Probation Magazine ตุลาคม 2563 - มกราคม 2564 กกาารรสสรราา งง คคววาามมเเชช�่อ่�อมมน่ั น่ั แแลละะคคววาามมปปลลออดดภภัยัย ใใหหก ก ับบั สสงั ังคคมม บทความพเิ ศษ เรอ� งเลา เครอื ขาย อ.ส.ค. ProbthaetioWnoarrldound 01ปที่ 27 ฉบับที่ แนวคดิ และนโยบายอธิบดีฯ การมีสว นรวมของภาคเี ครือขาย (อ.ส.ค.) ประเทศเกาหลีใตกับการนำเครอ� งมือ ISSN 0858-8619 ในป 2564 เร�องงานคมุ ประพฤติ ในการสอดสอ งดแู ลผถู กู คมุ ความประพฤติ อุปกรณอเิ ล็กทรอนกิ สตดิ ตามตัว กบั การสรางความปลอดภยั ในสังคม และผูกระทำผดิ ในกรณีตดิ EM มาใชใ นระบบงานคมุ ประพฤติ
ต
บทบรรณาธิการ วารสารกรมคุมประพฤติ ฉบับท่ี 1/2564 นี้ ขอเสนอเรื่องเก่ียวกับแนวคิด ตุลาคม 2563 - มกราคม 2564 ปที ่ี 27 ฉบับที่ 1/2564 การสรา้ งความเชอ่ื มนั่ และความปลอดภยั ใหก้ บั สงั คมดว้ ยงานคมุ ประพฤติ ใหท้ า่ นผอู้ า่ น ไดท้ ราบถงึ งานคุมประพฤติทีท่ า่ นผ้อู ่านจะติดตามกันได้ในฉบบั น้ีและฉบบั ตอ่ ๆ ไป โดยฉบับนี้ขอเปิดตัวด้วยแนวคิดนโยบายการสร้างความปลอดภัยให้กับสังคมด้วยงานคุมประพฤติของ ท่านอธิบดีกรมคุมประพฤติ และภายในเล่มยังมีคอลัมน์ใหม่ อาทิ คอลัมน์เร่ืองเล่าเครือข่าย อ.ส.ค. คอลมั นก์ ารต์ นู จรยิ ธรรม สำ� หรบั บทความพเิ ศษจะเปน็ เรอ่ื งศนู ยเ์ ฉพาะกจิ เฝา้ ระวงั ความปลอดภยั ของประชาชน หรือ ศนู ย์ JSOC ทีมงานวารสารกรมคมุ ประพฤติ หวงั เปน็ อย่างยิ่งว่าวารสารฉบับน้จี ะเปน็ ประโยชน์สำ� หรับผูอ้ ่านทกุ ท่าน และขอบคุณท่านผอู้ า่ นทใ่ี ห้ความสนใจติดตามวารสารกรมคุมประพฤตมิ าอย่างตอ่ เน่ือง นางวริ วรรณ บรรจงช่วย บรรณาธกิ ารบริหาร สารบัญ คณะผจู้ ัดท�ำ 4 บทความพเิ ศษ ทีป่ รึกษา แนวคดิ และนโยบายอธบิ ดฯี ในปี 2564 เรอื่ งงานคมุ ประพฤติกับการสร้างความปลอดภยั ในสังคม นายวติ ถวัลย์ สุนทรขจติ อธบิ ดกี รมคุมประพฤติ 8 เร่อื งเลา่ เครือขา่ ย อ.ส.ค. นางธารนิ ี แสงสว่าง รองอธบิ ดกี รมคุมประพฤติ การมสี ว่ นรว่ มของภาคเี ครอื ข่าย (อ.ส.ค.) ในการสอดส่องดูแลผู้ถูกคุมความประพฤติ พันต�ำรวจโทมนตรี บณุ ยโยธิน รองอธบิ ดีกรมคุมประพฤติ และผกู้ ระทำ� ผดิ ในกรณตี ดิ EM นางสาวนนั ทรศั ม์ิ เทพดลไชย รองอธิบดกี รมคุมประพฤติ 10 Probation around the World ประเทศเกาหลีใต้กับการน�ำเคร่ืองมืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ บรรณาธิการบริหาร ตดิ ตามตัวมาใช้ในระบบงานคุมประพฤติ นางวิรวรรณ บรรจงชว่ ย เลขานุการกรม 12 บทความพเิ ศษ กรมคมุ ประพฤตกิ บั บทบาทในการเฝ้าระวงั บรรณาธกิ าร การกระทำ� ผดิ ซ้ำ� ในชุมชน นางสาวจิราวรรณ บุญญา 15 อุทาหรณก์ อ่ นทำ� ผิด เพราะรักจึงต้องบอก บอกก่อนที่ใครบางคนจะท�ำผิด กองบรรณาธิการ 16 รวมภาพกิจกรรมเดน่ นางสุวิมล ดำ� สวุ รรณ กจิ กรรมของสำ� นกั งานคุมประพฤตทิ วั่ ประเทศ นางสาวปยิ นชุ รักสัตย์ 18 การ์ตนู จรยิ ธรรม นางเกศนิ ี สกลุ ทบั โควิด-19 นางสาวอัจฉรา บรรดษิ นางสาวสุกลั ยา นวลแก้ว ฝ่ายภาพ นายณฐั คชประเสรฐิ นางสาวเหมือนแพร ร่งุ เผ่าพนั ธ์ุ ฝ่ายบริหารจัดการ กลุ่มสือ่ สารองคก์ ร ส�ำนักงานเลขานกุ ารกรม เจา้ ของ กรมคมุ ประพฤติ กระทรวงยตุ ธิ รรม ออกแบบ บรษิ ทั ลาโนวา บางกอก จ�ำกดั
บทความพเิ ศษ เรียบเรียง : ทมี งานวารสารกรมคมุ ประพฤติ แนวคิดและนโยบายงานคุมประพฤติกับ การสร้างความปลอดภัยในสังคมของ นายวิตถวัลย์ สุนทรขจิต อธิบดีกรมคุมประพฤติ แนวคดิ และนโยบายงานคุมประพฤติกับการสร้างความปลอดภัยในสงั คม กรมคุมประพฤติ ด�ำเนินภารกิจการแสวงหาข้อเท็จจริง การคุมความประพฤติ ตลอดจนแก้ ไขฟื้นฟูและ สงเคราะห์ผู้กระท�ำผิดในชุมชน เพื่อสร้างความปลอดภัย และคืนคนดีสู่สังคม สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ด้านความม่ันคง และการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ สอดคล้องกับนโยบายเร่งด่วน ของรัฐบาล เร่ืองการสร้างความมั่นคง และความปลอดภัยและความสงบสุขของประเทศ และสนองตอบนโยบาย ของนายสมศกั ดิ์ เทพสุทนิ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ในเรื่องการลดความเหลือ่ มล�้ำทางสังคม สร้างโอกาส ในการเขา้ ถึงกระบวนการยุตธิ รรม การนำ� เทคโนโลยมี าใชใ้ นกระบวนการยุติธรรม เช่น การน�ำอปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ มาใช้ติดตามตัว (EM) การด�ำเนินการ “ศูนย์เฉพาะกิจเฝ้าระวังความปลอดภัยของประชาชน” (Justice Safety Observation Ad hoc Center : JSOC) การใหอ้ าสาสมคั รคมุ ประพฤติเขา้ มาเป็นหนุ้ ส่วนสำ� คญั มีสว่ นรว่ มดแู ล แกไ้ ขผูก้ ระทำ� ผดิ และการพฒั นาระบบงาน กฎหมาย โดยมกี ารด�ำเนินงานส�ำคญั ดงั น้ี 1. การนำ� อปุ กรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สต์ ดิ ตามตวั (กำ� ไล EM) มาใชใ้ นภารกจิ งานคมุ ประพฤติ กบั กลมุ่ เปา้ หมาย 4 กลุ่ม คอื 1) ผู้ถูกคุมความประพฤติ 2) ผทู้ ีไ่ ด้รบั การ 3) ผทู้ ี่ได้รับการลดวนั 4) ผเู้ ขา้ รบั การตรวจพสิ จู น์ พักการลงโทษ ตอ้ งโทษจ�ำคุก 04 วารสารกรมคุมประพฤติ Probation Magazine
โดยมีศูนย์ควบคุมอิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว คมุ ประพฤติ รว่ มกับภาคีเครอื ขา่ ยในชมุ ชน นอกจากน้ี (ศูนย์ EMCC) เพื่อบริหารจัดการอุปกรณแ์ ละการปฏบิ ัติ ยงั มภี าคเอกชนและผปู้ ระกอบการทจ่ี า้ งงานผู้ ไดร้ บั ตามเงื่อนไขการคุมความประพฤติ เริ่มด�ำเนินการตั้งแต่ การพักการลงโทษท่ีติดอุปกรณ์ EM เข้าท�ำงาน เดอื นกนั ยายน 2563 จนถงึ ปจั จบุ นั ทง้ั นี้ กรมคมุ ประพฤติ ได้มีงานและรายได้เล้ียงดูตัวเอง สร้างรายได้ต่อปี ด�ำเนินการตามนโยบายลดความแออัดของผู้ต้องขัง เปน็ คา่ จ้างแรงงาน ในเรือนจ�ำ โดยติดอุปกรณ์ EM แก่ผู้ได้รับการพัก 2. การเฝา้ ระวงั การกระทำ� ผดิ ซำ�้ ในชมุ ชน การลงโทษและลดวันต้องโทษ ซึ่งสามารถช่วยลดภาระ เพ่ือสร้างความปลอดภัยและความเช่ือม่ันให้กับ ค่าใช้จา่ ยภายในเรือนจำ� ได้ สังคม และขับเคลื่อนนโยบายในการสร้างความ EM สามารถน�ำมามาปรับใช้และด�ำเนินการ สงบสุขของประเทศ กรมคุมประพฤติได้จัดต้ัง ตอ่ กล่มุ เป้าหมายได้ในหลายลักษณะดังต่อไปนี้ “ศูนย์เฉพาะกิจเฝ้าระวังความปลอดภัยของ จ�ำกัดบริเวณให้อยู่ภายในเขตท่ีอยู่อาศัยหรือ ประชาชน” (Justice Safety Observation สถานท่ี (พร้อมกำ� หนดกรอบระยะเวลา) Ad hoc Center : JSOC) เพ่ือท�ำหน้าที่บริหาร กำ� หนดพนื้ ทห่ี า้ มเขา้ หา้ มออกเปน็ การเฉพาะ เชน่ จดั การระบบการเฝา้ ระวงั และปอ้ งกนั การกระทำ� ผดิ ซำ้� เขตพน้ื ท่จี งั หวัด สนามบนิ บา้ นผูเ้ สยี หาย เปน็ ต้น อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะฐานความผิด จำ� กดั อัตราความเรว็ ในการขับขีย่ านพาหนะ ร้ายแรง 8 ประเภท ไดแ้ ก่ จ�ำกดั เส้นทางในการเดินทาง ประโยชน์ที่ไดร้ ับ : ผู้กระท�ำผดิ ทีต่ ิดอุปกรณ์ EM 1 ฆา่ หรอื ข่มขนื เด็ก สามารถใชช้ วี ติ ในสงั คม ประกอบอาชพี เลยี้ งดตู นเองและ 2 ฆ่าขม่ ขืน ครอบครัวได้ สามารถสร้างโอกาสที่ดีให้กับตนเองและ 3 ฆาตกรตอ่ เนอ่ื ง สงั คม เพอ่ื ชดเชยสงิ่ ทเี่ คยกระทำ� ผดิ พลาด และระมดั ระวงั 4 ฆาตรกรโรคจิต ในการปฏบิ ตั ติ วั ตลอดจนปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมไปในทาง 5 สังหารหมู่ ที่ดีขึ้น ท้ังน้ี อุปกรณ์ EM เป็นเคร่ืองมือท่ีจะสนับสนุน 6 ชงิ ทรัพย์หรือปลน้ ทรัพยโ์ ดยการฆ่า การติดตามเฝ้าระวังพฤติกรรมของผู้กระท�ำผิดให้ปฏิบัติ 7 เรียกคา่ ไถ่ ตามเงอ่ื นไข สรา้ งความมนั่ ใจใหก้ บั สงั คม เนอ่ื งจากสามารถ 8 นักคา้ ยาเสพตดิ รายสำ� คัญ ตรวจสอบและควบคุมพฤติกรรมได้ตลอด 24 ช่ัวโมง ผ่านกระบวนการควบคุมและสอดส่องของพนักงาน 05ปีท่ี 27 ฉบับที่ 1/2564 ตุลาคม 2563 - มกราคม 2564
โดยกลมุ่ เปา้ หมายในการเฝา้ ระวงั การกระทำ� ผดิ ซ้ำ� ในชมุ ชนของศนู ย์ JSOC กำ� หนดเป็น 3 กลมุ่ ดงั น้ี 1) กลุ่มผู้พ้นโทษท่ีถูกปล่อยตัว 2) กลุ่มผู้ท่ีอยู่ในระหว่างรับโทษ ออกจากเรอื นจ�ำ (กลมุ่ เฝา้ ระวัง 1 : ในเรือนจ�ำและมีโอกาสได้รับการ Watchlist 1) คือ กลุ่มผู้กระท�ำผิด พักการลงโทษ (กลุ่มเฝ้าระวัง 2 : 8 ฐานความผิดท่ีศาลได้ตดั สนิ โทษ Watchlist 2) คือ นักโทษที่เคย และได้รับบทลงโทษจ�ำคุกตาม จำ� คกุ มาแลว้ หลายคดี เปน็ การจำ� คกุ ตาม ก�ำหนดระยะเวลาใดเวลาหนึ่งและ คดที ม่ี หี ลกั ฐานและเขา้ สกู่ ระบวนการ พน้ โทษเรยี บรอ้ ยแลว้ และไดก้ ลบั ไป ฟอ้ งรอ้ ง อย่ใู นสงั คม 3) ก ลุ่ม ท่ี ก่อ ค ดี ใ ห ม่แ ล ะ ยั ง อ ยู่ ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั : เปน็ การสรา้ งความปลอดภยั และสรา้ ง ระหว่างกระบวนการพิจารณา ความเช่ือมั่นให้กับสังคมว่า ผู้พ้นโทษที่มีลักษณะพิเศษ พิ พ า ก ษ า ค ดี ก่อ น รั บ โ ท ษ ) ท่ีได้รับการปล่อยตัวดังกล่าว จะไม่ออกไปสร้างความ (กลมุ่ เฝ้าระวัง 3 : Watchlist 3) เดือดร้อนตอ่ สงั คมอีก คอื กลมุ่ ผกู้ ระทำ� ผดิ 8 ฐานความผดิ หรอื กระทำ� ผดิ คดที อี่ ยู่ในความสนใจ ของประชาชนท่ีเพ่ิงก่อเหตุคดีใหม่ และศาลยังไมไ่ ด้ตดั สินพพิ ากษาคดี 06 วารสารกรมคมุ ประพฤติ Probation Magazine
3. ภารกิจในการคืนคนดีสู่สังคม แก้ไขพัฒนา \"ขอให้สังคมมน่ั ใจว่า พฤตินิสัยผู้กระท�ำผิดให้เป็นคนที่มีคุณภาพ มีอาชีพ กรมคุมประพฤตจิ ะเป็นหนว่ ยงาน เลี้ยงตนเอง และสร้างรายได้ ให้กับประเทศ ด้วยการ ที่เปน็ หลกั ประกันความปลอดภัย สนับสนุนการสร้างอาชีพ เช่น การฝึกอาชีพช่างฝีมือ การสอนการท�ำอาหารและเครือ่ งดมื่ รวมท้งั จดั กจิ กรรม ให้กับชมุ ชน ในการดูแล เผยแพร่ผลงานด้วยการจัดประกวดการท�ำอาหาร และแก้ไขฟนื้ ฟผู กู้ ระทำ� ผิด “Street Food สร้างอาชีพ” สง่ ผลดังนี้ สร้างเสรมิ คนดี คนื สูส่ งั คม\" ผู้กระท�ำผิดได้รับการจ้างงานและประกอบอาชีพ อิสระ จำ� นวน 4,230 คน สรา้ งมลู ค่าทางเศรษฐกจิ กวา่ 1,374,750 ลา้ นบาทตอ่ วัน (หนึ่งล้านสามแสนเจ็ดหม่ืน สพี่ ันเจ็ดร้อยหา้ สิบบาท) ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับ : 1. ผกู้ ระท�ำผิดและผพู้ น้ โทษ ได้รับการแก้ไขพัฒนาพฤตินิสัยให้เป็นคนท่ีมีคุณภาพ มีอาชีพเลี้ยงตนเองและสร้างรายได้ให้กับประเทศ 2. ช่วยเหลือให้ผู้กระท�ำผิดและผู้พ้นโทษได้มีโอกาส เข้าถึงแหล่งงาน โดยได้รับการจ้างงาน 3. ผู้กระท�ำผิด และผู้พ้นโทษสามารถกลับคืนสู่สังคมและด�ำรงชีวิตได้ อย่างปกติ รวมทั้งไมห่ วนกลบั ไปกระท�ำผดิ ซ้�ำ 07ปที ี่ 27 ฉบับที่ 1/2564 ตลุ าคม 2563 - มกราคม 2564
เรอื่ งเอล.่าสเค.คร.ือข่าย การมสี ่วนรว่ มของภาคีเครือข่าย (อ.ส.ค.) ในการสอดส่องดูแลผู้ถูกคมุ ความประพฤติ และผกู้ ระทำ� ผดิ ในกรณีตดิ อาสาสมัครคุมประพฤติ คอื ภาคประชาชนทเ่ี ขา้ มา ผู้กระท�ำผิดในพ้ืนที่อย่าง มีส่วนร่วมด�ำเนินการในภารกิจของกรมคุมประพฤติตาม ใกล้ชิด ส่งผลให้ภารกิจการ พระราชบัญญัติคุมประพฤติ พ.ศ. 2559 โดยได้ก�ำหนด คืนคนดีสู่สังคมบรรลุผลส�ำเร็จ บทบาทท่ีส�ำคัญของอาสาสมัครคุมประพฤติไว้ในระเบียบ อย่างมีประสิทธิภาพ และด้วย กระทรวงยุติธรรมว่าด้วยบทบาทและวิธีปฏิบัติงานของ นโยบายกระทรวงยุติธรรมท่ีมุ่งเน้นการลดความแออัด อาสาสมัครคุมประพฤติและบทบาทของภาคประชาชน ของผู้ต้องขังในเรือนจ�ำ ด้วยการลดปริมาณผู้ต้องขังถูก พ.ศ. 2560 คือการแก้ไขฟ้นื ฟูผู้กระท�ำผิด การติดตาม ดูแล ควบคุมตัวในเรือนจ�ำอย่างครบวงจร ซ่ึงกรมคุมประพฤติ ชว่ ยเหลือ สงเคราะหผ์ ู้กระทำ� ผิด หรอื ผูไ้ ด้รบั การสงเคราะห์ ได้มีการน�ำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว (EM) มาใช้ การแสวงหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับผู้กระท�ำผิด การส่งเสริม ในการติดตามตัวผู้กระท�ำผิดของกรมคุมประพฤติ จ�ำนวน สนบั สนุนภารกิจของกรมคมุ ประพฤติ การมีส่วนรว่ มในการ 30,000 เครอื่ ง รวมทง้ั เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพของมาตรการในการ ป้องกันอาชญากรรม และบทบาทหน้าที่อื่นตามที่อธิบดี ดูแลผู้กระท�ำผิด การเฝ้าระวังการก่ออาชญากรรมที่มี กรมคุมประพฤติมอบหมาย ความรนุ แรงทต่ี อ้ งดแู ลเปน็ พเิ ศษ เพอื่ สรา้ งความเชอ่ื มนั่ และ ท่ีผ่านมา กรมคุมประพฤติมีอาสาสมัครคุมประพฤติ สร้างความปลอดภัยในชุมชน ท่านอธิบดีกรมคุมประพฤติ ท�ำหน้าที่ช่วยเหลือพนักงานคุมประพฤติ ดูแลช่วยเหลือ ให้ความส�ำคัญกับการน�ำอาสาสมัครคุมประพฤติเข้ามา มีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนภารกิจดังกล่าว จึงจ�ำเป็นต้องมี การเสรมิ สรา้ งองคค์ วามรคู้ วามเขา้ ใจเกยี่ วกบั การทำ� บทบาท หน้าทีด่ ังกล่าวอยา่ งถ่องแท้ 08 วารสารกรมคุมประพฤติ Probation Magazine
กรมคุมประพฤติได้มีการเตรียมความพร้อมบุคลากร เพื่อรองรับการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว (EM) โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีการเสริมศักยภาพด้าน ติ ความรแู้ ละทกั ษะในการทำ� งานใหก้ บั อาสาสมคั รคมุ ประพฤติ เพ่ือเป็นส่วนส�ำคัญในการขับเคลื่อนดูแลผู้กระท�ำผิดที่ใช้ อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนกิ สต์ ิดตามตัว (EM) ซงึ่ เปา้ หมายหลักคอื การสร้างแกนน�ำอาสาสมัครคุมประพฤติในระดับอ�ำเภอ และจงั หวดั ใหส้ ามารถเขา้ ใจกระบวนการทำ� งานของอปุ กรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว (EM) และบทบาทหน้าที่ของ อาสาสมัครคุมประพฤติในการดูแลผู้กระท�ำผิดที่ใช้อุปกรณ์ อเิ ลก็ ทรอนกิ สต์ ดิ ตามตวั (EM) เพอื่ นำ� ไปถา่ ยทอดแลกเปลย่ี น เรียนรู้ให้กับเครือข่ายอาสาสมัครคุมประพฤติในระดับพ้ืนที่ ให้สามารถช่วยกันดูแล สอดส่อง ติดตาม แก้ไขฟื้นฟู ช่วยเหลือ สงเคราะห์ผู้กระท�ำผิดในชุมชนได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ โดยอบรมความรู้ ใหก้ บั อาสาสมคั รคมุ ประพฤติ Monitoring (EM) การออกสอดส่อง ติดตาม ใหค้ �ำแนะน�ำ ท่ีเป็นประธานคณะกรรมการอาสาสมัครคุมประพฤติระดับ ปรึกษา ดูแล ช่วยเหลือ สงเคราะห์ผู้ถูกคุมความประพฤติ อ�ำเภอและระดับจังหวัดในพื้นท่ีส�ำนักงานคุมประพฤติ ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 56 และผู้ได้รับการพกั กรงุ เทพมหานคร และภาค 1 - 9 โดยมกี ารจัดอบรมจำ� นวน การลงโทษและลดวันต้องโทษจ�ำคุกที่ติดอุปกรณ์ 9 ครั้ง ผเู้ ขา้ ร่วมอบรมจำ� นวน 928 คน ซง่ึ จดั อบรมในชว่ ง อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว Electronic Monitoring (EM) เดือนพฤศจกิ ายน - ธนั วาคม 2563 เป็นหลักสูตรการอบรม ซึ่งอาสาสมัครคุมประพฤติท�ำหน้าท่ีให้ค�ำแนะน�ำ ปรึกษา จ�ำนวน 2 วัน เน้นพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครคุมประพฤติ และบันทึกข้อมูลการปฏิบัติตามข้อปฏิบัติในการใช้ EM รองรับภารกิจใหม่ของกรมคุมประพฤติ โดยเฉพาะเร่ือง ตรวจสอบความพร้อมการใช้งาน EM เช่น สายรัดข้อเท้า อาสาสมัครคมุ ประพฤติกับการดแู ลผู้กระทำ� ผิดท่ีใชอ้ ปุ กรณ์ แบตเตอรีส่ ำ� รอง สายชาร์จและแทน่ ชารจ์ Adapter รวมถงึ อิเลก็ ทรอนกิ สต์ ดิ ตามตัว (EM) ผลกระทบทางสขุ ภาพอนั เกดิ จากการสวมใส่ EM นอกจากนี้ บทบาทการท�ำงานของอาสาสมัครคุมประพฤติ มีการมอบหมายให้อาสาสมัครคุมประพฤติออกตรวจสอบ เกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว (EM) ข้อเท็จจริงจากเหตุสัญญาณเครื่อง EM แจ้งเตือนต่างๆ ท�ำอะไรและอย่างไร ซ่ึงในฐานะท่ีอาสาสมัครคุมประพฤติ โดยมีการลงพ้ืนท่ีเพื่อด�ำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริง และ เป็นผู้ช่วยเหลือพนักงานคุมประพฤติ ความส�ำคัญของ รายงานผลตามไปยงั พนกั งานคมุ ประพฤตเิ พอ่ื ดำ� เนนิ การตอ่ ไป อาสาสมัครคุมประพฤติกับการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน จะเห็นได้ว่าอาสาสมัครคุมประพฤติเป็นด่านหน้าในการ ทงั้ ในภารกจิ งานแสวงหาขอ้ เทจ็ จรงิ และภารกจิ งานควบคมุ ท�ำงานในพื้นท่ี โดยเฉพาะเม่ือมีเหตุเร่งด่วนหรือเหตุฉุกเฉิน และสอดสอ่ งผกู้ ระทำ� ผดิ ไดแ้ ก่ (1) การตรวจสอบสภาพแวดลอ้ ม ความรวดเร็วในการด�ำเนินการของอาสาสมัครคุมประพฤติ ที่พักอาศัยของผู้กระท�ำผิดเพ่ิมเติมเก่ียวกับความพร้อม ในพ้ืนท่ีคือผู้ช่วยท่ีส�ำคัญให้การขับเคลื่อนงานให้บรรลุ ในการใช้ เช่น กระแสไฟฟ้า สัญญาณโทรศัพท์มือถือ และ ตามเป้าหมาย ดังนนั้ อาสาสมัครคมุ ประพฤติคือก�ำลงั หลกั สัญญาณดาวเทียม (GPS) (2) การติดตามดูแลผู้กระท�ำผิด ที่ส�ำคัญในการเฝ้าระวังความปลอดภัยของประชาชน ด้วยการใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว Electronic ในชุมชนอยา่ งแทจ้ ริง “อาสาท�ำความดีด้วยหัวใจ” อ ส ค EMบทบาทของอาสาสมคั รคมุ ประพฤตเิ มือ่ ได้รบั การประสานงานจาก พคป. ออกตดิ ตาม สอบทาน คำ� ปรกึ ษา ความพร้อมของอุปกรณ์ ลงพนื้ ทต่ี รวจสอบ แสวงหาข้อมลู แนะน�ำ ชว่ ยเหลือ และการปฏบิ ตั ิตามเงือ่ นไข ตดิ ตอ่ ประสานงานกับผ้ถู ูกคุม ลงพื้นที่ สอบถาม ตรวจสอบ ให้ค�ำแนะนำ� ค�ำปรึกษากับผู้ถูกคุม ตรวจสอบความพร้อมของ ความประพฤติ ข้อมูลกับผ้ถู กู คุมความประพฤติ ความประพฤตทิ ี่ติดอปุ กรณ์ EM อปุ กรณ์ EM และอุปกรณ์เสริม ลงพื้นที่ตรวจสอบขอ้ มูลทไี่ ด้ ญาติ และบคุ คลทเี่ กี่ยวขอ้ ง ให้การชว่ ยเหลือภายใตบ้ ทบาท สอบทานข้อมูลการปฏบิ ตั ิตาม รบั แจ้งจากพนักงานคมุ ประพฤติ บันทกึ ข้อมลู บันทกึ ภาพ หนา้ ที่ท�ำจะสามารถดำ� เนินการได้ เงอื่ นไขในการติดอุปกรณ์ EM จดั สง่ ข้อมูล พคป. การตดิ ต่อประสานงานกับ พคป. และการติดตอ่ ศนู ย์ EMCC 09ปีที่ 27 ฉบบั ที่ 1/2564 ตลุ าคม 2563 – มกราคม 2564
arouPnrdobthaetioWnorld เรยี บเรียง : พรรษวุฒิ ปชู นยี กุล พนักงานคุมประพฤตปิ ฏบิ ัตกิ าร กองอำ� นวยการบงั คบั ใชก้ ฎหมายเพ่อื การคมุ ประพฤติ ประเทศเกาหลีใต้กับการน�ำเครื่องมือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว มาใช้ในระบบงานคุมประพฤติ อันยอง ฮาเซโย ส�ำหรับคอลัมน์ “Probation ทงั้ 4 ฐานความผดิ (เพศ, ลกั พาตวั , ฆาตกรรม และปลน้ ทรพั ย)์ around the World” ในฉบบั นี้ อาจเริ่มตน้ กล่าวทกั ทาย และอยู่ภายใต้การดูแลของกระทรวงยุติธรรม โดยปัจจุบัน แปลกๆ ไปบ้าง เหตุผลท่ีเริ่มต้นด้วยการทักทายเป็นภาษา หลักเกณฑ์ส�ำหรับการลงโทษท่ีเข้าเง่ือนไขการใช้ EM คือ เกาหลีแบบน้ี ผู้อ่านทุกท่านไม่ต้องแปลกใจไป เพราะวันน้ี สามารถนำ� EM มาใชไ้ ด้กับโทษท่ีศาลพิพากษาสงู สุดไม่เกนิ 10 ปี เราพาทุกท่านไปท่องโลกดินแดนกิมจิ ท่ีไม่ได้มีดีแคว่ งการ อนง่ึ จากข้อมลู ปี 2019 ปรากฏวา่ ในประเทศเกาหลี ใต้ เคป๊อป หรือซีรี่ส์เกาหลี แตร่ ะบบงานเทคโนโลยีในงาน มีศูนย์ควบคุมอิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัวอยู่ 2 แห่งด้วยกัน คุมประพฤติก็โดดเดน่ และมีชื่อเสียงในเวทีการน�ำนวัตกรรม และมีส�ำนักงานคุมประพฤติกระจายอยู่ในแตล่ ะจังหวัด มาใช้ในกระบวนการยุติธรรมไม่แพ้กัน โดยเฉพาะอย่างย่ิง ทง้ั หมด 57 แหง่ ผทู้ ปี่ ฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีในงานภารกจิ กรมคมุ ประพฤติ การนำ� เครอ่ื งมือตดิ ตามตัวอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (EM) มาใช้ในงาน จ�ำนวน 1,604 คน เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้าน EM จ�ำนวน คุมประพฤติ ซ่ึงถูกน�ำมาใช้กับกลุ่มผู้กระท�ำผิดอย่างเป็น 192 คน เจ้าหน้าท่ีประจ�ำศูนย์ EM จ�ำนวน 74 คน ทางการตง้ั แต่ ปี ค.ศ. 1998 ซง่ึ ไดถ้ กู นำ� มาใชส้ ำ� หรบั ผกู้ ระทำ� ซึ่งฐานความผิดท่ีใช้ EM มากที่สุดอยู่ท่ีร้อยละ 53 คือ ความผิดเกี่ยวกับเพศ เปน็ ฐานความผิดแรกเริม่ น่นั เอง และ ความผิดเกี่ยวกับเพศ ต่อมาเป็นการฆาตกรรม ถัดมา ได้ขยายไปยังกลุ่มฐานความผิดอื่นๆ เร่ือยมา โดยปัจจุบัน เป็นการปล้นทรัพย์ และการลักพาตัวเด็ก (เจ้าหน้าท่ี EM เกาหลี ถูกใช้กับผู้กระท�ำความผิดที่มีความเสี่ยงสูง กระทรวงยตุ ิธรรมธรรมแห่งประเทศเกาหลใี ต้, 2019) 4,594 คน 3,054 คน ความผิดเกี่ยวกับเพศ ฆาตกรรม 996 คน 17 คน ปล้นทรัพย์ ลักพาตัวเด็ก โดยมีการก�ำหนดเงื่อนไขท่ีจะต้องปฏิบัติตาม เช่น ให้อยู่บ้านในเวลาท่ีก�ำหนด ห้ามเข้าใกล้ ในบริเวณท่ีก�ำหนด หรือหา้ มเขา้ ใกลบ้ คุ คลทีก่ �ำหนด เขา้ ร่วมโปรแกรมทก่ี �ำหนด เปน็ ต้น หากไม่ทำ� ตามจะมกี ารลงโทษเพ่ิมเตมิ เชน่ ตอ้ งจา่ ยค่าปรับ หรือกลบั เขา้ ไปรบั โทษจ�ำคุก เปน็ ตน้ 10 วารสารกรมคุมประพฤติ Probation Magazine
เทคโนโลยีท่ีน�ำมาใช้ควบคุมตัวผู้กระท�ำผิด อปุ กรณ์ติดตามตวั เครอื ขา่ ยส่ือสารวิทยุ ศนู ย์ EM เจ้าพนักงาน และมอื ถอื (คมุ ประพฤตแิ ละตำ� รวจ) ศนู ย์ EM หรือ Monitoring Center สามารถตรวจสอบ ก�ำลังพัฒนาระบบที่จะคัดเลือกให้เตือนเฉพาะเรื่องท่ีส�ำคัญ ตำ� แหนง่ ของผถู้ กู คมุ ความประพฤตไิ ด้ ทำ� ใหส้ ามารถตรวจสอบ หรืออันตรายเพื่อให้เจ้าหน้าท่ีสามารถติดตามผู้กระท�ำผิด ได้ว่าผู้ถูกคุมความประพฤติปฏิบัติตามเงื่อนไขหรือไม่ ได้จริง โดยศูนย์ EM จะท�ำงานพร้อมกันกับเจ้าหน้าที่ โดยหากมกี ารฝา่ ฝนื เขา้ ไปในบรเิ วณทห่ี า้ มเขา้ หรอื ไมอ่ ยู่ในบรเิ วณ หากเจ้าหน้าที่ไมส่ ามารถติดตามผู้ถูกคุมประพฤติท่ีมี ท่ีให้อยู่ หรือมีปัญหาอะไรเกิดขึ้น ซึ่งปกติในศูนย์ควบคุม สัญญาณเตือนได้ ข้ันตอนการด�ำเนินการต่อไปคือแจ้งเร่ือง อเิ ล็กทรอนิกส์ติดตามตัวจะมกี ารเตือนประมาณ 11,000 กรณี ประสานต�ำรวจในพนื้ ทีใ่ หเ้ ข้าไปตรวจสอบเปน็ รายกรณีไป ต่อวัน ซึ่งอาจจะมากถึง 4 ล้านคร้ังต่อปี ซ่ึงขณะน้ีเกาหลีใต้ อุปกรณ์ป้องกันเหยื่อจากผู้กระท�ำความผิด (Victim Protection Device) นอกจากจะมีการน�ำ EM มาใช้ กั บ ก ลุ่ม ผู้ก ร ะ ท� ำ ผิ ด ใ น ร ะ บ บ ง า น คุมประพฤติของประเทศเกาหลีใต้แล้ว ห น่ว ย ง า น ภ า ค รั ฐ ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ยุติธรรมได้ยกระดับความปลอดภัย ให้เกิดข้ึนในสังคมไปอีกขั้นหนึ่ง โดย เรมิ่ ตน้ มาจากการเกดิ เหตคุ ดสี ะเทอื นขวญั กรณีภริยาถูกสามีท�ำร้ายร่างกาย และถูกจับต้องโทษจ�ำคุก แต่พอออกจากคุกมาได้ ก็กลับมาฆ่าภริยาของตน ท�ำให้สังคมเกาหลี เรมิ่ ใหค้ วามสนใจทจี่ ะหาวธิ ปี อ้ งกนั เหยอ่ื เลยมอี ปุ กรณท์ สี่ ามารถสอ่ื สารไดส้ องทางเพอื่ ทเี่ ราจะไดแ้ จง้ และรบั ขอ้ มลู กบั เหยอื่ ได้โดยตรง เชน่ การแจง้ เตอื นเหยอ่ื วา่ ผทู้ ำ� รา้ ยกำ� ลงั เขา้ ใกลเ้ หยอื่ กวา่ ทก่ี ำ� หนดไว้ กจ็ ะมกี ารสง่ สญั ญาณเตอื น หรอื ตวั เหยอ่ื เองสามารถกดปมุ่ ตกใจ (Panic Button) ได้เพ่ือที่จะได้ให้ต�ำรวจหรือเจ้าหน้าที่ในพ้ืนท่ีน้ันทราบว่ามีเหตุการณ์ฉุกเฉินเกิดข้ึน ที่ผ่านมาการป้องกันเหยื่อ ดว้ ยวธิ นี ี้จะบงั คบั โดยพน้ื ทที่ ีเ่ ราบนั ทึกไว้ เชน่ ตำ� แหนง่ บ้าน แต่จะไมส่ ามารถป้องกนั คนรา้ ยได้ 100 เปอรเ์ ซ็นต์ เพราะเหยื่อไม่ไดอ้ ยู่ท่ีบ้าน ตลอดเวลา เลยมกี ารพฒั นาระบบ แมว้ า่ เหยอื่ จะไปไหน เราสามารถหาพกิ ดั ของผกู้ ระทำ� ผดิ คอยเปรยี บเทยี บระยะหา่ ง ทำ� ใหส้ ามารถ แจ้งเตอื นเหยอ่ื ได้ หากผูก้ ระท�ำผดิ เข้าใกล้กบั เหยอื่ เกนิ ระยะท่กี �ำหนด และยงั สามารถที่จะเรยี กต�ำรวจ หรือเจ้าหน้าทีใ่ หเ้ ข้ามาช่วยได้ โดยทั้งนี้ ก้าวต่อไปของระบบงานคุมประพฤติเกาหลีใต้ คือ ก�ำลังพัฒนาและขยายฐานความผิดให้สามารถน�ำอุปกรณ์ EM มาใช้ไดอ้ ย่างแพรห่ ลายมากขึ้น จากเดมิ เกาหลีเริม่ ให้ใช้ EM กับคดที ี่มีลกั ษณะสะเทือนขวัญ ทำ� ให้ประชาชนคดิ ว่า EM เปน็ ระบบ ที่น่ากลัว จึงเป็นภาพจ�ำในสังคมที่ค่อนข้างติดลบ ท�ำให้รัฐบาลเกาหลีใต้ต้องแก้ ไขรูปลักษณ์หรือรูปแบบของอุปกรณ์ให้ออกมา เปน็ มติ รกวา่ ทผี่ า่ นมาเพอ่ื ลบลา้ งความคดิ ของประชาชนสว่ นมากทค่ี ดิ ไปแลว้ วา่ EM นา่ กลวั ใหเ้ ปน็ อปุ กรณเ์ พอ่ื สรา้ งความเชอ่ื มน่ั และ ความปลอดภยั ใหก้ ับคนในสงั คม มากกวา่ จะเป็นเครื่องบ่งชี้วา่ ผสู้ วมใส่ EM คือผูก้ ระทำ� ผดิ คดสี ะเทอื นขวญั อย่างเช่นทีผ่ ่านมา 11ปที ่ี 27 ฉบบั ที่ 1/2564 ตุลาคม 2563 – มกราคม 2564
บทความพเิ ศษ เรียบเรียง : พรรษวุฒิ ปชู นยี กลุ พนักงานคมุ ประพฤติปฏิบตั กิ าร กองอ�ำนวยการบงั คับใช้กฎหมายเพอ่ื การคมุ ประพฤติ กรมคุมประพฤติ กับบทบาท ในการเฝ้าระวัง การกระท�ำผิดซ�้ำ ในชุมชน สืบเน่ืองจากกรณีข่าวอาชญากรรมสะเทือนขวัญ “ศูนย์เฉพาะกิจเฝ้าระวังความปลอดภัยของประชาชน” ทปี่ รากฏตามหนา้ หนงั สอื พมิ พร์ ายวนั จนทำ� ใหส้ งั คมเกดิ ขอ้ สงสยั (Justice Safety Observation Ad hoc Center : JSOC) ขน้ึ และน�ำไปสู่การต้ังค�ำถามในความเช่ือม่ันของภาคประชาชน เพ่ือด�ำเนินการเฝ้าระวังผู้พ้นโทษท่ีต้องเฝ้าระวัง จ�ำนวน 8 กลุ่ม ต่อกระบวนการยุติธรรม ซึ่งในทางปฏิบัติกระทรวงยุติธรรม ได้แก่ 1) ฆ่าหรือข่มขืนเด็ก 2) ฆ่าข่มขืน 3) ฆาตกรตอ่ เนื่อง ยงั ขาดมาตรการรองรบั ทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพในการควบคมุ สอดสอ่ ง 4) ฆาตกรโรคจิต 5) สังหารหมู่ 6) ชิงทรัพย์หรือปล้นทรัพย์ และเฝ้าระวังติดตามผู้พ้นโทษ โดยเฉพาะอย่างย่ิงมาตรการ โดยการฆา่ 7) เรยี กคา่ ไถ่ และ 8) นักคา้ ยาเสพติดรายสำ� คญั รองรับเพ่ือจัดการกับปัญหาการกระท�ำผิดซ�้ำของผู้พ้นโทษ ทั้งน้ีจากการส�ำรวจข้อมูลเบื้องต้นปรากฏวา่ ผู้ต้องขัง ไปแลว้ ทอ่ี าจเกิดข้ึนได้ ที่กระท�ำผิดในฐานความผิดลักษณะน้ี อาจมีปริมาณมากถึง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม โดยนายสมศักด์ิ 25,000 ราย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงต้องท�ำการคัดกรอง เทพสทุ นิ จงึ ไดม้ นี โยบายใหก้ ระทรวงยตุ ธิ รรมพจิ ารณาดำ� เนนิ การ และจ�ำแนกผู้ต้องขังโดยพิจารณาอย่างละเอียดรอบคอบจาก เพื่อการป้องกันปัญหาอันเกิดจากผู้พ้นโทษท่ีเป็นภยันตรายต่อ ประวัติเดิม พฤติกรรมการกระท�ำผิด สภาพร่างกายและจิตใจ สงั คม โดยกระทรวงยตุ ิธรรมได้แตง่ ต้งั คณะกรรมการประสานงาน สภาพแวดล้อม เม่ือแน่ใจแล้วจึงน�ำมาจัดท�ำเป็นบัญชีรายชื่อ เฉพาะกิจเพื่อเฝ้าระวังการก่ออาชญากรรมสะเทือนขวัญ ที่ต้องเฝ้าระวังเป็นพิเศษ อาจมีแนวโน้มไปกระท�ำผิดซ้�ำ ของผู้พ้นโทษท่ีมีลักษณะพิเศษ โดยมีอธิบดีกรมคุมประพฤติ ในลกั ษณะคดที ม่ี คี วามรนุ แรง กรมคมุ ประพฤตซิ งึ่ เปน็ หนว่ ยงาน เปน็ ประธานและมหี นว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งในกระบวนการยตุ ธิ รรม ท่ีมีภารกิจในการบังคับใช้กฎหมายและแก้ ไขฟื้นฟูผู้กระท�ำผิด เปน็ กรรมการ เพอ่ื ดำ� เนนิ การโดยมกี ารกำ� หนดมาตรการ 2 ระยะ ในชุมชน จึงต้องบริหารจัดการระบบการเฝ้าระวังและป้องกัน ไดแ้ ก่ 1) มาตรการระยะสนั้ ท่ีสามารถด�ำเนนิ การได้ทนั ที และ การกระทำ� ผดิ ซำ้� ทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ โดยใชก้ ลไกของ “ศนู ย์ JSOC” 2) มาตรการระยะยาวที่มีความจ�ำเป็นต้องแก้ ไขหรือเพ่ิมเติม (Justice Safety Observation Ad hoc Center) ในการ ขอ้ กฎหมายเพอ่ื เปน็ มาตรการรองรบั อาชญากรรมสะเทอื นขวญั เฝ้าระวังติดตามพฤติกรรมของผู้กระท�ำความผิดที่มีลักษณะ ของผู้พ้นโทษที่มีลักษณะพิเศษ โดยได้ก�ำหนดให้มีการจัดต้ัง เปน็ พเิ ศษดงั กล่าว ภายหลงั ไดร้ บั การปลอ่ ยตัวจากเรอื นจ�ำ 12 วารสารกรมคุมประพฤติ Probation Magazine
โดยกลุ่มเป้าหมายในการเฝ้าระวังการกระท�ำผิดซ้�ำในชุมชนของศูนย์ JSOC ก�ำหนดเป็น 3 กลุ่ม ดังน้ี กลุ่มผู้พ้นโทษท่ีถูกปล่อยตัวออกจากเรือนจ�ำ (กลุ่มเฝ้าระวัง 1 : Watchlist 1) คอื กลมุ่ ผกู้ ระทำ� ผดิ 8 ฐานความผดิ ทศี่ าลไดต้ ดั สนิ โทษ และไดร้ บั บทลงโทษจำ� คกุ ตามกำ� หนดระยะเวลาใดเวลาหนง่ึ และพน้ โทษ เรยี บรอ้ ยแลว้ และได้กลบั ไปอยู่ในสงั คม กลมุ่ น้ีในทางกฎหมายถอื ได้วา่ มสี ถานะเป็นบคุ คลอสิ ระทัว่ ไป (Freeman) แต่อยา่ งไรก็ตาม ด้วยลกั ษณะประเภทคดีท่ีเคยกระทำ� ผดิ ไปมีความรุนแรง และอาจกลับไปกอ่ คดสี ะเทอื นขวัญในลกั ษณะเดมิ ได้ เช่นกรณนี ายสมคดิ พมุ่ พวง หรอื ไอซ์ หบี เหลก็ จงึ มคี วามนา่ เปน็ หว่ งในความปลอดภยั ตอ่ ชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ของประชาชนโดยทวั่ ไป ซง่ึ หากมรี ะบบการตดิ ตาม ดูแลกลุ่มบุคคลเหล่านี้อย่างต่อเนื่อง จนเกิดความมั่นใจว่าจะไม่หวนกลับไปกระท�ำผิดซ้�ำอีก หรือมีกลไกเฝ้าระวังและติดตามในชุมชน ซง่ึ สามารถรบั ชว่ งดแู ลตอ่ ไดก้ จ็ ะเปน็ การสรา้ งความมน่ั ใจใหก้ บั ชมุ ชนและสรา้ งความปลอดภยั ใหก้ บั สงั คม โดยศนู ย์ JSOC จะทำ� การ เฝ้าระวัง โดยการติดตาม เย่ยี มเยยี นในชุมชน เพอ่ื ให้ก�ำลังใจ ใหโ้ อกาส และให้การสงเคราะหเ์ พอื่ ใหผ้ พู้ น้ โทษเหลา่ นม้ี อี าชีพ สามารถ กลบั คืนสสู่ งั คมได้อยา่ งยั่งยืนและเป็นการป้องปรามไม่ใหห้ วนกลบั ไปกระท�ำผดิ ซ้ำ� อีก ในการด�ำเนนิ การดงั กลา่ วเปน็ การรว่ มมอื กนั ระหว่างกรมคุมประพฤติ กระทรวงยุตธิ รรม กรมการปกครอง และส�ำนกั งานต�ำรวจแห่งชาตแิ ละหนว่ ยงานพหภุ าคใี นพื้นท่ี กลุ่มผู้ที่อยู่ในระหว่างรับโทษในเรือนจ�ำและมีโอกาสได้รับการพักการลงโทษ (กลุ่มเฝ้าระวัง 2 : Watchlist 2) คอื นกั โทษทเี่ คยจำ� คกุ มาแลว้ หลายคดี เปน็ การจำ� คกุ ตามคดที ม่ี หี ลกั ฐานและเขา้ สกู่ ระบวนการฟอ้ งรอ้ ง โดยหลายครง้ั ทน่ี กั โทษ เหล่าน้ีถูกด�ำเนินคดีหรือศาลพิพากษาให้รับโทษจ�ำคุกในฐานคดีอ่ืนแตเ่ มื่อสืบทราบจากประวัติการกระท�ำความผิดครั้งก่อนหน้า หรือจากพฤติกรรมในอดีต กลับพบวา่ เคยกระท�ำผิดในคดีอาชญากรรมสะเทือนขวัญมากอ่ น ซึ่งกอ่ ให้เกิดความรู้สึกเป็นห่วง ต่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนเช่นกัน คนกลุ่มนี้มีโอกาสน�ำมาเข้าสู่กระบวนการพักการลงโทษได้เช่นกัน แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามดว้ ยเหตผุ ลดงั กลา่ วมาขา้ งตน้ ทำ� ใหก้ ระทรวงยตุ ธิ รรม โดยกรมคมุ ประพฤติ จำ� เปน็ ตอ้ งใชม้ าตรการการคมุ ความประพฤติ ที่มีความเข้มงวดและมีเง่ือนไขมากกว่าการพักการลงโทษโดยทั่วไป โดยเมื่อเข้าสู่กระบวนการคุมประพฤติแล้ว ต้องอยูภ่ ายใต้ กฎหมายคมุ ประพฤติ ซ่งึ ตอ้ งมีการติดอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกสต์ ดิ ตามตัว หรอื EM เพ่ือเฝา้ ระวังอยา่ งใกลช้ ดิ และนำ� อาสาสมัคร คมุ ประพฤติ ตลอดจนภาคเี ครอื ขา่ ยในชมุ ชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการตดิ ตาม ตรวจสอบพฤตกิ รรมเปน็ กลไกเฝา้ ระวงั ทางสงั คม เพอ่ื ใหผ้ กู้ ระทำ� ความผดิ ลกั ษณะพเิ ศษไดป้ รบั ตวั มพี ฤตกิ รรมในทางทดี่ ี เคารพกฎหมาย และไมก่ อ่ ปญั หาอาชญากรรม ทง้ั ยงั เป็นการเตรียมความพร้อมของชุมชนเพื่อการอยู่ร่วมกับผู้กระท�ำความผิดที่มีลักษณะพิเศษก่อนครบก�ำหนดพ้นโทษ ซง่ึ จะทำ� ใหช้ มุ ชนมคี วามตน่ื ตวั เกดิ การผสานพลงั และระดมทรพั ยากรในชมุ ชนในการชว่ ยตดิ ตามเฝา้ ระวงั ตลอดจนสามารถ ให้การสงเคราะห์ช่วยเหลือพัฒนาพฤตินิสัยผู้กระท�ำความผิดได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกทางหนึ่ง ท้ังน้ี ผู้กระท�ำผิด กลุ่มเฝ้าระวัง 2 (Watchlist 2) ยังมีสถานะเป็นนักโทษเด็ดขาดหากมีพฤติกรรมฝ่าฝืนเง่ือนไขจะถูกจับตัวกลับไปรับโทษ ในเรือนจำ� ทันที กลุ่มที่ก่อคดีใหม่และยังอยู่ระหว่างกระบวนการพิจารณาพิพากษาคดีก่อนรับโทษ) (กลุ่มเฝ้าระวัง 3 : Watchlist 3) คือ กลมุ่ ผกู้ ระท�ำผดิ 8 ฐานความผดิ หรอื กระทำ� ผิดคดที อี่ ยใู่ นความสนใจของประชาชน ที่เพ่ิงก่อเหตุคดใี หม่ และศาล ยังไม่ได้ตัดสินพิพากษาคดี โดยทางกรมคุมประพฤติจ�ำเป็นต้องด�ำเนินการเฝ้าฟัง ติดตาม เพื่อไม่ให้เกิดความผิดพลาด ในการด�ำเนินคดี ตลอดจนติดตามผลความคืบหน้าการด�ำเนินคดีอย่างใกล้ชิดและมีการเก็บข้อมูล น�ำไปวิเคราะห์เพื่อวางแผน เฝา้ ระวังเมอื่ ถึงเวลากลับสู่ชุมชนต่อไป 13ปที ่ี 27 ฉบับที่ 1/2564 ตุลาคม 2563 – มกราคม 2564
Justice Safety Observation CAednhtoerc อนง่ึ จากผลการด�ำเนนิ การทผ่ี ่านมาของศูนย์ JSOC ที่กล่าวมาท้ังหมดจะเห็นได้ว่าการด�ำเนินงานเพื่อ ปรากฏว่า ผูท้ อ่ี ยู่ในบญั ชตี ดิ ตามเฝา้ ระวังมีพฤตกิ รรมในทางทด่ี ี เฝ้าระวังความปลอดภัยให้กับประชาชนของศูนย์ JSOC สามารถปรบั ตวั อยรู่ ว่ มกบั ชมุ ชนได้ ไม่หวนกลับไปกระท�ำผิด เปน็ ประโยชนก์ บั ประชาชนและภาพรวม ทงั้ ในมติ ดิ า้ นสงั คม ซ้�ำอีก ปัจจุบันนายสมศักดิ์ เทพสุทิน รัฐมนตรีว่าการ โดยสังคมมีความปลอดภัยจากอาชญากรรม โดยเฉพาะ กระทรวงยตุ ธิ รรม ได้มีนโยบายเร่งรัดให้มกี ารแกไ้ ขปรบั ปรุง อยา่ งยงิ่ คดสี ะเทือนขวญั หรือคดีอุกฉกรรจ์ที่สร้างผลกระทบ กฎหมายเพื่อให้การเฝ้าระวัง ติดตามกลุ่มผู้พ้นโทษมี ต่อความสงบสุขของประชาชนและมิติด้านเศรษฐกิจ จาก ความชัดเจน สามารถสร้างความม่ันใจในความปลอดภัย ระบบงานเฝา้ ระวงั การกระทำ� ผดิ ซำ้� ในชมุ ชนของศนู ย์ JSOC ของประชาชน และในทางคขู่ นาน กรมคมุ ประพฤตอิ ยรู่ ะหวา่ ง ซ่ึงจะส่งเสริมภาพลักษณ์ท่ีดีของประเทศได้ อีกท้ังยังเป็น การเปิดเวทีรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและสังคม การส่งเสริมการทอ่ งเท่ียวและการลงทุนในประเทศ เก่ียวกับการด�ำเนินการของศูนย์ JSOC เพื่อพัฒนา ทั้งทางตรงและทางออ้ มได้อีกด้วย การดำ� เนนิ การให้มีประสิทธภิ าพยิ่งขึน้ ตอ่ ไป 14 วารสารกรมคมุ ประพฤติ Probation Magazine
เพราะรกั จึงบอก... อุทาหรณ์กอ่ นทำ�ผิด บอกก่อนท่ี เรยี บเรยี ง : กล่มุ วนิ ยั กองบรหิ ารทรัพยากรบคุ คล ใครบางคน แต่ไม่เคยประสบความส�ำเร็จ จนกระทั่งอายุ 27 ปี จะท�ำผดิ จึงสนใจเขียนภาพ เรียนรู้เทคนิคในการเขียนภาพ จนกระทั่งประสบความส�ำเร็จเป็นจิตรกรเอกของโลก เรา นำ� สตรอวเ์ บอร่ีไปปลกู ทจี่ งั หวดั จนั ทบรุ ไี ม่ได้ ปลกู ไดแ้ ต่ หรือเม่ือ 118 ปีก่อนหน้าน้ี สองพี่น้องตระกูลไรต์ ยังคิดประดิษฐ์เครื่องบินเป็นล�ำแรกของโลกได้เลย เงาะ ทเุ รยี น มงั คดุ ละมดุ ลำ� ไย เพราะจงั หวดั จนั ทบรุ ี มสี ภาพภมู อิ ากาศ ในยคุ น้ี ความรหู้ าไดแ้ ค่ Click นดิ เดยี ว ถา้ ตง้ั ใจทำ� ตงั้ ใจ เป็นเมืองร้อน ถ้าน�ำสตรอว์เบอร่ีซ่ึงเป็นผลไม้เมืองหนาวไปปลูกที่ พฒั นาตนเองอยา่ งแทจ้ รงิ ท�ำงานได้ดีอย่างแน่นอน จงั หวดั จนั ทบรุ ี สตอรอวเ์ บอรก่ี จ็ ะตายหรอื ไม่โต ในขณะเดยี วกนั เรากน็ ำ� หวั หนา้ อาจคดิ วา่ ไม่ไดเ้ ลอื กลกู นอ้ งหรอื เลอื กแลว้ ผลไม้เมอื งร้อนไปปลกู ทเ่ี มืองหนาวไมไ่ ด้เชน่ กัน หรอื ปลูกได้ ผลผลติ ปรากฏวา่ ลกู นอ้ งไมพ่ ฒั นาการทำ� งาน ลกู นอ้ งไมเ่ หมาะ ก็คงไม่ดี เปรยี บได้กบั บคุ ลิกลกั ษณะ ความรู้ความสามารถของบคุ คล กับงาน หรืองานไม่เหมาะกบั ลูกนอ้ ง ความคดิ แรก คือ ต้องใช้ให้เหมาะกับงาน เราคงไม่สามารถใช้ผู้ท่ีมีบุคลิก “เอ่ือยๆ การปรับเปล่ียนหน้าที่ความรับผิดชอบของลูกน้อง เฉื่อยๆ เรื่อยๆ” พูดเพราะนะคะ แต่น�้ำเสียงห้วนกระด้าง หรือ แตห่ ยดุ กอ่ น กอ่ นทจ่ี ะปรบั เปลย่ี นหนา้ ทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ “หน้าบ้ึง หน้างอ” เป็นประจ�ำ ไปท�ำงานด้านการบริการประชาชน หวั หนา้ ตอ้ งคดิ ใหม่ พฒั นาลกู นอ้ งใหท้ ำ� งานให้ ไดเ้ สยี กอ่ น ใชบ้ คุ คลทไี่ มม่ ีไหวพรบิ ปฏภิ าณ ไมม่ ที กั ษะการแกไ้ ขปญั หาเฉพาะหนา้ น่ีก็เป็นทักษะ หรือสมรรถนะหน่ึงของคนเป็นหัวหน้า ไม่สามารถวิเคราะห์หรือคาดเดาความคิดของบุคคลใดได้ ไปท�ำงาน สามารถสอนงาน หรอื พฒั นาลกู นอ้ งไดห้ รอื ไม่ ถา้ หวั หนา้ ด้านการเจรจาหรือแสวงหาข้อเท็จจริง หรือใช้บุคคลท่ีไม่สามารถ สอนงานแล้ว พัฒนาแล้วทุกหนทาง ลูกน้องยังอยู่ รับแรงกดดันใดๆ ไปท�ำงานที่มีแต่ความตึงเครียดได้เช่นกัน เพราะ ในสภาพ “ไปไม่ไหว เข็นไมข่ ้ึน” ก็ปรับเปลี่ยนหนา้ ท่ี งานทบี่ คุ คลเหลา่ น้ันไดร้ บั มอบหมายจะ “พงั ” ในไม่ชา้ หรอื หากงาน ความรับผิดชอบของลูกน้องเสีย การปรับเปลี่ยนงาน ไม่ “พัง” คนกจ็ ะ “ป่วย” หรอื หากคนไมป่ ว่ ย หน่วยงานก็จะไดร้ ับ เป็นผลดีกับลูกน้อง ท�ำให้ลูกน้องรู้ว่าตนเองเหมาะกับ บัตรสนเท่ห์ หรือหนังสือร้องเรียนขอให้ผู้บังคับบัญชาปรับปรุง งานใด งานใดท่ีท�ำได้ดี ท�ำแล้วมีความสุข งานนั้น เปลีย่ นแปลงการทำ� งานของเจา้ หนา้ ที่เหลา่ นั้น ก็เหมาะกบั ลูกน้องคนนน้ั แล้ว คนแต่ละคนเหมาะกับงานแต่ละงาน ถ้าได้รับมอบหมายงานท่ี ไม่เหมาะกับตนเอง อย่างแรกท่ีจะต้องท�ำคือ คิดว่าตนเองสามารถ ขา้ ราชการทผ่ี บู้ ังคับบญั ชาพัฒนาแลว้ เปลยี่ นไปทำ� ในสง่ิ ทต่ี นเองถนดั และรกั ทจ่ี ะทำ� ไดห้ รอื ไม่ แตห่ ากคดิ แลว้ ยงั ท�ำงาน “ไมไ่ ด้” หรอื ท�ำงานได้ “ไมด่ ”ี ปรากฏว่า ลาออกก็ไม่ได้ เปลี่ยนงานก็ไม่ได้ เพราะไม่มีต�ำแหน่ง ทุกงานที่ได้รับมอบหมายล้วนแล้วแต่มีปัญหา สงิ่ ทต่ี อ้ งทำ� ตอ่ ไป คอื “คดิ ใหม”่ “ไหนๆ กต็ อ้ งทำ� เพราะไมม่ ที จ่ี ะไป โปรดเปิดมาตรา 110 แห่งพระราชบัญญัติ แทนท่ีจะท�ำงานส่งๆ ไป ให้หัวหน้าแก้” หรือจัดอยู่ในประเภท ระเบยี บข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 “ดราม่าขัน้ สดุ ” ทำ� ไม่ได้ งานยาก เครียดมากจนป่วย มาทำ� งานสองวนั ไมพ่ ัฒนาตนเอง ทำ� งานไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ หยุดสามวัน หัวหน้ามอบงานใด ก็ไม่แคล้วต้องเอากลับมาท�ำเอง หย่อนความสามารถ บกพร่องในหนา้ ท่รี าชการ หรือไม่ก็ ให้เพื่อนร่วมงานช่วยท�ำ ก็เปล่ียนความคิดเสียใหม่ “ต้ังใจ หากให้รบั ราชการตอ่ ไป จะเป็นการเสียหาย ทำ� ใหด้ ไี ปเลย” คิดไว้วา่ “เราเกิดมาเพื่อท�ำงานนี้ เราเหมาะกบั งานนี้ ทส่ี ดุ แลว้ ” บคุ คลลม้ เหลว เพราะไมไ่ ดท้ ำ� หรอื ไมค่ ดิ จะทำ� หรอื ไมพ่ ยายาม แก่ราชการ หน่วยงานไม่ไล่ออก จะท�ำเท่านั้น ไม่ใช่ล้มเหลว เพราะไม่มีความสามารถ ถ้าคิดจะท�ำ แต่ใหอ้ อกตามมาตรา 110 อะไรกห็ ยดุ ย้ังไม่ได้ ดตู วั อย่าง วินเซนต์ แวนโกะ๊ ท�ำงานหลายอยา่ ง 15ปีที่ 27 ฉบบั ที่ 1/2564 ตลุ าคม 2563 - มกราคม 2564
รวมภาพกิจกรรมเด่น เรยี บเรยี ง : ทมี งานวารสารกรมคมุ ประพฤติ กิจกรรม คุมประพฤติกรุงเทพมหานคร 1 มอบทุนประกอบอาชีพ พันต�ำรวจโท มนตรี บุญยโยธิน รองอธิบดีกรมคุมประพฤติ ของส�ำนักงานคุมประพฤติท่ัวประเทศ พร้อมด้วยเจา้ หน้าทส่ี �ำนักงานคมุ ประพฤติกรุงเทพมหานคร 1 และ อาสาสมัครคมุ ประพฤติ ออกเย่ยี มบ้านและมอบทุนประกอบอาชีพ คุมประพฤตินนทบุรี ให้กับผู้ถูกคุมความประพฤติ เพ่ือน�ำไปต่อยอดเลี้ยงตนเองและ จัดกิจกรรมรับรายงานตัว ครอบครวั ได้ แบบกลุ่ม คมุ ประพฤตนิ ครราชสมี า ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัด สาขาสีคิ้ว นนทบุรี โดยกลุ่มแก้ไขฟื้นฟู อบรมการลงข้อมูล ผกู้ ระทำ� ผดิ และกลมุ่ คมุ ประพฤติ จดั กจิ กรรมรบั รายงานตวั แบบกลมุ่ ระบบ EM ในระดับ ให้กับผู้ถูกคุมประพฤติและผู้ถูกคุมประพฤติพักการลงโทษและ EM User ลดวนั ตอ้ งโทษจำ� คกุ โดยมผี เู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมจำ� นวน 91 คน ประกอบดว้ ย เจ้าหน้าท่ีส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดนครราชสีมา สาขาสีคิ้ว ผู้ถูกคุมความประพฤติ อาสาสมัครคุมประพฤติและเจ้าหน้าท่ี อบรมการลงข้อมูลระบบ Electronic Monitoring ในระดับ ณ ศูนย์ประสานงานอาสาสมัครคุมประพฤติอ�ำเภอบางบัวทอง EM User ทั้งเรื่องอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ติดตามตัว ข้อสังเกต จงั หวดั นนทบรุ ี ของการใชร้ ะบบใหถ้ กู ตอ้ งและครบถว้ น เพอ่ื สรา้ งการรบั รแู้ ละนำ� ไป ปฏบิ ตั ทิ ตี่ รงกนั ชว่ ยเสรมิ ประสทิ ธภิ าพในการแกไ้ ขฟน้ื ฟผู กู้ ระทำ� ผดิ คุมประพฤติชลบุรี ในชุมชน ณ ส�ำนักงานคมุ ประพฤติจังหวดั นครราชสมี า สาขาสคี วิ้ ด�ำเนินการติดอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ คุมประพฤติหนองบัวล�ำภู จัดกิจกรรมบ�ำเพ็ญประโยชน์ ติดตามตัว EM ต่อส่วนรวม ท�ำงานบริการสังคมแบบกลุ่ม ส�ำนักงานคุมประพฤติ ส�ำนักงานคุมประพฤติหนองบัวล�ำภู จัดกิจกรรมบ�ำเพ็ญ จงั หวดั ชลบุรี ดำ� เนนิ การตดิ อุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ สต์ ดิ ตามตวั (EM) สาธารณประโยชน์ต่อส่วนรวมท�ำงานบริการสังคมแบบกลุ่มให้กับ แก่ผู้ถูกคุมความประพฤติที่ได้รับการพักการลงโทษและผู้ได้รับ ผู้ถูกคุมความประพฤติ โดยการปรับภูมิทัศน์ ท�ำความสะอาด การลดวนั ต้องโทษจำ� คุกจากเรอื นจ�ำกลางชลบุรจี ำ� นวน 25 ราย ซงึ่ มี ท�ำแปลงปลูกปอเทือง บริเวณรอบอาคารบูรณาการกระทรวง อาสาสมัครคุมประพฤติจังหวัดชลบุรี ให้ความช่วยเหลือพนักงาน ยตุ ธิ รรมจังหวดั หนองบัวล�ำภู คมุ ประพฤตใิ นการดำ� เนนิ งาน จากน้นั พนักงานคมุ ประพฤตไิ ดช้ แี้ จง เงอ่ื นไขขอ้ กำ� หนดตา่ งๆ แนะนำ� วธิ กี ารดแู ลรกั ษาและการใชง้ านของ อุปกรณ์ EM แก่ผู้ถูกคุมความประพฤติและผู้อุปการะรับทราบ ซ่ึงการติดอุปกรณ์ EM นน้ั จะชว่ ยในการควบคุม ดแู ล ติดตามผกู้ ระท�ำผดิ ชว่ ยเสรมิ ความเชอื่ มน่ั และสรา้ งความมนั่ ใจในความปลอดภยั ใหแ้ กส่ งั คม 16 วารสารกรมคมุ ประพฤติ Probation Magazine
คุมประพฤติเชียงใหม่ ร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพ คุมประพฤติประจวบคีรีขันธ์ จัดโครงการแก้ไขปัญหา อาสาสมัครคุมประพฤติในการดูแลผู้กระท�ำผิด ผู้เสพยาเสพติด ในรูปแบบศูนย์ขวัญแผ่นดิน เพ่ือสร้างความเช่ือมั่นและความปลอดภัยให้สังคม ครั้งท่ี 3 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ รุ่นท่ี 1 พันต�ำรวจโท มนตรี บุณยโยธิน รองอธิบดีกรมคุมประพฤติ ส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัดประจวบคีรีขันธ์จัดโครงการ เป็นประธานเปิดโครงการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครคุมประพฤติ แก้ไขปัญหาผู้เสพยาเสพติดในรูปแบบศูนย์ขวัญแผ่นดินจังหวัด ในการดูแลผู้กระท�ำผิดเพ่ือสร้างความเช่ือมั่นและความปลอดภัย ประจวบครี ขี นั ธ์ รนุ่ 1 ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 ระหว่าง ในสงั คมโดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ เสรมิ สรา้ งองคค์ วามรแู้ ละทกั ษะใหก้ บั วันท่ี 14 - 25 ธันวาคม 2563 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ผู้เสพ ประธานอาสาสมคั รคุมประพฤตจิ งั หวดั / อ�ำเภอ/ เขต และพนักงาน ผู้ติดยาเสพติด ได้รับการดูแลแก้ ไขอย่างใกล้ชิด มีแนวทางแก้ไข คุมประพฤติที่อยู่ในสังกัดส�ำนักงานคุมประพฤติ ภาค 5 ระหว่าง ปัญหายาเสพติดในพื้นที่ โดยมีผู้เข้ารว่ มโครงการ 55 คน วนั ที่ 15 - 16 พ.ย. 2563 ณ โรงแรมฮอไรซนั วิลเลจแอนด์รสี อร์ท ณ คา่ ยลูกเสือตาม่องล่าย อำ� เภอเมอื ง จังหวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ และสวนพฤกษศาสตร์ทวีชล จังหวดั เชยี งใหม่ คุมประพฤติพงั งา จัดให้ ผถู้ ูกคมุ ความประพฤติ ทำ� งานบริการสังคม รายบคุ คล สำ� นกั งานคมุ ประพฤตจิ งั หวดั พังงา จัดให้ผู้ถูกคุมความ ประพฤติท�ำงานบริการสังคมรายบุคคล ณ ส�ำนักงานคุมประพฤติ จังหวัดพังงา เพ่ือป้องกันการรวมตัวแบบกลุ่ม ลดความเสี่ยงตาม มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19 คุมประพฤติเพชรบูรณ์ สาขาวิเชียรบุรี คุมประพฤติยะลา ด�ำเนินโครงการโรงเรียนยุติธรรมอุปถัมภ์ ปฐมนิเทศพักโทษ - ลดโทษ ด้วยกระบวนการ 3 ก สาํ นกั งานคมุ ประพฤตจิ งั หวดั ยะลา และคณะทาํ งานโรงเรยี นยตุ ธิ รรม (กอด กราบ แก้ไข) บุพการี อุปถัมภ์ดําเนินการจัดกิจกรรมสร้างการรับรู้ โครงการโรงเรียน นางสาวอรดี ใจช่ืน ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงานคุมประพฤติจังหวัด ยตุ ธิ รรมอปุ ถมั ภ์ ซง่ึ เปน็ การปฏบิ ตั ติ ามนโยบายของกระทรวงยตุ ธิ รรม เพชรบูรณ์ สาขาวิเชยี รบุรี ปฐมนเิ ทศผถู้ ูกคมุ ความประพฤติภารกจิ เพ่ือให้ความรู้ในเร่ืองต่างๆ ที่เป็นประโยชน์กับเยาวชน โดยดําเนิน ผใู้ หญ/่ พักโทษ-ลดโทษ ดว้ ยกระบวนการ 3 ก (กอด กราบ แกไ้ ข) กิจกรรมภายใต้ชื่อ “คุมประพฤติให้ความรู้ สู่เยาวชน” บรรยายให้ บุพการี เพ่ือให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการแก้ ไขฟื้นฟู และสร้าง ความรเู้ รอื่ ง “การสรา้ งจติ สาํ นกึ และวนิ ยั ในตนเอง พรอ้ มใชส้ อื่ วดี ที ศั น์ มาตรการในการปฏิบัติตามเง่ือนไขเพ่ือลดการกระท�ำความผิดซ�้ำ และแลกเปล่ียนความคิดเห็น กิจกรรมคร้ังน้ีได้เชิญวิทยากร ตลอดจนจดั อบรมความรทู้ กั ษะการจดั การกบั อารมณ์ และความเครยี ด สํานักงานยตุ ธิ รรมจังหวัดยะลา มาบรรยายใหค้ วามรู้ ในหวั ขอ้ “สทิ ธิ แก่ผู้ถูกคมุ ความประพฤติ จำ� นวน 5 คน ณ สำ� นกั งานคมุ ประพฤติ ที่ควรรู้กับยุติธรรมจังหวัดยะลา” ให้กับนักเรียนนักศึกษาวิทยาลัย จังหวดั เพชรบูรณ์ สาขาวเิ ชียรบุรี อาชีวศึกษาผดุงประชายะลา โดยมีนักเรียนเข้าร่วมทั้งสิ้น 50 คน ณ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาผดงุ ประชายะลา อําเภอเมอื ง จังหวัดยะลา 17ปีที่ 27 ฉบบั ท่ี 1/2564 ตลุ าคม 2563 - มกราคม 2564
การ์ตูนจรยิ ธรรม COVID เรยี บเรยี ง : กลุ่มงานคุม้ ครองจรยิ ธรรม 19 ณ หน่วยงาน ราชการแหง่ หน่งึ พรุ่งน้ีวันอังคาร ผอ. ให้ปฏิบัติงานท่ีบ้านไม่ต้องเข้า ส�ำนักงาน เพ่ือป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 นะครบั รบั ทราบค่ะ ผอ. วนั รุง่ ข้นึ 9.30 น. หัวหน้าโทรมา... ไมร่ ับดีกวา่ ใครโทรมาเน่ยี คนก�ำลงั ดซู ีรีย่ ์อยู่ เดย๋ี วโดนส่ังงาน วนั น้อี ุตสา่ ห์ไม่ต้อง ไปทำ� งาน การกระท�ำดังกล่าวเป็นการฝ่าฝืนประมวลจริยธรรมข้าราชการ พลเรอื น ขอ้ 5 (2) กำ� หนดไว้ว่า ข้าราชการตอ้ งไม่ใชเ้ วลาราชการ ไปเพอื่ ประโยชนส์ ว่ นตนของตนเองหรอื ผอู้ น่ื เวน้ แตไ่ ดร้ บั อนญุ าต โดยชอบด้วยกฎหมาย และอาจผิดวินัยตามพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาตรา 82 (5) ก�ำหนดไว้ว่า ข้าราชการต้องอุทิศเวลาของตนให้แก่ราชการ จะละทิง้ หรอื ทอดทิง้ หนา้ ท่รี าชการมไิ ด้ 18 วารสารกรมคมุ ประพฤติ อ้างองิ : ประมวลจริยธรรมขา้ ราชการพลเรือน Probation Magazine : พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการพลเรือน พ.ศ. 2551
ศูนย์ขอ้ มูลข่าวสารกรมคมุ ประพฤติ ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของกรมคุมประพฤติ จัดตั้งขึ้นเพ่ือให้บริการข้อมูลข่าวสารตาม พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 เชน่ โครงสรา้ งและการจดั องคก์ ร กรมคุมประพฤติแผนยุทธศาสตร์ สรุปผล การด�ำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน ซ่ึงประชาชนสามารถเข้าตรวจดูได้เอง อยา่ งสะดวก ทา่ นสามารถติดต่อขอขอ้ มลู ขา่ วสารตาม พระราชบญั ญตั ขิ อ้ มลู ขา่ วสารของราชการ พ.ศ. 2540 ไดท้ ่ี ศูนย์ข้อมูลข่าวสารกรมคุมประพฤติ ณ ห้องฝ่ายสารบรรณ กรมคุมประพฤติ ช้ัน 4 ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกยี รติ 80 พรรษา 5 ธนั วาคม 2550 อาคารราชบรุ ี ดเิ รกฤทธ์ิ ถนนแจง้ วฒั นะ แขวงทงุ่ สองหอ้ ง เขตหลกั ส่ี กรงุ เทพมหานคร10210 www.probation.go.th คลิกท่ศี ูนย์ข้อมูลขา่ วสารกรมคมุ ประพฤติ โทรศพั ท์: 0-2141-4740 ศนู ยข์ ้อมูลข่าวสารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ของกรมคมุ ประพฤติ www.oic.go.th/infocenter2/229 “เปิดเผยเปน็ หลัก ปกปิดเปน็ ข้อยกเว้น”
กรมคมุ ประพฤติ กระทรวงยตุ ธิ รรม DEPARTMENT OF PROBATION, MINISTRY OF JUSTICE ศูนยราชการเฉลมิ พระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 อาคารราชบุรดี เิ รกฤทธิ์ ชัน้ 2-6 เลขที่ 120 ถนนแจงวฒั นะ แขวงทงุ สองหอง เขตหลักส่ี กรุงเทพมหานคร 10210 สายดวนกรมคุมประพฤติ : 1111 กด 78 สายดวนยตุ ิธรรม : 1111 กด 77 www.probation.go.th กรมคมุ ประพฤติ Department of Probation
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: