเรียนวิชา กีตารกับโนตสากลเบ้ืองตน ศ 40201 หนวยการเรียนท่ี 7 ของนายนพดล ประวัง โรงเรียนสันกําแพง..อําเภอ สนั กาํ แพง จงั หวดั เชยี งใหมทททททททททททททททททททททททททททททททททท 2. ใหน ักเรยี นอธบิ ายการดดี คอรดกตี ารจ ากรูปท่ีกาํ หนดให ๆ ถูกตอง ............................................................................ VV 1 2 3 4 1234 …………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………. ขอ 2. VV 1 2 &3 &4 …………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………….

283 ขอ 3. ............…………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………….

284 ตําราและหนังสืออา นประกอบ สดุ ใจ ทศพร. หนังสือเรียน สาระการเรียนรพู ้นื ฐาน กลุมสาระการเรียนรศู ิลปะ ดนตรี ม.4 – ม.6 ชวงชัน้ ที่ 4. พิมพครงั้ ที่ 2. กรุงเทพฯ: อกั ษรเจรญิ ทัศน, 2548 หนา 151 - 162 ปนาพนั ธ. ดนตรวี วิ ัฒน 1 Progressive Music 1. กรงุ เทพฯ : สาํ นักพิมพป าติ, 2534 หนา 17 - 74 ________. ดนตรวี ิวฒั น 2 Progressive Music 2. กรงุ เทพฯ : สํานักพิมพป าต,ิ 2534 หนา 48 – 54 Guitar MAX. PRO PICKING . กรงุ เทพมหานคร: บริษทั บญุ ศริ ิการพมิ พ จํากดั , 2541 __________. PRO PICKING 4 . กรุงเทพมหานคร: บรษิ ัท บุญศิริการพมิ พ จํากดั , 2547 __________. PRO PICKING 5 . กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ทั บุญศริ ิการพิมพ จํากัด, 2548

285 แบบทดสอบทา ยหนวยการเรียนที่ 7 คําสั่ง ใหน กั เรยี นเลอื กทําเครอ่ื งหมาย X ในตวั เลอื กที่ถกู ตอ งที่สุดเพียงตวั เลอื กเดยี ว 1. ขอ ใดกลา วถึงเรอ่ื งคอรดไดอยา งถกู ตอ งที่สดุ ก. เสียงโนตตงั้ แต 3 ตัวขึน้ ไป ถูกปฏบิ ัตอิ อกมาพรอ มๆกัน ข. โนต ดนตรตี ้ังแต 3 ตวั ข้ึนไป ถูกปฏิบตั อิ อกมาพรอ มๆกันอยา ง ประสานกลมกลนื กัน ค. เสยี งเคร่ืองดนตรตี ัง้ แต 3 ชิ้น ถูกปฏบิ ตั ิออกมาพรอ มๆกัน ง. โนต ดนตรตี ั้งแต 3 ตวั ข้ึนไป ถูกปฏิบัตอิ อกมาพรอมๆกัน 2. อักษร M ใชแ ทนลกั ษณะของคอรด ในเรอื่ งใด ก. Mannual ข. Maxima ค. Major ง. Minor 3. คอรด Cm7 ขอใดอา นถูกตอง ก. ซีเอ็มเลขเจด็ ข. ซีเมเจอรเ ซเวน ค. ซีเอ็มเซเวน ง. ซีไมเนอรเซเวน 4. คอรดในขอ ใดท่ีมีระดบั เสียงเสียงเดยี วกนั ก. G#, Ab ข. C#, Bb ค. A#, Gb ง. F#, Eb

286 5. จากภาพเปน รปู คอรดอะไร ก. A ข. B ค. C ง. D 6. จากภาพเปน รูปคอรด อะไร ก. G7 ข. D7 ค. F7 ง. E7 7. คอรด ในขอ ใดที่มรี ะดับเสยี งสูงสุดในชวงเสยี งเดียวกนั ก. E ข. Eb ค. F ง. D# 8. คอรดในขอใดทม่ี ีระดบั เสียงต่าํ สดุ ในชวงเสยี งเดยี วกัน ก. G# ข. Ab ค. A ง. F#

287 9. สัญลกั ษณใ นขอ ใดทไี่ มเก่ียวกับเร่อื งของคอรด ก. @ ข. # ค. b ง. m 10. จากภาพขอ ใดอธบิ ายไดถ ูกตอ งท่ีสุด ก. สายท่ี 4 (D) ปฏบิ ตั ิสายเปด หรือสายปลาว ข. สายท่ี 5 (A) มจี ุดในชองท่ี 1 ใหใชน ้ิวกอ ยกดในชอ งท่ี 1 ค. สายที่ 5 (A) มีจุดในชอ งที่ 3 ใหใชน ้วิ นางกดในชอ งท่ี 3 ง. สายท่ี 6 (E) ปฏิบตั สิ ายเปด หรือสายปลาว

เฉลยแบบทดสอบทายบทเรียนหนวยที่ 7 288 1. ข 2. ค 3. ง 4. ก 5. ค 6. ก 7. ค 8. ง 9. ก 10. ค


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook