หนว ยท่ี 3 เครือ่ งวัดไฟฟา กระแสสลบั บทนํา เคร่ืองวัดแบบขดลวดเคล่ือนท่ี (PMMC) จะใชวัดกระแสสลับโดยตรงไมได เนื่องจากขีดจํากัดดาน ขนาดพิกัดกําลังและมีความไวสูง (ใชปริมาณกระแสตํ่า) และโมเมนตความเฉื่อยเปนสําคัญ หากตองนํามาใชวัด เพื่อแสดงคา กระแสสลบั จะตอ งเปล่ยี นกระแสสลบั เปนกระแสตรงขนาดท่ีเหมาะสมกอนปอนใหกับระบบขดลวด เคลื่อนที่และทาํ การปรบั เทียบใหแ สดงคา ปริมาณกระแสสลบั ตอ ไป เชน เคร่ืองวัดแบบเรียงกระแส เครื่องวัดแบบ ไฟฟาความรอน นอกจากนี้ยังมีเคร่ืองวัดกระแสสลับ เชนโวลตมิเตอรและแอมมิเตอรท่ีใชหลักการทํางานท่ีตาง จากแบบขดลวดเคล่ือนท่ีท่ีสามารถใชกับไฟกระแสสลับไดอีกหลายแบบ เชน เคร่ืองวัดแบบแผนเหล็กเคลื่อนท่ี แบบเครื่องกําเนิดไฟฟา แบบเหน่ียวนํา และแบบไฟฟาสถิต เปนตน ซ่ึงสามารถประยุกตใชวัดปริมาณไฟฟา กระแสสลับไดด งั จะกลาวถึงในรายละเอียดตอ ไปน้ี 3.1 โวลตม ิเตอรแ บบเรียงกระแส เครื่องวัดแรงดันไฟฟาหรือโวลตมิเตอรแบบเรียงกระแสจะมีสวนเคลื่อนท่ีเปนแบบขดลวดเคลื่อนที่ที่ วางอยูระหวางข้ัวแมเหล็กถาวร (Permanent Magnet Moving Coil : PMMC) ซึ่งไดกลาวแลวในหนวยที่ 2 เปน เคร่ืองวัดแบบมีข้ัวตายตัว และตอบสนองตอปริมาณไฟฟากระแสตรงเทานั้น เม่ือปอนกระแสสลับความถี่ตํ่า เชน 0.1 เฮิรทซ ผานเครื่องวัดแบบ PMMC เข็มของเคร่ืองวัดจะเบ่ียงเบนตามคาชั่วขณะที่เพิ่มข้ึนและลดลงของ กระแสสลับ แตสาํ หรับกระแสสลบั ที่มคี วามถีส่ งู กวานี้ เชน 50-60 เฮิรทซ กลไกหนวงแรงและโมเมนตความเฉื่อย ของระบบเคลื่อนท่ีของเครื่องวัดทําใหเข็มเคล่ือนท่ีไมทันการเปลี่ยนแปลงของกระแสสลับ และจะทําใหเข็มของ มิเตอรช้ีบอกคาเฉลี่ยของกระแสท่ีไหลผานขดลวดเคลื่อนที่แทน กรณีที่กระแสสลับเปนรูปคลื่นหรือฟงกชันของ ไซนจะไดคา เฉล่ียเปนศูนย เขม็ ช้ีของเครอื่ งมอื วดั แบบน้ีจงึ ช้คี า ศนู ย แมวา มีกระแสสลับไหลผานขดวดเคลื่อนท่ีอยู ก็ตาม ดังนั้นเมื่อตองการใหเครื่องวัดแบบขดลวดเคล่ือนสามารถวัดกระแสสลับได จําเปนจะตองเปลี่ยนไฟ กระแสสลับใหเปนปริมาณที่เคร่ืองวัดสามารถตอบสนองและแสดงคาไดถูกตองโดยการตอวงจรเรียงกระแสเขา กบั ระบบเคลอื่ นท่ีและปรับเทียบใหอ านคา กระแสสลบั ไดถ ูกตอ ง
3 – 2 การวดั และเครือ่ งวดั ไฟฟา 3.1.1 โวลตมเิ ตอรก ระแสสลบั แบบเรยี งกระแส โวลตมิเตอรแบบคร่งึ คลน่ื (Half-Wave Rectifier Voltmeter) Rs = 10 K Ω D1 Ein = 10 Vr.m.s. Ifsd = 1 mA. Rm = 100 Ω รปู ที่ 3.1 เครื่องมือวดั แบบ D’ Arsonval ตอแบบครงึ่ คลน่ื จากรปู ที่ 3.1 ความไวของโวลตมเิ ตอร (DC. Sensitivity) คือ 1 S = Ifsd = 1 = 1kΩ/V (3.1) 1mA สมมติวาไดโอดทใี่ ชเปน ไดโอดแบบอุดมคติ และระบบเคลอื่ นที่ตอ งการคา แรงดันไฟตรงเฉลี่ย 10 โวลต จึงจะทาํ ใหเขม็ ชแ้ี สดงคาเบย่ี งเบนเตม็ สเกลตอวงจรดงั รปู ท่ี 3.1 ดังนั้นถาแทน 10 Vdc ดวยแรงดันรปู ไซน 10 Vrms ดา นขาเขา แรงดันท่ีตกครอมมเิ ตอรจะเปน แรงดันครง่ึ บวกหรอื ครงึ่ ลบของรปู คลน่ื เทาน้ันเพราะรปู คล่ืน ไซนผ านไดโอดเรียงกระแสซ่ึงจะยอมใหกระแสไหลผา นทศิ ทางเดียว คายอดสงู สุดของคลืน่ ไซน 10 Vrmsหาได จากสมการ Ep = 10 Vrms × 2 = 14.14 V เนือ่ งจากมเิ ตอรแบบ PMMC เปนมเิ ตอรก ระแสตรงดังน้ันจะตอบสนองกับคาเฉลยี่ คล่ืนไซนข อง ไฟสลับ (เทยี บเทาคา ไฟฟากระแสตรง) ซ่ึงมคี า เปน 0.318 เทา ของคา สูงสุด เขียนความสัมพันธไ ดเปน Ep Eave = Edc = π = 0.318 Ep หรอื Eave = Eave = 2 ⋅ Vrms = 0.45 Erms (3.2) π ไดโอดจะทาํ ใหมแี รงดนั ครอ มระบบเคลือ่ นที่ของมเิ ตอรเพียงครึ่งคล่นื จะเห็นวาถาตอระบบเคลอ่ื น ทน่ี ีเ้ ปนเครอ่ื งวัดกระแสสลับ จะมคี วามไวตํ่ากวาเครอ่ื งวดั กระแสตรงประมาณ 45 % ของความไวกระแสตรง เชน ตองการใหเ ข็มเบ่ียงเบนเต็มสเกลโดยใชแรงดันขาเขา เปน 10 Vrms ตองลดคาความตานทานจาํ กัดกระแสลง 45 % ของคาทใ่ี ชในเครอ่ื งวดั กระแสตรงดวย สามารถเขียนสมการไดเปน Rs = EIddcc − Rm
หนว ยท่ี 3 เครอ่ื งวัดไฟฟากระแสสลับ 3 – 3 หรอื Rs = 0.45E rms − Rm (3.3) I dc (3.4) ดงั นนั้ Sac = 0.45 Sdc ตวั อยา งท่ี 3.1 จงหาคาความตานทานสําหรับพิสัย 10 Vrms จากรปู ที่ 3.2 โดยใชสมการตอ ไปนี้ 1 1) s= I fsd สมการ (3.1) 2) Sac = 0.45 Sdc สมการ (3.4) 3) Rs = 0.45 E rms −R m สมการ (3.3) Ifsd Rs D1 + Ifsd = 1 mA. Rm = 300 Ω - รปู ท่ี 3.2 วิธีคิด 1) S = 1 ∴ I fsd 2) 1 = 1mA. = 1kΩ /V Rs = Sac×Range – Rm = 1 KΩ/ V × 0.45 Erms – Rm = 1 KΩ/ V × 4.5 V – 300 Ω = 4.2 KΩ Sac = 0.45 Sdc 1 mA = 0.45 × 1 = 0.45 × 1 I fsd = 450 Ω/ V Rs = Sac× Range – Rm = 450 Ω/ V × 10 V – 300 Ω
3 – 4 การวดั และเคร่อื งวัดไฟฟา = 4.2 KΩ 3) Rs = 00..445I5×fEsd1rm0 sV−rmRs m = 1mA. −300Ω = 4.5 V −300Ω = 4.5 kΩ 1mA. ในทางการคาจะจดั ใหไ ดโอดอยูในชุดเดียวกนั เรยี กวา “Instrument Rectifier” ดังแสดงในรูปท่ี 3.3 ขณะ ดานเขาเปนคลื่นคร่ึงบวก D2 จะไดรับไบอสั กลับ และเม่อื คลื่นลบเขา จะไดรบั ไบอัสตรงเปนทางผานใหก ระแส รวั่ ไหลของ D1 แทนทีจ่ ะตองผานระบบเคลื่อนทีข่ องมเิ ตอร และความตานทานขนาน (Shunt) ซึง่ คา ความ ตานทานขนานจะตอไวเพื่อใหมิเตอรท าํ งานอยูในชวงเชิงเสน ดีข้นึ ทีพ่ ิสัยต่าํ ๆ แตความไวของมิเตอรก็จะลดลง ดวยซง่ึ เปนขอ เสียของการตอความตา นทานชันทนี้ ลักษณะการตอวงจรจะเปนดงั รปู ที่ 3.3 RS + D1 Ifsd D2 Rm Ein - Rsh รูปท่ี 3.3 ตวั อยางที่ 3.2 จากรูปที่ 3.3 กําหนดให D1,D2 มีคา ความตานทานเฉล่ียขณะไดรับไบอสั ตรง 50 โอหม และขณะ ไดรบั ไบอสั กลับ เปน ∞ จงคํานวณหา 1) คา ความตานทาน Rs 2) ความไวกระแสสลบั 3) ความไวกระแสตรง เม่ือ RSh = 200 Ω , Ifsd = 100 μA. และ Rm = 200 Ω , Ein = 10 Vrms Ish = ImRRshm วธิ ีคิด 1) = 100μA ×200Ω = 100 μA 200Ω IT = Ish + Im = 200 μA + 200 μA = 200 μA Edc = 0.45 Erms = 0.45 × 10 V = 4.5 V ค.ต.ท. ทง้ั หมดของมเิ ตอรค อื
หนว ยที่ 3 เคร่อื งวดั ไฟฟากระแสสลบั 3 – 5 RT = RS + Rd + Rm RSh Rm +RSh EITdc = = 4.5V = 22.5 kΩ 200μA ดังน้นั Rs = RT - Rd - R m R Sh Rm +RSh = 22.5 kΩ - 50Ω - 200Ω × 200Ω 200Ω+200Ω = 22.35 kΩ 2) ความไวกระแสสลับ = RRanTge = 22.5kΩ = 2.25 kΩ / V Sac 10V 3) ความไวกระแสตรง = 1 = 1 = 5 kΩ / V Sdc IT 200μA หรือ Sdc = Sac = 22.5kΩ/ V = 5 kΩ / V 0.45 0.45 ตวั อยางท่ี 3.3 จากรูปที่ 3.4 ไดโอดมี ค.ต.ท. สถิตย 1 kΩ เมือ่ กระแสเบ่ียงเบนเต็มสเกล 100 μA. ไหลผานตัวมัน จาก E-I Curve จงคํานวณหาคา RS โดยคดิ คาความตา นทานของไดโอด และหาคา ความตา นทานไดโอดเมื่อ กระแสผานตัวมัน 20 μA. พรอมทั้งคา แรงดันอินพตุ ทที่ าํ ใหก ระแส 20 μA. ไหลในเครอ่ื งวัด RS Id(μA) D1 100 Ein = 1Vrms Ifsd=100 uA. Rm=200 0 Ed 0.1 รูปท่ี 3.4 E - I curve
3 – 6 การวดั และเครอื่ งวัดไฟฟา วิธคี ดิ คาความตานทาน Rs หาไดคอื = 0.45E rms −(Rm + Rd ) = 22 % Rs I dc = 4.5 kΩ –1.2 kΩ = 3.3 kΩ คา ความตา นทานสถิตท่ี 20 μA. คือ 0.04 V 20μA Rd = EIdd = = 2 kΩ ความตา นทานรวมของวงจรคือ RT = RS + Rd + Rm = 3.3 kΩ + 2 kΩ + 200 Ω = 5.5 kΩ แรงดันไฟตรงที่ทาํ ใหก ระแสไหล 20 μA. คือ Edc = Idc × RT = 20 μA × 5.5 kΩ = 0.11 V แรงดนั ดานเขาท่ีทําใหกระแสไหล 20 μA. คอื Ein = E dc = 0.11V = 0.23 Vrms 0.45 0.45 ถาคาความตา นทาน Rd ไมเ ปลีย่ นแปลงจะไดคา แรงดัน Ein≈ 0.04 / 0.45 = 0.09 V ผิดพลาดไป โวลตม เิ ตอรแบบเรยี งกระแสเต็มคล่ืน (Full-Wave Rectifier Voltmeter) เมือ่ ตอ เคร่อื งวัดกับวงจรเรยี งกระแสแบบเตม็ คลื่น จะทาํ ใหม ีความไวเพิ่มขน้ึ มากกวาแบบคร่ึงคล่นื สองเทา โดยตอ เปนวงจรแบบบริดจ ดงั แสดงในรูปที่ 3.5 Ein = 10 Vrms D1 D2 D3 RS = 10 K Ifsd = 1 mA D4 Rm = 500 ohm รูปท่ี 3.5 วงจรเรียงกระแสแบบเตม็ คลนื่ รว มกับระบบเคลอื่ นที่ แบบ D’ Arsonval
หนว ยท่ี 3 เครอ่ื งวัดไฟฟา กระแสสลับ 3 – 7 จากรปู ท่ี 3.5 คา แรงดันยอด (Peak Value) ของ 10 Vrms จะคาํ นวณไดเชนเดียวกับการตอแบบครึ่ง คล่ืนคอื Ep = 2 Erms = 2 x 10 = 14.14 Vpeak คา เฉลี่ยหรอื Vdc ของรูปคลืน่ ก็จะมคี า เปนสองเทาของการตอ แบบครึ่งคลื่นดังนี้ 2E p Eav =2 2 Erms = π = 0.636 × 14.14 = 8.99 V. ≈ 9 V. หรือ Eav = 0.9 × Erms = 0.9 × 10 V = 9 V. Sac = 0.9 Sdc (3.5) จะเห็นวาแรงดัน 10 Vrms มีคาเทียบเทากับแรงดันไฟตรง 9 V เม่ือใชวงจรแบบเต็มคลื่น ซึ่งจะทําให เข็มช้ีเบ่ียงเบนไปเพียง 90 % ของคาเต็มสเกล นั่นหมายความวาเคร่ืองวัดมีความไว = 90 % ของคาความไว กระแสตรง ดังนั้นวงจรจะใชคาความตานทาน Rs = 90 % ของคา Rs ท่ีใชสําหรับแรงดัน 10 Vdc หาคาไดจาก สมการ Rs = Sac × Range – Rm (3.6) ตวั อยา งที่ 3.4 จากรปู ที่ 3.5 จงคาํ นวณหาคา Rs สาํ หรบั พสิ ยั 10 Vrms ของมเิ ตอร วธิ ีคดิ Sdc = 1 = 1 = 1kΩ I fsd 1mA V Sac = 90 % ของ Sdc ∴ Sac = 0.9 Sdc = 0.9 × 1 kΩ / V = 900 Ω / V Rs = Sac × Range – Rm = 900 Ω / V × 10 Vrms – 500 Ω = 8.5 kΩ
3 – 8 การวดั และเครอ่ื งวดั ไฟฟา ตัวอยางท่ี 3.5 จากรูปที่ 3.6 เม่ือไดโอดไดรับไบอัสตรง Rd = 50 Ω และเม่ือไดรับไบอัสกลับทาง Rd = ∞ จงคาํ นวณหา 1) ความตา นทาน Rs 2) ความไวกระแสสลบั 3) ความไวกระแสตรง Ein = 10 Vrms D1 D2 D3 RS Ifsd = 1 mA D4 Rm = 500 ohm Rsh = 500 ohm รูปท่ี 3.6 วิธคี ดิ 1) ความตา นทาน Rs Ish = REsmh = 1mA × 500Ω = 1 mA 500Ω และ IT = Ish + Im = 1mA + 1mA = 2 mA Edc = 0.9 × 10 Vrms = 9 V EITdc RT = = 9V = 4.5 kΩ 2mA Rs = RT – 2Rd – RRmm+RRshsh 500Ω× 500Ω 1000Ω = 4.5 kΩ – 2 × 50 Ω – = 4.15 kΩ 2) ความไวไฟฟากระแสสลบั (Sac) = 4500Ω = 450 Ω/V Sac = RRanTge 10V 3) ความไวไฟฟากระแสตรง (Sdc) 1 1 IT 2mA Sdc = = = 500 Ω/V = 500 Ω/V หรอื Sdc = S0a.9c = 450Ω / V 0.9
หนวยท่ี 3 เครอ่ื งวัดไฟฟา กระแสสลบั 3 – 9 ซ่ึงคาตาง ๆ จะใชไดกับรูปคลื่นไซน สําหรับสัญญาณท่ีเปนรูปคล่ืนสี่เหล่ียม, สามเหลี่ยม หรือ ฟน เลื่อยหากใชส มการตา ง ๆ เหลาน้จี ะไดคาทไี่ มถ กู ตอ ง โวลตมิเตอรตอแบบเรยี งกระแสคร่งึ บรดิ จ (Half–Bridge Full–Wave Rectifier Voltmeter) โวลตมิเตอรกระแสสลับที่ใชวงจรเรียงกระแสแบบครึ่งบริดจ เน่ืองจากใชไดโอดเพียงสองตัวและอีก สองตวั ทเี่ หลอื จะแทนดวยความตา นทานจึงเรยี กวา เปนแบบคร่ีงบริดจวงจรนจ้ี ะทาํ ใหม เิ ตอรมีกระแสผานเต็มคล่ืน แตข ณะเดยี วกนั ก็มกี ระแสบางสวนไมผาน (Bypases) ระบบเคลอื่ นที่ของมเิ ตอร แสดงดงั รปู ที่ 3.7 D1 R1 Rm Im 1 D2 R2 2 รปู ท่ี 3.7 การทํางาน การทาํ งานของวงจรรูปท่ี 3.7 อธบิ ายไดโ ดยเริม่ จากเม่ือมีคลนื่ กระแสสลบั คร่ึงดานบวกเขา มาระหวาง ขั้ว 1 และ 2 ไดโอด D1 จะนํากระแสเน่ืองจากไดร บั ไบอสั ตรงและ D2 จะก้ันไมใ หกระแสไหลเนอ่ื งจากไดร บั ไบอสั กลับทาง กระแสจะไหลจากข้ัวหมายเลข 1 ผานไดโอด D1 และระบบเคล่อื นท่ี Rm จากบนลงลา ง (บวกไปลบ) ผานความตานทาน R2 ไปยังขั้วหมายเลข 2 ขณะเดียวกันจะเห็นวา ความตานทาน R1 ขนานอยูกบั ระบบเคลอื่ นที่ Rm ท่ตี อ อนุกรมอยูกับความตา นทาน R2 สรปุ ไดว า กระแสจาํ นวนมาก จะไหลผานไดโอด D1 ผา น ความตานทาน R1 และบางสวนขนาดไมเ กินพิกดั ของระบบเคลื่อนท่ีไหลผานระบบเคลอื่ นที่ Rm และความตานทาน R2 เมือ่ มีคลน่ื กระแสสลับครึง่ ดา นลบเขามาระหวางขั้ว 1 และ 2 ไดโอด D2จะนํากระแสเนือ่ งจากไดร บั ไบอสั ตรงสว น D1 จะก้ันไมใหกระแสไหลเนื่องจากไดร บั ไบอัสกลับทาง กระแสจะไหลจากขั้วหมายเลข 2 ผาน R1 ผานระบบเคล่ือนท่ี Rm จากบนลงลาง (บวกไปลบ) ผา นไดโอด D2 ไปยงั ขั้วหมายเลข 1 ขณะเดียวกนั จะเห็น วา ความตา นทาน R2 ขนานอยูกบั ระบบเคลอื่ นที่ Rm ท่ตี ออนุกรมกับความตานทาน R1 ดังน้ันกระแสจํานวนมาก จะไหลผานความตานทาน R2 ผานไดโอด D2 เหลอื บางสวนที่ไมเ กินพิกัดของระบบเคลือ่ นที่ผาน R1 และ Rm นั่นเอง ความตา นทาน R1 และความตานทาน R2 จะเปลยี่ นกนั ทําหนาทีเ่ ปน Rsh คลา ยกับในรปู ที่ 3.6 (ตัวอยาง ที่ 3.5) ซึ่งมีขอ ดคี อื ชว ยใหไดโอดทาํ งานอยใู นชวงเชิงเสน แตก็จะทําใหค วามไวของเครอ่ื งมอื วัดลดลงดวยเชนกัน
3 – 10 การวดั และเคร่ืองวดั ไฟฟา 3.1.2 ความตานทานขยายพิสยั คา ความตา นทานทใี่ ชขยายยา นการวัดในเครอื่ งวัดกระแสสลับท่ใี ชระบบเคลือ่ นทแี่ บบ D’Arsonval รวมกับวงจรเรยี งกระแสแบบครึ่งคล่ืน จะหาไดจากสมการ (3.3) โดยท่ี Erms ในสมการคอื ยา นหรือพิสยั การวัด สว นRm คอื ความตา นทานรวมของระบบเคลอ่ื นท่ี D’Arsonval Rs = EIddcc − Rm หรอื Rs = 0.45E dc −Rm (3.3) Idc สาํ หรับคา ความตา นทานท่ีใชขยายยา นการวดั ในเครอื่ งวดั กระแสสลบั ทใี่ ชระบบเคลือ่ นทีแ่ บบ D’Arsonval เม่อื ใชรว มกบั วงจรเรียงกระแสแบบเตม็ คลน่ื จะหาไดจากสมการ (3.5) และ (3.6) โดยที่ Range ใน สมการ (3.6) คอื Erms หรอื ยานการวัดนน่ั เอง Sac = 0.9 Sdc (3.5) Rs = Sac × Range – Rm (3.6) 3.2 แอมมเิ ตอรแบบเรียงกระแส แอมมิเตอรกระแสตรงจะมีคาความตานทานตํ่าเชนกัน แอมมิเตอรกระแสสลับก็ตองการใหมี ความตานทานคาต่ํา ๆ ดวย เพราะการวัดกระแสจะตองตออนุกรมกับวงจรเพ่ือใหมีแรงดันตกครอมแอมมิเตอรมี คาต่ํามาก ๆ โดยทั่วไปจะมีคาประมาณไมเกิน 100 มิลลิโวลต ดังน้ันหากใชวงจรเรียงกระแสท่ีใชไดโอดแบบ เยอรมันเนียมจะมีแรงดันตกครอมไดโอดอยางนอย 0.3 โวลต และ 0.7 โวลตถาเปนซิลิคอนไดโอด เมื่อตอวงจร เปนแบบเต็มคล่ืนจะมีแรงดันตกครอมไดโอด 0.3 ถึง 1.4 โวลต จะเห็นวาแรงดันตกเกินคาที่ตองการ (100 มิลลิ โวลต) ทาํ ใหไ มเ หมาะทจ่ี ะใชเ ครอ่ื งมอื วดั แบบเรียงกระแสนสี้ าํ หรบั ใชว ดั กระแสสลับโดยตรง การใชหมอแปลงกระแส (Current Transformer) จะทําใหความตานทานของแอมมิเตอร และแรงดัน ตกครอมที่ข้ัวตอมีคาตํ่าลง หมอแปลงจะชวยเพิ่มแรงดันดานเพื่อใหไดแรงดันสูงพอที่จะใหวงจรเรียงกระแส ทํางานได ขณะเดียวกันก็จะลดกระแสจากดานเขาใหเปนกระแสดานออกท่ีมีขนาดท่ีไมเกินพิกัดของระบบ เคล่ือนที่ของมิเตอรซึ่งสวนใหญเปนแบบ D’Arsonval หรือ PMMC และส่ิงสําคัญเม่ือใชหมอแปลงกระแสใน วงจรแอมมเิ ตอรค ือจะตอ งคํานงึ ถึงอตั ราสว นหมอ แปลง Ip/Is = Ns/Np ดวย
หนว ยที่ 3 เครอื่ งวัดไฟฟา กระแสสลับ 3 – 11 3.2.1 การทํางานและการคาํ นวณคา ความตา นทานขยายพสิ ัย การขยายยานการวัดทําไดโดยการตอความตานทานขนานเขากับระบบเคล่ือนที่ที่ตออยูกับวงจรเรียง กระแส โดยตอ ความตานทานคา เที่ยงตรงสงู RL ทางดานออกของหมอ แปลงดงั รูปที่ 3.8 Ip Is Im Rm IL Rs RL หมอแปลงกระแส รปู ที่ 3.8 แอมมิเตอรใชห มอแปลงกระแส วงจรเรียงกระแสแบบเตม็ คล่ืนและระบบเคลอื่ นท่ี PMMC การเลือกคา ความตานทาน RLใชว ธิ คี ํานวณเหมอื นกบั การขยายพิสัยกระแสของแอมมิเตอรกระแสตรง (หวั ขอ 2.3.2 หนวยท่ี 2 ) เพอื่ ใชเ ปนทางผา นของกระแสสว นเกินความตองการ (สงู สุด) ของระบบเคลอื่ นที่ ตัวอยางที่ 3.6 เคร่ืองมือวัดแบบ PMMC ตองการกระแส (เฉล่ีย) เต็มสเกลเพียง 100 ไมโครแอมแปร หมอแปลง กระแสมี Ns = 2000 รอบ และ Np = 5 รอบ ถากระแสดานขดลวดปฐมภูมิคือ 1 มิลลิแอมแปร กระแสใชงาน (rms) ดานปฐมภมู ิเปน 100 มลิ ลแิ อมแปร จงหากระแสใชง านดานทตุ ิยภูมขิ องหมอ แปลงวามีคา เทา ไร ? วธิ ีคิด Is = 5 ×100mA = 250 μA หรือ 2000 Is(avg) = 1.111×250μA = 225.2 μA จากตัวอยางท่ี 3.6 ระบบเคล่ือนท่ีตองการกระแสเพียง 100 ไมโครแอมแปร เพ่ือใหเข็มช้ีเบ่ียงเบนเต็ม สเกล สวนกระแสท่ีเกินคือ 225.2 – 100 = 125.2 ไมโครแอมแปร จะไหลผานความตานทาน RLที่ไดจากวิธี การคํานวณ ซง่ึ ศกึ ษาไดจ ากตัวอยา งท่ี 3.7 คลา ยกบั หวั ขอ ท่ี 2.3.2 ในหนว ยท่ี 2 ตัวอยา งที่ 3.7 แอมมเิ ตอรแ บบเรยี งกระแสดงั รูปท่ี 3.8 เม่ือมีกระแสดานปฐมภูมิ 250 มิลลิแอมแปร จะทําใหเข็ม ชี้เบี่ยงเบนเต็มสเกล เมื่อระบบเคลื่อนท่ี PMMC ใชคากระแสเต็มสเกล Ifsd = 1 มิลลิแอมแปร มีคาความตานทาน ภายใน Rm = 1700 โอหม สวนหมอแปลงกระแสมีขดลวดทุติยภูมิ 500 รอบ และขดลวดปฐมภูมิ 4 รอบ ไดโอด แตละตัวมีแรงดันคัตอิน 0.7 โวลต และความตานทานอนุกรม Rs มีคา = 20 กิโลโอหม จงคํานวณหาคา RL ที่ใชวา มีคา กีโ่ อหม ? วิธคี ดิ กระแสมเิ ตอรสูงสุด Im = I ( av ) = 1mA 0.637 0.637 = 1.57 mA
3 – 12 การวดั และเครื่องวดั ไฟฟา แรงดันสงู สูดดานทุติยภูมิ = Im (Rs+Rm)+2 Vd Vsec(p) = 1.57 mA(20 kΩ + 1700 Ω) + 1.4 V แรงดนั ใชง านดานทุติยภูมิ = 35.5 V Vsec(rms) = (0.707 × 35.5 V) กระแสใชงานของมิเตอร = 25.1 V Im(rms) = 1.11 Im(avg) กระแสใชงานดา นทุตยิ ภูมิ = 1.11 × 1 mA Is(rms) = Ip Np IL Ns 4 RL = 250 mA × 500 = 2 mA = Is – Im = 2 mA – 1.11 mA = 0.89 mA = Vsec( rms ) IL 25.1V = 0.89mA = 28.2 kΩ พิสัยของเคร่ืองวัดสามารถเปลี่ยนไดโดยใชสวิตชเลือกเปลี่ยนคาความตานทาน RL ใหเปนคาท่ี เหมาะสมคาตาง ๆ ที่ไดจากการคํานวณซ่ึงจะทําใหสามารถใชวัดกระแสในแตละพิสัยได นอกจากวิธีนี้เรายัง สามารถเปลย่ี นพิสัยของการวดั กระแสของเครอื่ งวัดไดอีกวิธีหนึ่ง คือ ทําการเปล่ียนตําแหนงขั้วตอแยก (Tap) ของ ขดลวดดานปฐมภูมิหมอ แปลงกระแสใหมจี ํานวนรอบตา งกัน ดงั แสดงขัว้ ตอแยกในรูปท่ี 3.8
หนว ยที่ 3 เครอ่ื งวัดไฟฟากระแสสลบั 3 – 13 3.3 เครอ่ื งวดั แบบอเิ ล็กโตรไดนามคิ 3.3.1 หลกั การทํางานและการใชงานวัดกระแส แรงดนั และกาํ ลงั ไฟฟา อิเล็กโตรไดนาโมมิเตอร อิเล็กโตรไดนาโมมเิ ตอรป ระกอบดวยขดลวดอยูกบั ที่ 2 ชดุ ใชแทนข้ัวแมเหล็กถาวรในเครื่องวัดแบบ ขดลวดเคลือ่ นที่ และมีชุดขดลวดเคลือ่ นท่ีตออนุกรมกนั ดังแสดงในรปู ท่ี 3.9 เมอ่ื ปลอ ยใหก ระแสผา นขดลวด สนามแมเ หลก็ และขดลวดเคลื่อนท่จี ะเกิดแรงจากแมเหล็กไฟฟา ในสว นเคล่ือนที่ เรานยิ มเรียกเครื่องวดั ชนิดนี้วา อิเลก็ โตรไดนาโมมิเตอร เคร่ืองวัดชนิดนี้ใชวัดไดท้ังกระแสตรงและกระแสสลับใชทําเปนแอมมิเตอรมาตรฐานตาง ๆ เชน โวลตมิเตอร วารมิเตอร เพาเวอรแฟคเตอรมิเตอร มิเตอรวัดความถี่ และเครื่องมือวัดถายทอด (Transfer Instruments) แตเน่ืองจากมีการใชกําลังสูง ไมนิยมใชเปนแอมมิเตอรหรือโวลตมิเตอร ปจจุบันนิยมเพียงใชทํา เปน วัตตม ิเตอร เครื่องวัดถายทอด หมายถึงเคร่ืองวัดที่ทําการปรับเทียบ (Calibrated) ดวยปริมาณไฟฟากระแสตรง แลว สามารถนําไปใชว ัดคาไฟฟากระแสสลับไดโดยไมตองปรับปรุงแกไขแลว ซึ่งสามารถนําไปใชวัดแสดงคาได ถูกตองทง้ั ไฟฟากระแสตรงและกระแสสลบั โดยมีความถูกตอ งของการวดั อยใู นชวงความถี่ 0 - 125 เฮริ ท ซ อิเล็กโตรไดนาโมมิเตอรจะมีชุดขดลวดเคลื่อนท่ี ซ่ึงสามารถทนกระแสสูงถึง 100 mA โดยไมตองตอ ความตานทานแบงกระแส (Shunt) น่ันคือขนาดตัวนําที่ใชก็จะตองโตพอและจะทําใหมีน้ําหนักมากกวาระบบ เคลอ่ื นที่ธรรมดาเปนสาเหตใุ หม ีความไวต่ําลงดวย โดยทัว่ ไปจะมคี วามไวประมาณ 20 - 100 Ω / V เทา นั้น แหลง จา ย ขดลวดอยูก ับท่ี ขดลวดเคล่ือนท่ี ขดลวดอยกู ับที่ รูปท่ี 3.9 สามารถใชทําเปนแอมมิเตอรหรือโวลตมิเตอรไดโดยการตอวงจรดังรูปที่ 3.11 ซ่ึงเข็มชี้จะเบี่ยงเบน ตามคาของกระแสยกกําลังสอง (I2) ทําใหสเกลของมิเตอรเตอรถูกกําหนดเปนแบบ Square - Law Meter Scale ดงั รูปท่ี 3.10
3 – 14 การวัดและเครื่องวัดไฟฟา 5 10 0 15 สเกลแบบ Squre - Law meter รูปท่ี 3.10 ขดลวดอยูกับท่ี ขดลวดอยูกับที่ แหลงจาย แหลงจาย โหลด ขดลวดอยูกบั ท่ี Rsh ขดลวดอยูกบั ท่ี Rs แอมมเิ ตอร ขดลวดเคลอ่ื นที่ วัตตมเิ ตอร รปู ที่ 3.11 สมการแรงบดิ แรงบิดแมเหล็กทําใหเข็มบายเบนไปบนสเกลแทนไดดวยสมการแรงบิดท่ีเปนสัดสวนกับผลคูณของ เสน แรงแมเ หลก็ ทเี่ กดิ จากกระแสท่ีไหลผา นขดลวดทง้ั สองชุด TD(t) ∝ φ1(t) φ2(t) (3.7) เมื่อ φ1(t) = เสน แรงแมเ หล็กจากขดลวดสรางสนามแมเ หลก็ φ2(t) = เสน แรงแมเ หล็กจากขดลวดเคล่อื นท่ี เม่อื เสน แรงแมเ หลก็ เปนสดั สว นตามกระแสจะได φ1(t) ∝ i1(t) φ2(t) ∝ i2(t) เมื่อ i1(t) = กระแสในขดลวดสรางสนามแมเ หลก็ i2(t) = กระแสในขดลวดเคล่อื นที่ ขดลวดแรงดนั (สวนเคลื่อนท่ี) จะมีความตา นทาน Rp สงู มาก สว นกระแสผานขดลวดกระแส (สวนอยู กบั ท่ี) จะประมาณเทากบั กระแสที่ผานโหลด เขียนความสัมพนั ธไ ดคอื i1(t) = i(t)
หนวยที่ 3 เครอื่ งวดั ไฟฟา กระแสสลบั 3 – 15 เม่ือ i(t) = กระแสโหลด และกระแสผานขดลวดแรงดันจะเปน v(t) Rp i2(t) = (3.8) แรงบดิ ขบั TD สามารถเขียนความสัมพันธไ ดเปน v(t)i(t) TD(t) ∝ Rp ∴ TD(t) = Kp(t) (3.9) การเคลื่อนที่ของเข็มช้ีจะขึ้นกับขนาดของแรงบิดเฉลี่ย ดังนั้นคาท่ีอานไดจะข้ึนกับคาแรงบิดเฉล่ีย ตลอดคาบเวลาของคล่ืนไฟฟา กระแสสลบั คาที่อานไดจะประมาณเทา กับคา กําลังเฉล่ียดวย เขียนเปนสมการไดคือ คาทีอ่ า นได = คาเฉล่ียตลอดคาบเวลาของคลนื่ ไฟฟา กระแสสลับ [ ] [ ]∴ 1 1 คาทีอ่ านได = T ∫0T TD (t)dt = T ∫0T v(t) ⋅ i(t)dt (3.10) [ ]=1 T ∫0T p(t)dt = KP(avg) แรงบดิ ควบคมุ ไดจ ากแรงสปริง ดังนัน้ เม่ือแรงบดิ เบ่ียงเบนเทากับแรงบิดควบคมุ จะได cθm = KP(avg) θm = [KP(avg)] /c = KmVI cos θ นั่นคือคาที่อานไดเปนสัดสวนกับกําลังเฉลี่ย และวัตตมิเตอรสามารถปรับเทียบใหแสดงคาบนสเกล เปนวตั ตไ ดโ ดยตรง และมสี เกลเปน แบบเชิงเสน แสดงไดด ังสมการ θm = KmVI cos θ (3.11) โดย θm = มุมของการเบย่ี งเบนของเข็มชี้ Km = คา คงท่ขี องเคร่อื งวัด, องศา/วตั ต V = คาแรงดนั RMS ของแหลง จา ย I = คา กระแส RMS ของแหลง จาย cos θ = เพาเวอรแ ฟคเตอร ในวงจรไฟฟากระแสสลับกระแสภาระอาจนาํ หนา (Lead) หรอื ลา หลงั (Lag) แรงดันท่ีภาระเปนมุม θ และวัตตม ิเตอรจ ะเบยี่ งเบนเปนสัดสว นกบั กระแสสว นท่เี ฟสตรงกนั กับแรงดนั นนั่ คอื เปนสัดสวนกบั VI cos θ เม่อื กําลังไฟฟาจริงที่สญู เสียในภาระไดจากแหลงจายกระแสสลบั คือ VI cos θ แสดงวา วัตตมเิ ตอรแ บบอิเล็กโตร ไดนาโมมเิ ตอรวัดกําลังไฟฟา จริง
3 – 16 การวดั และเครื่องวัดไฟฟา ตัวอยา งที่ 3.8 วัตตม ิเตอรแ บบอเิ ลก็ โตรไดนาโมมิเตอรม ี Km = 8° / W วดั กําลังไฟฟาในวงจรไฟสลบั 110 Vrms กระแส 0.05 A เพาเวอรแ ฟคเตอร 0.8 จงหาวา เข็มมเิ ตอรจ ะเบย่ี งเบนไปกอี่ งศา ? วิธคี ดิ จาก θm = KmVIcos θ = 80 ×110Vrms×0.05A×0.8 w = 35.2° มาตรฐานข้ัวไฟฟา ของเคร่ืองวดั กําลังไฟฟา1 ขดลวดอยูกับท่ีจะพันดวยลวดเสนโตตออนุกรมกับภาระไฟฟา เรียกวา ขดลวดกระแส (Current Coil) สวนขดลวดเคล่ือนที่จะพันดวยลวดเสนเล็กตอขนานกับภาระไฟฟา เรียกวาขดลวดแรงดัน (Potential Coil) พิสัย การวัดมาตรฐานของขดลวดกระแส คือ 5 แอมแปร หรือ 1 แอมแปร สวนขดลวดแรงดันจะเปนไปตามระบบ แรงดันไฟฟามาตรฐาน เชน 110 220 440 และ 550 โวลต โดยกําหนดพิสัยการวัดแรงดันไฟฟาเปน 120 240 และ 480 โวลต เปนตน ทิศทางการเคลื่อนท่ีของเข็มชี้จะข้ึนกับทิศทางการไหลของกระแสในขดลวดท้ังสอง ดังนั้นการตอขั้วไฟฟา ตองตอท้ังขดลวดกระแสและขดลวดแรงดันใหถูกตอง นอกจากน้ีในการวัดจะตองระวัง เกี่ยวกับวิธีการตอวงจรการวัดวาจะใชแบบกระแสถูกตอง (Correct ampere) หรือ แบบแรงดันถูกตอง (Correct Voltage) ดงั รูปท่ี 3.12 ดวย ขดลวดกระแส Iw = IL Iw ขดลวดกระแส IL VL ภาระ + + Vpc ขดลวดแรงดนั ขดลวดแรงดนั Iv VL ภาระ ก) ข) รปู ที่ 3.12 วตั ตมเิ ตอรแ บบอเิ ลก็ โตรไดนาโมมิเตอร ก) ตอแบบกระแสถูกตอง ข) ตอ แบบแรงดันถูกตอง สาเหตุท่ีทําใหเกิดคาผิดพลาด2ในวัตตมิเตอรเมื่อตอวงจรการวัดดังรูปที่ 3.12 ก) ขดลวดแรงดันตออยู กับแหลงจายและดานตนของขดลวดสนามแมเหล็กดังน้ันกระแสท่ีไหลผานขดลวดกระแสจะมีคาเทากับกระแส ภาระอยางเดียว ขณะที่ขดลวดแรงดันขนานอยูกับแหลงจายและวัดแรงดันของขดลวดกระแสรวมกับแรงดันของ 1วบิ ูล เขมรังสฤษฎ. ทฤษฎเี คร่อื งวัดไฟฟาการวัดขนาดทางไฟฟา. 2528. หนา 224-227. 2 Bell, David A. Electronic Instrumentation and Measurements. 1994. P. 76-80.
หนวยท่ี 3 เคร่ืองวัดไฟฟา กระแสสลบั 3 – 17 เมอ่ื ตอวงจรการวดั ดังรูปที่ 3.12 ข) สวนของขดลวดแรงดันตอขนานกับภาระ ดังนั้นกระแสท่ีไหลผาน ขดลวดสนามคือกระแสภาระและกระแสของขดลวดแรงดัน (I + Iv) ทําใหวัตตมิเตอรแสดงคาของกําลังไฟฟา (VI) และกําลังของขดลวดแรงดัน (VIv) เม่ือกระแสภาระมีคามากกวา Iv มาก ๆ เราสามารถไมคิดกําลังสวนนี้ได ในกรณีที่กระแสภาระมีคาต่ํา คาผิดพลาดน้ีจะมีผลตอความถูกตองของคาที่แสดงจะเห็นวาความคลาดเคล่ือนน้ี เปนคา ท่สี าํ คัญอันหนึ่ง การใชเปนเครื่องวัดกําลังไฟฟาตองระวังไมใหขดลวดแตละชุดมีกระแสไฟฟาเกินพิกัด ขดลวด กระแสไฟฟาพันดวยลวดเสนโตสามารถยอมใหกระแสไฟฟาเกินพิกัดไดถึง 20 % ตลอดเวลาการใชงานและเกิน ไดถึง 1000 % ในระยะเวลาสั้น ๆ โดยไมเกิดความเสียหาย สวนขดลวดแรงเคล่ือนไฟฟาซ่ึงพันดวยลวดเสนเล็ก สามารถใชแรงเคลอ่ื นไฟฟา เกนิ พกิ ัดถงึ 20 % ตลอดเวลาการใชงาน และเกินได 100 % ในชว งเวลาสั้น ๆ ตัวอยางท่ี 3.9 เครอื่ งวัดกาํ ลงั ไฟฟา ตวั หนงึ่ พิกัดกระแสไฟฟา 1 และ 5 แอมแปร พิกัดแรงดัน 120 และ 240 โวลต ใชว ัดกาํ ลังไฟฟา ของมอเตอรที่ใชแ รงดัน 160 โวลต มอเตอรนี้จะตองขบั ภาระทางกลสูงขึ้นเร่ือย ๆ จนในท่ีสุดเข็ม ชี้ของเคร่ืองวัดแสดงที่เต็มสเกลพอดี 120 สว น จงหาคา 1) กาํ ลงั ไฟฟาที่มอเตอรใชไป 2) ขนาดกระแสทีไ่ หลผานขดลวดกระแสของมิเตอร วิธคี ิด เน่ืองจากไมทราบคากระแสของมอเตอรจึงตองเลือกพิสัยแรงดันเปน 240 โวลตและขดลวดกระแส 5 แอมแปรจะได กาํ ลงั ไฟฟา ทีเ่ ครื่องวัดแสดงไดสูงสดุ Pmax = VI = (240 V) (5 A) = 1200 VA หรือ 1200 w นั่นคือเม่ือคิดท่ีแรงดัน 240 โวลต กระแส 5 แอมแปร กําลังไฟฟาเต็มสเกล 120 สวนจะเทากับ 1200 วัตต ขณะท่ีแรงดันตกของมอเตอรใชเพียง 160 โวลต จะเห็นไดชัดวากระแสท่ีทําใหมอเตอรแสดงเต็มสเกล จะตอ งเกนิ พกิ ัดของขดลวดกระแส (เกนิ 5 แอมแปร) หากระแสไดจากสมการ I = Pmax V 1200W = 160V = 7.5 แอมแปร กําลังไฟฟา ทีส่ ูญเสียในมอเตอร 1200 วตั ต และกระแส 7.5 แอมแปร
3 – 18 การวดั และเครอ่ื งวัดไฟฟา จากตัวอยางท่ี 3.9 เคร่ืองวัดแสดงกําลังไฟฟาไมเกินสเกล แตกระแสที่ผานขดลวดกระแสมีขนาดเกิน พิกัดถึง 2.5 แอมแปร (ประมาณ 50 %) เข็มมิเตอรจึงจะช้ีเต็มสเกลซ่ึงเกิน 20 % ดังไดกลาวไวขางตน จึงตอง ระมัดระวังในเรื่องน้ีดวย โดยปกติขณะใชงานจริงจะเพิ่มเครื่องวัดกระแสและเคร่ืองวัดแรงดันไฟฟาเขาในวงจร การวัด เพื่อจะไดทราบวาขดลวดชุดใดของวัตตมิเตอรเกิดการใชงานเกินพิกัด แตในกรณีท่ีทราบคาแรงดันของ ระบบแลว กไ็ มจ าํ เปน ตองใชเคร่ืองวัดกระแสหรือแรงดันเพิ่มอกี กไ็ ด การชดเชยวัตตมเิ ตอร เราสามารถขจัดคาผิดพลาดจากการตอวงจรการวัดกําลังไฟฟาได โดยผูผลิตจะพันขดลวดสนาม แมเ หลก็ กบั ขดลวดชดเชยซึ่งเปนขดลวดเสนเล็ก ๆ ไปพรอมกับขดลวดสนาม โดยขดลวดนี้จะตอใหเปนสวนของ ขดลวดแรงดันซึ่งขดลวดแรงดันจะตอจากจุดเขาภาระโดยตรง ดังน้ันกระแสของขดลวดเคลื่อนท่ีจะเปนสัดสวน กับแรงดันที่ภาระเสมอ ขณะท่ีกระแสผานขดลวดสนามคือ IL + Iv ดังน้ันเสนแรงแมเหล็กของขดลวดสนามท่ี เกิดข้ึนจะแปรตาม IL + Iv แตเน่ืองจากขดลวดชดเชยพันอยูกับขดลวดสนามมีกระแส Iv ไหลในทิศตรงขามซ่ึง สรางสนามแมเหล็กในทิศตรงขามกับสนามแมเหล็กของขดลวดสนามที่เกิดจากกระแส IL + Iv ทําให สนามแมเหล็กท่ีเกิดจากกระแส Iv หักลางกับสนามแมเหล็กจาก IL + Iv ทําใหเหลือสนามแมเหล็กในขดลวด สนามเปนผลจาก IL อยางเดียวขณะที่แรงดันก็เปนแรงดันครอมภาระอยางแทจริง ทําใหวัตตมิเตอรแสดงคากําลัง ท่ีภาระใชไปอยางแทจริงดวย เราสามารถตรวจสอบวามีการชดเชยสมบูรณหรือไมโดยการเปดวงจรทางดาน ภาระของวตั ตมิเตอรอ อก หากชดเชยไดส มบรู ณค าทอ่ี า นไดควรเปน ศูนย 3.3.2 การขยายพิสัย ทาํ ไดโดยการตอความตา นทานชันท ขนานกับขดลวดเคลื่อนทีใ่ นกรณีของแอมมเิ ตอร และตอ ความตา นทานจํากดั กระแสอนกุ รมกบั ขดลวดเคลือ่ นทีเ่ มอื่ ทําเปนวตั ตมเิ ตอร (รปู ที่ 3.11) สวนโวลตม เิ ตอรจ ะ ขยายพสิ ัยไดโ ดยหาคา Rs มาตออนุกรมซ่ึงหาคา ไดโดยวธิ คี าํ นวณเหมือนกบั การหาคา Rs ในมเิ ตอรท ใี่ ชร ะบบ เคล่อื นที่แบบ D’Arsonval ตวั อยา งที่ 3.10 ใชมิเตอรขนาด 10 mA.ทําเปนโวลตมิเตอร 10 V. ถา Rm = 50 Ω จงคาํ นวณหาคาRs วธิ ีคิด S = I 1 =10m1 A. =100 Ω V fsd Rs = S × Range – Rm = 100 Ω × 10 V − 50Ω = 950 Ω V
หนว ยที่ 3 เครื่องวดั ไฟฟา กระแสสลบั 3 – 19 ตัวอยา งท่ี 3.11 ระบบเคลือ่ นทีแ่ บบอิเลก็ โตรไดนาโมมเิ ตอร มคี .ต.ท. Rm= 40 Ω ขนาดกระแสเบีย่ งเบนเตม็ สเกล 10 มลิ ลแิ อมแปร ตอ งการขยายพิสยั การวัดเปนแอมมิเตอรพิสยั 1 แอมแปร จงหาคา ค.ต.ท. Rsh ? วธิ ีคดิ Rsh = Rm = 40Ω = 40Ω = 0.404 Ω n −1 100 −1 99 เมื่อตอกับแหลงจายและมกี ระแสตรงไหลผาน 1 แอมแปร เข็มของมเิ ตอรจะช้ีเต็มสเกล และทํานอง เดียวกนั เมอ่ื ตอ กับแหลงจายกระแสสลบั 1 แอมแปรเขม็ จะช้ีเตม็ สเกลเชนเดียวกัน พสิ ัยของแรงดนั ของวงจรขดลวดเคล่อื นท่ใี นวัตตม ิเตอรส ามารถเปลีย่ นไดโดยใชสวิตชเลือกคา ความตานทานจํากดั กระแสคา ตาง ๆ จากภายในหรือภายนอกวงจรเหมือนกบั การขยายยานการวัดของโวลตมิเตอร สาํ หรบั พิสัยของกระแสสามารถเปลย่ี นไดงา ย โดยสบั สวติ ชเลอื กตอขดลวดสนามสองชดุ ทตี่ อแบบอนกุ รมกันอยู ใหตอ กันแบบขนานดังรูปท่ี 3.13 ขดลวดกระแส 1 A 0.5 A 1 A 0.5 A กระแสภาระ สวติ ชเ ลอื กกระแส ขดลวดกระแส ขดลวดแรงดัน แรงดนั แหลงจา ย 60 V แรงดนั ภาระ สวติ ชเลอื กแรงดัน 120 V 240 V รูปที่ 3.13 วัตตม ิเตอรห ลายพสิ ยั นอกจากน้ีสําหรับวัตตมิเตอรท่ีใชกับไฟฟากระแสสลับยังสามารถขยายพิสัยการวัดโดยใชหมอแปลง กระแสและหมอแปลงแรงดัน ซึ่งเปนวิธีการวัดกําลังไฟฟาทางออมวิธีหน่ึง คาท่ีอานไดจากเคร่ืองวัดจะเปน สัดสวนกับอัตราสวนของหมอแปลงท่ีใชโดยการลดขนาดกระแสสูง ๆ ลงใหเหลือคากระแสมากสุดเพียง 5 แอมแปร เน่ืองจากหากใหกระแสคามาก ๆ แมทําไดก็ตามจะทําใหมีสนามแมเหล็กมากพอที่จะเปลี่ยนแปลง สนามแมเ หลก็ ของขดลวดสรา งสนามแมเหล็ก กรณที ่ีแรงดันทจ่ี ะวัดเกินพิกัดของมิเตอรก็จะใชหมอแปลงแรงดัน สําหรับลดแรงดันลงมาใหพอดีกับพิกัดแรงดันของวัตตมิเตอร รูปที่ 3.14 แสดงลักษณะการตอใชรวมกับ หมอแปลงทง้ั สองอยา ง
3 – 20 การวัดและเคร่ืองวัดไฟฟา หมอ แปลงกระแส แหลง จา ย ขดลวดแรงดัน ภาระ A V ขดลวดกระแส หมอแปลงแรงดนั รปู ที่ 3.14 การตอหมอ แปลงกระแสและหมอแปลงแรงดันรวมกับวัตตมิเตอร อยางไรก็ตามหมอแปลงกระแสไมสามารถใชไดกับวงจรท่ีใชไฟฟากระแสตรงซึ่งอาจตองใชวิธีการ อื่น ๆ เชน ใชฮ อลเอฟเฟคตรวจจับและนาํ ไปขยายและปรบั แตง สญั ญาณตอ ไป 3.4 เครื่องวดั แบบแผน เหล็กเคลอื่ นท่ี Iron-vane Meter Movement นยิ มใชในงานอุตสาหกรรมเนื่องจากมคี วามแข็งแรงทนทานมาก แตมี ความถูกตองไมสงู มากนัก นิยมนาํ ไปวดั ไฟฟา กระแสสลบั ท่ีแผงสวิตชห รือแผงควบคมุ ในโรงงานอุตสาหกรรม หรอื ในรถยนต นอกจากนีเ้ ครือ่ งวดั แบบขดลวดเคลื่อนที่จะมีใชในเครื่องมือวดั ราคาถูก เชน ใชสาํ หรบั วดั การอัด ประจแุ ละคายประจุในรถยนต สําหรบั กรณใี ชก ับไฟฟากระแสสลบั เชน สาํ หรับงานวัดกระแสไฟฟาจะยอมใหมี คาผิดพลาดในชวง 5 % - 10 % เปนตน แบง ตามผลของแรงท่ีใชใ นการขบั สว นเคล่อื นท่ีเปน 3 แบบคือ แบบ แรงดดู แบบแรงผลัก และแบบแรงดดู แรงผลกั รวมกนั ดังน้ี เครอ่ื งวัดแบบแรงดดู (Attraction Movement) กระแสท่ีวัดจะผานขดลวดอยกู บั ทท่ี าํ ใหเ กิดสนามแมเ หล็ก (Field Coil) และเกิดการเหนี่ยวนําดูดให สวนเคลื่อนทีซ่ ่งึ ทาํ จากแผนเหล็กออน (Soft Iron Plunger) ทปี่ ระกอบเปน กลไกเชื่อมกับสปรงิ ควบคุม (Control Spring) ดงั รปู ท่ี 3.15 เคล่ือนท่เี ขา ไปและทําใหเข็มของเคร่ืองวัดเบ่ียงเบนไปได เมอ่ื เกิดสมดลุ ของแรงดูดของ ขดลวดสนามและแรงสปริงเข็มจึงจะหยุดน่ิงชแ้ี สดงคาได
หนว ยท่ี 3 เครือ่ งวัดไฟฟา กระแสสลับ 3 – 21 รปู ท่ี 3.15 เครื่องวัดแบบแผนเหล็กเคลือ่ นทใ่ี ชแรงดดู เคร่ืองวัดแบบแรงผลัก (Repulsion Movement) การเบี่ยงเบนของเข็มในเคร่ืองวัดชนิดน้ีเกิดจากแรงผลักของแผนเหล็กออน 2 แผนซึ่งแผนหนึ่งอยูกับ ท่ี อีกแผนเคลื่อนท่ีและมีขั้วแมเหล็กท่ีเกิดจากการเหนี่ยวนําจากขดลวดสนามเหมือนกัน แสดงสวนประกอบ ดังรูปที่ 3.16 ทําใหเกิดแรงผลักซ่ึงแปรตามคากําลังสองของกระแส (I2) ดังน้ันสเกลมิเตอรแบบนี้จะเปนแบบ Square - Law Scale เหมือนกับแบบอิเล็กโตรไดนาโมมิเตอร ซ่ึงขดลวดอยูกับท่ีสามารถออกแบบใหตอบสนอง แบบเชงิ เสนไดโดยออกแบบใหม ีรูปรา งขดลวดเปน สวนของวงกลมดงั รปู ท่ี 3.17 รปู ท่ี 3.16 เครือ่ งวัดแบบแผน เหล็กเคลื่อนทใ่ี ชแ รงผลัก
3 – 22 การวัดและเคร่ืองวัดไฟฟา รปู ที่ 3.17 ขดลวดสนามเปน สวนของวงกลม (Radial-type Iron-vane) เครอื่ งวัดแบบแรงดูดและแรงผลักรว มกนั เขม็ ชีใ้ นเครื่องวัดแบบแผนเหล็กเคลือ่ นทแ่ี บบแรงดูดหรอื แรงผลักจะสามารถเบี่ยงเบนไดประมาณ 90 องศาเทาน้นั เม่อื ตอ งการใหเบ่ียงเบนไดม ากกวาจะใชแ บบแรงดูดและแรงผลกั รวมกันซ่ึงทําใหสามารถเบ่ยี งเบน ไดถึง 250 องศา มีลกั ษณะโครงสรา งดังรูปที่ 3.18 ประกอบดวยแผนเหล็กออ น 2 คู วางอยใู นสนามแมเหลก็ ที่ เกิดจากขดลวดสนาม โดยคหู นึ่งจะออกแบบผลัก และอกี คจู ะออกแรงดดู ใหเ ข็มเบ่ยี งเบนไป เม่อื ขดลวดสนามไดร บั ไฟฟากระแสสลบั การเบย่ี งเบนของเขม็ จะอาศยั แรงผลักของแผน เหล็กอยูกบั ที่ กบั แผน เหล็กเคลือ่ นที่ แตเมื่อเบยี่ งเบนถึงชวงปลายสเกลแผนเหล็กปรับแตงไดจ ะดูดแผนเหล็กเคลื่อนท่ี เพ่ือ ชดเชยแรงผลักในตอนเร่ิมตน ทําใหเข็มช้ีเบย่ี งเบนไดมุมเพม่ิ ขึ้น รปู ท่ี 3.18 เคร่ืองวดั แบบแผนเหล็กเคลอื่ นใชแ รงดูดและแรงผลกั รวมกนั
หนวยท่ี 3 เคร่ืองวัดไฟฟา กระแสสลบั 3 – 23 สมการมุมการเคลอ่ื นท่ีของเข็มชี้และผลของความถีไ่ ฟฟา เข็มชี้สามารถเคลอ่ื นที่ไปไดดวยแรงทเี่ กิดจากแผนเหล็กภายในทรงกระบอก เขยี นเปน ความสัมพันธค อื F ~ B2 เม่ือ F = แรงบดิ ทที่ าํ ใหเขม็ ชเ้ี คลื่อนท่ี (N) B = ความหนาแนนเสน แรงแมเหล็กบนแผน เหล็ก Vs/m2 ขณะท่ีแผนเหล็กเคลื่อนทหี่ างออกจากแผนเหล็กอยกู ับท่ี จะทําใหแ รงระหวางแผน เหล็กท้ังสองลดลง Fa ~ B2 Kθ เมอื่ Kθ เปนสมการมุมของเขม็ ช้ี เม่ือมมุ มากข้ึน ระยะระหวา งแผนเหลก็ ท้ังสองจะมากข้ึนดวย ทําให แรงออนลง ความหนาแนนเสนแรงแมเ หล็กทแ่ี ผนเหล็กท้ังสอง จะขึ้นกับกระแสไฟฟา ท่ีไหลเขา ขดลวดที่อยูกับท่ี ซง่ึ เปน กระแสไฟฟา ที่ตองการวัดนั่นคอื B ~ Im ดงั น้ันแรงท่ที ําใหเขม็ ชี้เคลื่อนท่ีเปน Fa ~ I2m f’(θ) หาแรงบิดทท่ี ําใหเ ขม็ ช้ีเคลื่อนท่ีไดจากแรงคณู ระยะ r จากกลางเพลาถึงแผน เหล็กเคล่อื นท่ี TD ~ I2m f’(θ) r เม่อื เขม็ ชี้เคลื่อนทีส่ ปรงิ กน หอยที่ตดิ อยกู บั เพลาของเขม็ ช้ีจะถูกบดิ ไปดว ย ทําใหเกดิ แรงบดิ ควบคุม TC TC ~ cθ เมอื่ θ = มุมของเข็มช้ีท่เี บ่ยี งเบนไป c = คาคงท่ีในการยดื ตัวของสปรงิ เข็มชีจ้ ะหยุดนง่ิ เม่ือแรงบิดขบั เทากับแรงบดิ ควบคุม TC = TD cθ ~ Im2 f’(θ) r θ = f ' (θ)r I 2m c จะเหน็ วามมุ เบีย่ งเบนของเข็มชขี้ ึ้นกบั กระแสไฟฟาทท่ี ําการวดั ยกกาํ ลังสอง ดังนัน้ สเกลที่หนา ปท ม ของเครือ่ งวดั แบบแผน เหล็กเคลื่อนท่จี ะถูกแบงไมเปน สัดสวนโดยตรง เน่ืองจาก θ คากระแสไฟฟาต่ํา ๆ จะไดมุม นอยกวาที่คา กระแสสงู ดังรูปท่ี 3.19
3 – 24 การวดั และเครอ่ื งวัดไฟฟา θ ~I2 6.25 4 1.5 2 2.25 1 2.5 0 1 2 2.5 I 0.25 0 0.5 1 1.5 รปู ที่ 3.19 การแบง สเกลบนหนาปทมและลกั ษณะสเกลเครอื่ งวัดแบบแผน เหลก็ เคลือ่ นที่ การวดั กระแสไฟฟา ใชงาน เน่ืองจากเครื่องวัดแบบแผนเหล็กเคลื่อนที่นิยมใชวัดกระแสซ่ึงพิสัยอยูระหวาง 0.1 ถึง 50 แอมแปร หากตอ งการวัดกระแสไฟฟา ซึง่ สูงกวาน้จี ะตองใชห มอ แปลงกระแสไฟฟาประกอบการวัดดวย เข็มชี้ของเคร่ืองวัด แบบแผนเหล็กเคลื่อนที่จะแปรตามกระแสไฟฟาที่วัดยกกําลังสอง เม่ือเปนกระแสสลับเข็มช้ีจะไมสามารถ เคลื่อนที่ขน้ึ ตามคาช่วั ขณะของกระแสยกกาํ ลังสองได เข็มจงึ แสดงคา เฉลีย่ ของรูปคล่ืนกระแสไฟฟายกกําลงั สอง θ = 1 ∫0T i2 (i)dt T เม่ือพิจารณาสมการมุมของเข็มช้ัท่ีกระทําได จะเห็นวาเปนสมการเดียวกันกับสมการของการหาคา กระแสไฟฟา ใชง านยกกําลังสอง 1 T (Ieff)2 = ∫0T i2 (i)dt สําหรบั คลื่นไซน (Ieff)2 = I2m2ax ดังน้ันเข็มของเคร่ืองวัดแบบแผนเหล็กเคลื่อนท่ีจะเคลื่อนท่ีตามคาใชงานของกระแสไฟฟาที่ทําการวัด ยกกาํ ลังสองน่ันเอง การอา นคาบนหนาปท มของเครอ่ื งวัดตามความตองการใหอานคาเปนคาใชงาน เคร่ืองวัดแบบ แผน เหล็กเคล่ือนทีจ่ ึงมีการคาลเิ บรทสเกลดวย กระแสไฟฟา ท่อี า นได = Ie2ff = Ieff
หนวยท่ี 3 เคร่ืองวัดไฟฟากระแสสลับ 3 – 25 ตัวอยางท่ี 3.12 ใชเคร่ืองวัดแบบแผนเหล็กเคลื่อนท่ีวัดกระแสไฟฟารูปฟนเล่ือย (Sawtooth Voltage) ตามรูปท่ี 3.20 จงหาคาท่ีอานไดบ นหนา ปท มของเครอื่ งวดั นี้ i(t) 10 0t -10 T รปู ที่ 3.20 รปู คลน่ื ฟนเล่ือย วธิ คี ดิ จากรปู ที่ 3.20 เขียนสมการกระแสรูปคลืน่ ฟนเลื่อยไดคอื i(t) = 5 t – 10 A เขม็ ช้ีเคลอื่ นที่ตามคา เฉลยี่ ของกระแสไฟฟา ยกกําลงั สอง นน่ั คือ 1 i2(t) = (Ieff)2 = T ∫0T i2 (i)dt = 1 ∫0T (5t − 10 ) 2 dt T 25t3 100 t 2 = 1 [ 3 − 2 + 100t]T0 T 25T 2 = [ 3 − 100T + 100] 2 ในเวลา 1 คาบ T ใชเวลา 4 หนวย ∴ (Ieff)2 = [ 25(4 )2 − 100(4) + 100] 3 2 = 33.3 A ∴ Ieff = 33.3 = 5.77 A ผลของความถไ่ี ฟฟา เคร่ืองวดั แบบแผน เหล็กเคลอ่ื นทสี่ ามารถไฟฟากระแสสลบั รปู คลืน่ มคี วามถ่ีตํ่า ๆ จนสงู ถงึ 1 kHz โดย ท่คี วามถี่ไฟฟา มีผลตอการวดั แรงดนั ไฟฟามาก เนอ่ื งจากวงจรของเครื่องวัดประกอบดวยความตานทานและคา ความเหน่ยี วนํารวมเปน อมิ พแี ดนซคอื Zs = Rs + jωL
3 – 26 การวัดและเครือ่ งวัดไฟฟา เมอื่ Zs = ขนาดอิมพแี ดนซภ ายในวงจรเครื่องวัด (โอหม ) Rs = ความตานทานภายในเครือ่ งวัด (โอหม) ωL = คา อมิ พแี ดนซของขดลวดอยกู ับท่ี (โอหม) คา อิมพีแดนซข องเครื่องวัดเม่อื ใชว ัดแรงดันไฟฟา คากระแสทไ่ี หลเขา เครอ่ื งวดั ขึ้นกับคา ของ แรงดนั ไฟฟา และแปรผกผันกับอิมพีแดนซ เมื่อความถ่ีสงู ขึ้นจะทําใหอมิ พแี ดนซข องเครอื่ งวัดสูงขึน้ ดวย และ กระแสไฟฟาทีไ่ หลเขา เคร่ืองวดั จะต่ําลง ทําใหเข็มช้ีของเครอื่ งวัดเคลื่อนท่ไี ดนอ ยลงกวา คาแรงดนั ไฟฟาทีม่ คี า เทา กบั แตค วามถี่ไฟฟา ตา่ํ กวา ซ่งึ เครือ่ งวัดแบบแผนเหลก็ เคล่อื นที่จําเปน ตองคาลิเบรทสเกลในการใชวดั แรงดันไฟฟา ท่ีมีความถี่ตาง ๆ เราสามารถทําใหคา อมิ พแี ดนซของวงจรไมขนึ้ กับความถี่ได โดยการตอ ความตา นทานขนานกับ ความจไุ ฟฟาแลวนําไปอนุกรมกับขดลวดของเครือ่ งวดั ดังรูปที่ 3.21 C I R Rs V L รปู ที่ 3.21 อิมพแี ดนซข องขดลวดในเครือ่ งวัดแบบแผนเหล็กเคล่ือนที่ไมขึ้นกับความถี่ไฟฟา จะไดคาอิมพแี ดนซของวงจรระหวา งขว้ั เปน Z = Rs + jωL + ⎜⎝⎛ 1 + R ⎟⎞⎠ jωCR = Rs + R + jω ⎝⎛⎜⎜ L − 1 + CR 2 2 R 2 ⎠⎞⎟⎟ 1 + ω2C2R2 ω2C เมอ่ื ให ω2C2R2 << 1 เราสามารถไมค ดิ เทอมของ ω2C2R2 ไดสมการเหลอื เปน Z = Rs + R + jω (L – CR2) เมอื่ ทําใหคาความเหนี่ยวนํา (L) ของขดลวดมคี าเทากับ CR2 L = CR2 จะเขียนสมการอิมพีแดนซข องเคร่ืองวดั เปนความตา นทานเพยี งอยางเดียวดังสมการ Z = Rs + R ดังนั้นเครอ่ื งวัดแบบแผน เหล็กเคลือ่ นทนี่ คี้ า ความตา นทานจะไมขึ้นกบั ความถ่ีไฟฟา
หนวยท่ี 3 เครือ่ งวัดไฟฟา กระแสสลบั 3 – 27 ลักษณะพิเศษของเครื่องวัดแบบแผนเหลก็ เคลื่อนที่ 1. ขดลวดมคี าความเหน่ียวนําตัวเอง (Self–inductance : L) เม่อื ใชกับความถ่ีสงู ขึน้ คาอิมพแี ดนซจ ะ สงู ขึ้น กระแสจะไหลผานไดน อ ยกวาท่คี วรจะเปน เขม็ ช้ีจะแสดงคา ไดต่าํ กวา หรือผดิ ไปจากคาท่ีเปนจริง (I = V/Z) 2. ถาบริเวณรอบ ๆ เครอ่ื งวัดมสี นามแมเหล็กอาจมีผลกระทบตอ จาํ นวนเสนแรงแมเ หลก็ ภายใน เครือ่ งวดั ได 3. เม่ือนํา Iron–vane วดั ไฟฟากระแสตรงคามากเกินไปจะเกดิ ความสูญเสยี เนอ่ื งจากฮิตเตอรซี สี ท่ี แผน เหล็กจะทําใหเกิดความผิดพลาดได การขยายพิสัยการวัดสามารถนําไปใชเปนโวลตมิเตอรไดโดยตอคา RS ขยายพิสัยเหมือนกับ D’Arsonval และไวตอการเปล่ียนแปลงความถี่ ดังน้ันจึงสามารถแสดงคาไดถูกตองเม่ือใชงานอยูในยานความถี่ 25 - 125 Hz เทานัน้ 3.5 เครอ่ื งวัดไฟฟาแบบเหนี่ยวนํา (Induction type Instruments) เคร่ืองวัดชนิดเหน่ียวนํา คือเคร่ืองวัดที่อาศัยแรงแมเหล็กไฟฟาที่เกิดจากกริยาระหวางกระแสไหลวนที่ เกิดจากการชักนําของสนามแมเเหล็กที่ไดจากไฟฟากระแสสลับ โดยท่ีตัวนําอยูในสนามแมเหล็กที่เปล่ียนแปลง จะเกิดมีกระแสไหลวนในตัวนํา และเมื่อมีกระแสจะทําใหเกิดสนามแมเหล็กข้ึนอีกชุดหน่ึงทํากริยากับสนาม แมเหล็กจากกระแสสลับอีกทอดหน่ึง หากตัวนําดังกลาวทําเปนจานอิสระจะเกิดการเคล่ือนที่ไปตามแรงลัพธ สามารถใชเ ปน ตวั ช้ีบอกปริมาณไฟฟา ได เคร่ืองวัดแบบเหนี่ยวนําสามารถทําเปนเครื่องวัดมุมกวางไดงาย มีแรงบิดมาก ใชวัดเฉพาะไฟฟา กระแสสลับเทานั้น มีใชในเครื่องวัดกระแส แรงดัน และเครื่องวัดพลังงานไฟฟา ซ่ึงในที่น้ีจะกลาวถึงหลักการ ทํางาน 3.5.1 หลกั การทํางานของเครอ่ื งวดั แบบเหนยี่ วนํา พจิ ารณาการทํางานไดจากรูป 3.22 รปู ที่ 3.22 แรงบนจานโลหะเกดิ จากกระแสไฟฟาเหนี่ยวนําในเครอ่ื งวดั แบบเหน่ียวนํา
1 วิชา เครื่องมอื วัดไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ ส์ บทที่ 4 รหัสวิชา 2104 – 2204 บทที่ 4 โวลต์ แอมป์และโอห์มมิเตอร์ วัตถปุ ระสงค์ 1. เขา้ ใจการทํางานของโวลต์ แอมป์ และโอห์มมเิ ตอร์ 2. คาํ นวณคา่ ความต้านทานชนั ท์ และความต้านทานตวั คูณได้ 3. รวู้ ธิ กี ารใชง้ านทีถ่ กู ตอ้ งของโวลต์ แอมป์และโอหม์ มเิ ตอร์ 4-1 โวลตม์ ิเตอร์ โวลต์มิเตอร์ คือเคร่ืองมือวัดชนิดหน่ึงท่ีใช้วัดแรงดันไฟฟ้า มีทั้งโวลต์มิเตอร์ วัด แรงดันไฟสลับ(AC Volt meter) และโวลต์มิเตอร์ วัดแรงดันไฟตรง(DC Volt meter) ในบทเรียนน้ีจะกล่าวถึง โวลต์มิเตอร์วัดแรงดันไฟตรง เท่าน้ัน โวลต์มิเตอร์ จะมี โครงสร้างแบบขดลวดเคลื่อนที่และแม่เหล็กถาวร(PMMC) และต่อความต้านทานตัวคูณ (Multiplier resistor, RS) การท่ีโวลต์มิเตอร์สามารถวัดค่าแรงดันไฟฟ้าได้ ก็อาศัย ปริมาณของกระแสไฟฟา้ ท่ไี หลผ่านแอมปม์ ิเตอร์ซึ่งข้นึ อย่กู บั ปรมิ าณของแรงดันท่ีจ่ายเข้า มา ดังนั้นการวัด ปริมาณ ของแรงดันไฟฟ้าก็คือ การวัดปริมาณของกระแสไฟฟ้านั่นเอง เพียงแต่เปลี่ยนสเกลหน้าปัดของมิเตอร์ให้แสดงค่าออกมาเป็นแรงดันไฟฟ้าเท่านั้นและ ปรับค่าให้ถูกต้อง กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเข้าโวลต์มิเตอร์จะมีขีดจํากัดขึ้นอยู่กับค่าการ ทนกระแสได้ของโวลต์มิเตอร์น่ันเอง ดังน้ัน เมื่อนําโวลต์มิเตอร์ไปวัดแรงดันไฟฟ้าค่ามาก ๆ ย่อมส่งผลให้ กระแสไฟฟ้าไหลผ่านเข้าโวลต์มิเตอร์มากตามไปด้วยหากมากเกินกว่าที่ โวลต์มิเตอร์ทนได้ก็ไม่สามารถนําโวลต์มิเตอร์ไปวัดแรงดัน ไฟฟ้านั้นได้ โครงสร้าง วงจร ภายใน และสญั ลกั ษณ์ของโวลตม์ ิเตอร์แสดงในรูปท่ี 4-1 ELWE(Thailand) หน้า 1
2 วชิ า เครอ่ื งมือวัดไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ บทที่ 4 รหัสวชิ า 2104 – 2204 รูปที่ 4-1 โครงสร้าง วงจรและสัญลกั ษณข์ องโวลตม์ ิเตอร์ การคาํ นวณคา่ ความตา้ นทานตวั คณู (Multiplier) รปู ท่ี 4-2 จากวงจรโวลตม์ เิ ตอร์ในรูปท่ี 4-2 เขียนสมการหาค่า RS ได้ดังตอ่ ไปนี้ RS คือ คา่ ความต้านทานตัวคณู ทต่ี อ่ อนกุ รมกบั PMMC Rm คอื คา่ ความตา้ นทานภายในของ PMMC VS คอื แรงดันภายนอกทตี่ อ้ งการวัดดว้ ยโวลต์มเิ ตอร์ Vm คือ แรงดันภายในของ PMMC = ImRm VS = Im (RS + Rm ) RS = VS − Vm (1) Im ตัวอย่างที่ 4-1 จากวงจรโวลต์มิเตอร์ในรูปที่ 4-2 ถ้าขดลวดเคล่ือนท่ีมีค่า Im=1mA, Rm=100Ω จงหาคา่ RS ท่ีจะทาํ ให้โวลต์มิเตอร์น้ีวัดแรงดันไฟฟ้า ดี.ซี.สูงสุดได้ 50V เต็ม สเกล ELWE(Thailand) หนา้ 2
3 วิชา เคร่ืองมอื วดั ไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนกิ ส์ บทที่ 4 รหัสวิชา 2104 – 2204 Vm = Im Rm = 1mA(100Ω) = 100mV RS = VS − Vm = 50V − 0.1V = 49.9kΩ Im 1mA ตัวอย่างที่ 4-2 จากวงจรโวลต์มิเตอร์ 4 ย่านวัดในรูปท่ี 4-3 จงหาค่า R1 R2 R3 R4 R5 ที่ จะทําให้โวลตม์ เิ ตอร์นวี้ ัดแรงดนั ไฟฟ้า ดี.ซี.ไดต้ งั้ แต่ 1V จนถึงสูงสดุ 250V เตม็ สเกล รูปท่ี 4-3 ท่ยี ่าน 1V (E1) Vm = Im Rm = 50μA(2kΩ) = 100mV R1 = E1 − Vm = 1V − 100mV = 18kΩ Im 50μA ทย่ี า่ น 2.5V (E2) R2 = E2 − E1 = 2.5V −1V = 30kΩ Im 50μA ที่ย่าน 10V (E3) R3 = E3 − E2 = 10V − 2.5V = 150kΩ Im 50μA ELWE(Thailand) หน้า 3
4 วิชา เคร่ืองมือวัดไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ บทที่ 4 รหสั วิชา 2104 – 2204 ทย่ี า่ น 50V (E4) R4 = E4 − E3 = 50V −10V = 800kΩ Im 50μA ที่ยา่ น 250V (E5) R5 = E5 − E4 = 250V − 50V = 4MΩ Im 50μA การวัดแรงดนั ไฟฟา้ 1. ควรตง้ั ยา่ นการวดั ใหอ้ ย่ใู นย่านสงู สุดกอ่ นเสมอ (100 V) จากนน้ั จึงค่อยลดลง ตามขนาดของแรงดนั ไฟฟา้ ท่ที าํ การวัดได้ 2. ตอ่ สายสแี ดง ( + ) เขา้ กับดา้ นที่มีศกั ยไ์ ฟฟ้าเป็นบวก และตอ่ สายสีดํา ( - ) เข้ากับด้านที่มีศกั ยไ์ ฟฟา้ เปน็ ลบ 3. การตอ่ โวลตม์ ิเตอร์จะต้องตอ่ ขนานกบั ตวั อุปกรณ์ที่ต้องการวดั เสมอ 4. วงจรการต่อโวลตม์ เิ ตอร์เพอ่ื วัดแรงดนั ของแบตเตอร่ี แสดงดังรูปท่ี 4-4 รูปท่ี 4-4 การต่อโวลตม์ ิเตอร์ ดี.ซ.ี ELWE(Thailand) หน้า 4
5 วิชา เครอ่ื งมือวดั ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนกิ ส์ บทที่ 4 รหัสวิชา 2104 – 2204 4-2 แอมป์มิเตอร์ แอมป์มิเตอร์ คือเคร่ืองมือวัดชนิดหน่ึงท่ีใช้วัดกระแสไฟฟ้า มีทั้งแอมป์มิเตอร์วัด กระแสไฟสลับ(AC Amp meter) และแอมป์มิเตอร์วัดกระแสไฟตรง(DC Amp meter) ในบทเรียนน้ีจะกล่าวถึง แอมป์มิเตอร์วัดกระแสไฟตรง เพื่อเป็นพ้ืนฐานในการศึกษาต่อ ในระดับที่สูงขึ้น แอมป์มิเตอร์แบบแอนะล็อก จะมีโครงสร้างแบบขดลวดเคลื่อนที่และ แม่เหล็กถาวรและต่อความต้านทานชันท์ (Shunt resistor, RS) (ปกติความต้านทาน ชันท์จะมีค่าน้อยมาก คือ น้อยกว่า 1Ω) ขนานกับเครื่องวัด PMMC เพื่อให้ ชันท์ แบ่ง กระแสที่ต้องการวัด(I) วัดได้เหมาะสมและควบคุมให้กระแสสูงสุดไม่เกินกว่าที่ขดลวด เคล่ือนที่ต้องการ(Im= IFS) หรือเรียกว่าค่ากระแสเต็มสเกล(IFS) โครงสร้าง สัญลักษณ์ และวงจรของแอมปม์ ิเตอรแ์ สดงในรปู ท่ี 4-5 โดยปกติขดลวดเคลื่อนท่ี(PMMC) จะมีค่าความต้านทานคงท่ี เช่น 2000Ω และ จะมีค่ากรแสที่ทําให้เข็มชี้ ชี้ที่ค่าสูงสุดของสเกลได้จํากัดมีค่าไม่มากนักเช่น 1mA หรือ 100μA เป็นต้น เช่น PMMC ขนาด 1mA/2kΩ แบบน้ีหมายความว่า ขดลวดเคลื่อนที่นี้ มีขนาดกระแสเต็มสเกล (Im) 1mA ความตา้ นทานขดลวดเคลื่อนที่เท่ากับ Rm=2kΩ รูปท่ี 4-5 โครงสร้าง สัญลกั ษณ์และวงจรของแอมป์มเิ ตอร์ ดี.ซ.ี การคํานวณคา่ ความต้านทานชนั ท์ รูปท่ี 4-6 วงจร และ ตัวต้านทานชันท์ ELWE(Thailand) หน้า 5
6 วิชา เคร่ืองมอื วัดไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์ บทท่ี 4 รหสั วชิ า 2104 – 2204 จากวงจรแอมป์มเิ ตอรใ์ นรปู ท่ี 4-6 เขียนสมการหาค่า RS ได้ดงั ต่อไปนี้ Im Rm = I S RS ImRm = (I − Im )RS RS = Rm I m (1) I − Im ตัวอย่างที่ 4-3 จากวงจรแอมป์มิเตอร์ใน รปู ท่ี 4-7จงหาคา่ RShunt เมอ่ื PMMC ขนาด 1mA/200Ω และต้องการให้แอมป์มิเตอร์ นี้วัดกระแสไฟฟ้าได้สูงสดุ 5A รูปท่ี 4-7 IS = (I − Im) = 10 −1(10−3) A = 9.999 A RShunt = Rm Im = (200Ω)1(10−3) A I − Im 4.999 A = 0.04Ω แอมป์มิเตอร์แบบหลายย่านวัด แอมป์มีเตอร์ที่มีย่านวัดเดียว(Single range Amp meter) จะมีขีดจํากัดในการ นําไปใช้งานเพราะวัดกระแสไฟฟ้าค่าท่ีสูงกว่า หรือตํ่ากว่าไม่ได้ จึงมีการพัฒนาแอมป์ มีเตอรท์ ม่ี ีหลายยา่ นวดั ขน้ึ (Multi range Amp meter) ดงั แสดงในรูปที่ 4-8 มีชนิดย่าน วดั เดียว คอื ยา่ น 50A เตม็ สเกล และชนิดสองย่านวัด คือ ยา่ น 0.5A/3A เตม็ สเกล ELWE(Thailand) หนา้ 6
7 วิชา เครอ่ื งมือวดั ไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์ บทที่ 4 รหัสวชิ า 2104 – 2204 รูปท่ี 4-8 แอมปม์ ิเตอร์แบบหลายย่านวดั รูปที่ 4-9 วงจรแอมปม์ ิเตอรแ์ บบหลายยา่ นวัด วงจรแอมป์มีเตอร์ท่ีมีหลายย่านวัดแสดงในรูปท่ี 4-9 แบ่งเป็น 2 ชนิดคือ ชนิดแยกชันท์ (Separate shunt) และชนิด อาร์ตอน(Ayrton shunt) ในบทเรียนน้ีจะนําเสนอเฉพาะ แบบ อารต์ อนชนั ท์ เทา่ นน้ั รปู ที่ 4-10 วงจรอารต์ อนชันท์ จากรปู ที่ 4-10 แสดงวงจรอารต์ อนชันท์ เมอื่ เลอื กย่านวดั ท่ี 1 2 และ 3 การหา คา่ ความต้านทาน R1 R2 R3 จะเป็นไปดังสมการตอ่ ไปน้ี Position 1 ค.ต.ท. ทั้งสามตวั คือ ชนั ท์ RS = R1 + R2 + R3 ELWE(Thailand) หนา้ 7
8 วิชา เครอ่ื งมอื วัดไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์ บทที่ 4 รหสั วชิ า 2104 – 2204 IS1 = ( R1 Im Rm R3 ) (2) + R2 + Position 2 ค.ต.ท. R2+R3 คือ ชนั ท์ Position 3 RS = R2 + R3 Position 1 Position 2 IS2 = VAB = Im (R1 + Rm ) (3) (R2 + R3) (R2 + R3) ELWE(Thailand) ค.ต.ท. R3 คือ ชนั ท์ RS = R3 IS3 = Im (R1 + R2 + Rm ) (4) (R3 ) ตวั อย่างที่ 4-4 จากวงจรแอมปม์ ิเตอร์ในรปู ที่ 4-11 จง หาค่าย่านการวัดกระแสไฟฟ้า ดี.ซี. ของแอมป์มิเตอร์ สามย่านวัดแบบอาร์ตอนนี้ กําหนดให้ R1 = 0.05Ω, R2 = 0.45Ω, R3 = 4.5Ω. PMMC น้ีมีค่า Im =50μA, Rm = 1kΩ รูปที่ 4-11 Vs = ImR m = 50 μA×1kΩ = 50 mV Is = R1+ Vs R3 = 50 mV = 10 mA R2+ 0.05Ω+ 0.45Ω+ 4.5Ω I = Im + Is = 50μA+10 mA = 10.05 mA Vs = Im (R m + R3 ) = 50μA(1kΩ+ 4.5Ω) ≈ 50 mV Is = Vs = 50 mV = 100 mA R1+ R2 0.05Ω+ 0.45Ω I = Im + Is = 50μA+100 mA = 100.05 mA หนา้ 8
9 วชิ า เครอื่ งมือวดั ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์ บทที่ 4 รหสั วชิ า 2104 – 2204 Position 3 Vs = Im (Rm + R3 + R2 ) = 50μ0(1kΩ + 4.5Ω + 0.45Ω) ≈ 50mV Is = Vs = 50mV = 1A R1 0.05Ω I = Im + Is = 50μ0 + 1A = 1.00005A ตอบ แอมป์มเิ ตอรส์ ามยา่ นวัดน้ี วัดไดท้ ี่ยา่ นวดั 1A/100mA/10mA การวดั กระแสไฟฟ้า 1. เลอื กยา่ นการวัดให้มคี ่าสูงสดุ กอ่ นเสมอ จากนัน้ คอ่ ยลดย่านการวดั ลงตามค่า กระแสไฟฟ้าท่ที ําการวดั ได้ ทัง้ น้ีเพ่ือปอ้ งกันความเสียหายไม่ใหเ้ กดิ ขน้ึ กบั แอมมเิ ตอร์ 2. ต่อสายสแี ดง ( + ) ของแอมมเิ ตอรเ์ ขา้ กับด้านที่มีศักย์ไฟฟ้าเป็นบวก และสายสี ดาํ ( - )เข้ากบั ดา้ นท่ีมีศกั ย์ไฟฟา้ เปน็ ลบของวงจร 3. การต่อแอมมิเตอรจ์ ะต้องตอ่ ในเสน้ ทางท่ีมกี ระแสไฟฟ้าไหล นั่นคอื ตอ้ งทําการ เปิดวงจรกอ่ น จากน้นั จงึ นําแอมมิเตอรไ์ ปต่ออนุกรมเข้ากบั วงจร 4. คา่ ความคลาดเคลือ่ นของเคร่อื งวดั แบบแอนะลอ็ ก สว่ นใหญจ่ ะประมาณจาก คา่ ที่อา่ นได้เตม็ สเกล ดงั น้ัน การอ่านคา่ กระแสไฟฟ้าควรทจี่ ะอา่ นคา่ ให้ใกล้เคยี งกบั เต็ม สเกลใหม้ ากทีส่ ุด ตวั อยา่ งเช่น ถา้ กระแสไฟฟา้ ค่า 8 mA วัดจากสเกล 10 mA ถา้ เคร่ืองวัดนมี้ คี ่าความคลาดเคลอ่ื นสงู สดุ เทา่ กบั +0.2 mA ดังนน้ั คา่ ทว่ี ัดได้จะมีค่าต้งั แต่ 7.8 - 8.2 mA เป็นตน้ 5. วงจรการต่อแอมปม์ ิเตอร์แสดงดงั รูปท่ี 4-6 รปู ท่ี 4-12 การต่อแอมปม์ เิ ตอร์ ด.ี ซ.ี ELWE(Thailand) หนา้ 9
10 วชิ า เคร่อื งมอื วัดไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนิกส์ บทท่ี 4 รหัสวิชา 2104 – 2204 4-3 โอหม์ มิเตอร์ โอห์มมิเตอร์ (Ohm meter) คือ เคร่ืองวัดท่ีใช้วัดค่าความต้านทานของอุปกรณ์ ไฟฟ้า มีหน่วยวดั เปน็ โอหม์ , Ohms (Ω) โอห์มมิเตอร์มีท้ังชนิดแอนะล็อก ที่แสดงผลโดย เข็มช้ีบนสเกล และ เป็นแบบดิจิตอล ดังรูปที่ 4-13 แต่โดยทั่วไป โอห์มมิเตอร์จะถูก ออกแบบใหเ้ ปน็ เครือ่ งวัดทอ่ี ย่ใู นเครือ่ งวดั ปรมิ าณไฟฟา้ รวม ท่ีเรียกว่า มัลติมิเติอร์(Multi meters) ดังแสดงในรูปที่ 4-14 การนําโอห์มมิเตอร์ ไปใช้วัดค่าความต้านทานน้ัน จะตอ้ งวัดในขณะที่ อุปกรณ์ไฟฟา้ นนั้ ไมต่ ่ออยู่กบั แหลง่ จา่ ยไฟฟ้าเท่านั้น รูปที่ 4-13 โอห์มมเิ ตอร์ แบบแอนะล็อก และดิจติ อล รูปท่ี 4-14 มลั ติมเิ ตอร์ แบบแอนะล็อก และดจิ ติ อล หน้า 10 ELWE(Thailand)
11 วิชา เครือ่ งมือวดั ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนกิ ส์ บทที่ 4 รหัสวชิ า 2104 – 2204 สเกลของโอห์มมเิ ตอร์ โอห์มมิเตอร์ โดยทั่วไปจะมีหลายย่านวัดการวัดค่าความต้านทานน้ัน จะต้องตั้ง ย่านวัดและอา่ นค่าบนสเกล และนําคา่ ย่านวดั ไปคณู กบั คา่ บนสเกลก่อน จึงจะได้ค่าความ ตา้ นทานท่ีวดั นัน้ ลกั ษณะของสเกล และสวิตช์เลือกย่านวัดแสดงในรปู ที่ 4-13 และ 4-14 สําหรับโอห์มมิเตอร์แบบดิจิตอล จะเป็นแบบย่านวัดอัตโนมัติ ค่าที่วัดได้จะแสดง เป็นค่าความต้านทานโดยตรง สะดวกและแม่นยํามากกว่าในการวัด แต่ก็เป็นมิเตอร์ที่มี ราคาสูงกว่าเช่นกนั รูปท่ี 4-15 ลักษณะของโอห์มมเิ ตอรส์ เกล รูปท่ี 4-16 สวติ ชเ์ ลือกย่านวัดโอห์ม ELWE(Thailand) หน้า 11
12 วชิ า เคร่อื งมอื วดั ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ บทท่ี 4 รหสั วิชา 2104 – 2204 การวัดความต้านทานดว้ ยโอห์มมเิ ตอร์ ทม่ี า :http://www.wikihow.com/Use-an-Ohmmeter 1. ตรวจสอบวา่ โอห์มมเิ ตอรม์ แี บตเตอรห่ี รอื ไม่ หากไม่มใี ห้ใสแ่ บตเตอรใ่ี หถ้ ูกต้อง 2. เสยี บสายวดั ให้ถกู ตอ้ ง สายสีแดงเสียบที่ขั้วบวก(+) และสายสีดําเสียบเข้าข้ัวลบ (common: - )ของโอห์มมิเตอร์ เลอื กย่านวัดที่ Ω ยา่ นวดั Rx1K 3. ทํา Zero ohm adjust โดยตัง้ ยา่ นวดั Rx1K และจบั ปลายสายวัดทั้งสองให้ต่อ ถึงกันและปรับปุ่ม Zero adjust ด้านซ้ายมือช้าๆ จนกระทั่งเข็มข้ีของมิเตอร์ตรง กับค่า 0 บนสเกลทางด้านขาวมือสุด การปรับศูนย์น้ีต้องปรับทุกครั้งท่ีใช้โอห์ม มิเตอร์พื่อให้มีความแม่ยําในการวัดค่าเพราะแบตเตอรี่ภายในมิเตอร์เม่ือใช้ไป นานๆจะจา่ ยไฟไดล้ ดลงจงึ ตอ้ งมกี ารปรับศนู ยเ์ สมอ ELWE(Thailand) หน้า 12
13 วิชา เคร่ืองมอื วัดไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนกิ ส์ บทท่ี 4 รหสั วชิ า 2104 – 2204 4. ต้องปลดแหล่งจ่ายไฟฟ้าออกจากอุปกรณ์หรือแผงวงจรท่ีจะวัดก่อนเสมอ เลือก ย่านวัด Ω เช่น Rx1K และนําสายวัดท้ังสอง วัดท่ีข้ัวทั้งสอง ของตัวต้านทานที่ ตอ้ งการวัดอ่านค่าที่วัดไดบ้ นสเกลของโอหม์ มเิ ตอร์ตรงท่ีเขม็ ชี้ค่า 5.อา่ นคา่ ท่ีวัดได้ 42 ให้นาํ มาคูณกับ ย่านวัดทต่ี งั้ ไว้ คอื Rx1K ค่าความ ต้านทานจริงคือ 42x1KΩ = 42KΩ ELWE(Thailand) หน้า 13
14 วิชา เคร่อื งมอื วดั ไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์ บทที่ 4 รหัสวิชา 2104 – 2204 6.หากต้องการวัดอุปกรณ์ท่ตี ิดต้งั อยใู่ นแผงวงจร ควรถอดอุปกรณต์ ัวนั้นออกจาก วงจรเสยี กอ่ น แลว้ จงึ วดั คา่ หากไม่ถอดออกมาจะทําให้ค่าทีว่ ดั ได้ไม่ถกู ต้อง 7.เม่ือใชง้ านเสร็จแลว้ ให้ ปิดสวติ ช์และเก็บสายวดั ใหเ้ รยี บรอ้ ย ELWE(Thailand) หน้า 14
15 วิชา เคร่ืองมอื วดั ไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ บทท่ี 4 รหัสวิชา 2104 – 2204 แบบฝึกหัดบทท่ี 4 โวลต์ แอมป์ และโอห์มมิเตอร์ จากรูปตอ่ ไปน้ีใช้ตอบคาํ ถามขอ้ 1-3 1. ข้อใดคือ โวลตม์ ิเตอร์ ก.A ข. B ค. C ง. D 2. ขอ้ ใดคือ โอห์มมเิ ตอร์ ก.A ข. B ค. C ง. D 3. ขอ้ ใดคือ แอมป์มเิ ตอร์ ก.A ข. B ค. C ง. D จากรูปตอ่ ไปนีใ้ ช้ตอบคาํ ถามขอ้ 4-5 4 ข้อใดคือวงจรภายในของโวลต์มเิ ตอร์ แบบ PMMC หนา้ 15 ก.A ข. B ค. C ง. D 5 ขอ้ ใดคือวงจรภายในของแอมปม์ ิเตอร์ แบบ Ayton ก.A ข. B ค. C ง. D 6 เครื่องวัดชนิดในใช้วัดค่ากระแสไฟฟ้า กระแสตรง ก.DC Amp meter ข. AC Amp meter ค.DC Volt meter ง. DC Ohm meter ELWE(Thailand)
16 วิชา เคร่ืองมือวดั ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์ บทที่ 4 รหัสวชิ า 2104 – 2204 7. PMMC มขี นาดกระแสเตม็ สเกล Im= 1mA ความตา้ นทานเทา่ กบั Rm=100Ω จงหาค่าของตวั ตา้ นทานชันท์ ที่จะทาํ ใหเ้ ป็นแอมปม์ ิเตอร์ทีว่ ัดกระแสได้ 100 mA ก.1.05Ω ข. 10.001Ω ค. 1.001Ω ง. 1.01Ω จากรูปตอ่ ไปน้ีใช้ตอบคาํ ถามขอ้ 8-10 ถ้าต้องการใหว้ ัดกระแสไฟฟา้ ได้ ท่ีย่านวดั 1A, 10A, 100A 8. คา่ Ra มีค่าเทา่ กบั ข้อใด ข. 0.005005Ω ก.0.005Ω ง. 0.05005Ω ค. 0.005001Ω ข. 0.005005Ω 9. คา่ Rb มคี ่าเทา่ กับขอ้ ใด ง. 0.05Ω ก.0.005Ω ค. 0.005001Ω ข. 0.005005Ω ง. 0.05Ω 10. คา่ Rc มีคา่ เทา่ กับขอ้ ใด ก. 0.005Ω ค. 0.005001Ω ELWE(Thailand) หนา้ 16
17 วชิ า เครือ่ งมือวดั ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์ บทที่ 4 รหสั วชิ า 2104 – 2204 11. ค่า Rs ของโวลตม์ เิ ตอรน์ ี้มีค่าเทา่ กบั ข้อใด ก. 199.5kΩ ข. 1999.5kΩ ค. 19.955kΩ ง. 199,999Ω 12. เลือกย่านวัดโอห์มมิเตอร์ที่ Rx100Ω ค่าท่ีอ่านได้จากสเกลของโอห์ม มเิ ตอรน์ มี้ ีค่าเท่ากบั ข้อใด ก. 2300Ω ข. 25000Ω ค. 26000Ω ง. 2.6kΩ ELWE(Thailand) หน้า 17
Search
Read the Text Version
- 1 - 44
Pages: