Received: November 3, 22506241;;วRันแeกvไiขsบeทd:ควNาoมมv: 2หe5mาวพbทิ ฤeยวศrาจ2าลิก5ยัาร,ยมส2นห0า2า25ม1ร6ก;4ฏศุ ;Aรวรcาันcชตีลeวอpทิ ้บาtยรeนบัาdลบ:ชยัทDค้าววeทิางcมยeป:mา2เรขbธตeินัทrศวร2ารคลี,รมา้2น0ศ2ช25าน้61ง4;;์ 53 วันรบั บทความ: 3 พฤศจิกายน รูปแบบการพฒั นาการจัดการเรียนการสอนออนไลนของ มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตศรลี านชา ง A MODEL OF ONLINE INSTRUCTIONAL DEVELOPMENT OF MAHAMAKUT BUDDHIST UNIVERSITY, SRILANCHANG CAMPUS สพุ รรณี บุญหนัก1 บนั ทะชัย ภูพิมทอง2 จิณณวัตร แทนพันธ3 ประภาส ลาวัณยศ ิริ4 สขุ พัฒน อนนทจ ารย5 1,2,3,4,5มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรลี า นชาง Supannee Boonnak1 Banthachai Phupimthong2 Jinnawatra Tanpan3 Prapas lawansiri4 Sukkhaphat Anonchan5 1,2,3,4,5Mahamakut Buddhist University, Srilanchang Campus Corresponding Author E-mail: [email protected] บทคดั ยอ งานวิจัยเรื่องนีเ้ ปนการวิจัยแบบผสมวิธี (Mixed Research Method) มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลน โดยแบงขั้นตอนการวิจัยเปน 2 ขั้นตอน ประกอบดวย ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาความพรอมการจัดการเรียนการสอนออนไลนของมหาวิทยาลัย มหามกฏุ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีลานชาง ประกอบดวย ระยะท่ี 1 ความพรอมของอาจารยใน การจดั การเรียนการสอนออนไลน ระยะที่ 2 ความพรอมของนกั ศึกษาในการจดั การเรียนการสอน ออนไลน ขั้นตอนที่ 2 การพฒั นาการจดั การเรยี นการสอนออนไลนข องมหาวิทยาลัยมหามกุฏราช วิทยาลัย วิทยาเขตศรีลานชาง ประกอบดวย ระยะที่ 1 การศึกษารูปแบบการพัฒนาการจัดการ เรียนการสอนออนไลน ระยะท่ี 2 การจัดรูปองคกรเพ่ือพฒั นาการจัดการเรียนการสอนออนไลน
54 วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ ปีที่ 7 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 ระยะที่ 3 การเตรยี มความพรอมการจัดการเรียนการสอนออนไลน ระยะที่ 4 การศึกษาความพึง พอใจการจดั การเรียนการสอนออนไลน ผลการวิจัยพบวา การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนออนไลน ผลการวิเคราะหขอมูล ปรากฏผลดังนี้ (1) การจดั เตรียมเนื้อหา การจัดเตรียมสื่อการเรียนการสอน การจัดเตรียมวิธีการ วดั ผลการเรียน ผลการประเมิน พบวา ความสอดคลองกนั อยูใ นระดับมากที่สุด (2) การสาธิตการ เรียนการสอนออนไลน จากการประเมินพบวา โดยภาพรวมของการสาธิตการเรียนการสอน ออนไลน อยูในระดับมาก (3) การจดั อบรมนักศึกษาในการเรยี นการสอนออนไลน ผลการประเมิน พบวา โดยภาพรวมของการสาธิตการเขาใชงานระบบ การรับ - สงงานของนักศึกษาอยูในระดบั มากที่สุด (4) การศึกษาความพึงพอใจการจัดการเรียนการสอนออนไลน นักศึกษามีความพึงพอใจ การจดั การเรยี นการสอนออนไลนของมหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตศรลี า นชาง ใน ภาพรวมอยูในระดับมาก คำสำคัญ: การเรยี นการสอนออนไลน; การพฒั นาการเรียนการสอน; Abstract The objective of the research, based upon the mixed methods research (MMR), was to study the model of online instruction of Mahamakut Buddhist University, Srilanchang Campus. The research process was divided into 2 phases: 1) ththe first phrase, consisting of two steps: the first step on the lecturers’ preparation of online instruction, and the second step on the students’ preparation of online learning, was related to the study of online learning preparation in Mahamakut Buddhist University, Srilanchang Campus, and 2) the second phrase was involved with the online instructional development of Mahamakut Buddhist University, Srilanchang Campus, consisting of four steps: the first step of the study of online instructional model, the second step on organization for online instructional development, the third step on preparation of online instruction, and the fourth step on the study of online instructional satisfaction. The research findings revealed that (1) the consistency of content preparation, instructional media preparation, and measurement and assessment preparation was found to be at the highest level, (2) the demonstration of online instructional was found to be overall at a high level, (3) the demonstration of system entry and the student’s sending – receiving system was found to be overall at a high
วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ 55 มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตศรลี า้ นชา้ ง level, and (4) the students’ satisfaction with online instruction of Mahamakut Buddhist University, Srilanchang Campus was found to be overall at a high level. Keywords: Online Instruction; Instructional Development; บทนำ เมือ่ การแพรระบาดไวรัสโคโรนา 2019 เปนสวนหนึ่งของการดำเนินชีวิต มนุษยเ ริ่มมี การปรับตัวในการใชชีวิต ในดานการศึกษาไดมีการปรับเปลี่ยนการเรียนการสอน คือ รปู แบบการ เรียนการสอนออนไลน ในสวนของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ไดมีนโยบายการจัดการ เรียนการสอนในภาคฤดูรอน ป 2562 และไดกำหนดนโยบายการจัดการเรียนการสอนออนไลนใน ภาคการศึกษา 1/2563 อยางตอเนื่องตามประกาศของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เรื่อง แนวทางการจัดการเรียนการสอนออนไลน โดยมีเนอ้ื หาสรปุ ไดวา “เพ่ือเปน การเตรียมความพรอม ในการจัดการเรียนการสอนตามแนวโนมของโลกในศตวรรษที่ 21 รวมทั้งจัดการเรียนรูใหมี คุณภาพตามนโยบายประเทศไทย 4.0 และเพื่อความเหมาะสมในสถานการณการแพรร ะบาดของ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID – 19) มหาวิทยาลัยจำเปน ตองปรบั ปรงุ มาตรฐานดา นวิชาการเพ่ือ รองรบั การเปลี่ยนแปลงใหเหมาะสมกับสถานการณ โดยมุงเนน ไปที่การปรับเปลี่ยนกระบวนการ เรียนการสอนโดยใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่อื ใหส อดคลองและทัดเทียมกับการเรยี นการสอนของ สถาบันการศึกษาอื่น ๆ ทัง้ ในประเทศและตางประเทศ โดยเปดโอกาสใหสามารถเขาถงึ การศึกษา อยางไรขอบเขต (มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2563) ประกาศมหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตศรลี า นชา ง เรือ่ ง มาตรการและการ เฝา ระวังการระบาดของโรคไวรัสโคโรนาสายพันธใุ หม 2019 (COVID-19) (ฉบบั ท่ี 6) ทก่ี ำหนดใหมี การจดั การเรียนการสอนแบบออนไลน ในความรับผิดชอบของวิทยาลยั ศาสนศาสตร วิทยาเขตศรี ลา นชา ง มเี น้ือหาทส่ี ำคญั คอื ขอ 2 ใหม กี ารจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน ในความรับผิดชอบ ของวิทยาลัยศาสนศาสตร วิทยาเขตศรีลานชาง โดยพิจารณาระบบการจัดการเรียนการสอน (LMS) จากที่คณะกรรมการการจัดการเรียนการสอนออนไลน นำเสนอ ขอ 3 ใหคณะกรรมการ จัดการเรียนการสอนออนไลนฝ กอบรมอาจารยผูบรรยายในการใชงานระบบการจัดการเรียนการ สอน (LMS) และการเขาเรียนของนักศึกษา และขอ 4 ใหคณะกรรมการสื่อจัดอบรมการผลิตสื่อ
56 วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ ปีท่ี 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 การเรียนการสอนใหอาจารยผูบ รรยาย ใหสามารถผลิตสื่อการศึกษาในการใชประกอบการเรียน การสอนในระบบการจัดการเรียนการสอน (LMS) (วทิ ยาเขตศรีลา นชา ง, 2563) การจัดการเรียนการสอนออนไลนในชวงสถานการณการแพรระบาดของ COVID – 19 ถือเปนเร่ืองใหมและทา ทายการจดั การเรยี นการสอนของมหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ดังนนั้ ผวู ิจยั จึงสนใจศกึ ษารูปแบบการพฒั นาการจัดการเรียนการสอนออนไลนของมหาวิทยาลยั มหามกุฏ ราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตศรีลานชางเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรลี านชา ง วตั ถุประสงคของการวิจยั เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนออนไลนของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราช วิทยาลัย วิทยาเขตศรลี านชา ง ขอบเขตของการวจิ ัย รปู แบบการจดั การเรียนการสอนออนไลนของมหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั วิทยา เขตศรีลา นชา ง เปนแนวคดิ ทีพ่ ัฒนามาจากแนวคิดการจัดการเรียนรูอ อนไลนของจักรกฤษณ โพดา พล (2563) ซึ่งประกอบดว ย การเลือกแพลตฟอรมการจัดการเรยี นการสอน การออกแบบบทเรียน ออนไลน การจัดการหองเรียนออนไลน การใชสื่อในการเรียนการสอนออนไลน และการวัดและ ประเมินผลการจดั การเรยี นการสอน วิธีดำเนนิ การวิจัย ในการดำเนนิ การวจิ ยั ใหบรรลุจุดมงุ หมายของการวิจยั ดังกลาวคณะผวู จิ ัยกำหนดวิธีการ วิจัย ดงั นี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาความพรอมการจัดการเรียนการสอนออนไลนของมหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตศรลี านชา ง ระยะที่ 1 ความพรอ มของอาจารยใ นการจดั การเรยี นการสอนออนไลน ประชากร คือ อาจารยผูบรรยายในภาคการศึกษา 1/2563 จำนวน 35 รูป/คน กลุม ตัวอยาง คือ จำนวน 32 รูป/คน กลุมตัวอยางไดจากการกำหนดขนาดกลุมตัวอยาง (Sample
วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ 57 มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตศรลี า้ นชา้ ง size) ดวยตาราง Krejcie & Mogan และทำการสุมดวยวิธีสุมอยางงาย (Simple Random Sampling) โดยวิธีการจับสลาก เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถาม (Questionnaire ประกอบดวย 3 ตอน ดังน้ี ตอนที่ 1 ขอมูลสวนตัว ตอนที่ 2 ทักษะและความ พรอมของอุปกรณอิเล็กทรอนิกสในการสอนระยะไกล ตอนที่ 3 ความรู ความเขาใจและทักษะใน การใชโปรแกรมตาง ๆ ในการจดั การเรียนการสอนออนไลน เปน แบบประมาณคา 5 ระดบั ตอนที่ 4 ขอเสนอแนะความตองการใหมหาวิทยาลัยสนับสนุนในเรื่องใดในการจัดการเรียนการสอน ออนไลน การวิจัยครั้งนี้ใชการวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิตเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ประกอบดว ย ความถี่ และรอยละ ระยะที่ 2 ความพรอ มของนกั ศกึ ษาในการจดั การเรียนการสอนออนไลน ประชากร คือ นักศึกษาภาคปกติ จำนวน 270 รูป/คน กลุมตัวอยาง คือ จำนวน 159 รูป/คน กลุมตัวอยางไดจ ากการกำหนดขนาดกลุมตัวอยาง (Sample size) ดวยตาราง Krejcie & Mogan และทำการสุมดวยวิธีสุมอยางงาย (Simple Random Sampling) โดยวิธีการจับสลาก เคร่ืองมือทใี่ ชในการเกบ็ รวบรวมขอมลู เปนแบบสอบถาม (Questionnaire) ประกอบดว ย 3 ตอน ดงั น้ี ตอนท่ี 1 ขอ มลู สวนตัว ตอนที่ 2 ทักษะและความพรอมของอุปกรณอเิ ลก็ ทรอนิกสใ นการสอน ระยะไกล ตอนที่ 3 ขอเสนอแนะความตองการใหมหาวิทยาลัยสนับสนุนในเรื่องใดในการจัดการ เรียนการสอนออนไลน การวิจัยครัง้ นี้ใชการวิเคราะหขอมลู โดยใชส ถิตเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ประกอบดวย ความถี่ และรอ ยละ ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนออนไลนของมหาวิทยาลัยมหามกุฏ ราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตศรลี า นชาง ระยะที่ 1 การศึกษารูปแบบการพฒั นาการจดั การเรยี นการสอนออนไลน ประชากรในการวิจัย คือ อาจารยผูบรรยายในภาคการศึกษา 1/2563 จำนวน 35 รปู / คน กลุมตัวอยางในการวิจัย คือ คณะกรรมการประจำวิทยาเขต จำนวน 8 รูป/คน เครื่องมือใน การวิจัยครั้งนี้ คือ การระดมสมอง (Brainstorming) ในการประชุมการจัดการเรียนการสอน ออนไลน ในประเด็นหัวขอ “การศึกษารูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนออนไลน” วเิ คราะหขอมลู โดยใชก ารวิเคราะหเน้อื หา
58 วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ ปีท่ี 7 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 ระยะที่ 2 การจัดรปู องคกรเพ่ือพฒั นาการจัดการเรียนการสอนออนไลน ประชากรในการวิจัย คือ อาจารยผูบรรยายในภาคการศึกษา 1/2563 จำนวน 35 รูป/คน กลุมตัวอยางในการวิจัย คือ คณะกรรมการวิทยาลัยศาสนศาสตร และคณะกรรมการ จัดการเรียนการสอนออนไลนว ิทยาเขตศรีลานชาง จำนวน 9 รูป/คน เครื่องมือในการวิจัยครั้งนี้ คอื การระดมสมอง (Brainstorming) ในการประชมุ การจัดการเรียนการสอนออนไลน ในประเด็น หวั ขอ “การจัดองคกรเพื่อพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนออนไลน” วิเคราะหขอมูล โดยใชการ วเิ คราะหเน้ือหา ระยะที่ 3 การเตรยี มความพรอมการจัดการเรยี นการสอนออนไลน 1. การอบรมอาจารยผ ูบรรยายเพื่อการจดั การเรียนการสอนออนไลน 1.1 การยกรางหลักสูตร การสรางหลักสูตรฝกอบรม โดยศกึ ษาแนวคดิ ทฤษฎี เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวขอ งแลวสรางภายใตกรอบ 5 ดาน คือ 1) การใชแพลตฟอรมการจัดการเรียน การสอน 2) การออกแบบบทเรียนออนไลน 3) การจัดการหองเรียนออนไลน 4) การใชสื่อในการ เรยี นการสอนออนไลน และ 5) การวดั และประเมินผลการจดั การเรียนการสอน 1.2 การอบรม แบงการอบรมเปน 2 ครั้ง ดังน้ี 1) การอบรมการใชงานระบบ แพลตฟอรมการจัดการเรียนการสอนออนไลน ประกอบดวยเนื้อหา การติดตั้งระบบ การใชงาน ระบบ 2) การจัดการเรียนการสอนออนไลน ประกอบดวยเนื้อหา การออกแบบบทเรียนออนไลน การจดั การหอ งเรียนออนไลน การใชสื่อในการเรียนการสอนออนไลน และการวดั และประเมินผล การจัดการเรยี นการสอน 1.3 การประเมินผล มีการประเมินผลการอบรม 2 ระยะ ดังนี้ 1) การจัดเตรียมเนื้อหา การจดั เตรียมสื่อการเรียนการสอน การจัดเตรยี มวธิ กี ารวัดผลการเรยี น 2) การสาธิตการการเรียน การสอนออนไลน 2. การจัดอบรมนกั ศึกษาในการเรียนการสอนออนไลน 1.1 การยกรางหลักสูตร การสรางหลักสูตรฝกอบรม โดยศึกษาแนวคิดทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ัยท่เี ก่ียวของในเร่ือง การใชแพลตฟอรม ในการเรยี นการสอนออนไลน
วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ 59 มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตศรลี า้ นชา้ ง 1.2 การอบรม ระยะเวลาในการอบรม 1 วัน ในเนอื้ หาเก่ียวกับ การตดิ ตงั้ ระบบ การ เขาใชง านระบบ การรับ - สง งาน 1.3 การประเมินผล ทำการประเมนิ โดยการทดสอบหลังการอบรม ในการเขาใชงาน ระบบ การรับ - สงงาน ระยะที่ 4 การศึกษาความพึงพอใจการจัดการเรยี นการสอนออนไลน ประชากร คอื นกั ศึกษามหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั วิทยาเขตศรลี านชาง จำนวน 270 รปู /คน กลุมตัวอยา ง จำนวน 159 รปู /คน กลมุ ตวั อยางไดจากการกำหนดขนาดกลุมตัวอยาง (Sample size) ดวยตาราง Krejcie & Mogan และทำการสุมดวยวิธีสุมอยางงาย (Simple Random Sampling) เครอื่ งมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเปน แบบสอบถาม (Questionnaire) เกี่ยวกบั ความพึงพอใจการจัดการเรียนการสอนออนไลนของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีลานชาง มีลักษณะเปนมาตราสวนประมาณคา (rating scale) 5 ระดับ โดยอาศัย เคร่อื งมอื จากการศกึ ษาวรรณกรรมที่เกี่ยวของในบทที่ 2 ท้ังสว นทเี่ ปนหลักการ แนวคดิ ทฤษฎี สรปุ ผลการวจิ ัย การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนออนไลนของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตศรลี า นชา ง สรปุ ไดด ังนี้ 1. การศกึ ษารปู แบบการพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนออนไลน ผลการระดมสมอง (Brianstorming) ศึกษาแนวทางทางการจัดการเรียนการสอน ออนไลน ที่วิทยาเขตศรีลานชาง นำมาปฏิบัติ ผลการระดมสมอง สรุปสาระสำคญั ไดวา วิทยาเขต ศรีลานชาง จะทำการจัดการเรียนการสอนแบบไฮบริด คือจัดการศึกษาทั้งแบบออนไลน คือเรียน ทางไกลผานระบบอินเตอรเน็ต และเรียนในที่ตั้งในบางรายวิชาที่มีจำนวนนักศึกษานอย สำหรับ การเรียนการสอนออนไลน ไมใชสิ่งใหมสำหรับวิทยาเขตศรีลานชาง เพราะตามนโยบายของ ผูบริหารเมอ่ื ขึน้ รบั ตำแหนงเมื่อเดือน กรกฎาคม 2563 ไดป ระกาศนโยบายการบริหารไวแลว เมื่อ ครั้งการสัมมนาบุคลากรปะจำป 2563 ณ บุหงาสาหรีรีสอรท อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัด นครราชสีมา ในระหวางวันที่ 27 – 29 สงิ หาคม 2562 คือ การจัดทำหลักสูตรระยะสั้น และการ จัดทำระบบ MOOCs (Massive Open Online Courses) ไดมีการจัดตั้งแตงตั้งคณะกรรมการ
60 วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ ปที ี่ 7 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 ผลิตส่ือเพื่อการศึกษาวิทยาเขตศรีลานชา ง มหี นาที่ 1. ศึกษาระบบการทำ MOOC ของวิทยาเขต ศรีลานชาง 2. จัดทำแผนและดำเนินการจดั ทำ MOOC ของวิทยาเขตศรีลานชา ง 3. งานอื่น ๆ ที่ ไดร บั หมอบหมาย ในการจัดการการเรียนการสอนออนไลน วิทยาเขตศรีลานชาง มีความพรอ มใน ระดับหนึ่ง นอกจากนั้นตามนโยบายของคณะผูบริหารไดใหอาจารย เจาหนาที่ไดมีการพัฒนา ตนเองโดยใหเขาเรยี นคอรสออนไลนจากระบบ ไทยมุก www.thai moocs.com อาจารยผูสอน จงึ มีความเขาใจในระบบการเรียนการสอนออนไลนเปนอยางดี เม่อื พิจารณาตามสภาพองคกรแลว จึงเห็นควรใหมีการใชระบบการเรียนการสอนออนไลนในภาคการศึกษา 1/2563 และจากผล สำรวจพบวา อาจารยผูบรรยายมีความรูและทักษะในการใชโปรแกรมในการจัดการเรียนการสอน ออนไลนใกลเคียงกัน ทั้ง Microsoft Teams , Google Meet , Google Classroom จึงเห็นควร แตงตั้งคณะกรรมการจดั การเรียนการสอนออนไลน เพื่อศึกษา ไดศึกษาและนำเสนอแพลต็ ฟอรม การเรียนการสอนออนไลนที่เหมาะสมโดยมอบหมายใหวิทยาลัยศาสนศาสตรเปนผูดูแลและ ขับเคลอื่ นการเรยี นการสอนออนไลนข องวทิ ยาเขตศรลี า นชาง ในภาคการศึกษา 1/2563 2. การจดั รปู องคก รเพื่อพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนออนไลน ผลการระดมสมอง (Brianstorming) ประเด็น “การจดั รูปองคกรเพ่ือพฒั นาการจัดการ เรียนการสอนออนไลน” ที่วิทยาเขตศรีลานชาง นำมาปฏิบัติ ผลการระดมสมอง สรุปสาระสำคัญ ไดวา จากการที่ทดลองใชและผลการสำรวจอาจารยท่ีมีความสามารถในการใชโปรแกรมการเรียน การสอนออนไลนใกลเคียงกัน สามารถใชแพล็ตฟอรมใดก็ได เมื่อศึกษาพบวา Microsoft Teams เปนแพลต็ ฟอรมทมี่ หาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั ไดมีการซื้อบัญชไี วแลว สามารถนำมาพัฒนา ตอเพื่อใชงานไดทันที และไมตองลงทุนเพิ่ม จึงเห็นควรใหมีการใช Microsoft Teams เปนแพล็ต ฟอรม ในการใชจัดการเรียนการสอนออนไลนของวิทยาเขต นอกจากนัน้ การจัดการเรียนการสอน ออนไลนข องมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตศรลี า นชา ง จะขับเคลอื่ นไปพรอ ม ๆ กัน 5 ดาน คอื 1. การเลอื กแพลตฟอรมการจัดการเรียนการสอน 2. การออกแบบบทเรียนออนไลน 3. การจัดการหองเรียนออนไลน 4. การใชสื่อในการเรียนการสอนออนไลน และ 5. การวัดและ ประเมนิ ผลการจัดการเรียนการสอน คณะกรรมการจดั การเรียนการสอนออนไลนจ ะทำหนา ท่ีวาง ระบบการเรียนการสอนผานแพล็ตฟอรม Microsoft Teams อบรมการใชง าน Microsoft Teams จึงควรมีการจัดตั้งคำสั่งเพิ่มเติม ดังนี้ คณะกรรมการควบคุมระบบออนไลน ทำหนาที่ดูแลการ
วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ 61 มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตศรลี า้ นชา้ ง ถายทอดสดการเรยี นการสอนและการบันทึกเทปอาจารยผ บู รรยายรวมท้ังแกป ญหาในขณะที่มกี าร ออนไลน คณะกรรมการอบรมการผลิตส่ือ ในขณะที่คณะกรรมการผลิตสื่อทำหนาที่ชวยอาจารย ผูบรรยายออกแบบสื่อและผลิตสื่อ คณะกรรมการอบรมการเรยี นการสอนออนไลนท ่ีจะชวยในการ สอนเทคนิคการเรียนการสอนออนไลน การบริหารหองเรียน และการประเมินผลการเรียนรู นอกจากนั้นยังตองมีคณะกรรมการประสานงานกับแผนกเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัย สวนกลาง เพื่อประสานขอทะเบียนบัญชีอีเมลอาจารยผูบรรยาย บุคลากร และนักศึกษาเพ่ือ นำมาใชง านในระบบการเรยี นการสอน โปรแกรม Microsoft Teams 3. การเตรียมความพรอมการจดั การเรยี นการสอนออนไลน 3.1 การอบรมอาจารยผ ูบรรยายเพือ่ การจัดการเรียนการสอนออนไลน การอบรมอาจารยผูบรรยาย เนื้อหาหลักสตู รฝก อบรมโดยศึกษาแนวคิดทฤษฎี เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวขอ งแลวสรางภายใตกรอบ 5 ดาน คอื 1. การใชแพลตฟอรมการจัดการเรียน การสอน 2. การออกแบบบทเรียนออนไลน 3. การจดั การหองเรียนออนไลน 4. การใชส ่ือในการ เรยี นการสอนออนไลน และ 5. การวัดและประเมนิ ผลการจัดการเรยี นการสอน แบง การอบรมเปน 2 ครั้ง คือ 1) การอบรมการใชงานระบบแพลตฟอรมการจัดการเรียนการสอนออนไลน ประกอบดวยเนื้อหา การติดตั้งระบบ การใชงานระบบ 2) การจัดการเรียนการสอนออนไลน ประกอบดวยเนือ้ หา การออกแบบบทเรียนออนไลน การจัดการหองเรียนออนไลน การใชสื่อใน การเรียนการสอนออนไลน และการวัดและประเมินผลการจัดการเรยี นการสอน มีการประเมินผล การอบรม 2 ระยะ คือ 1) การจัดเตรียมเนื้อหา การจัดเตรียมสื่อการเรียนการสอน การจดั เตรียมวิธีการวดั ผลการเรียน 2) การสาธิตการเรียนการสอนออนไลน ดงั นี้ 1) การจัดเตรียมเนื้อหา การจัดเตรียมสื่อการเรียนการสอน การจัดเตรียมวิธีการ วัดผลการเรยี น ผลการประเมนิ พบวา โดยภาพรวมของการจดั เตรยี มเนอื้ หา การจัดเตรยี มสอื่ การ เรียนการสอน การจัดเตรียมวิธีการวัดผลการเรียน มีความสอดคลองกันอยูในระดับมากที่สุด เม่ือ พจิ ารณาแตล ะองคป ระกอบ พบวา ทกุ องคป ระกอบมีคา เฉลย่ี ความสอดคลองอยูในระดับมากทสี่ ุด ทกุ ดา น องคประกอบที่มีคาเฉลี่ยสงู สุด คือ การวัดผลและประเมินผล รองลงมาคอื การจัดเตรียม เนือ้ หา และ สอื่ การเรียนรตู ามลำดับ
62 วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ ปที ่ี 7 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 2) การสาธติ การเรียนการสอนออนไลน จากการประเมินพบวา โดยภาพรวมของการ สาธิตการเรียนการสอนออนไลน อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาแตละองคประกอบ พบวา องคประกอบที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ การจัดการหองเรียนออนไลน รองลงมาคือ การวัดและ ประเมินผล และการใชสื่อในการเรยี นการสอนออนไลน ตามลำดบั 3.2 การจัดอบรมนักศึกษาในการเรยี นการสอนออนไลน การจัดอบรมนักศึกษาในการเรียนการสอนออนไลน หลักสูตรฝกอบรม โดยศึกษา แนวคิดทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของในเรื่อง การใชแพลตฟอรมในการเรียนการสอน ออนไลน การอบรมระยะเวลาในการอบรม 1 วัน ในเนื้อหาเกี่ยวกับ การติดตั้งระบบ การเขาใช งานระบบ การรับ – สงงาน การประเมนิ ผล โดยทำการประเมนิ โดยการทดสอบหลังการอบรม ใน การเขาใชงานระบบ การรับ – สงงาน สาระการเรียนรูสำหรับการอบรมการใชงานระบบ แพลตฟอรมการจัดการเรียนการสอนออนไลน จำนวน 6 ชั่วโมง ผลการประเมิน พบวา โดย ภาพรวมของการสาธิตการเขาใชง านระบบ การรับ - สงงานของนกั ศกึ ษาอยูในระดับมากทส่ี ุด เมื่อ พิจารณาแตละองคป ระกอบ พบวา องคป ระกอบที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ การรับ - สงงาน และการ เขาใชงานระบบตามลำดบั 4. การศกึ ษาความพงึ พอใจการจดั การเรยี นการสอนออนไลน ผลการวิจัย พบวา ผูตอบแบบสอบถามเปนนักศึกษาสาขาวิชาการปกครอง รอยละ 35.85 เปนนักศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ รอยละ 28.93 เปนนักศึกษาสาขาวิชาการ สอนสังคมศึกษา รอ ยละ 21.38 เปน นักศกึ ษา สาขาวิชาการสอนภาษาไทย รอยละ 8.18 และเปน นักศึกษา สาขาวชิ าพทุ ธศาสตร รอ ยละ 5.66 ตามลำดบั และผตู อบแบบสอบถามเปนนักศึกษาปท่ี 1 รอยละ 39.00 เปนนักศึกษาปที่ 2 รอยละ 24.53 เปนนักศึกษาปที่ 3 รอยละ 22.64 และเปน นักศกึ ษาปท ี่ 4 รอ ยละ 13.84 ตามลำดบั นักศึกษามีความพึงพอใจการจัดการเรียนการสอนออนไลนข องมหาวิทยาลัยมหามกุฏ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีลานชาง ในภาพรวมอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา การจดั การหอ งเรยี นออนไลน มคี า เฉล่ียสูงสุด อยูในระดับมาก รองลงมา คอื การเลือกแพลตฟอรม
วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ 63 มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตศรลี า้ นชา้ ง การจดั การเรียนการสอนอยูในระดับมาก และการวดั และประเมินผลการจัดการเรียนการสอน มี คา เฉลยี่ ตำ่ สุด นักศึกษามีความพึงพอใจการจัดการเรียนการสอนออนไลนของมหาวิทยาลัยมหามกุฏ ราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตศรีลานชาง ดานการเลือกแพลตฟอรมการจัดการเรียนการสอนในภาพรวม อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเปนรายขอ พบวา ระบบการจัดการเรียนการสอนมีการแสดง รายละเอียดเกี่ยวกับโครงสรางรายวิชาไวใหนักศึกษาทำความเขาในรายละเอียดในภาพรวม มี คาเฉลี่ยสูงสุด อยูในระดับมากที่สุด รองลงมา คือ ระบบการจัดการเรียนการสอนมีการจัดเก็บ ขอมูลของนักศึกษาเพื่อตดิ ตามการเรียนการสอน เชน คะแนนเก็บ การสงงาน ใบงาน เปนตน อยู ในระดบั มาก และมหาวทิ ยาลัยไดท ำการกำหนดระบบการจัดการเรียนการสอนท่ีนักศึกษาสามารถ เขา เรยี นไดส ะดวก มคี า เฉลี่ยตำ่ สุด อยใู นระดบั มาก นักศึกษามีความพึงพอใจการจัดการเรียนการสอนออนไลนของมหาวิทยาลัยมหามกุฏ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรลี านชาง ดานการออกแบบบทเรียนออนไลนในภาพรวม อยูใ นระดับ เมื่อ พิจารณาเปนรายขอ พบวา อาจารยผูบรรยายใหความใสใจในการจัดการเรียนการสอนออนไลน และคอยสอบถามนักศึกษาความคิดเห็นและเปดโอกาสใหนักศึกษาเสนอแนะในแตละครั้งการ บรรยาย มคี าเฉลยี่ สูงสุด อยูใ นระดับมากทีส่ ดุ รองลงมา คือ อาจารยผูบ รรยายไดทำการสอบถาม ขอมูลจากนักศกึ ษาและมีการนำขอ มูลตาง ๆ มาวิเคราะหก อนจัดทำหลักสตู รออนไลนอยูในระดับ มาก และอาจารยผูบรรยายไดใหนักศึกษามีสว นรวมในการออกแบบหลักสูตรออนไลนมีคาเฉล่ีย ต่ำสดุ อยูในระดับมาก นักศึกษามีความพึงพอใจการจัดการเรียนการสอนออนไลนของมหาวิทยาลัยมหามกุฏ ราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตศรีลานชาง ดานการจัดการหองเรียนออนไลนในภาพรวม อยูในระดับมาก เม่ือพิจารณาเปนรายขอ พบวา อาจารยผูบรรยายไดกำหนดกิจกรรมการเรยี นการสอนที่นักศึกษา สามารถเรียนรูดวยตนเองดวยวิธีออฟไลนกอนออนไลน มีคาเฉลี่ยสูงสุด อยูในระดับมากที่สุด รองลงมา คือ อาจารยผูบรรยายไดก ารกำหนดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีชัดเจนอยูในระดับมาก
64 วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ ปที ี่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 ท่ีสุด และอาจารยผ ูบ รรยายไดการกำหนดรปู แบบกจิ กรรมและระยะเวลาที่เหมาะสมในการเรียน การสอนในแตล ะการบรรยายมีคา เฉลี่ยตำ่ สุด อยูในระดับมาก นักศึกษามีความพึงพอใจการจัดการเรียนการสอนออนไลนของมหาวิทยาลัยมหามกุฏ ราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีลานชา ง ดานการใชสื่อในการเรียนการสอนออนไลนในภาพรวม อยูใน ระดบั มาก เม่อื พจิ ารณาเปนรายขอ พบวา อาจารยผบู รรยายเลอื กส่ือการเรียนการสอน เสริมสราง ความเขาใจบทเรียนและกระตุนการคิดของผูเรียนมีคาเฉลี่ยสูงสดุ อยูในระดับมาก รองลงมา คือ อาจารยผูบรรยายเลือกส่ือการเรียนการสอนกระตุนความสนใจของผูเรียน อยูในระดับมาก และ อาจารยผ ูบรรยายไดเลือกส่อื การเรียนการสอนท่ีหลากหลายมคี า เฉล่ียต่ำสดุ อยใู นระดบั มาก นกั ศึกษามีความพึงพอใจการจัดการเรียนการสอนออนไลนของมหาวิทยาลัยมหามกุฏ ราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตศรีลานชาง ดา นการวัดและประเมินผลการจัดการเรยี นการสอนในภาพรวม อยใู นระดับมาก เมือ่ พิจารณาเปน รายขอ พบวา อาจารยผ บู รรยายใชก ารวัดผลและประเมินผลการ เรียนการสอนที่เนนการเกิดทักษะของนักศึกษามีคาเฉลี่ยสูงสุด อยูในระดับมาก รองลงมา คือ อาจารยผูบรรยายเลือกใชวิธีการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย เชน การวัดผลตามความเปนจริง การวัดผลแบบ 360 องศา อยูในระดับมาก และอาจารยผูบรรยายได มีการปรึกษาหารอื กับอาจารยผูรับผดิ ชอบหลักสูตรในการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนการ สอนในรปู แบบบรู ณาการกบั รายวิชาอ่ืนมคี าเฉลย่ี ต่ำสดุ อยูใ นระดบั มาก การอภิปรายผล จากการสรุปผลการวจิ ยั สามารถนำมาอภปิ รายผล ไดด ังนี้ 1. การศึกษารปู แบบการพัฒนาการจดั การเรียนการสอนออนไลน ผลการระดมสมอง (Brianstorming) ศึกษาแนวทางทางการจัดการเรียนการสอน ออนไลน ที่วิทยาเขตศรีลา นชาง นำมาปฏบิ ัติ ผลการระดมสมอง สรปุ สาระสำคัญไดว า วิทยาเขต ศรลี า นชา ง จะทำการจดั การเรียนการสอนแบบไฮบริด คือจดั การศกึ ษาทง้ั แบบออนไลน คือเรียน ทางไกลผานระบบอินเตอรเน็ต และเรียนในทีต่ ั้งในบางรายวชิ าที่มีจำนวนนกั ศึกษานอย สำหรับ การเรยี นการสอนออนไลน ท้ังน้ีอาจเปนเพราะอาจารยบางทานยังไมมคี วามชำนาญในการจัดการ เรียนการสอนออนไลน การเรียนการสอนแบบไฮบรดิ หรอื การเรียนการสอนแบบผสมผสานนี้จะ
วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ 65 มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตศรลี า้ นชา้ ง ใหอาจารยผูสอนคอย ๆ ซึมซับความชำนาญของการใชงานเทคโนโลยีดิจิตอลไปในตัว สอดคลอง กับแนวคิดที่วาการผสมผสานระหวาง e-Learning และ Face-to-face teaching ทำใหเกิด Interactive learning ทีส่ มบรู ณ ซึ่งเปนสวนสำคัญในการพัฒนากระบวนการคิด ความสามารถ ในการสื่อสาร การใชเทคโนโลยีสมัยใหม การทำงานเปนทีม การเรียนรูรวมกัน และการสราง ความรูใหม สิ่งเหลานี้ลวนเปนปจจัยที่สำคัญยิ่งในการพัฒนาผูเรียนใหเปนพลโลก (Global citizen) ที่สามารถดำรงตนในโลกศตวรรษที่ 21 ไดอยางมีความสุขและประสบความสำเร็จ (สำนักคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวิโรฒ, 2551, หนา 3) 2. การจัดรูปองคก รเพื่อพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนออนไลน ผลการระดมสมอง (Brianstorming) ประเด็น “การจัดรูปองคกรเพื่อพัฒนาการ จัดการเรียนการสอนออนไลน” ที่วิทยาเขตศรีลานชาง นำมาปฏิบัติ ผลการระดมสมอง สรุป สาระสำคัญไดวา จากการที่ทดลองใชและผลการสำรวจอาจารยที่มีความสามารถในการใช โปรแกรมการเรียนการสอนออนไลนใ กลเ คียงกัน สามารถใชแพล็ตฟอรมใดก็ได เม่ือศึกษาพบวา Microsoft Teams เปนแพล็ตฟอรม ที่มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัยไดม ีการซือ้ บัญชไี วแลว สามารถนำมาพฒั นาตอ เพื่อใชงานไดท นั ที และไมต อ งลงทุนเพ่ิม จึงเหน็ ควรใหมกี ารใช Microsoft Teams เปนแพล็ตฟอรมในการใชจัดการเรียนการสอนออนไลนของวิทยาเขต นอกจากนั้นการ จัดการเรียนการสอนออนไลนของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีลานชาง จะ ขับเคลือ่ นไปพรอม ๆ กัน 5 ดาน คือ 1. การเลือกแพลตฟอรมการจัดการเรียนการสอน 2. การ ออกแบบบทเรียนออนไลน 3. การจัดการหองเรียนออนไลน 4. การใชสื่อในการเรียนการสอน ออนไลน และ 5. การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนการสอน ทั้งนี้อาจเปนเพราะวา การ จัดการเรียนการสอนเปนเรื่องระบบที่ไมสามารถแยกสวนงานทำได เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงใน กระบวนทัศน หรือวธิ ีการจะตองมีการเปลี่ยนแปลงระบบไปพรอม ๆ กนั สอดคลองกับประกาศ ของมหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั เรอ่ื ง แนวทางการจัดการเรียนการสอนออนไลนท่ีกำหนด แนวทางการดำเนินงานไว 5 ดาน คือ 1. ดานการพัฒนาสื่ออิเล็คทรอนิคสเพื่อสนับสนุนการ บรหิ ารและการเรยี นรู 2. ดา นคุณสมบัติของอาจารยผ สู อนแบบออนไลน 3. การจัดเตรยี มรายวิชา สำหรับการเรียนการสอนแบบออนไลน 4. แนวปฏิบัติสำหรับอาจารยและนักศึกษา และ 5. บทบาทหนา ท่ขี องคณบดีและผูอ ำนวยการวิทยาลยั (มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั , 2563)
66 วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ ปที ่ี 7 ฉบบั ท่ี 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2564 3. การเตรยี มความพรอมการจัดการเรียนการสอนออนไลน 3.1 การอบรมอาจารยผ บู รรยายเพ่ือการจดั การเรียนการสอนออนไลน การจดั เตรยี มเนื้อหา การจัดเตรียมสือ่ การเรียนการสอน การจัดเตรียมวธิ ีการวัดผลการ เรียน ผลการประเมิน พบวา โดยภาพรวมของการจดั เตรียมเน้ือหา การจัดเตรยี มสื่อการเรียนการ สอน การจัดเตรียมวิธีการวัดผลการเรียน มีความสอดคลองกันอยูในระดับมากท่ีสดุ เมื่อพิจารณา แตละองคประกอบ พบวา ทุกองคป ระกอบมีคาเฉลี่ยความสอดคลองอยูในระดับมากท่ีสุดทุกดาน องคประกอบที่มีคาเฉล่ียสูงสุด คอื การวัดผลและประเมินผล รองลงมาคอื การจัดเตรียมเนื้อหา และ สื่อการเรียนรูตามลำดับ การสาธิตการการเรียนการสอนออนไลน จากการประเมินพบวา โดยภาพรวมของการสาธิตการเรียนการสอนออนไลน อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาแตละ องคประกอบ พบวา องคประกอบที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ การจัดการหองเรียนออนไลน รองลงมา คือ การวัดและประเมินผล และการใชสื่อในการเรียนการสอนออนไลน ตามลำดบั ทั้งนี้อาจเปน เพราะวา การจัดการหองเรียนเปนเรื่องพื้นฐานที่อาจารยผูสอนไดมีการองคความรูเดิมแลว เพยี งแตมกี ารปรบั ใชใ นการเรยี นการสอนออนไลนเทาน้นั เอง สำหรบั หวั ขอ อืน่ ๆ เปน เรื่องที่ตองมี การอาศัยทกั ษะฝกฝนการใชงานเพ่ิมเตมิ โดยเฉพาะเร่อื งการประเมนิ ผลการเรยี นรู สอดคลอ งกับ แนวคดิ ท่วี า นอกจากทักษะทคี่ รูตอ งเตรียมความพรอมตอการจดั การเรยี นรูผานเครอื ขายออนไลน แลวนั้น ประเด็นเรื่องการประเมินผลและใหคำแนะนำเพื่อการพัฒนานักเรยี นไดอยางเหมาะสม กับความสามารถและความถนัดของแตล ะคนก็ยังถือเปนประเดน็ ที่ครผู ูสอนจะตองมีการจัดการท่ี ดี โปรงใสและเปนที่รับรูรวมกัน อยางไรก็ตามการประเมินผลหรือการตัดสินผลคะแนนของ นักเรียน อาจจะตองมีการปรบั โครงสรางคะแนน และลักษณะเนื้อหาตามตัวช้ีวัดท่แี ตกตางจากที่ เคยใชใ นหองเรียน ตัวช้วี ัดตามหลักสตู รตองการประเมนิ นกั เรียนในดา นใด ครจู ะตองปรบั ลักษณะ ของงานและการทำกิจกรรมที่มอบหมายนั้น ใหส อดคลองกบั วัตถุประสงคและตัวชีว้ ัดมากย่ิงขึ้น เพื่อการพัฒนานักเรยี นไปตามเปาหมาย โดยปรับใชว ิธีการที่มอบหมายงาน การเตรียมการและ การฝกฝนทักษะของครู ไมวาจะพัฒนาทักษะดานเทคโนโลยี การสือ่ สาร และการถายทอด การ เปนผูใหคำปรึกษาที่ดี รวมทั้งความกระตือรือรนในการบริหารจัดการปจจัยที่เกี่ยวของกับการ จัดการเรียนรู และประเมินผลที่เหมาะสมกับสถานการณใหไดมากที่สุดเพื่อปฏิบัติหนาที่ครู สงเสริมกระบวนการเรียนรูท่ีมีประสิทธภิ าพใหแกนกั เรียนโดยกาวขามขอจำกัดเรื่องสถานที่และ อปุ สรรคตาง ๆ ไดในทส่ี ุด (กนกวรรณ สภุ าราญ, 2563)
วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ 67 มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตศรลี า้ นชา้ ง 3.2 การจัดอบรมนักศกึ ษาในการเรียนการสอนออนไลน ผลการประเมิน พบวา โดยภาพรวมของการสาธิตการเขาใชงานระบบ การรับ - สง งานของนักศึกษาอยูในระดับมากที่สุด เมือ่ พิจารณาแตละองคประกอบ พบวา องคประกอบที่มี คา เฉลย่ี สูงสดุ คือ การรบั - สง งาน และการเขาใชง านระบบตามลำดับ ทงั้ นอี้ าจเปน เพราะวา การ เรียนรูดวยการปฏิบัติเปนสิ่งทีน่ ักศึกษามีความชอบและสามารถเรียนรูไดอยางรวดเรว็ และจำได ดีกวา การฟงบรรยายทั่วไป สอดคลองกับแนวคิดการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 การจัดกระบวนการ เรียนรูจึงพยายามเปล่ียนบทบาทครูจากผูบรรยายมาเปนคณะครูรวมกันออกแบบกิจกรรมในการ จัดกระบวนการเรียนรู (Pedagogy) ใหนักเรียนใชเปนเครื่องมือไปเรียนรูสรางองคความรูดวย ตนเอง ครูเปนผูอำนวยความสะดวก และเสนอแนะเครื่องมือการเขาถึงองคความรูผา นวิธีการตาง ๆ โดยเฉพาะผา น Technology ใหเขาถึงความรูไ ดอยางรวดเรว็ และกวางขวาง นำความรูที่ไดมา แลกเปล่ียนกับเพื่อนในหองเรียน เรียกกระบวนการเรียนรูแบบนี้วา Active Learning ที่ยึด นักเรียนเปนศูนยกลาง (Student-centered) (สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย, ม.ป.ป., หนา 4) 4. การศกึ ษาความพงึ พอใจการจดั การเรยี นการสอนออนไลน ผลการวิจัย พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจการจัดการเรียนการสอนออนไลนของ มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั วิทยาเขตศรีลานชา ง ในภาพรวมอยใู นระดับมาก เมือ่ พิจารณา เปนรายดานพบวา การจัดการหอ งเรยี นออนไลน มีคาเฉลีย่ สูงสุด อยูในระดับมาก รองลงมา คือ การเลือกแพลตฟอรมการจัดการเรียนการสอนอยูในระดับมาก และการวัดและประเมินผลการ จัดการเรียนการสอน มีคาเฉลี่ยต่ำสุด ทั้งนี้อาจเปนเพราะวา การเรียนการสอนเปนสิ่งใหมที่ นักศึกษาไดใชทักษะที่ตนเองมีตามยุคตามสมยั ในการใชเทคโนโลยมี าประยุกตใชในการเรียนการ สอน ทำใหการศึกษาไมไกลจากการใชชีวิต ซึ่งเปนหัวใจของการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 ดงั ที่ สอดคลอ งกบั จกั รกฤษณ โพดาพล (2563, หนา 7) ไดกลาวไววา ในการจดั การเรียนการสอน ออนไลนไมใชเรื่องใหมสำหรับวงการศึกษา เพราะตางก็ไดรับรูเกี่ยวกับกระบวนทัศนการศึกษาที่ เปลี่ยนแปลงมาสักระยะหนึ่งนั่นคือ กระบวนทัศนการจดั การศึกษาในศตวรรษที่ 21 คอื “Teach Less, Learn More” ไดมีการฝกอบรมแนะนำเทคนิคการจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
68 วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ ปที ี่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 มาโดยตอเนื่อง และผลวิจัยสอดคลองกับ กาญจนา จันทรประเสริฐ (2554, หนา 142 – 143) ได ศึกษาการพัฒนารูปแบบการเรียนรูแบบนำตนเองโดยใชปญหาเปนฐานในการสอนวิชาฟสิกส วิทยาศาสตรชีวภาพ พบวา คา เฉลี่ยความพึงพอใจรายดานของผูเ รียนแตกตางกันอยางมีนัยสำคัญ ทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .05 ขอเสนอแนะ จากผลการวิจยั และอภปิ รายผลดังกลาวแลว คณะผูวิจยั สามารถนำขอคนพบมากำหนด เปน ขอ เสนอแนะไดเปน 3 ระดับ ดงั น้ี 1. ขอ เสนอแนะเชิงนโยบาย จากการศึกษาปญหาและอุปสรรคการจัดการเรียนการสอนออนไลนของ มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตศรลี า นชา ง ผูว จิ ัยมีขอเสนอแนะดงั ตอ ไปนี้ 1) มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย วทิ ยาเขตศรีลานชา ง ควรใหความสำคัญกับ นโยบายในการสงเสริมการจัดการเรียนการสอนบทเรียนออนไลนทีช่ ัดเจน ทั้งอาจารยผสู อน และ นักศกึ ษา โดยการสนับสนนุ ดา นอปุ กรณเ ทคโนโลยี 2) ควรมีการจัดตั้งคณะกรรมการจัดการเรียนการสอนออนไลนพรอมทั้งมีระบบการ บริหารและการจัดการในเรื่องของระบบบทเรียนออนไลนพรอมทั้งมีการใหการบริการภายใน มหาวิทยาลยั 2. ขอ เสนอแนะเชิงปฏิบัติ จากการศึกษาการเตรียมความพรอมการจัดการเรียนการสอนออนไลนของ มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั วทิ ยาเขตศรลี านชาง ผูวิจยั มขี อเสนอแนะดังตอ ไปนี้ 1) การจัดอบรมสามารถขยายระยะเวลาในการฝก อบรมออกเปนระยะเวลา 2 วัน หรือ 3 วันก็ได โดยเพม่ิ ระยะเวลาในการจัดกิจกรรมในแตละหนวยการอบรม 2) ควรมีการประชุมวางแผนของคณะผูอบรม รวมถึงมีการเตรียมตัวศกึ ษาเก่ียวกับ เนือ้ หาในหนวยการอบรมตา ง ๆ เพ่ือความชัดเจนในหลักการ จุดมุง หมาย เนื้อหา กจิ กรรม และ การประเมนิ ท่ีชดั เจน 3) ไมค วรมีสลับเนอื้ หาของหนว ยการอบรมตา ง ๆ
วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ 69 มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วทิ ยาเขตศรลี า้ นชา้ ง 3. ขอ เสนอแนะสำหรบั การวิจยั ในคร้งั ตอไป 1) ควรมีการศึกษาผลสัมฤทธิ์การจัดการเรียนการสอนออนไลนของมหาวิทยาลัย มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตศรีลา นชา ง 2) ควรมกี ารศึกษาการพัฒนาหลักสูตรระยะสั้นออนไลนของมหาวิทยาลัยมหามกุฏ ราชวิทยาลยั วิทยาเขตศรีลานชา ง เอกสารอางองิ กนกวรรณ สุภาราญ. (2563). ทกั ษะครกู ับการจัดการเรยี นรอู อนไลนยคุ ใหม. แหลง สบื คนออนไลน https://www.educathai.com/knowledge/articles/372 สืบคนเมื่อ 24 ธันวาคม 2563. กาญจนา จันทรประเสริฐ. (2554). การพัฒนารูปแบบการเรียนรูแบบนำตนเองโดยใชปญหาเปน ฐานในการสอนวิชาฟส กิ สว ิทยาศาสตรช ีวภาพ. ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎบี ัณฑิต สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยรงั สติ . จักรกฤษณ โพดาพล. (2563). การจดั การเรยี นรอู อนไลน: วถี ีท่เี ปน ไปทางการศึกษา. แหลง สืบคน ออนไลน http://slc.mbu.ac.th/article/28181 สืบคนเมื่อ 13 กรกฎาคม 2563. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2563). ประกาศของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. เรื่อง แนวทางการจัดการเรียนการสอนออนไลน. สืบคนออนไลน http://www.mbu.ac.th/index.php/2012-11-14-02-09-46/2012-11-14- 02-29-40/2019-10-31-08-41-47/1732-2020-06-02-03-59- 55#.XwwRuCgzbIU สบื คนเมอื่ 13 กรกฎาคม 2563. สำนักคอมพิวเตอร. (2551). รายงานการศึกษาดูงาน Hybrid Education ณ มหาวิทยาลัยหอ การคาไทย จังหวดั กรุงเทพมหานคร เมื่อวนั พุธที่ 10 เดือนกันยายน พ.ศ. 2551. กรงุ เทพ: มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ,
70 วารสารศรีล้านช้างปริทรรศน์ ปีที่ 7 ฉบบั ที่ 2 กรกฎาคม – ธนั วาคม 2564 สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย. (ม.ป.ป.) แนวทางการจัดทักษะการเรยี นรใู นศตวรรษ ท ี ่ 2 1 ท ี ่ เ น น ส ม ร ร ถ น ะ ส า ข า ว ิ ช า ช ี พ . แ ห ล ง ส ื บ ค น อ อ น ไ ล น http://www.thaischool1.in.th/_files_school/27012005/document/270 12005_0_20150512-093836.pdf สืบคน เม่อื 24 ธันวาคม 2563.
Search
Read the Text Version
- 1 - 18
Pages: