Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้เรื่องสติปัฏฐานกับการใช้ชีวิตประจำวันอย่าง มีสติของผู้เรียนครูสมาธิหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ สถาบันพลังจิตตานุภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง จังหวัดเลย/พระวิสันต์ ปสนฺนจิตฺโต (ปานเพ็ชร), ธีระเดช ลุนาหา

ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้เรื่องสติปัฏฐานกับการใช้ชีวิตประจำวันอย่าง มีสติของผู้เรียนครูสมาธิหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ สถาบันพลังจิตตานุภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง จังหวัดเลย/พระวิสันต์ ปสนฺนจิตฺโต (ปานเพ็ชร), ธีระเดช ลุนาหา

Published by MBU SLC LIBRARY, 2022-05-11 03:21:52

Description: วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ ปีที่ 2 ฉบับที่ 4:มกราคม - เมษายน 2565

Search

Read the Text Version

Received: January 30, 2022 Revised: April 15, 2022 25I6nV5toelgAว.rนั 2caตctNอeeopบdt.รeS4ับdo:บJcaทiAnaคpulวraSาirlมcy2i:e–52n,5Ac2epเ0มr2Jiษol2าu2ย0rนn22a2l56513 วันรบั บทความ: 30 มกราคม 2565 วันแกไ ขบทความ: 15 เมษายน ความสัมพนั ธร ะหวางการรบั รเู ร่ืองสติปฏ ฐานกับการใชช วี ติ ประจำวันอยา ง มสี ตขิ องผเู รยี นครสู มาธหิ ลกั สูตรวทิ ันตสาสมาธิ สถาบนั พลงั จติ ตานภุ าพ สาขาท่ี 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง จังหวัดเลย THE RELATIONSHIP BETWEEN THE PERCEPTION OF THE FOUR FOUNDATIONS OF MINDFULNESS AND THE MINDFULNESS IN DAILY-LIFE LIVING OF STUDENTS IN MEDITATION COURSES OF 69TH WILL – POWER INSTITUTE WAT SRISUTTHAWAT, THE ROYAL MONASTERY, LOEI PROVINCE พระวิสันต ปสนฺนจิตโฺ ต (ปานเพ็ชร)1 ธรี ะเดช ลุนาหา2 1นักศกึ ษาหลักสตู รครุศาสตรมหาบณั ฑิต มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย 2เจาหนา ท่ีบริหารงานทว่ั ไป มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั วิทยาเขตศรลี า นชา ง Pra Wison Pasonnjitto1 Teeradej Lunaha2 1Student’s Master of Educational Mahachulalongkorn Buddhist University, Loei Religious College 2General Administration Officer Mahamakit Buddhist University, Srilanchang Campus Corresponding Author E-mail: [email protected] บทคดั ยอ บทความนี้มีวัตถุประสงค คือ (1) เพื่อศึกษาการรับรูเรื่องสติปฏฐานของผูเรียนครสู มาธิหลักสูตร วิทันตสาสมาธิ (2) เพื่อศึกษาระดับกับการใชชีวิตประจำวันอยางมีสติของผูเรียนครูสมาธิหลักสูตรวิทันตสา สมาธิ (3) เพอื่ ศกึ ษาความสมั พนั ธระหวางการรบั รเู รอื่ งสติปฏ ฐานกบั การใชชีวติ ประจำวันอยา งมสี ติของผเู รียน ครูสมาธิหลกั สูตรวิทันตสาสมาธิ สถาบนั พลังจติ ตานภุ าพ สาขาที่ 69 วัดศรีสทุ ธาวาส พระอารามหลวง จงั หวัด เลย ประชากร ที่ใชใ นการศึกษาคนควาคร้ังนี้ ไดแก ผูเ รยี นครสู มาธิหลักสูตรวทิ ันตสาสมาธิ สถาบันพลังจิตตา นุภาพ สาขาท่ี 69 วดั ศรสี ุทธาวาส พระอารามหลวง จังหวัดเลย จำนวนทงั้ หมด 122 รปู /คน ผวู ิจัยไดกำหนด ขนาดกลมุ ตัวอยา ง (Sample size) โดยใชต ารางสำเรจ็ รูปคำนวณหาขนาดของกลุมตัวอยาง R.V.Krejcie และ D.W.Morgan และไดก ลุม ตัวอยาง จำนวน 97 รปู /คน ผวู ิจยั ไดทำการสุมอยางงาย (Simple Sampling) ดว ย การจับสลาก เครื่องมือที่ใช คอื แบบสอบถาม วิเคราะหขอ มูลโดยใชโปรแกรมสำเร็จรปู ทางสถิตเิ พ่ือการวิจัย ISSN 2773 - 8949

14 วารสารสัังคมศาสตร์์บููรณาการ ปีีที่่� 2 ฉบับั ที่�่ 4 มกราคม - เมษายน 2565 สถิติที่ใช ไดแก คาความถี่ คารอ ยละ คาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และคาสมั ประสิทธิ์สหสัมพันธของ Pearson ผลการวิจัยพบวา (1) การรับรูเรื่องสติปฏฐานของผูเ รียนครูสมาธิหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ สถาบัน พลังจิตตานุภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง จังหวัดเลยโดยภาพรวมและรายดานอยูใน ระดับมาก (2) การใชชีวิตประจำวันอยางมสี ติของผูเรยี นครสู มาธหิ ลักสูตรวิทันตสาสมาธิ สถาบันพลังจิตตานุ ภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง จังหวัดเลยโดยภาพรวมและรายดานทุกดานอยูในระดับดี และ (3) การรับรูเรื่องสติปฏฐานกับการการใชชีวิตประจำวันอยางมีสติของผูเรียนครูสมาธิหลักสูตรวิทันตสา สมาธิ สถาบันพลังจิตตานุภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง จังหวัดเลยมีความสัมพันธกัน ทางบวก อยใู นระดบั สงู อยางมีนัยสำคัญทางสถิตทิ ีร่ ะดบั .01 คำสำคญั : วปิ สสนากรรมฐาน; การใชช ีวติ ประจำวนั อยางมสี ติ; Abstract The purposes of this research were to (1) study the perception of the four foundations of mindfulness, (2) study the mindfulness in daily – life living of student in meditation courses of 69th Will Power Institute at Wat Srisutthawat, the royal monastery, Loei Province. And (3) study the relationship between the perception of the four foundations of mindfulness and the mindfulness in daily – life living of student in ,editation courses of 69th Will Power Institute at Wat Srisutthawat, the royal monastery, Loei Province. The samples were 97 of student in meditation courses of 69th Will Power Institute at Wat Srisutthawat, the royal monastery, Loei Province. Selected by simple random sampling. The tool used in this process was a questionnaire. The statistics used to analyzed the data were: Frequency, Percentage, Mean, Standard Deviation, and the Pearson correlation coefficient. Research finding found (1) the perception of the four foundations of mindfulness overall and individual aspects are at a high level. (2) the mindfulness in daily – life living of student in meditation courses of 69th Will Power Institute at Wat Srisutthawat, the royal monastery, Loei Province, overall and individual aspects are at a high level, and (3) the perception of the four foundations of mindfulness and the mindfulness in daily – life living of student in meditation courses of 69th Will Power Institute at Wat Srisutthawat, the royal monastery, Loei Province have a positive relationship at the .01. Keywords: Four Foundations of Mindfulness; Mindfulness in Daily – Life; ISSN 2773 - 8949

Integrated Social Science Journal 15 Vol. 2 No. 4 January – April 2022 บทนำ การเขาถึงพระพุทธศาสนา ตามหลกั คำสอนตอ งประกอบดวย หลกั ปริยัติ ปฏิบตั ิและปฏิเวธ หาก เรยี นแตปริยัติอยา งเดียว ไมนำมาปฏิบัตกิ เ็ ปนเพียงความจำเทา นัน้ มิไดป ญญาท่ีแทจ ริง ปญญาเปนความรอบรู ในธรรมท่ีควรรู คนทกุ คนตอ งอาศัยปญญา เปนเสมือนแสงสวางสองทางในการดำเนนิ ชวี ติ และรอบรูจนมีความ บรสิ ุทธท์ิ ้ังทางกาย วาจา และจติ เปน บุคคลท่ีเจริญจรงิ ๆ การปฏิบตั ิกัมมัฏฐานหรือภาวนา เพอื่ จะทำใหจติ เปน สมาธิ ไดป ฏิบตั ิสบื เนื่องกันมาเปนเวลานาน ในประเพณีการปฏิบัตธิ รรมทางพระพุทธศาสนาฝายเถรวาท หรือ ใชอ ยูในประเทศไทยนั้นอาจกลาวไดวา ไดมีมานานตั้งแตพระพุทธศาสนาเขามาสปู ระเทศไทย (วรรณพร ฮอฟ มันน, 2562: 1 – 2) สติปฏฐาน คือ หรือการตั้งสติ กำหนดพิจารณาส่ิงทั้งหลายใหรูเ หน็ เทาทันตามความเปนจรงิ การมี สตกิ ำกบั ดูส่งิ ตาง ๆ และความเปนไปทั้งหลาย โดยรเู ทา ทนั ตามสภาวะของมัน ไมถูกครอบงำดว ยความยินดียิน ราย ทีทำใหมองเห็นเพ้ียนไปตามอำนาจกิเลสมี 4 อยา งคอื 1) กายานุปสสนา การต้ังสตกิ ำหนดพิจารณากาย การมีสตกิ ำกบั ดรู เู ทา ทันกายและเรอื่ งทางกาย 2) เวทนานปุ สสนา การตั้งสตกิ ำหนดพจิ ารณาเวทนา หรอื การมี สติกำกับดูรูเทาทันเวทนา 3) จิตตานุปสสนา การตั้งสติกำหนดพิจารณาจิต หรือการมีสติกำกับดูรูเทาทันจิต หรือสภาพและอาการของจิต 4) ธัมมานุปส สนา การต้ังสติกำหนดพิจารณาธรรมหรือการมีสติกำกับดูรูเทาทนั ธรรมเรียกสัน ๆ วา กาย เวทนา จิต ธรรม (พระธรรมปฎ ก (ป.อ.ปยุตฺโต), 2539: 294 - 297) การเจริญสติใน ชีวติ ประจำวนั ใชสตพิ ิจารณากำหนดรูความเปนไปของรปู นามทเ่ี ปน ปรมัตถท ุกขณะวา ปจ จุบันเราทำอะไรอยู เราคิดอยางไร รูสึกอยางไร มีสภาวธรรมอยางใดเกิดขึ้น โดยกำหนดรูอาการและสภาวธรรมที่เปนปจจุบัน เทาน้ันไมกำหนดรูอาการหรือสภาวธรรมที่เปนอดีตหรืออนาคต ถาปลอยใหจิตไปติดอยูกับอาการหรือ สภาวธรรมที่เปนอดีตหรืออนาคต ก็คือขาดสติ การกำหนดรูทุกขณะไมเผลอ จะทำใหศีลบริสุทธิ์ เม่ือศีล บริสุทธ์ิแลว กจ็ ะเปนปจจัยใหสมาธิแกกลา เมื่อสมาธิแกกลาแลว ก็จะเปน ปจจัยใหปญญาผองใส นำไปสูการ ทำใหแจง ซง่ึ มรรคผล นิพพาน โดยการเจรญิ สติปฏฐานใหกาวหนา นั้น จำเปน ตองอาศยั ความบรสิ ุทธ์ิแหงศีล เปน สำคัญ ความท่ีมีสติระวังกำหนดรูรปู นาม ไมเผลอ คอื ทำใหศีลบริสุทธ์ินั้นเอง (พระเจรญิ อคฺควริ โิ ย (เกษม วิริยะเลศิ ), 2555: 1 - 2) สถาบันพลังจติ ตานภุ าพไดม ีการสอนการทำสมาธิตามแนวทางการปฏิบตั ิของสมเดจ็ พระญาณวชิโร ดม (หลวงพอวิริยังค สิรินธฺ โร) เพื่อเปนการพฒั นาตนเองทางดา นกาย จิตใจ อารมณ ใหมีสติปญญา รูตัวอยู ตลอดเวลา เพื่อไมใหทำส่ิงทีผ่ ิด ซึ่งมีหลักสูตรการปฏิบัติ 2 รูปแบบ และแบบท่ีหนึ่งคือ “หลกั สูตรทัว่ ไป” คือ หลักสูตรครูสมาธิ สถาบันพลังจิตตานุภาพไดมาเปดการเรียนการสอนในจังหวัดเลย ณ วัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง จังหวดั เลย เปนสาขาท่ี 69 ต้งั แตป  2556 เปน ตน มาจนถึงปจ จุบนั ดังนนั้ ผูวจิ ัยจึงสนใจศึกษาความสัมพันธระหวา งการรับรูเร่ืองสตปิ ฏ ฐานกับการการใชชีวิตประจำวัน อยางมีสติของผูเรียนครูสมาธิหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ สถาบันพลังจิตตานุภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง จังหวดั เลย ISSN 2773 - 8949

16 วารสารสัังคมศาสตร์์บููรณาการ ปีีที่่� 2 ฉบัับที่�่ 4 มกราคม - เมษายน 2565 วตั ถปุ ระสงคของการวจิ ยั 1. เพอ่ื ศึกษาการรับรูเรื่องสติปฏฐานของผูเ รียนครูสมาธหิ ลักสูตรวิทนั ตสาสมาธิ สถาบันพลงั จิตตานุ ภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสทุ ธาวาส พระอารามหลวง จังหวดั เลย 2. เพื่อศึกษากับการใชชีวติ ประจำวันอยางมีสติของผูเ รียนครูสมาธิหลักสูตรวิทันตสาสมาธิสถาบัน พลังจติ ตานภุ าพ สาขาท่ี 69 วัดศรสี ทุ ธาวาส พระอารามหลวง จงั หวัดเลย 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางการรบั รูเ รื่องสตปิ ฏฐานกับการใชชีวิตประจำวันอยางมีสติของ ผูเรียนครูสมาธหิ ลักสตู รวิทันตสาสมาธิ สถาบันพลังจิตตานุภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง จังหวดั เลย สมมตฐิ านการวจิ ยั การรับรูเรื่องสติปฏฐานมีความสัมพันธกับการใชชีวิตประจำวันอยางมีสติของผูเรียนครูสมาธิ หลักสูตรวิทันตสาสมาธสิ ถาบันพลงั จติ ตานุภาพ สาขาที่ 69 วดั ศรีสทุ ธาวาส พระอารามหลวง จังหวัดเลย กรอบแนวคิดของการวจิ ยั จากการทบทวนแนวคิด ทฤษฎี และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในการศึกษาวิจัยความสัมพันธ ระหวา งการรับรูเรื่องสติปฏ ฐานกับการใชช ีวิตประจำวันอยา งมีสติของผูเ รียนครสู มาธิหลกั สูตรวิทันตสาสมาธิ สถาบันพลังจิตตานุภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง จังหวัดเลย ครั้งนี้ ผูวิจัยไดใชกรอบ แนวคดิ ดงั น้ี ตัวแปรที่ 1 ตัวแปรที่ 2 การรับรูเรื่องสติปฏฐานของผูเรียน การใชชีวิตประจำวันอยางมีสติของผูเรียนครู ครสู มาธิ สมาธิ 1. กายานุปส สนาสตปิ ฏ ฐาน 1. การสนับสนนุ และการเปน ผนู ำรวมกนั 2. เวทนานปุ สสนาสตปิ ฏ ฐาน 2. การสรางคา นิยมและวสิ ัยทศั นรวมกนั 3. จิตตานุปส สนาสตปิ ฏ ฐาน 3. การเรียนรูรว มกนั และประยกุ ตใชค วามรู 4. ธมั มานปุ สสนาสติปฏ ฐาน 4. การมีเง่อื นไขทส่ี นับสนนุ 5. การแลกเปลยี่ นเรียนรูระหวา งบคุ คล รูปภาพท่ี 1 กรอบแนวคดิ ของการวิจัย ISSN 2773 - 8949

Integrated Social Science Journal 17 Vol. 2 No. 4 January – April 2022 ระเบยี บวิธีวิจยั ในการวิจัย เรื่องความสัมพันธระหวางการรับรูเรื่องสติปฏฐานกับการใชชีวิตประจำวันอยางมีสติ ของผูเรียนครูสมาธิหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ สถาบันพลงั จิตตานุภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอาราม หลวง จงั หวดั เลย เปน การวจิ ยั เชิงปริมาณ (quantitative research) โดยใชระเบียบวิธีวจิ ยั ดงั น้ี ประชากรและกลุม ตัวอยา ง ประชากร ผูเรียนครูสมาธิหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ สถาบันพลังจิตตานุภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง จงั หวดั เลย จำนวนท้งั หมด 122 รปู /คน กลมุ ตวั อยา ง ผูวิจัยไดกำหนดขนาดกลุมตวั อยาง (Sample size) โดยใชตาราง ตามตารางสำเร็จรูปคำนวณหา ขนาดของกลุมตัวอยาง R.V.Krejcie และ D.W.Morgan และไดก ลุมตัวอยาง จำนวน 97 รูป/คน ผูวจิ ัยไดท ำ การสมุ อยางงา ย (Simple Sampling) ดวยการจับสลาก เคร่ืองมอื ทใ่ี ชใ นการวิจยั เครื่องมือท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้ใชแบบสอบถาม ซึ่งผูวิจัยไดสรางขึ้นจากการศึกษา แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวของโดยไดนำมาบางสวนจากแบบสอบถามของผูวิจัยทานอื่น ๆ มาดัดแปลงเพื่อให เหมาะสม แบบสอบถามมเี นอื้ หาประกอบดว ย ตอนท่ี 1 ขอ มูลทั่วไปของผูต อบแบบสอบถาม ประกอบดว ย เพศ อายุ อาชีพ และประสบการณการ ฝกกรรมฐาน เปนแบบตรวจสอบรายการ (Check List) ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกยี่ วกบั การรบั รูเรื่องสติปฏ ฐานของผูเรียนครสู มาธิหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ สถาบนั พลงั จิตตานภุ าพ สาขาท่ี 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง จงั หวัดเลย ซึ่งแบบสอบถามมีลักษณะ เปนแบบมาตรสว นประมาณคา (Rating scale) ของลิเคอรท (Likert) โดยแบงออกเปน 5 ระดับ คือ มากทส่ี ดุ มาก ปานกลาง นอ ย นอยท่สี ดุ แปลผลขอมูลตามเกณฑ ดงั นี้ 5 หมายถงึ มีการรับรเู รือ่ งสติปฏ ฐานอยใู นระดับมากท่ีสดุ 4 หมายถงึ มีการรับรเู รื่องสติปฏ ฐานอยใู นระดบั มาก 3 หมายถงึ มีการรบั รเู รอื่ งสตปิ ฏ ฐานอยูในระดับปานกลาง 2 หมายถงึ มีการรับรเู ร่ืองสตปิ ฏ ฐานอยูในระดบั นอย 1 หมายถึง มีการรับรูเรื่องสตปิ ฏฐานอยูในระดับนอยท่สี ดุ ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับการใชชีวิตประจำวันอยางมีสติของผเู รยี นครูสมาธหิ ลักสูตรวทิ ันต สาสมาธิ สถาบันพลังจติ ตานภุ าพ สาขาที่ 69 วดั ศรสี ทุ ธาวาส พระอารามหลวง จังหวัดเลย ซึ่งแบบสอบถามมี ลักษณะเปน แบบมาตรสวนประมาณคา (Rating scale) ของลิเคอรท (Likert) โดยแบงออกเปน 5 ระดับ คือ มากท่สี ดุ มาก ปานกลาง นอ ย นอยท่ีสุด แปลผลขอมูลตามเกณฑ ดังนี้ ISSN 2773 - 8949

18 วารสารสัังคมศาสตร์์บููรณาการ ปีที ี่�่ 2 ฉบับั ที่่� 4 มกราคม - เมษายน 2565 5 หมายถึง มีการใชชีวติ ประจำวันอยางมีสตอิ ยใู นระดบั ดที ่ีสดุ 4 หมายถึง มีการใชช ีวิตประจำวันอยางมสี ติอยูใ นระดบั ดี 3 หมายถงึ มีการใชชีวติ ประจำวนั อยา งมีสติอยูในระดบั ปานกลาง 2 หมายถงึ มีการใชช ีวิตประจำวนั อยางมีสตอิ ยูในระดบั พอใช 1 หมายถงึ มีการใชช ีวติ ประจำวันอยางมีสติอยใู นระดบั ตองปรับปรงุ การวิเคราะหข อ มลู การวิเคราะหขอมูลในการศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยจะนำขอมูลไปวิเคราะห โดยใชโปรแกรมสำเร็จรูป ซึง่ มีการวเิ คราะหขอมูล ดังน้ี 1. วเิ คราะหขอมลู พ้ืนฐานของผูตอบแบบสอบถาม โดยใชคาความถ่ี รอยละ 2. วิเคราะหขอมูลการรบั รูเรือ่ งสติปฏฐานของผูเรียนครสู มาธิ และการใชชีวิตประจำวันอยางมีสติ ของผูเ รียนครูสมาธิหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ สถาบันพลงั จิตตานุภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอาราม หลวง จังหวัดเลย เพื่อหาคาเฉลี่ยเพื่อหาคาเฉลี่ย (�������������) และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ทำการแปล ความหมายของคาเฉลี่ยโดยยึดเกณฑ ดังน้ี (วนิดา วาดีเจริญ, รังสรรค เลิศในสัตย, และสมบัติ ทีฆทรัพย, 2560: 315) คา เฉลี่ย 4.50 – 5.00 กำหนดใหอ ยใู นเกณฑม ากทสี่ ดุ คา เฉลี่ย 3.50 – 4.49 กำหนดใหอ ยใู นเกณฑด ีมาก คา เฉลย่ี 2.50 – 3.49 กำหนดใหอยูในเกณฑป านกลาง คาเฉลยี่ 1.50 – 2.49 กำหนดใหอ ยใู นเกณฑน อ ย คา เฉลีย่ 1.00 – 1.49 กำหนดใหอยูในเกณฑน อยทส่ี ดุ 3. วิเคราะหหาคาความสัมพนั ธระหวางการรับรูเรื่องสตปิ ฏฐานกับการใชชีวิตประจำวันอยางมีสติ ของผูเรียนครูสมาธิหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ สถาบันพลังจิตตานุภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอาราม หลวง จังหวัดเลย ใชการหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของเพียรสัน (Pearson’ product moment correlation coefficient) โดยใชเ กณฑก ารวเิ คราะหคา สัมประสิทธสิ์ หสมั พันธ (r) ดงั นี้ (จกั รกฤษณ โพดาพล และสุพรรณี บุญหนัก, 2563: 215) คา r อยูในชว ง 0.70 - 0.10 หมายความวา มคี วามสัมพนั ธร ะดับสงู คา r อยูในชวง 0.30 - 0.69 หมายความวา มีความสมั พันธระดับปานกลาง คา r อยูในชวง 0.01 - 0.29 หมายความวา มีความสมั พนั ธระดับต่ำ คา r มคี าเปนบวก (+) หมายความวา ตัวแปรมคี วามสมั พนั ธกันในทางบวก คา r มคี า เปน บวก (-) หมายความวา ตัวแปรมคี วามสมั พันธก นั ในทางลบ คา r มีคา เปนบวก 0 หมายความวา ตวั แปรไมมีความสัมพนั ธก นั ISSN 2773 - 8949

Integrated Social Science Journal 19 Vol. 2 No. 4 January – April 2022 ผลการวิจัย จากการวิเคราะหขอมูลความสัมพนั ธร ะหวา งการรบั รเู รอ่ื งสตปิ ฏ ฐานกบั การใชชีวิตประจำวนั อยางมี สตขิ องผูเรียนครูสมาธิหลักสตู รวทิ ันตสาสมาธิ สถาบนั พลงั จติ ตานุภาพ สาขาที่ 69 วดั ศรสี ทุ ธาวาส พระอาราม หลวง จังหวัดเลย สามารถสรุปผลการวิเคราะหขอมูล ดังน้ี 1. การรบั รูเรื่องสติปฏฐานของผูเ รยี นครูสมาธิหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ สถาบันพลังจติ ตานภุ าพ สาขาที่ 69 วัดศรสี ทุ ธาวาส พระอารามหลวง จังหวดั เลย ตารางที่ 1 แสดงคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเกี่ยวกับการรับรูเรื่องสติปฏฐานของผูเรียนครู สมาธิหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ สถาบันพลังจิตตานุภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสุทธาวาส พระ อารามหลวง จังหวดั เลยโดยภาพรวม การรับรูเ รอื่ งสติปฏฐานของผเู รียนครู x� S.D. แปลผล สมาธหิ ลักสตู รวิทนั ตสาสมาธิ 1. กายานุปสสนาสติปฏฐาน 3.97 0.80 มาก 2. เวทนานปุ สสนาสตปิ ฏฐาน 4.05 0.75 มาก 3. จิตตานุปส สนาสตปิ ฏฐาน 3.55 0.81 มาก 4. ธมั มานุปสสนาสติปฏ ฐาน 3.30 0.89 ปานกลาง รวม 3.72 0.80 มาก จากตารางที่ 1 พบวา การรับรูเรื่องสติปฏฐานของผูเรียนครูสมาธิหลักสตู รวิทันตสาสมาธิ สถาบัน พลงั จิตตานุภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง จังหวัดเลยโดยภาพรวมอยูในระดับมาก (X�= 3.72, S.D. = 0.80) และเมื่อพิจารณาเปนรายดาน พบวาอยูในระดับมาก 3 ดาน สามารถเรียงจากมากไปหา นอยได ดังนี้ ดานเวทนานุปสสนาสติปฏฐาน (�X = 4.05, S.D. = 0.75) ดานกายานุปสสนาสติปฏฐาน (�X= 3.97, S.D. = 0.80) ดานจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน (�X = 3.55, S.D. = 0.81) และดานธัมมานุปสสนาสตปิ ฏ ฐานอยูในระดบั ปานกลาง (X�= 3.30, S.D. = 0.89) 2. การใชช ีวิตประจำวนั อยางมีสตขิ องผูเรียนครูสมาธิหลักสตู รวิทันตสาสมาธิ สถาบันพลังจิต ตานภุ าพ สาขาที่ 69 วดั ศรีสทุ ธาวาส พระอารามหลวง จงั หวัดเลย ตารางที่ 2 แสดงคาเฉลี่ย และสวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน เกี่ยวกับการใชชวี ติ ประจำวันอยางมีสติของผูเรียน ครูสมาธิหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ สถาบันพลังจิตตานุภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง จงั หวัดเลย โดยรวม การใชช ีวติ ประจำวนั อยางมีสตขิ องผเู รียน x� S.D. แปลผล ครูสมาธิหลักสตู รวิทนั ตสาสมาธิ 1. ดานสงั คม 4.15 0.74 ดี ISSN 2773 - 8949

20 วารสารสัังคมศาสตร์์บููรณาการ ปีที ี่่� 2 ฉบัับที่�่ 4 มกราคม - เมษายน 2565 การใชชีวิตประจำวนั อยางมีสติของผเู รยี น x� S.D. แปลผล ครูสมาธิหลกั สตู รวิทนั ตสาสมาธิ 2. ดา นการทำงาน 3.85 0.89 ดี 3. ดา นการใชช วี ติ สว นตวั 4.05 0.80 ดี รวม 4.02 0.89 ดี จากตารางที่ 2 พบวา การใชชีวิตประจำวันอยา งมีสติของผูเรียนครูสมาธิหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ สถาบันพลงั จิตตานุภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง จังหวัดเลย โดยรวม อยูในระดับมาก (�X= 4.02, S.D. = 0.89) และเมือ่ พจิ ารณาเปนรายดาน พบวา อยใู นระดับมากทุกดา น สามารถเรียงจากมากไป หานอยได ดังนี้ ดานสังคม (X� = 4.15, S.D. = 0.74) ดานการใชชีวิตสวนตัว (�������������= 4.05, S.D. = 0.80) และ ดานการทำงาน (�������������= 3.85, S.D. = 0.89) ตามลำดับ 3. ความสัมพันธระหวางการรับรูเรื่องสติปฏฐานกับการใชชีวิตประจำวันอยางมีสติของ ผูเรียนครูสมาธิหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ สถาบันพลงั จติ ตานุภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอาราม หลวง จังหวัดเลย ตารางที่ 3 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธความสัมพันธระหวางการรับรูเร่ืองสติปฏฐานกับการใช ชีวิตประจำวันอยางมีสติของผูเรียนครูสมาธิหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ สถาบันพลังจิตตานุ ภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสทุ ธาวาส พระอารามหลวง จงั หวดั เลย โดยรวม ตวั แปร X1 X2 X3 X4 Y1 Y2 Y3 X Y X1 1.00 .683** .609**. 592**. 586**. 535**. 658**. 852**. 493** X2 1.00 650**. 658**. 554**. 630**. 686**. 695**. 626** X3 1.00 632**. 672**. 663**. 730**. 884**. 564** X4 1.00 658**. 681**. 657**. 678**. 848** Y1 1.00 739**. 585**. 642**. 579** Y2 1.00 681**. 636**. 655** Y3 1.00 689**. 651** X 1.00 822** Y 1.00 ** มคี วามสัมพนั ธอยา งมีนัยสำคัญที่สถิติ ท่รี ะดบั .01 จากตารางที่ 3 พบวา ความสัมพันธระหวางการรับรูเ ร่ืองสติปฏ ฐานของผเู รยี นครสู มาธิ (X) กับการ ใชชีวติ ประจำวันอยางมีสติของผูเรียนครสู มาธิหลักสตู รวิทนั ตสาสมาธิ สถาบนั พลงั จติ ตานุภาพ สาขาที่ 69 วัด ISSN 2773 - 8949

Integrated Social Science Journal 21 Vol. 2 No. 4 January – April 2022 ศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง จังหวดั เลย (Y) ในภาพรวม มคี วามสัมพนั ธก ันทางบวกอยา งมีนยั สำคัญทางสถิติ ท่รี ะดับ .01 โดยมคี า ความสัมพันธกนั ในทางบวกหรอื มีความสัมพันธ ในระดับสูง การอภปิ รายผลการวิจยั จากการวิจัยเกี่ยวกับความสัมพันธระหวา งการรับรูเรื่องสติปฏฐานกับการใชชีวติ ประจำวันอยางมี สติของผูเรยี นครูสมาธิหลักสูตรวทิ นั ตสาสมาธิ สถาบันพลงั จิตตานุภาพ สาขาที่ 69 วัดศรสี ทุ ธาวาส พระอาราม หลวง จงั หวัดเลย มีประเดน็ สำคญั ที่ควรนำมาอภปิ รายผล ดงั น้ี 1. การรับรูเรื่องสติปฏฐานของผูเรียนครูสมาธิหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ สถาบันพลังจิตตานุภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง จงั หวดั เลย โดยภาพรวมอยูใ นระดับมาก และเม่ือพจิ ารณาเปน รายดา น พบวาอยใู นระดบั มาก 3 ดา น สามารถเรยี งจากมากไปหานอ ยได ดงั นี้ ดานเวทนานุปสสนาสตปิ ฏฐาน ดานกายานุปสสนาสติปฏฐาน ดา นจิตตานุปสสนาสติปฏฐาน และดานธัมมานุปสสนาสติปฏ ฐานอยูในระดับ ปานกลาง ทั้งนี้อาจเปน เพราะวาผูเ รยี นครูสมาธิหลกั สูตรวิทันตสาสมาธิ สถาบันพลงั จิตตานุภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง จังหวัดเลย ทำความเขาใจเกี่ยวกับเนื้อหาหมวดกายานุปสสนา หมวด เวทนานปุ สสนาไดงายและเขาใจมากกวา จากการเห็นภาพในมโนทัศนในขณะทเ่ี รียนไดชัดเจน ในขณะที่หมวด จติ ตานปุ สสนา และหมวดธัมมานปุ สสนาเปน หมวดทตี่ อ งอาศยั ระยะเวลาในการศึกษาทำความเขาใจ ตลอดจน ทักษะในการปฏิบัติ สอดคลองกับ พระเจรญิ อคฺควิริโย (เกษมวิริยะเลิศ) (2555: บทคัดยอ) ไดศึกษาการรับรู เร่ืองสติปฏฐาน 4 ของอุบาสก-อุบาสิกา วัดพิชยญาติการาม กรุงเทพมหานคร พบวา ระดับความเขาใจ เกี่ยวกับหลกั ปฏิบัติสติปฏฐาน 4 ของอุบาสก อุบาสิกา ในหมวดกายานุปสสนา หมวดเวทนานุปสสนา หมวด จติ ตานปุ ส สนา และหมวดธมั มานุปส สนา โดยภาพรวมของความเขาใจในหลักปฏิบตั ิสติปฏ ฐาน 4 อยูใ นระดับ ดีเม่ือพิจารณาหมวดเวทนานุปสสนาและหมวดกายานุปสสนา พบวาอยูในระดับดี สวนหมวดจิตตานุปสสนา และหมวดธมั มานปุ ส สนาพบวาอยูในระดับปานกลาง 2. การใชชีวติ ประจำวันอยางมสี ติของผูเรียนครสู มาธหิ ลักสตู รวิทนั ตสาสมาธิ สถาบันพลังจิตตานุภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง จงั หวัดเลย โดยภาพรวมอยูในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเปน รายดาน พบวาอยูในระดับมากทุกดาน สามารถเรียงจากมากไปหานอยได ดังนี้ ดานสังคม ดานการใชชวี ิต สวนตัว และดานการทำงาน ตามลำดับ ทั้งนีอ้ าจเปนเพราะวาการมาเรียนสมาธิทำใหจิตใจผองใส สงบ เยือก เย็น ปลอดโปรง เบา สบาย มีความจำ และสติปญญาดีขึ้น คิดอะไรไดรวดเร็วขึ้นและถูกตอง ทำใหมีความ อดทนตอเหตุการณทล่ี ดความโกรธลงไดส รางความสัมพันธท่ีดีกับคนอื่น ๆ ไดดี สอดคลอ งวรรณพร ฮอฟมันน (2562: บทคัดยอ) ไดทำการศึกษาผลสัมฤทธิ์วิธีการสอนครูสมาธิของสถาบันพลังจิตตานุภาพวัดมหาธาตุ อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม เพื่อนำไปใชในชีวิตประจำวันของนักศึกษาสถาบนั พลังจิตตานภุ าพวัดมหาธาตุ อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม พบวา มีประสิทธิภาพสูงอยางดียิ่ง ทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของ ผเู รยี นในดา นตาง ๆ คอื ดา นจติ ใจ ดา นรา งกาย ดานครอบครวั ดานเศรษฐกจิ และดา นสังคม เชน ดา นจิตใจ ISSN 2773 - 8949

22 วารสารสัังคมศาสตร์์บููรณาการ ปีที ี่�่ 2 ฉบับั ที่�่ 4 มกราคม - เมษายน 2565 3. ความสัมพนั ธร ะหวา งการรบั รูเร่ืองสตปิ ฏฐานของผเู รยี นครสู มาธิ (X) กบั การใชช วี ิตประจำวนั อยาง มีสติของผูเรียนครูสมาธิหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ สถาบันพลังจิตตานุภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง จังหวัดเลย (Y) ในภาพรวม มีความสัมพันธกันทางบวกอยางมีนัยสำคญั ทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมคี า ความสมั พันธก ันในทางบวกหรือมีความสัมพันธ ในระดับสงู ทงั้ น้อี าจเปนเพราะวาวิธีการสอนครูสมาธิ ของสถาบันพลังจติ ตานภุ าพ หลกั สตู รครสู มาธิมีการสอนเปนอยางเปน ระบบ สอดคลอ งกบั สอดคลอ งวรรณพร ฮอฟมันน (2562: บทคัดยอ) กลาววา หลักสูตรครูสมาธิเปนการเรียนตามแนวคำสอนของพระอาจารย หลวงพอวิริยงั ค สริ ิธโฺ ร โดยมตี ำราเรยี น 3 เลม ทงั้ ภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เลมที่ 1 ปูพื้นฐานสมาธิเบ้ืองตน เลมที่ 2 เนื้อหาเกี่ยวกับ สมาธิ ฌาน ญาณ เลมที่ 3 เปนการเปรียบเทียบสมถะกับวิปสสนา นอกจากเรียน ภาคทฤษฎีแลว ยังกำหนดภาคปฏิบตั ิการฝก ภาคสนามเดินธุดงค ณ ดอยอินทนนท จงั หวดั เชียงใหม จึงจะจบ หลักสูตร ใชเวลาในการเรียน 6 เดอื น ขอเสนอแนะ จากผลการศกึ ษาเกี่ยวกบั ความสมั พนั ธร ะหวา งการรบั รูเรือ่ งสตปิ ฏ ฐานกับการใชชีวิตประจำวันอยางมี สติของผูเรยี นครูสมาธิหลกั สตู รวทิ นั ตสาสมาธิ สถาบันพลังจติ ตานุภาพ สาขาท่ี 69 วดั ศรสี ุทธาวาส พระอาราม หลวง จังหวัดเลย ผวู ิจัยมขี อ เสนอแนะเกี่ยวกบั หนว ยงานท่ีเก่ียวขอ ง ดงั น้ี ขอ เสนอแนะเชงิ นโยบาย จากผลการวิจัย สามารถนำขอ เสนอแนะทางนโยบายไดด ังนี้ 1. สถาบันพลังจิตตานุภาพควรมีการสอนพฒั นาการรบั รูเกีย่ วกับจติ ตานุปสสนาสตปิ ฏฐาน และธัม มานุปสสนาสติปฏฐานงายตอความเขาใจของผูเรียนมากขึ้น ควรเนนใหเกิดความตอเนื่องในการเรียนรูทุก ระดับต้ังแตกายานุปสสนาสตปิ ฏฐาน เวทนานปุ สสนาสตปิ ฏฐาน จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน และ ธัมมานุปสส นาสตปิ ฏ ฐาน 2. ควรมกี ารพัฒนาการมีสติทุกขณะจิต โดยการนำการปฏบิ ัติที่หลากหลายรูปแบบ ควรมีการตอ ยอดนำประสบการณในชวี ิตประจำวันมพี ดู คยุ กันระหวา งผเู รียน ขอ เสนอแนะเพอ่ื การวิจยั 1. ควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอการใชชีวิตประจำวันอยางมีสติของผูเรียนครู สมาธิหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ สถาบันพลงั จิตตานุภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง จังหวัด เลย 2. ควรมีการศึกษาเชิงพื้นที่เกี่ยวกับการพัฒนาการใชชีวิตประจำวันอยางมีสติของผูเรียนครู สมาธิหลักสูตรวิทนั ตสาสมาธิ สถาบันพลังจิตตานุภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง จังหวัด เลย ISSN 2773 - 8949

Integrated Social Science Journal 23 Vol. 2 No. 4 January – April 2022 องคความรทู ่ีได 1. การรับรูเรื่องสติปฏฐานของผูเรียนครูสมาธิหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ สถาบันพลังจิตตานุภาพ สาขาที่ 69 วัดศรีสุทธาวาส พระอารามหลวง จงั หวัดเลย โดยภาพรวมอยูใ นระดับมาก และเม่ือพจิ ารณาเปน รายดา น พบวาอยใู นระดับมาก 3 ดาน สามารถเรียงจากมากไปหานอ ยได ดังนี้ ดา นเวทนานุปสสนาสติปฏ ฐาน ดานกายานุปสสนาสติปฏฐาน ดานจิตตานปุ สสนาสติปฏฐาน และดานธมั มานุปสสนาสติปฏฐานอยูในระดับ ปานกลาง 2. การใชชีวิตประจำวันอยางมีสติของผูเรียนครูสมาธิหลักสูตรวิทันตสาสมาธิ สถาบันพลังจิตตานุ ภาพ สาขาที่ 69 วดั ศรีสทุ ธาวาส พระอารามหลวง จงั หวัดเลย โดยภาพรวมอยูในระดับมาก และเมื่อพิจารณา เปน รายดาน พบวาอยูในระดบั มากทุกดาน สามารถเรยี งจากมากไปหานอยได ดงั นี้ ดา นสงั คม ดา นการใชชีวิต สวนตัว และดา นการทำงาน ตามลำดบั เอกสารอา งองิ จกั รกฤษณ โพดาพล และสพุ รรณี บุญหนัก. (2563). สถิติเพ่ือการวิจัยและการใชโ ปรแกรม SPSS ในการวิจัย. เลย: สำรวยกอปป บานใหม. พระเจรญิ อคคฺ วิรโิ ย (เกษม วริ ยิ ะเลิศ). (2555). ศกึ ษาการรบั รเู ร่อื งสตปิ ฏฐาน 4 ของอบุ าสก-อบุ าสิกา วัดพชิ ย ญาติการาม กรงุ เทพมหานคร. วิทยานิพนธปรญิ ญาพทุ ธศาสตรมหาบัณฑติ (วิปสสนาภาวนา). บณั ฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั . พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2539). พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท, พิมพคร้ังที่ 10, กรุงเทพมหานคร: บริษัท สหธรรมกิ จำกัด. วรรณพร ฮอฟมันน. (2562). ศึกษาผลสัมฤทธิ์วิธีการสอนครูสมาธิ เพื่อนำไปใชในชีวิตประจำวันของสถาบัน พลังจิตตานุภาพวัดมหาธาตุ อำเภอเมือง จังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธปริญญาพุทธศาสตร มหาบัณฑิต (พระพุทธศาสนา). บัณฑิตวทิ ยาลัย: มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย. วนิดา วาดีเจริญ, รังสรรค เลิศในสัตย, และสมบัติ ทีฆทรัพย. (2560). ระเบียบวิธีวิจัยจากแนวคิดทฤษฎีสู ภาคปฏิบตั ิ. กรงุ เทพฯ: บรษิ ัท ซีเอด็ ยเู คช่ัน จำกัด (มหาชน). ISSN 2773 - 8949