Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2564

วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2564

Published by MBU SLC LIBRARY, 2021-04-21 02:55:06

Description: วิทยาลัยสงฆ์พุทธปัญญาศรีทวารวดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Search

Read the Text Version

การยับยง้ั ชงั่ ใจโดยใชหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนา กรณศี กึ ษา : การใชค วามรุนแรงตอเดก็ คดนี อ งชมพเู ด็กหญงิ บานกกกอก DELAYING GRATIFICATION BY USING BUDDHIST PRINCIPLES CASE STUDY: VIOLENCE AGAINST CHILDREN THE CASE FOR NONG CHOMPOO OF THE GIRL AT BAN KOKKOK พระครสู ทิ ธวิ ชิรโสภติ (ประสิทธิ์ สมฺมาปฺโญ) Phrakhrusitthiwachirasophit (Prasit Sammãpañño) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย Mahachulalongkornrajavidyalaya University Email: [email protected] Received 2 December 2020; Revised 20 January 2021; Accepted 23 March 2021 บทคัดยอ บทความน้ีมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการยับยั้งชั่งใจและนําเสนอหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ สามารถบูรณาการกับการยับยั้งช่ังใจ ซ่ึงพบวา การยับยั้งช่ังใจ เปนกระบวนการทางความคิด ความรูสึกและ พฤติกรรมของบุคคลท่ีสามารถระงับความตองการของตนเองได มีความอดทนอดกลั้น ไมถึงข้ันทําใหตนเอง ลําบาก เพียงแตเปนการฝกจิตใจใหวุฒิภาวะเปนปกติเทานั้น สามารถกําหนดอารมณของตนเม่ือกระทบตอ สง่ิ เราที่ไมพ งึ ปรารถนาได อันเปนเหตุซง่ึ กอใหเกิดพฤติกรรมท่ีไมเหมาะสม หรอื เปนความสามารถในการอดทน รอคอยความสําเร็จในอนาคต ถาจะบูรณาการในสมัยพุทธกาลท่ีพระพุทธเจาสอนไว เชน “อตฺตนา โจทยตฺ ตานํ” ตนของตนเตือนตนใหพนผิด เปนตน เพราะใจของมนุษยมีปกติจะโนมนอมไปทางตํ่า จะพัฒนาในดาน ใดตองพัฒนาใจตนเองเสียกอน ส่ิงท่ีสําคัญ หรือ หัวใจของพระพุทธศาสนาคือ ความไมประมาท อาจจะกลาว ไดวา ก็คือ การมีสติยับย้ังชั่งใจก็ได และประกอบดวยหลักของการอยูรวมกันอยางมีความสุขไมเบียดเบียนกัน ไมค ิดรา ยตอกนั มีชีวติ อยอู ยางปลอดภัยดว ยการบรู ณาการหลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ไดแ ก พรหมวิหาร 4 คือ 1. มีเมตตาคือ มีความรักตอผอู ื่น 2. มีกรณุ าคือ ชวยเหลือเก้ือกูลกัน 3. มทุ ิตาคือ ไมอิจฉาใคร รูจักมีใจที่ ยนิ ดีกับผูอื่นและ 4.อุเบกขาคือ วางใจเปน กลางเมอื่ เจออารมณเรา ไมวาดหี รือไมก ็ตาม ก็จะเกิดความยับยัง้ ช่ัง ใจตามหลกั พระพุทธศาสนา คําสําคัญ: การยับย้ังชัง่ ใจ, หลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา, การใชความรุนแรงตอเด็ก ABSTRACT The objective of this article is to study restraint and present Buddhist principles that can be integrated with restraint which found restraint is a thought process the feelings and behaviors of a person that can suppress their own needs. Have patience not to make yourself difficult it is merely training the mind to normal maturity. Able to regulate one's emotions when affected by undesirable stimuli which causes improper behavior or is it the ability to persevere in anticipation of future success? If to integrate in the Buddhist era taught by the

190 วารสาร มจร พุทธปญญาปริทรรศน ปท ่ี 6 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2564) Lord Buddha, for example, his own \"Aattana Jotayattanang\", he warned himself from wrongdoing, etc., because human hearts tend to bend towards the low. To develop in any area, you need to develop your own mind first. What is important or the heart of Buddhism is Precaution It could be said that it is the consciousness and restraint. And consists of principles of living together with happiness, not encroaching on Do not think evil against each other Life is safe by integrating the principles of Buddhism, namely, Brahma Viharn 4, namely: 1. Compassion, that is, love for others. 2. Kindness is to help and support one another. Others and 4. Embrace that is trust and neutral when encountering arousal whether good or not will cause restraint according to Buddhism Keywords: Delaying gratification, Dhamma of Buddhism, Violence against children บทนํา กวา 4 เดือนท่ีผานมามีขาวดัง “คดีนองชมพู” เด็กหญิงที่เปนขาวเพราะพบศพนอนเสียชีวิตที่ภูเหล็ก ไฟ บานกกกอก จังหวัดมุกดาหาร อึกทึกคึกโดมไปท่ัวประเทศไทยในขณะน้ี ปจจุบันนี้เจาหนาท่ีตํารวจก็ยังไม สามารถปดคดไี ด จะดวยเหตผุ ลทางคดหี ลาย ๆ ดา นหรอื ความซับซอ นของคดกี ็อาจจะเปนไปได ซง่ึ ขา วนี้ เปน ที่จับตามองและสนใจของประชาชนชาวไทยทั่วประเทศ มีขาวลาสุดน้ีวา “บิ๊กปด” แถลงสรุป ลาสุดคดีนอง ชมพู กางสํานวน 918 หนา นองชมพไู มไดตายเอง มคี นพาข้ึนภูเหล็กไฟ เปด 8 หลักฐานสําคัญ ชี้คดี เช่ือ เจอคนรายแลว เม่ือวันท่ี 2 ตุลาคม 2563 ท่ีสโมสรตํารวจ ถนนวิภาวดีรังสิต พล.ต.อ.สุวัฒน แจงยอดสุข ผู บญั ชาการตํารวจแหงชาติ(ผบ.ตร.) แถลงความคืบหนา และบทสรุปคดีการเสยี ชีวิต ของ“นองชมพู” เดก็ หญิง วัย 3 ขว บ ช าว บานกกกอก บานกกตูม อ. ดงหล วง จ.มุกดาหาร ท่ีหายตัวไป ตั้งแตวันที่ 11 พฤษภาคม 2563 โดยในการแถลงขาว มีนายไชยพล วิภา หรือ ลุงพล และปาแตน ภรรยา ซึ่งเปนลุงและ ปาของนองชมพู หน่ึงในกลุมผูตองสงสัยที่ตํารวจเรียกไปเก็บหลักฐาน และสอบสวนหลายคร้ัง รวมรับฟงการ แถลงขาวดวย พล.ต.อ.สุวัฒน ผบ.ตร.แถลงวา “น่ีไมใชการแถลงปดคดี เพียงแตแถลงความคืบหนาวาตํารวจทํา อะไรบาง ถึงวันนยี้ ังตอบไมไดวาใครเปนคนราย แตเราไมละเลิกการทํางาน เราเชื่อวานองชมพูไมไดเ ดินขึ้นไป เอง อาจถูกใครบางคนทําโดยทางตรง ทางออมที่ทําใหเสียชีวิต แตดวยความสามารถทุกวิธีการในการสืบสวน สอบสวนเราไดตรวจพบทุกคนที่เชื่อวาจะอยูกับนองชมพูกอนเสียชีวิตแลว คนที่จะพานองไปไดตองอยูใน หมูบานตอนน้ัน เราพบหมดแลวเพียงแตยังไมมีหลักฐานมัด ที่จะสามารถดําเนินคดีในชั้นศาลได” (PPTVHD36, 2 ตุลาคม 2563) จากกรณีดังกลาวมิใชจะมาเขียนเพื่อซ้ําเติมครอบครอบผูเสียหาย หรือ เพียง เพ่ือสนุก แตผ ูเขยี นมองอยูสองงประเดน็ หลกั คือ 1) ตนสายปลายเหตุที่แทจริงที่อยูในจิตใจลกึ ๆ ของผูกอเหตุ อาจจะเกดิ เพราะการขาดหลกั คิดทีไ่ มถูกตอ ง หรอื ขาดหลักจริยธรรมในความเปน มนษุ ยข องผูกอเหตุซ่ึงก็ยังไม สามารถจับได(สักที) จึงสามารถกระทํากับเด็กได ซึ่งบางขาวลือบอกวา มีการนําศพเด็กไปทําพิธีตามความ เช่ือในเขตบริเวณนั้น เพราะสังคมปจจุบนั น้ีอาจจะพูดไดวา มีความเจริญกา วลํ้าในทางเทคโนโลยีแตขาดหรือ ลมื จริยธรรม ซ่งึ เปนสวนสาํ คญั ปจจุบันนีจ้ งึ มีการปรับแนวคดิ หรือ เรียกวา “Mindset” โดยการนําหลักธรรม ในทางพระพุทธศาสนาเขามาประยุกตหรือนํามาใชอยางจริงจัง และ 2) การเสพสื่ออยางมีสติโดยใชหลักทาง พระพุทธศาสนา วาควรวางทีอยางไรและใหเหตุผลวา เหตุผลท่ีปรากฏการณท่ีเกิดขึ้นเพราะอะไร บริบทของ คนไทยเปนอยางไร

Journal of MCU Buddhapanya Review Vol. 6 No. 1 (January - April 2021) 191 สภาพปจจุบันในยุคโลกาภิวัตน ท่ีมีความเจริญทางดานวัตถุเทคโนโลยีและการสื่อสารแตคนมีความ ทุกขทางจิตใจ ในเร่ืองตาง ๆ เชน มีความวิตกกังวลความเครียดความเหนื่อยลา ความอยากได อยากมี อยากเปน ความรัก ความโกรธ ความเบ่ือหนาย เปนตน ซึ่งลวนแลวมีสาเหตุจากการขาดภูมิคุนกันกิเลสและ ปองกันจิตใจจากสภาพแวดลอมท่ีคอยกระตุนเราอารมณทําใหโรคทเี่ รียกวาโรคใจ ทัง้ น้ีในทางพระพุทธศาสนา มีเครื่องมือขจัดความทุกขที่สามารถปองกันและดับพิษอารมณไดดวยการปฏิบัติธรรมในชีวิตประจําวัน การมี สติในการพิจารณาขอมูลโดยใชสติปญญามากกวาการใชอารมณจึงมีประโยชนอยางมากทั้งในดานการเรียน (มาลีวัล เลิศสาครศิริ, 2559) ซึ่งสาเหตุที่ในปจจุบันการเส่ือมโทรมของสถาบันทางสังคมก็เพิ่มข้ึนจากอดีต จากผลโดยทางตรงทางดานเศรษฐกิจ ความเปนอยู และการเมืองการปกครอง ทําใหสังคมมีการเปลี่ยนแปลง ไปอยางรวดเร็ว ทําใหวิถีชีวิตของแตละบุคคลเปล่ียนไปอยางสิ้นเชิงอยางหลีกเล่ียงไมได ทําใหสังคมตองผจญ กบั ปญหาหลายดา น และหนงึ่ ในน้ันกค็ ือปญ หาทางดานอาชญากรรม ท่ีปญหาใหญของสังคมและเปน โรครายท่ี รกั ษาไมหายต้งั แตอดีตจนถึงปจจุบัน อยางไรก็ตาม อาชญากรรมยังคงปรากฏอยูไมไ ดเลือกวาจะเกิดกับบุคคล ทีร่ วยหรือจน หรือไมว าสังคมน้ันจะเจริญหรือดอยพัฒนากต็ ามปญหาเด็กถูกลวงเกนิ ทางเพศหรือ การใชความ รุนแรง เปนปญหาทางสังคมท่ีพบไดบอยในปจจุบัน ปญหาเด็กจึงเปนเหยื่อซ้ําซาก อาชญากรรมทางเพศเพิ่ม ความรุนแรงมากขนึ้ เร่อื ยกวา อดตี เพราะมสี ิ่งจูงใจส่งิ เรากระตุนอารมณมากมายกวาอดีต เชน ส่ือลามกอนาจาร จากอินเทอรเน็ตท่ีเปนส่ิงที่หาดูไดงายในปจจุบันนี้ ส่ิงท่ีตามมาอาจจะเปนปญหาท่ีตัวของเหยื่อเอง ซึ่งอาจจะ เปนการซ้ําเติมเหย่ือ ก็ไดการใชหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาจึงสามารถตอบโจทยในแงมุมหน่ึงได แตส่ิง สําคัญก็คงอยูท่ีตัวบุคคลนั้น ๆ วาจะไดรับการฝกฝนหรือ มีสภาพแวดลอมในลักษณะไหน จะดีหรือไมดีก็อยูท่ี การฝกฝนนั่นเอง ผูเขียนจึงเห็นวา การนําหลักธรรมซ่ึงมีความจําเปนที่ประชาชนท่ัวไปจะตองรูบางและจะสามารถ เปลี่ยนสังคมใหเกิดความสันติสุขมากกวาท่ีเปนอยูปจจุบันจึงตัดสินใจเขียนเร่ือง “การยับยั้งชั่งใจโดยใช หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา กรณีศึกษา: การใชความรุนแรงตอเด็ก คดีนองชมพูเด็กหญิงบานกกกอก” เพ่ือสะทอนแนวคิดท่ีเกี่ยวกับความยับย้ังชั่งใจและหลักธรรมท่ีสามารถนํามาประยุกตหลักธรรมพรอมท้ังการ เสพสอ่ื อยา งมสี ตแิ ละสอนตวั เองไดด งั กลา วเพอ่ื เปนการตอบโจทยส งั คมและเปน ประโยชนต อวิชาการตอไปได 1. การยบั ยัง้ ช่ังใจ ควรทาํ อยางไร “จดจอ มุงม่ัน ไมยอมแพ แมมีสิ่งย่ัวยุ อยางน้ี เรียกวารูจักยับย้ัง” เปนนิยามของคําวา “การรูจัก ยบั ย้ังช่ังใจ” ซ่งึ สมยั ทุกวันนีม้ คี ําทห่ี ยอกเยา กันเลนกนั วา “รหู มดแตอดไมได” ซ่ึงก็อาจจะเปน เรื่องจริง เพราะ บางคนบางทานมีความรูสูงแตไมไดศึกษาอยางถองแท พอมีภัยหรือเจอสิ่งที่ตนไมปรารถนามากระทบใจก็รับ ไมได คือ ไมสามารถทนสภาวะเหลาน้ันได จะเขาทํานองที่วา “ความรูทวมหัวเอาตัวไมรอด” ก็มีไมนอย ทเี ดยี ว ผูเขยี นไดร วบรวม ความหมายของคําวา การยบั ยงั้ ชง่ั ใจ ของนกั วชิ าการหรือผูรูไ วด งั นี้ Inhibition หรือ Inhibitory คือ ทักษะดานการยับย้ังช่ังใจ คดิ ไตรตรอง เปนทักษะพ้ืนฐานในการ ควบคุมตนเอง (Self-Control) และความตองการของตนใหอยูใ นระดับท่ีเหมาะสม สามารถหยุดยั้งพฤติกรรม ไดในเวลาที่สมควรโดยอาศัยสมาธิและเหตุผลเปนตัวชวย ทักษะ Inhibition เปนสวนหนึ่งของทักษะดาน Executive Functions (EFs) หรือกระบวนการทางความคิดที่ชวยใหเรามุงม่ันสามารถจัดการกับงานหลาย ๆ อยางใหสําเร็จ ควบคุมแรงกระตุนตาง ๆ ไมใหสนใจไปนอกลูนอกทาง ทักษะดาน Inhibition จะชวยควบคุม พฤติกรรมและการกระทําที่ไมเหมาะสม และใหเ ราตอบสนองในทางท่ีดีขน้ึ ตอเหตกุ ารณตาง ๆ

192 วารสาร มจร พุทธปญญาปริทรรศน ปท ่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2564) การท่ีทักษะดาน Inhibition ออนหรือบกพรอง เปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดโรคสมาธิสั้น (ADHD) โดยความรุนแรงของอาการสามารถแสดงใหเ ห็นไดใ น 3 ระดับ ดงั น้ี 1) ระดบั รางกาย (Motor level) : ไมส ามารถควบคุมพฤติกรรมได อยูไมนิ่ง ซกุ ซน 2) ระดับสมาธิ (Attention Level) : ไมคอยมีสมาธิในการทํางานหรือทําส่ิงตาง ๆ มักโดน รบกวนไดง า ย 3) ระดับพฤติกรรม (Behavioral level) : หนุ หันพลนั แลน ถูกกระตุนไดงา ย ไมส ามารถหยดุ ย้ัง พฤติกรรมที่ไมเหมาะสมได เชน อารมณรอนและหงุดหงิดขณะขับรถ บีบแตรรัวหลายคร้ังเวลาโดนขับรถปาด หนา(ศูนยพัฒนาสมองและศักยภาพ, 2563) การยับย้ังช่ังใจการไมคิด ไมพูด ไมทําในส่ิงท่ีกอใหเกิดโทษแก ตัวเองและผอู ่ืนในทางพระพุทธศาสนาคือ ความไมป ระมาท พระพุทธเจาไดสงั่ เสยี ภิกษุในวันทพี่ ระองคจะเสด็จ ดับขันธปรินิพพานวา “พวกเธออยาประมาท เพราะสังขารไมเที่ยงแทถาวร” เปนเรื่องจริง เพราะธรรมะ กค็ ือธรรมชาติทอ่ี าศัยเหตุแลวจึงเกิด เมื่อกลาวใหส อดคลองในการยับยั้งชั่งใจ ปจจัยที่ สงผลตอ การกระทําผิด ซํา้ ไดแก ปจจยั สวนบุคคล ปจจัยดานความผูกพันทางสังคมและปจจัยดานการคบหากับเพื่อนที่เคยกระทําผิด ซึ่งทั้ง 3 ปจจัยขางตนมีอิทธิพลตอการยับยั้งช่ังใจสงผลตอการกระทําผิดซ้ํา กลาวคือ เด็กและเยาวชนที่การ กระทําผิดเหลานี้จะมีระดับในการควบคุมตนเอง คือ มีลักษณะบุคลิกภาพแบบหุนหันพลันแลน ชอบเสี่ยง มักใชภาษากายมากกวาภาษาพูด โกรธและฉุนเฉียวงาย สอดคลองกับ Gottfredson และ Hirschi ท่ีกลาววา “เด็กและเยาวชนที่ขาดการยับย้ังช่ังใจมีแนวโนมที่จะกระทําผิดหรือกออาชญากรรมได” (เสกสิทธิ์ สวรรยา ธิปติ, 2554) รวมลงวา การมีสติน้ันเองท่ีเปนหลักของการปฏิบัติธรรมหรือ การดําเนินชีวิตท่ีสามารถลด ความเส่ยี งได/ ทําใหชีวิตมคี วามปลอดภยั ไรก งั วลในการเขาสังคม /จนตลอดถงึ มคี วามสุขได ขาวบอกอะไร ? กรณีขาวนองชมพู เด็กหญิงท่ีเสียชีวิตที่ภูเหล็กไฟ บานกกกอก จังหวัดมุกดาหาร ที่เปนขาวโดงดัง อาจจะมีผูกอเหตุ เพราะตํารวจเช่ือวาเด็กอายุสามขวบไมนาจะเดินขึ้นไปเสียชีวิตบนเขาได จากเหตุการณนี้ ถามีผูกอเหตุจริงคงมองไปถึงสติหรือความยับยั้งช่ังใจที่ขาดหายไปชั่วขณะหรือ อยูในจิต สันดาน จึงเผลอทํากับเด็กหญิงผูน้ันได และเกิดปรากฏการณการประโคมขาว ๆ ตาง ๆ ในหลาย ๆ แงมุม มีการแบงฝายผูสนับสนุนและตอตาน และจนไปถึงเกี่ยวของกับทุกวงการ ไมวา จะเปนวงการสงฆที่พยายาม เสนอตัวเขาไปชวย/วงการทรงเจาเขาผีหรือรางทรง/วงการนักขาวทุกชองตีขาวพาดหนาหน่ึง/วงการบันเทิงที่ ดงึ คนในพื้นทท่ี ี่เกี่ยวของกับนอ งชมพู/วงการตาํ รวจท่ีทํางานกนั หามรุงหามคํ่าที่โดนกดดันจากสงั คม/วงการนัก กฎหมายทพี่ ยายามเขามาชวยนองชมพูดว ยความสงสารและ/หรือ อาจจะเพราะตามกระแสก็ได/และที่สําคัญ สถาบันครอบครัวที่เหมอื นจะโดนผลกระทบโดยตรงและมีขาวเหมือนจะเกิดการทะเลาะกันเสียอีก ผเู ขยี นมอง วา 1) การท่ีมีขาวท่ีกระทําความรุนแรงตอเด็ก เปนเรื่องท่ีไมแฟรเพราะเขายังไรเดียงสา ไมรูเร่ืองอะไร และ ถามองตามหลักศาสนาคงไมพนเรื่องของ “กรรม” กรรมใดใครกอ คนนั้นก็ตองรับผลของกรรมนั้น คงเปน กรรมของผูกอเหตุท่ีตองทุกขทรมาน เพราะไดฆาเด็ก เพราะอะไร? เพราะขาดการยับย้ังช่ังใจ ไมกลัวบาป ไมมีหิริ(ความละอายตอบาป) และโอตตัปปะ(ความกลัวตอผลของกรรม) 2) การเสพส่ือใหมีสติ หรือมีการ ยับยั้งช่ังใจเหมือนกันเพราะตองมีการวิเคราะหหรือมีวิจารณญาณในการเสพส่ือ ไมเอียงเอนไปในทางใด ทางหน่งึ เหมือนภาษติ โบราณทา นบอกวา “รมู าก ยากนาน รนู อ ยพอรําคาญ” หรือ “รไู วใชใสบา แบกหาม” เปนตน สรุปในสวนเบ้ืองตน วา การยับยั้งช่ังใจ เปนความสามารถในการอดทนรอคอยความสําเร็จในอนาคต ถา จะบูรณาการในสมัยพุทธกาลที่พระพุทธเจาสอนไวก็มอี ยูมาก เชน “อตฺตนา โจทยตฺตานํ” ตนของตนเตือน ตนใหพนผิดเพราะใจของคนมีมนุษยมีปกติจะโนมนอมไปทางตํ่า จะพัฒนาในดานใดตองพัฒนาใจตนเอง เสียกอน ในสมยั พุทธกาลยงั มีเร่ืองท่ีปรากฏพอจะยกตัวอยางที่เก่ยี วกับการมีสติยบั ย้ังชง่ั ใจ อยางไรก็ดี ในเรื่อง ของการยับย้งั ชัง่ ใจนน้ั ขน้ึ อยูที่การไดฝกฝนสมาธิ จนไปถงึ ข้นั มี ปญญา รูทางเจรญิ ทางเส่ือมของชวี ิตตามความ

Journal of MCU Buddhapanya Review Vol. 6 No. 1 (January - April 2021) 193 เปนจริง ไมใชหลงไปในทางท่ีผิด ในทางท่ีไมดี ผูเขียนไดสรุปปรากฏการณที่เกิดข้ึนจากขาวกรณีนองชมพูเปน รปู แบบตารางท่ี 1 ดงั นี้ กรณขี า วนองชมพู ความยบั ย้ังชัง่ ใจ ผูทข่ี าดความยบั ยงั้ ผทู ี่มคี วามยับยั้งช่ังใจ ช่งั ใจ ปรากฏการณท่ีเกิดข้ึน 1.ดานพุทธศาสตร - ใชค วามรุนแรง - มเี มตตา/กรณุ า แกส งั คมไทย 1.1 สติ - กออาชญากรรม - เ ว น ค ว า ม ชั่ ว ที่ - การทาํ งานของตาํ รวจ 1.2 ศลี - ผดิ ศีล กอใหเ กิดโทษ - ก า ร ร ว ม มื อ ข อ ง 1.3 คุณธรรม/จริยธรรม - หลงผดิ - มีความเห็นทถ่ี ูกตอง ชาวบา น 2. ดานปญ หาสว นตัว - มีความเสอื่ มในชีวิต - มคี วามเจริญในชีวิต - สังคมใหความสนใจ มี 2.1 พ้นื ฐานดานจติ ใจ - อยูในสังคมลําบาก// - อยูในสังคมอยางมี ค ว า ม แ ต ก ต า ง ท า ง 2.1 จิตใตสํานึก(รูผิดชอบ เปน ภาระสังคม ความสขุ ความคดิ ชว่ั ด)ี - มีคนรัก/นับถือ ใน - ช า ว บ า น ใ ห ค ว า ม 2.1 บริบททางสังคม สังคม รวมมือ - วงการบันเทิงเขามามี สว นรวม - พระส งฆ/รางทรง ออกมาชว ยในการหาศพ - ครอบครัวมีผลกระทบ ท้ังดแี ละไมดี สรปุ การยบั ยั้งช่งั ใจ (delaying gratification) (ผเู ขยี น) จากตารางท่ี 1 ทีผ่ ูเขียนไดสรุปไวกลาวโดยสรุปคือ การท่ีมนุษยเรามีการแสดงออกมาจาก กาย วาจา ลวนออกมาจากจิตใจท่ีอยูดานในเปนตัวส่ังใหท ําดีหรือ ไมด ี การยบั ยงั้ ชง่ั ใจท่ีผูเขียนไดรวบรวมเขยี นไวดานบน เปนการช้ีแจงวา จะแสดงออกทางที่ดีหรือ ไมดนี ้ัน สามารถฝกจิตใจใหมีสติ ซ่ึงเขาตามหลักพระพุทธศาสนาที่ จะไดกลาวตอไป ซ่ึงเมื่อเขียนมาถึงจุดท่ีวา กรณีนองชมพู ก็มีประเด็นมากมายท่ีปรากฏโดยเฉพาะขาวลือที่วา มีการนําศพเด็กไปทําพิธีตามความเชื่อในเขตบริเวณนั้น ซ่ึงอาจจะมีจริงหรือ ไมมีจริงกไ็ ด แตส ่ิงสําคัญของการ เสพส่ือก็ตองมีสติ(ไมถือมงคลต่ืนขาว) การคิด การพูด หรือ การทําก็ตองมีสติ ระลึกอยูเสมอวา เราเปนมนุษย มีศีล มีคุณธรรม ตอ งประกอบดว ยมนษุ ยธรรม 2. หลักพระพทุ ธศาสนาท่ีสามารถแกป ญ หาสังคมในเร่ืองการยบั ยงั้ ชง่ั ใจ 2.1 ความไมป ระมาท (สต)ิ ในทางพระพุทธศาสนา คําสอนที่เปนหลักของการปฏิบัติอยางหน่ึงท่ีพระพุทธเจาทรงเนนยํ้า แมกระท่ังกอนพระองคจะปรนิ ิพพานกย็ ังทรงตรัสเก่ียวกับการอยูอยางมีสติ กลา วคือ ใหเหลาสาวกอยอู ยางไม ประมาท เพราะสังขารมีความสิ้นเส่ือมไปเปนธรรมดา เม่ือกลาวถึงความยับยั้งช่ังใจคงไมพนการมี “สติ” ในทางพระพทุ ธศาสนาเพราะเปนคณุ ธรรมท่ีควรมไี มว าใครก็ตาม จะยากดีมจี นก็จาํ เปน ตองใชสติในการดําเนิน ชวี ติ ฉะนนั้ แลว ความยบั ยงั้ ชัง่ ใจจึงไมสามารถแยกออกจากการมีสติไปได มผี รู ไู ดกลา วถึงการมสี ตดิ ังน้ี

194 วารสาร มจร พุทธปญ ญาปริทรรศน ปท่ี 6 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม – เมษายน 2564) “สติ แปลวา แลน การแลน เปนการแลนมาของความรู แลนมาแหงความทรงจําสติเปนเครื่อง ขนสง หากเรามีปญญามากหรือความจํามาก แตแลนมาไมทันกับเวลาที่มีเหตุการณเกิดข้ึน นั่นคือ ไมมีสติ สติจึงเปนเคร่อื งขนสง ความรู ความจํามาใชใ หท นั เวลาท่เี กิดข้นึ ” (พทุ ธทาสภกิ ขุ, 2528) คําวา สติมา แปลวา มีสติ คือ มีสติอยางตอเนื่องไมขาดชวงต้ังแตต่ืนนอนจนกระท่ังหลับสนิท สติเหมือนการสีไมอยางตอเน่ือง สมาธิเหมือนความรอนที่ไดรับจากการสีไม ปญญาเหมือนไฟท่ีเกิดจากความ รอน กลาวคอื ในอินทรียท ้ัง 5 อันไดแ ก ศรทั ธา วิรยิ ะ สติ สมาธิ และปญญา ศรัทธาเปนเหตุใหเกิดวิรยิ ะ วิริยะ เปนเหตใุ หเ กดิ สติ สตเิ ปนเหตุใหเ กดิ สมาธิ สมาธิเปน เหตใุ หเกดิ ปญญา และปญญากเ็ ปนเหตุใหเ กิดศรทั ธา ดงั น้ี เปนตน อินทรีย 5 เหลาน้เี ปน เหตเุ ปน ผลซง่ึ กนั และกัน (พระพรหมคณุ าภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต), 2554) กลา วโดยหลักของความรจู กั ยับยัง้ ชัง่ ใจก็คอื การมีสติ ความรตู ัวทั่วพรอม กอนคดิ พูดทํา ขณะคิด พูดทํา และหลักคิดพูดทํา สามารถรูลวงหนาวาผลของการกระทํานัน้ ๆทั้งดีหรือไมดี จะทําใหเกิดผลอะไรบาง แลวจึงพูดทําออกมาอยางมาสติ คุณธรรมดานสติมีความสําคัญมากในทางพระพุทธศาสนาในการพัฒนา คุณธรรมใหเกิดสติปญญายับย้ังชั่งใจ ควบคุมตนเองและสามารถลดปญหาของวัยรุนไดเปนอยางดีเพราะ ความหมายของสติคือความไมเผลอ ไมเลินเลอ ไมฟนเฟอนเลื่อนลอย รูจักยับยั้งช่ังใจ ไมยอมถลําลงในทาง ผดิ พลาด ความรูสึกตัวเปนคณุ ธรรมในดานการควบคุมตนเองท้ัง กาย วาจาและจิตใจ ไมใหเกิดโทษแกตนเอง และสังคม สติคือความไมประมาทน่ันเอง พระผูมีพระภาคเจาทรงรับส่ังกับภิกษุทั้งหลายทรงเตือนวา สังขาร ทั้งหลายมีความเส่ือมไปเปนธรรมดา ใหภิกษุยังความไมประมาทใหถึงพรอมเถิด ซ่ึงเปนพระปจฉิมวาจาของ พระพุทธองคแสดงถึงความสําคัญของสติมาก (พระพรหมคุณาภรณ, 2541) คือการอยูปจจบุ ัน ไมคิดรายผูอื่น ทําใหตนเองมีเมตตา มีความสุขอยูเสมอ ปจจัยบมเพาะสติ โดยความหมายของสติคือ อยูอยางไมอึดอัด และ สามารถอยูรวมกับสังคมไดอยางมีความสุข มี 4 ประเด็นยอย คือ 1) การอยูกับปจจุบันขณะ 2) ตระหนักรู ตนเอง3) ใครครวญตามความเปนจริง และ 4) เปนกลาง เปนธรรมชาติ ในสวนของปจจัยบมเพาะสติ มี 2 ประเด็นยอย คือ 1) ปจจัยภายในบุคคล ซึ่งมี 4 หัวขอ ไดแก (1) การมีศรัทธาและฉันทะ (2) การมีศีล (3) ความพรอมของรางกาย และ (4) การหมั่นฝกฝน และ 2) ปจจัยภายนอกบุคคล ซ่ึงมี 2 หัวขอ ไดแก (1) การอยูในสถานที่สงบ และ (2) การท่ีไดเรียนรูหรือมีการศึกษา (ศุกรใจ เจริญสุข, เพ็ญพรรณ พิทักษ สงคราม, ไมเคิล ครสิ โตเฟอร, 171) ที่ผูเขียนยกธรรมะขอนี้มาเปนตัวอยาง เพราะการไมทําชั่วการทําดี เปนพื้นฐานของการมีความ ยบั ยัง้ ชง่ั ใจ หรือมขี อหนึ่งทบ่ี อกวา การทาํ จิตใจใหผอ งใส มีความจริงใจตอกัน ไมคิดท่ีจะทํารายกนั ขอนี้เปน ขอ ท่ีสําคัญ อยางกรณีขาวนองชมพูที่เกิดปญหาการใชความรุนแรงกับเด็ก หรือ แมกระทั่งกรณีโรงเรียนสาร ศาสตรราชคฤห ที่เกิดเหตุการณท่ีครูทํารายนักเรียนอนุบาล “ครูจุม” ยึกยัก ยังไมยอมถอนแจงความ ทถ่ี ูกผูปกครองเด็กทํารายปลอยทนายความรอเกอที่โรงพักโรงเรียนสารสาสนวิเทศราชพฤกษออกแถลงการณ ยัน โรงเรียนพรอ มรับผิดชอบเยยี วยาผปู กครองตามขอ ตกลงกับกระทรวงศึกษาธิการ ปดบังคบั ครูจุมแจงความ ผูปกครอง ฮึ่มถายังใหขอมูลบิดเบือนจะดําเนินคดี ผอ.โรงเรียนเล่ือนนัดเขาใหปากคําตํารวจ อางเวลากระช้ัน ชิดตองศึกษาขอกฎหมายกอน “ทนายรณณรงค” หิ้วถุงดําบุกโรงพัก ขอลองเลนกับครูท่ีอางวาเอาถุงคลุมหัว เด็กเปนการลอเลนวา จะสนกุ ไหม ผบก.ภ.จ.นนทบุรแี จงคดีน้ีมผี ูปกครองมาแจงความ 36 ราย มีครูและพ่ีเล้ียง ตกเปนผูตองหา 16 คน เขามามอบตัวครบแลว โดนคนละ 2 ขอหา ครจู มุ อวมสุดโดนแจงทง้ั หมด 12 คดี สว น คดีที่ครูจุมถูกผูปกครองทํารายคงถอนแจงความไมได ชี้คดีลหุโทษแคเปรียบเทียบปรับ (ไทยรัฐฉบับพิมพ, 8 ต.ค. 2563) นั้นก็เปนการใชความรุนแรงกับเด็ก หรือ ภาษาวัยรุนใชคําวา เกงกับเด็กกับคนแก จริง ๆแลว อาจจะเปน เพราะการขาดความยับย้ังชง่ั ใจน่ันเอง หากนําหลักธรรมคําสอนของพระพุทธเจาไปใช คอื มีสตินับ หนงึ่ ใหถึง 10 คงไมเกดิ เหตกุ ารณท ่ีทาํ รายเด็กจนออกขาวกันมากมากขนาดนีแ้ น

Journal of MCU Buddhapanya Review Vol. 6 No. 1 (January - April 2021) 195 2.2 พรหมวหิ ารธรรม ธรรมะทีส่ ามารถมาประยกุ ตเ พ่อื การอยูดว ยความไมระแวงกนั พรหมวิหาร หมายถึง หลักธรรมสําหรับผูใหญ (พระธรรมโกศาจารย, 2549) เปนธรรมเครื่อง อยูอยางประเสริฐ ธรรมประจําใจอนั ประเสริฐ หลักความประพฤติที่ประเสริฐบริสุทธิ์หลักธรรมขอนี้นับวาเปน ส่ิงสําคัญสําหรับผูใหญหรือผูปกครองท่ีจําเปนจะตองประพฤติปฏิบัติธรรมประจําใจอันประเสริฐ หลักความ ประพฤติท่ีประเสริฐบริสุทธิ์ธรรมท่ีตองมีไวเปนหลักและกํากับความประพฤติใหเปนไปโดยชอบถูกตองตาม ทาํ นองคลองธรรม จงึ จะชือ่ วาดาํ เนินชวี ิตหมดจดและปฏบิ ตั ติ นตอมนุษยและสัตวทั้งหลายโดยชอบ องคป ระกอบของพรหมวิหารมี 4 ประการดงั นี้ 1. เมตตา ความรักใครปรารถนาดมี ไี มตรี 2. กรุณา ความสงสารคือชวยเหลือใหเขาใหพนจากความทุกขใฝใจในอันจะปลดเปล้ืองบําบัดความ เดือดรอ นของผูอ นื่ 3. มุทิตา ความพลอยยินดี ไมค ิดอิจฉาใคร 4. อุเบกขา ความวางใจเปนกลางคืออันท่ีจะทําใหดํารงอยูในธรรมตามที่พิจารณาเห็นดวยปญญา กลาวคือ มีจิตเรียบตรงเทีย่ งธรรมดุจตราช่งั ไมเอนเอยี งดว ยรักและชัง วางตัวเปนกลาง อยใู นความไมป ระมาท (ท.ี ปา. (ไทย)11/305/275) สรุปในสวนนี้คือ ความรุนแรงกับเด็กหรือกับใครก็แลวแตจะเกิดข้ึนไมไดเลย หากเรามีความยับย้ังช่ัง ใจและสามารถนําหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่พระพุทธเจาไดตรัสตั้ง 2,600 กวาปที่ผานมาแลวไปใชและ หลกั ธรรมเหลานก้ี ็สามารถนาํ มาประยกุ ตใชไดต ลอด ไมวาจะเปนยคุ ไหนกต็ าม หากมีสติ มีคุณธรรม จริยธรรม มีศีล อยูเสมอ คงไมเกิดกรณีนองชมพู หรือ กรณีของการทํารายเด็กท่ีออกขา วกันบอย ๆ ฉะนั้นแลว สิ่งสําคัญ คือ พระพุทธศาสนามีหลักของความคิด การใชเหตุผล การใชปญญา ซึ่งมีอยูแลว แลวแตวา ใครจะกลาท่ีจะ เปด โลกทศั นแลว นาํ หลักธรรมเหลานีไ้ ปใชใ หเ กดิ มีความยับย้ังชงั่ ใจตางหากเลา แนวทางที่จะพัฒนาจิตใจของมนษุ ยได ก็เร่ิมจากความศรัทธาในพระพทุ ธศาสนาและการใชชีวติ ที่มอี ยู อยางมีสติ มีความยับย้ังชั่งใจ มีการฝกความอดทน อดกล้ันในอารมณท่ีพอใจหรือ ไมพอใจ เพราะทาง พระพุทธศาสนานั้นสอนในเรื่องของทุกข ที่อยูในโลกน้ี ซึ่งเปนส่ิงท่ีทุกคนตองประสบพบเจอกันท้ังนั้น ฉะน้ัน กรณีนอ งชมพูจงึ สามารถสอนใหเราไดต ระหนักถึงหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนามากขึน้ และในกรณนี องชมพู เด็กหญิงบานกกกอก เปนการตั้งขอสังเกตไดวาหากเปนการฆาตกรรมจากมนุษยจริง ผูที่กอเหตุตองขาด มนุษยธรรม ขาดสติ ขาดการยั้งคิดไมวา จะเปนเรื่องอะไรก็ตาม ก็จะเกิดส่ิงที่ไมนารัก ไมนาชอบใจ ส่ิงท่ีปรากฏตองกลับไปยอนคิดวาเราเปนเมืองพุทธ มีพุทธศาสนิกชนอยู 95 เปอรเซ็นตของประชากรท้ังหมด แตเกิดขาวแบบน้ีไมเวนวนั หรือ จะเปนเพียงเปน พุทธตามบัตรประชาชนเทาน้ัน แต “พุทธ”ที่อยใู นใจไมมีอยู จรงิ เลย สรปุ จากกรณขี าวนอ งชมพู เด็กหญงิ ท่ีเสียชีวิตทีภ่ เู หล็กไฟ บานกกกอก จงั หวดั มกุ ดาหาร ท่เี ปนขาวโดงดัง อาจจะมีผกู อเหตุ เกิดปรากฏการณการประโคมขาว ๆ ตาง ๆ ในหลายๆ แงมุม มีการแบงฝายผูสนบั สนุนและ ตอตาน และจนไปถึงเกี่ยวของกับทุกวงการ ไมวา จะเปนวงการสงฆท่ีพยายามเสนอตัวเขาไปชวย/วงการทรง เจา เขา ผหี รือรางทรง/วงการนักขาวทกุ ชองตีขา วพาดหนาหนึ่ง/วงการบันเทงิ ท่ีดงึ คนในพน้ื ทที่ ่เี กีย่ วของกับนอ ง ชมพู/วงการตํารวจท่ีทํางานกันหามรุงหามค่ําท่ีโดนกดดันจากสังคม/วงการนักกฎหมายท่ีพยายามเขามาชวย นองชมพูดวยความสงสารและ/หรือ อาจจะเพราะตามกระแสก็ได/และที่สําคัญสถาบันครอบครัวที่เหมือนจะ

196 วารสาร มจร พุทธปญ ญาปริทรรศน ปท ่ี 6 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2564) โดนผลกระทบโดยตรงและมีขาวเหมือนจะเกิดการทะเลาะกันเสียอีก อาจจะมองประเด็นตรงที่วา 1) การท่ีมี ขาวที่กระทําความรุนแรงตอเด็ก เปนเร่ืองท่ีไมแฟรเพราะเขายังไรเดียงสา ไมรูเรื่องอะไร และถามองตามหลัก ศาสนาคงไมพนเร่ืองของ “กรรม” กรรมใดใครกอ คนนั้นก็ตองรับผลของกรรมน้ัน คงเปน กรรมของผูกอเหตุที่ ตองทุกขทรมาน เพราะไดทํารายเด็กจนเสียชีวิต เพราะอะไร? เพราะขาดการยับย้ังชั่งใจ ไมกลัวบาป ไมมีหิริ (ความละอายตอบาป)และโอตตัปปะ(ความกลัวตอผลของกรรม) 2) การเสพสื่อใหมีสติ หรือมีการยับย้ังช่ังใจ เหมือนกันเพราะตองมีการวิเคราะหหรือมีวิจารณญาณในการเสพส่ือ ไมเอียงเอนไปในทางใดทางหน่ึง เหมือนภาษิตโบราณทานบอกวา “รูมาก ยากนาน รูนอยพอรําคาญ” หรือ “รูไวใชใสบาแบกหาม” เปนตน การใชหลักธรรมในทางพระพุทธศาสนามาใชอาจเปนทางเลือกอีกทางท่ีจะสามารถตอบโจทยใหแกสังคมได ไมม ากก็นอย ความรูจักยับยั้งชงั่ ใจกค็ ือ การมีสติ ความรูต ัวทั่วพรอม กอนคิดพูดทํา ขณะคิดพูดทํา และหลักคิดพูด ทํา สามารถรูลวงหนาวาผลของการกระทํานั้น ๆ ทั้งดีหรือไมดี จะทําใหเกิดผลอะไรบาง แลวจึงพูดทําออกมา อยางมาสติ คุณธรรมดานสติมีความสําคัญมากในทางพระพุทธศาสนาในการพัฒนาคุณธรรมใหเกิดสติปญญา ยับยั้งชั่งใจ ควบคุมตนเองและสามารถลดปญหาของวัยรุนไดเปนอยางดีเพราะความหมายของสติคือความ ไมเผลอ ไมเลินเลอ ไมฟนเฟอนเล่ือนลอย รูจักยับย้ังชั่งใจ ไมยอมถลําลงในทางผิดพลาด ความรูสึกตัวเปน คุณธรรมในดานการควบคุมตนเองท้ัง กาย วาจาและจิตใจ ไมใหเกิดโทษแกตนเองและสังคม สติคือความ ไมประมาทนั่นเอง พระผูมีพระภาคเจาทรงรับส่ังกับภิกษุท้ังหลายทรงเตือนวา สังขารทั้งหลายมีความเส่ือมไป เปนธรรมดา ใหภิกษุยังความไมประมาทใหถึงพรอมเถิด ซ่ึงเปนพระปจฉิมวาจาของพระพุทธองคแสดงถึง ความสําคัญของสติมาก ส่ิงท่ีสําคัญ หรือ หัวใจของพระพุทธศาสนาคือ ความไมประมาท อาจจะกลาวไดวา ก็คือ การมีสติยับย้ังชั่งใจก็ได และประกอบดวยหลักของการอยูรวมกันอยางมีความสุขไมเบียดเบียนกัน ไมค ิดรา ยตอกัน มชี วี ติ อยอู ยา งปลอดภยั ดว ยการบูรณาการหลกั ธรรมทางพระพทุ ธศาสนา ไดแก พรหมวิหาร 4 คือ 1. มีเมตตาคือ มีความรักตอผูอ่ืน 2. มีกรุณาคือ ชวยเหลือเกื้อกูลกัน 3. มุทิตาคือ ไมอิจฉาใคร รูจักมีใจที่ ยนิ ดกี ับผูอื่นและ 4. อุเบกขาคอื วางใจเปนกลางเมอ่ื เจออารมณเรา ไมว าดีหรอื ไมก็ตาม กจ็ ะเกดิ ความยับย้งั ช่ัง ใจตามหลกั พระพุทธศาสนา เอกสารอา งอิง มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พม หาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั . มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปฎกฉบับภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย. พระธรรมโกศาจารย. (2549). พุทธวิธีบริหาร. กรุงเทพมหานคร: โรงพมิ พมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย. พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2554). พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท. พิมพคร้ังท่ี 16. กรงุ เทพมหานคร: บริษัทสหธรรมิกจํากัด. ______. (2541). พุทธธรรม. พมิ พค ร้ังที่ 7. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย. ______. (2554). พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม. พิมพคร้ังท่ี 21. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สหธรรมิกจาํ กดั . ______. (2556). พจนานกุ รมพุทธศาสตร. กรงุ เทพมหานคร: มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย. ______. (2549). พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงขยายความ. พิมพครั้งท่ี 11. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพบริษัท สหธรรมิกจาํ กดั .

Journal of MCU Buddhapanya Review Vol. 6 No. 1 (January - April 2021) 197 พทุ ธทาสภิกขุ. (2528). สต.ิ พมิ พค รั้งท่ี 2. กรงุ เทพมหานคร: จกั รานุกุลการพมิ พ. มาลีวัล เลิศสาครศิริ. (2559). ประสิทธิผลของโปรแกรมการฝกสมาธิ ตอพหุปญญาของนักศึกษาชั้นปท่ี 1 วทิ ยาลัยเซนตหลุยส. วารสารพยาบาลทหารบก. Journal of The Royal Thai Army Nurses. 17(13). ศู น ย พั ฒ น า ส ม อ ง แ ล ะ ศั ก ย ภ า พ . ( 2563). สื บ ค น 3 ตุ ล า ค ม 2 5 6 3 . จ า ก https://www.brainandlifecenter.com/inhibition-attention-selfcontrol. เสกสิทธ์ิ สวรรยาธิปติ. (2554). การกระทําความผิดเก่ียวกับทรัพย ยาเสพติด และชีวิตรางกาย (คดีรายแรง) ของเด็กและเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล: การศึกษาวิจัยโดยใชทฤษฎีการ ควบคุมตนเอง (วิทยานิพนธปรัชญาดุษฎีบัณฑิต อาชญาวิทยา การบริหารงานยุติธรรมและ สงั คม). บัณฑติ วิทยาลยั : มหาวทิ ยาลยั มหิดล.

แนวทางการประยุกตศ าสตรการเลา เรื่องสูการสอนวรรณคดีไทยในระดับมธั ยมศึกษา The approach of application of storytelling in teaching Thai literatures for secondary education กติ ตพิ งษ แบสว่ิ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลยั รามคาํ แหง (ฝายมัธยม) The Demonstration School of Ramkhamhaeng University E-mail: [email protected] Received 20 October 2020; Revised 14 December 2020; Accepted 23 March 2021 บทคดั ยอ การประยุกตศาสตรการเลาเรื่องสูการสอนวรรณคดีไทยในระดับมัธยมศึกษา ผูเขียนตองการนําเสนอ ประเด็นหลัก ๆ คือสําคัญคือ 1) เสนอแนวทางการประยุกต “ศาสตรการเลาเรื่อง” ท่ีนําไปสูเทคนิคการสอน วรรณคดีระดับมัธยมศึกษารวมกับการพัฒนาทักษะทางภาษา และ 2) ตัวอยางการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ สอดคลองตัวชี้วัดท่ีสัมพันธกับการรับสารเพื่อสรุปความหรือสรุปเน้ือหาจากวรรณคดีตามท่ีกําหนดไวในหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐานฯ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ผูเขียนนําเสนอแนวทางการเลาเร่ืองวรรณคดีไทย ออกเปน 2 ประการ ไดแก 1. การเลาเร่ืองในฐานะ “ผูสอน” ประกอบดวย การเลาโดยใชคําถามกระตุนความคิด และจินตนาการ การเลาโดยการเปรียบเทียบอุปมา และการเลาโดยใชสื่อภาพประกอบการเรียนการสอน และ 2. การเลาเรอ่ื งในฐานะ “ผูเรียน” ประกอบดว ย กิจกรรมเลาเรื่องตอเนื่องกันคนละประโยค กิจกรรมนกั เลา นิทาน ผานผังกราฟก และกจิ กรรมตัวตอเร่ืองราวเลาวรรณคดี กิจกรรมการเลาวรรณคดีไทยในชัน้ เรยี นทีม่ ปี ระสทิ ธิภาพ นอกจากจะบรรลุตัวชี้วัดแลวยังชวยใหผูเรียนเกดิ ความรสู ึกประทับใจตอเรื่องราววรรณคดีไทยและพัฒนาจิตพิสัย เชิงบวกตอ วรรณคดใี นฐานะมรดกทางวัฒนธรรมของชาตไิ ทย คาํ สาํ คัญ: การประยุกตศาสตรก ารเลาเรือ่ ง, การสอนวรรณคดีไทยในระดับมธั ยมศึกษา Abstract Application of Storytelling in Teaching Thai Literatures for Secondary Education. The purpose of The author was to propose 1) the ways of storytelling application which lead to teaching literatures techniques and developing language skills and 2) the examples of class activities to respond the indicators which relate with receiving messages for summarising or concluding the substances from the literatures which are specified in Basic Education Core Curriculum Secondary Education. The author proposed the ways and examples of teaching management by using 2 ways of storytelling in Thai literatures which are; 1) telling in the status of “teacher” comprised; telling by using stimulating thought and imagination questions, telling by using analogy, and telling by using instruction picture media 2) telling in the status of “student” comprised; sentence

Journal of MCU Buddhapanya Review Vol. 6 No. 1 (January - April 2021) 199 continuing telling activity, storytelling through graphic organization activity, and literature story puzzle activity. Although these potential literature storytelling can achieve the indicators, they also made students impress with Thai literature and improved good affective domain of literatures in the status of Thai cultural heritage. Keywords: Application of Storytelling/Teaching Thai Literatures for Secondary Education บทนํา วรรณคดีและวรรณกรรมเปน สาระหนึง่ ที่สาํ คัญในการจัดกจิ กรรมการเรียนรูรายวิชาภาษาไทย แตป จจบุ ัน ครูผสู อนภาษาไทยประสบปญ หาในหองเรยี นเกย่ี วกบั การสอนวรรณคดีไทยโบราณซง่ึ กลายเปนเร่ืองไกลตวั สาํ หรับ ผูเ รียน เพราะวรรณคดไี ทยสว นหนึง่ แตงขึ้นดวยคําศัพทเฉพาะทางวรรณกรรม และเร่อื งราวก็ยังตางไปจากบริบท วัฒนธรรมไทยในปจจุบันอีกดวย ดังท่ี ยุพร แสงทักษิณ (2559) กลาววา “ความท่ีแตงมานานแลวนี้เองทําให วรรณคดีมีปญหาเรื่องความยากท่ีจะเขาใจและเขาถึง เพราะผูแตงใชภาษาในยุคสมัยเดียวกับตน โดยเฉพาะ วรรณคดีรอยกรอง คําไทยบางคํา สํานวนไทยบางสํานวนก็พนสมัย ไมไดพบเห็นหรือใชอยูในปจจุบัน” และ “...สวนใหญเนื้อเรื่องจะดูโบราณ เพราะเปนเร่ืองจักร ๆ วงศ ๆ มีโครงเร่ืองซํ้า ๆ” นอกจากนี้ครูภาษาไทยสวน หน่ึงยังใหความสําคัญกับการอานวรรณคดีรอยกรองเพ่ือถอดความคําประพันธอยางละเอียด และมุงแปลศัพท รวมถงึ วเิ คราะหค ณุ คา ตามแบบแผนหรือแบบเรียนเทานนั้ การสอนวรรณคดีไทยใหบรรลุวัตถุประสงคสําคัญของการเรียนวรรณคดี ควรมุงเนนไปที่การพัฒนา ความคิดและการสรางความหมายของผูเสพมากกวาการอานเพื่อถอดความเทาน้ัน แมวาการถอดความจะเปน ลักษณะขั้นตนของการอานที่มีประสิทธิภาพ แตส่ิงท่ีผูสอนและผูเรียนควรจะไดรับการสงเสริมและพัฒนาก็ควร เปนกระบวนการคิดที่ไดจากการเรียนวรรณคดี ดังน้ันแนวทางสําคัญที่นักเรียนจะไดมีบทบาทและสอดคลองกับ บริบทการเรยี นการสอนวรรณคดจี ึงตอ งมีวิธีการจัดกจิ กรรมการเรยี นรูวรรณคดีตัง้ แตในระดบั เบื้องตน ใหผ ูเรียนได พัฒนาการคดิ รว มไปกบั การศกึ ษาเน้ือเรื่อง วัฒนธรรม “การเลาเร่ือง” เปนอีกวิธีการหน่ึงที่นิยมใชในช้ันเรียนวรรณคดีเพื่อสรางความเขาใจและพา นักเรียนกาวขามอุปสรรคของวรรณคดีโบราณประเภทรอยกรองในขั้นเบื้องตน โดยเฉพาะการเลาเร่ืองราวดวย ลักษณะแตกตางกันไปตามความสามารถและเอกลักษณของผูสอน บทความนี้มีวัตถุประสงคเพ่ือที่จะนําเสนอ แนวทางเบื้องตนเก่ียวกับ “การเลาเร่ืองวรรณคดีในชั้นเรียนมัธยมศึกษา” โดยมีแนวคิดหลักท่ีเสนอวา การเลา เร่ืองน้ันอาจมาจาก “ผูสอน” และนักเรียนเปนผูรับสาร หรือมาจากการท่ี “ผูเรียน” อานหรือฟงเร่ืองแลวเปน ผูสงสารเพื่อสรุปเน้ือหา ทั้งนี้แนวทางทั้งสองสามารถดําเนินไปไดภายใตแนวคิดท่ีนักเรียนจะไดมีบทบาทและ ปฏสิ มั พนั ธในช้นั เรยี นรว มกบั กระบวนการคดิ เพอ่ื ใหเ กดิ การเรยี นรูว รรณคดีอยา งมีประสิทธภิ าพไดตอไป 1. แนวทางการสอนวรรณคดีไทยในระดบั มัธยมศึกษา พืน้ ฐานการสรางวรรณคดีไทยแตเดิมมาจากการแตงขึ้นเพ่อื รองเลน สวดและขบั เปน ทํานองตาง ๆ กันไป ตอมาเมื่อพัฒนาเปนวรรณคดลี ายลักษณก็ยังคงมีจุดประสงคเพอ่ื ใชประกอบการขับอานเปนทํานอง วรรณคดไี ทย จึงประกอบข้ึนจากการใชศิลปะการประพันธและเลือกสรรคําใหสื่อความผานเสียงเสนาะ กลายเปนเอกลักษณที่ โดดเดน และเปน ศิลปกรรมแขนงหนง่ึ ท่ีสําคญั ของชาติไทย ตอมาเม่ือนําวรรณคดีมาใชเปนสื่อในการเรียนการสอนตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการกําหนดไว การใช วรรณคดีเพื่อการจัดการเรียนรูจึงเปนความทาทายของครูที่ตองสอนเร่ืองที่อานยากและไกลตัวนักเรียน แตครูผูสอนตองมีหนาท่ีและบทบาทสําคัญที่จะทําใหผูเรียนไดบรรลุมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสาระท่ี 5

200 วารสาร มจร พุทธปญ ญาปรทิ รรศน ปท่ี 6 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม – เมษายน 2564) วรรณคดีและวรรณกรรม โดยจุดมุงหมายของการเรียนวรรณคดีไทยน้ันตองไมใชการอานเร่ืองและศึกษาบท วเิ คราะหตามท่ปี รากฏในแบบเรยี นเทานนั้ โดยท่ัวไปแลวการกําหนดแนวทางที่สําคัญสําหรับการสอนวรรณคดีไทย ผูสอนควรคํานึงถึงหลักการ สําคัญที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด คือ “มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวิตจริง” (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) ซ่งึ ควรนาํ ไปสูผ ลลพั ธด งั ตอไปนี้ 1. ผูเรยี นควรสรปุ เรอ่ื งราวหรอื เนือ้ หาเพ่ือความเขา ใจดว ยตนเองและสามารถถายทอดใหผูอ น่ื เขา ใจได 2. ผูเรียนควรเขาถึงคุณคาวรรณคดีผา นกระบวนการคิด เชน ดานวรรณศิลป (ความงามทางภาษา) ดาน สังคมและวัฒนธรรม (ความเขาใจในบริบทสังคมและวัฒนธรรมของยุคสมัยวรรณคดี) ดานเนื้อหา (การวิเคราะห ขอ คดิ ) 3. ผเู รียนควรไดรับการสง เสรมิ ความคิดและแสดงความคิดเห็นผานการปฏิสัมพันธกับตัวบทและสามารถ ตอยอดความรูไดในชวี ติ จริง (การประยุกตใช) ทั้งน้ีการสอนวรรณคดีไทยในขั้นแรกท่ีมาตรฐานการเรียนรู ท 5.1 และตัวช้ีวัด ไดกําหนดไวในระดับ ม.1-ม.3 คือการสรุปเน้ือหาจากวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอานและเพิ่มระดับความยากของตัวบทในแตละ ระดับช้ันตอเนื่องไปตามลําดับ ข้ันตอนแรกน้ีนับเปนพื้นฐานในการอานวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อความเขาใจ เนื้อเร่ือง โดยเปนการสรางความเขาใจเรื่องราวซ่ึงสามารถใชเทคนิคการเลาเร่ืองมาประสานกับกิจกรรมใน หองเรยี นได ดงั ท่ีจะไดนําเสนอตอไป 2. “การเลาเรื่องวรรณคดีไทยในช้ันเรียน”: แนวทางเบื้องตนเพ่ือสงเสริมการมีสวนรวมและ ปฏิสัมพนั ธ การเลาเรื่อง หรือเทคนิคการเลาเรื่อง (Storytelling Technique) เปนเคร่ืองมือสอนที่นาสนใจและ มีศักยภาพเปนอยางมากที่จะนําไปประยุกตใชในหองเรียนเพื่อสนับสนุนใหผูเรียนเกิดการเรียนรูสูงสุด เน่ืองจาก ชวยสรางบรรยากาศการเรียนรูที่ดี และชวยใหการเรียนรูเปนไปอยางสนุกสนาน (พัชรา วาณิชวศิน, 2562) ท้ังนี้การเลาเรื่องเปนการนําเสนอเนื้อหาในรูปแบบตาง ๆ ผานการสื่อสาร โดยตองอาศัยชั้นเชิงหรือลีลาในการ นาํ เสนอเพื่อใหเกิดความนาสนใจ และผฟู ง เขา ใจเร่อื งราวตามที่ผสู ง สารกําหนดจุดประสงคไว “การเลาเรื่องวรรณคดีไทย” เปนกิจกรรมสําคัญที่ครูมักใชในการจัดการเรียนรู โดยเปนการนําเสนอ เร่ืองราววรรณคดีไทยเพื่อใหนักเรียนเขาใจเนื้อเร่ือง หรือเหตุการณสําคัญกอนการวิเคราะหคุณคาดานตาง ๆ ตอ ไป กระบวนการเลาเร่ืองประกอบดว ยองคประกอบสําคัญ ไดแก ผเู ลาในฐานะผสู งสาร สาร(เน้ือหาวรรณคดี) และผูรับสาร องคประกอบท้ัง 3 สวนนี้จะตองมีพื้นฐานที่เอื้อใหสามารถส่ือสารไดอยางสัมฤทธิผล กลาวคือ กระบวนการเลาเร่ืองจะประสบความสําเร็จไดตองอาศัยปจจัยองคประกอบการสื่อสารท่ีมีประสิทธิภาพ ในท่ีน้ี ผูเขยี นจะใหความสําคญั กบั บทบาทของผูสอนในฐานะผูเ ลา เรือ่ ง และบทบาทของผเู รยี นในฐานะผูเลา เรอ่ื ง ดงั นี้ ผูสอน (Instructor) เปนบุคคลสาํ คญั ทจี่ ะตอ งนําเสนอเรอ่ื งราววรรณคดีใหเ กิดความนาสนใจ ทัง้ นี้การเลา เรื่องของผูสอนจะตองไมใชการเลาเร่ืองในบทบาทของการถอดความและแปลความไปตามตัวบทเทานั้น เพราะการปรับบทบาทของผูสอนที่ควรอยูในฐานะผูอํานวยความสะดวกในการเรียน (Facititator) ตามแนวคิด การเรียนรูเชิงรุก (Active Learning) หากผูสอนจะยังคงเลาเรื่องราวควรเปนไปเพ่ือกระตุนความนาสนใจของ เนื้อหา เชน การเลาเรื่องตอนตนเพ่ือนําเขาสูเนื้อเร่ือง การใชคําถามประกอบการเลาเร่ือง หรือการใชส่ือ ประกอบการเลาเรื่อง เปนตน ทั้งน้ีผูสอนจะตองไมใชผูเลาเร่ืองแตเพียงฝายเดียวจนจบ โดยไมเปดโอกาสให นกั เรียนในฐานะผฟู งไดศ กึ ษาและพิจารณาเนอ้ื หาดว ยตนเอง

Journal of MCU Buddhapanya Review Vol. 6 No. 1 (January - April 2021) 201 ผูเรียน (Learner) เปนบุคคลท่ีจะตองสามารถสรุปเน้ือหาหรือเรื่องราววรรณคดีและวรรณกรรมได เพราะการสรุปหรือสามารถเลาเร่ืองได ยอมหมายถึงผูเรียนมีความเขาใจเน้ือหาอยางชัดเจนจนสามารถถายทอด ใหผูอื่นรบั รูไ ด ดงั นน้ั การเลาเรื่องไดจึงเปนสวนหน่งึ ที่ผูเรยี นจะไดแ สดงทักษะจากการรับสารเพ่ือแปลความ เรยี บ เรียงประโยค วิเคราะหความสําคัญของเนื้อหาและความเปนเหตุเปนผลท่ีตอเนื่องกัน จากนั้นจึงนํามาสรุปความ และนาํ เสนอดวยรปู แบบตาง ๆ อาจเปนการพูด การเขยี น และการใชภ าพหรอื แผนภาพประกอบการนาํ เสนอก็ได ดังน้ัน การเลาเร่ืองราววรรณคดีในชั้นเรียนจึงตองอาศัยกระบวนการรับสารแลวสามารถเรียบเรียง เก็บ ความ สรุปความแลวนํามาถายทอดตามลําดับเหตุการณและอารมณความรูสึกของตัวละครหรือเน้ือหาไดอยาง ถูกตองสมบูรณ ซ่ึงการเลาเร่ืองวรรณคดีท่ีสัมฤทธิ์ผลจะทําใหผูรับสารเขาใจเนื้อหา เหตุการณ และอารมณ ความรูสึกของตัวละคร เกิดการรับรูรสและเกิดจินตนาการผานเร่ืองเลา สงผลใหเกิดความประทับใจตอเรื่องราว เหลา น้นั และอาจนําไปตอ ยอดสูแ นวทางที่สรา งสรรคตอไปได 3. ศาสตรการเลาเรือ่ งวรรณคดีไทย: เทคนคิ การสอนผา นการปฏิบตั ิกิจกรรม จากการสํารวจวรรณคดีทีป่ รากฏในแบบเรียน วรรณคดีวิจักษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตนตามประเภท ของวรรณคดี (genre) พบวา เมื่อจําแนกตามเนื้อหาของวรรณคดีและวรรณกรรมที่กําหนดและเสนอใหเลือก ศึกษา สวนใหญจะเปนวรรณกรรมประเภทคําสอน จํานวน 6 เร่ือง ประกอบดวย โคลงโลกนิติ พระบรมราโชวาท สุภาษติ พระรวง อศิ รญาณภาษติ กลอนดอกสรอ ยรําพึงในปาชา โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ รองลงมาคือประเภทนิทาน 4 เร่อื ง ประกอบดวย กาพยเร่ืองพระไชยสรุ ิยา ราชาธิราช ตอน สมงิ พระราม อาสา และนิทานคํากลอนเรื่อง พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเส้ือสมุทร และนอกจากนี้ ยังมีวรรณคดี ประเภทบันทึกเหตุการณและความรู คอื ศิลาจารึกพอขุนรามคําแหง นิราศภูเขาทอง กาพยหอโคลงประพาสธาร ทองแดง และวรรณกรรมประกอบการแสดง ไดแก บทละครในเร่ืองรามเกียรต์ิ ตอน นารายณปราบนนทก และ บทพากยเอราวัณ การจําแนกตามเนื้อหาจะเห็นวา วรรณคดีสวนใหญนั้นจัดเปนวรรณกรรมคําสอนจึงมีจุดมุงหมายสําคัญ เพ่ือใหนักเรียนวิเคราะหคุณคาดานขอคิด และคานิยมที่สังคมคาดหวังในการปลูกฝงเยาวชน อยางไรก็ตาม วรรณคดีท่ีมีลักษณะ “เรื่องเลา” ไดแก วรรณคดีนิทาน วรรณคดีบันทึกเหตุการณและความรู และวรรณกรรม ประกอบการแสดง มีลักษณะเอื้อตอ “การเลาเร่ือง” มากท่ีสุด เนื่องจากเน้ือหามีลักษณะของลําดับเหตุการณ และอารมณความรูสึก หรือฉากของเนื้อเร่ืองท่ีชวยใหการเลาสามารถนําไปสูการเกิดมโนภาพ สามารถสราง จินตนาการและสรางความรจู ากเนื้อเร่ืองหรือบทบาทของตัวละครในเรื่องได การเลาเร่อื งจึงเปนกิจกรรมท่ยี ังทรงอทิ ธิพลในชน้ั เรยี นวรรณคดไี ทยอยเู สมอ และการเลาเรอ่ื งยอ มชวยให ผสู อนและผูเรียนไดร ับรูและสะทอนประสบการณจ ากการอานรวมกัน นอกเหนือไปจากการฟงครเู ลา แตเพยี งฝาย เดียวเทานน้ั ผเู ขียนขอนําเสนอแนวทางการเลาเรื่องวรรณคดไี ทยออกเปน 2 ประการ ไดแก 1. การเลาเรื่องในฐานะ “ผูสอน” และ 2. การเลา เรือ่ งในฐานะ “ผูเ รียน” โดยแตล ะสว นจะแบงการนาํ เสนอ ดังน้ี 3.1 การเลาเรื่องในฐานะ “ผูสอน” จะนําเสนอหลักการจากเทคนิคท่ีนาสนใจ 3 ประการ ไดแก 1. การเลา โดยใชค าํ ถามกระตนุ ความคิดและจินตนาการ 2. การเลาโดยการเปรียบเทียบอปุ มา และ 3. การเลาโดย ใชส ือ่ ภาพประกอบการเรียนการสอน 3.2 การเลาเรือ่ งในฐานะ “ผูเรียน” จะนําเสนอแนวคิดและการประยุกตใชเทคนิคในการจัดกจิ กรรม การเรียนรูเพ่ือเปนแนวทางในการนําไปใชประโยชน 3 ประการ ไดแก 1. กิจกรรมเลาเรื่องตอเนื่องกันคนละ ประโยค 2. กิจกรรมนกั เลานทิ านผานผังกราฟก และ 3. กิจกรรมตวั ตอ เรือ่ งราวเลาวรรณคดี

202 วารสาร มจร พทุ ธปญ ญาปริทรรศน ปท ่ี 6 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม – เมษายน 2564) 3.1 การเลา เรอ่ื งในฐานะ “ผูสอน” ครูจัดเปนผูมีบทบาทสําคัญท่ีจะเปนผูอํานวยความสะดวกในหองเรียนแหงศตวรรษที่ 21 ครูภาษาไทยในฐานะผูสอนสาระวรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักสูตรแกนกลางฯ ตองคํานึงถึงมาตรฐานการ เรียนรูและตัวช้ีวัดเปนสําคัญ ดังน้ัน การจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ครูจะเปนผูเลาเร่ือง ตองคํานึงไวเสมอวา ครูตอง เปนเพียงผูช้ีใหเห็นจุดเดน กระตุนความคิด และนําเสนอตัวบทท่ีนาสนใจ และเปดโอกาสใหนักเรียนแสดงความ คิดเห็น โดยตองไมยึดครูเปนศูนยกลางของคําตอบแบบเดยี ว รวมถึงเปน ศูนยกลางท่ีจะนําเสนอเรื่องราววรรณคดี เพยี งผูเดียวตลอดชวั่ โมงการจัดกิจกรรมการเรียนรู แตควรเปนผูชแี้ นะแนวทางและนําเสนอในข้นั ตนกอ นที่จะเปด โอกาสใหนักเรียนไดสรุปเนื้อหาและสามารถแสดงความคิดเห็น รวมไปถึงวิเคราะหคุณคาขอคิด และประยุกต ขอคิดเหลาน้ันกับประสบการณหรือเหตุการณในชีวิตจริงได ตัวอยางที่จะนําเสนอตอไปน้ี ผูเขียนมีวัตถุประสงค หลักเพ่ือแสดงแนวคิดวา หากครูภาษาไทยตองการเลาเร่ืองก็พึงใหการเลาเปนไปอยางมีปฏิสัมพันธ โดยแบงเปน แนวทางทีน่ า สนใจ ดังทจี่ ะนําเสนอตอ ไปนี้ 3.1.1 การเลา โดยใชค ําถามกระตนุ ความคดิ และจินตนาการ คาํ ถาม (Question) เปนเคร่ืองมอื ทคี่ รูใชก ระตุนความคิดผูเรยี นไดเ ปนอยางดี (ชนาธปิ พรกลุ , 2557) คําถามยังเปนสิ่งที่มีพลังในการสรางการเรียนรูใหกับผูเรียน หองเรียนวรรณคดีไทยเปนหองเรียนท่ีครูอาจ ใชคําถามกระตุนความคิดและจินตนาการตลอดกิจกรรมการเลาเร่ือง โดยแบงคําถามประกอบการเลาเร่ือง ดังตัวอยางตอ ไปน้ี ตารางท่ี 1 แสดงการใชค ําถามแตล ะรปู แบบในการเลาเรื่อง ขัน้ ตอนการจัดกิจกรรม ตวั อยางคําถาม จุดประสงคของคาํ ถาม ขน้ั นํา (กอนการเลา เรอ่ื ง) - ใครรูจักวรรณคดีท่ีมีตัวละครเปน ถามนาํ เขา สชู ื่อเร่อื ง สัตวบ า ง - นักเรียนคิดวา(ภาพการชนชาง) ถามนําเพื่อเขาสูเ นอ้ื เรื่อง เกี่ยวขอ งกบั เรือ่ งอะไร - รูหรือไม เทพเจาอะไรมักเปนผู ถามนาํ เพื่อแนะนําตัวละคร ประทานพร หรือของวเิ ศษ ข้ันการจัดกิจกรรมการเรียนรู - นักเรียนคิดวาเร่ืองราวหลังจากน ถามเพื่อใหคาดเดาเหตุการณ (ระหวา งการเลาเร่อื ง) นทกไดพรเปนนิ้วเพชรแลว จะเกิด อะไรขนึ้ - นักเรียนคิดวาพระอภัยมณีรูสึก ถามเพื่อตคี วามตัวละคร อยางไรเมื่อรูวาตองอยูกับนางยักษที่ แปลงกายมา - นักเรียนคิดวาสุนทรภูจะตองนึกถึง ถามเพ่อื เช่อื มโยงประสบการณ อะไรเมอ่ื ผานตําบล “บางพดู ” ขั้นสรุป (หลงั การเลาเร่อื ง) - ฉากไหนท่ีนักเรียนรูสึกต่ืนเตนมาก ถามเพ่อื ทดสอบความคิดเห็น ที่สุดในเร่ืองพระอภัยมณี ตอนหนี นางผีเส้ือ - นักเรียนเหน็ ใจตวั ละครใดมากท่ีสดุ ถามเพอื่ ประเมินการตอบสนอง - หากนักเรียนเปนสมิงพระรามจะ ถามเพื่อใหเ สนอแนวทางแกไ ข รบกามะนดี วยวิธีเดยี วกนั หรือไม

Journal of MCU Buddhapanya Review Vol. 6 No. 1 (January - April 2021) 203 จะเห็นไดวาผูสอนสามารถใชคําถามประกอบการเลาเร่ืองไดตลอด ทั้งการถามนําลักษณะ ตาง ๆ กอนเริ่มตนเรื่อง การใชคําถามระหวางการเลาเรื่องเพ่ือใหนักเรียนไดทบทวนและทดสอบความเขาใจ ประเมินเร่ืองราวระหวางทาง และเม่ือจบการเลาเรื่องนักเรียนจะไดแสดงความคิดเห็นเพ่ือตอบสนองตอเร่ืองราว วรรณคดีขั้นตนอันเปนกิจกรรมท่ีชวยใหผูเรียนไดมีปฏิสัมพันธกับตัวบทและผูสอน การเลาเร่ืองราววรรณคดีไทย ในช้ันเรียนดวยเทคนิคดังกลาวจะชวยใหผูเรียนไดตอบสนองระหวางการเลาเรื่อง และแลกเปลี่ยนคําตอบกับครู และเพ่ือนตลอดกิจกรรม สงผลใหนักเรียนไมไดฟงเรื่องราวอยางเดียว แตตองอาศัยกระบวนการคิดระหวางท่ีรับ สารตลอดเวลา ทาํ ใหนกั เรียนไดป ระเมนิ ความเขา ใจเรอ่ื งราวไดตลอดจนจบการเลา เร่ือง นอกจากนี้การใชค ําถามกระตุนความคิดและจินตนาการ ควรมีลําดับการนําไปใชใหสอดคลอง กับกระบวนการศึกษาและพัฒนาความคิดจากการเรียนวรรณคดี เชน การเปดเรื่องดวยคําถามเพ่ือโนมนาวใจให ผูเรียนเริ่มเช่ือมโยงประสบการณ เนื่องจากผูเรียนตองเรียนรูเรื่องท่ีไกลตัวหรือหางไปไกลจากประสบการณเดิม ผูสอนอาจใชคําถามเพ่ือใหคาดเดาชื่อเรื่อง ตัวละครสําคัญ หรือเหตุการณท่ีนาจะเปนไปได ทั้งนี้คําถามสามารถ พัฒนาการคดิ ไปไดห ลายระดบั ดังท่ีไดเสนอมาแลว ขา งตน รวมไปถึงคาํ ถามท่ีชว ยพัฒนาจินตนาการของผเู รียนหรือ ผูฟง โดยใชคําถามกระตุนความคิดสรางสรรคในวรรณคดีและวรรณกรรม เชน คําถามใหคาดเดาหรือทํานาย เหตุการณท่เี ปนไปได คําถามใหเ ปลีย่ นแปลงเหตุการณหรือเติมตอเรือ่ งจากตอนจบไปในทางบวก ดังตวั อยาง หากนักเรยี นเปนนนทกจะทลู ขอพรใดจากพระอศิ วร หากนกั เรียนเปน พระอภยั มณจี ะหนีจากนางผเี สื้อสมทุ รหรือไม และใชว ิธีใด หากนายล้าํ ตดั สินใจบอกความจริงกับแมลออ นักเรียนคดิ วาแมล ออจะรสู กึ อยา งไร หากนกั เรยี นเปน แมล ออและรคู วามจริงเร่ืองนายลํ้าเปนพอ จะทําอยางไรตอ ไป คําถามเหลาน้ีจะฝกกระบวนการคิดโดยการจินตนาการคําตอบออกไปไดกวางไกลจากเน้ือ เร่ืองเดิม โดยอาศัยพ้นื ฐานความคิดจากความเขาใจลักษณะนิสัยของตัวละครหรือสถานการณในบริบทสังคมและ วัฒนธรรมของตัวละคร นอกจากจะไดเน้ือเรื่องที่ตางไปจปากเดิมหลังจากการทดลองเปล่ียนแปลงเนื้อหาแลว นกั เรียนจะไดมุมมองตอความเขาใจตัวละครวาตัวละครมีขอจํากัดเรื่องใด และการตัดสินใจกระทําสิ่งตาง ๆ น้ันมี เหตุผลจากปจจัยใดมากาํ กบั บา ง และเมื่อนักเรยี นอยูในบริบทดงั กลา วจะมีขอเสนอแนะแนวทางท่ีจะเปล่ยี นแปลง หรือแกไ ขปญหาไปในในทางบวกอยางไรบาง เพอื่ ใหเ รือ่ งดําเนินตอไปไดอ ีกมมุ มองหนึ่ง ลักษณะการใชคําถามระหวา งการเลาเรื่อง หรือหลังจากปดทายเรือ่ งแลว จะเปนสวนสําคัญที่ ชวยพัฒนาความคิดของผูเรียนในหองเรียนอยูเสมอ นักเรียนจะไมใชเพียงผูรับสารเทาน้ัน แตตองพยายาม เช่ือมโยงความคิด ประสบการณสวนบคุ คลเขาไปในเรื่องเพื่อคนหาคําตอบหรือหนทางในการเสนอขอคิดเห็นของ ตนเองตอไป 3.1.2 การเลาโดยการเปรยี บเทยี บอปุ มา การเปรียบเทียบอุปมา (Analogy) เปนเทคนิคการใชทักษะเปรียบเทียบและเช่ือมโยงกับ ประสบการณเดมิ ในการเปรยี บเทียบประเด็น กรณีหรือปญหาท่ีกําลงั พิจารณากบั สิง่ ของ วตั ถุ หรือสภาพการณที่ สามารถเปรียบเทียบกันในเชิงโครงสรางหรือลักษณะที่มีความใกลเคียงกัน (พรทิพย แข็งขัน และเฉลิมลาภ ทอง อาจ, 2553) การเลาเรื่องวรรณคดีไทยโดยการเปรียบเทียบอุปมาจึงเปนการที่ครูหยิบยกส่ิงรอบตัวท่ีนักเรียนจะ เช่ือมโยงประสบการณหรือความเปรียบรวมสมัยกับวรรณคดีโบราณได และทําใหนักเรยี นเขาใจตัวละครที่มาจาก เรือ่ งราวไกลตัวไดเปน รูปธรรมมากยิ่งข้ึน กลวิธกี ารเปรียบเทยี บนผ้ี สู อนอาจยกตวั อยา งหรือเปดโอกาสใหผูเรยี นได เลือกหรือตีความตามประสบการณของตนเอง หากผูสอนเปน ผูเลือกใชก ารเปรยี บเทียบในการเลา ควรพิจารณาวา ความเปรียบหรือส่ิงท่ีนํามาเปรียบน้ันสื่อความไดชัดเจนและตรงกับลักษณะของเรื่องไดถูกตองเหมาะสมเพียงใด ดังตัวอยา งตอ ไปน้ี

204 วารสาร มจร พุทธปญ ญาปรทิ รรศน ปท ่ี 6 ฉบับท่ี 1 (มกราคม – เมษายน 2564) ตารางที่ 2 แสดงตัวอยา งการเปรยี บเทียบตัวละครในวรรณคดกี บั สิ่งตาง ๆ รว มสมัย วรรณคดเี รอื่ ง เหตกุ ารณ/ ตวั ละคร สิ่งทเี่ ปรยี บเทยี บ 1. เร่ือง พระอภัยมณี ตอนหนี นางผีเสอ้ื สมุทร ตัวการตูนแองเกอร จากเร่ืองภาพยนตร นางผเี สอื้ (โมโหรายและทํารา ยผอู น่ื ) Inside Out มีลักษณะรางกายสีแดง มีไฟลุก ทศี่ ีรษะ 2. รามเกียรต์ิ ตอนนารายณ นน ท ก ใ ช นิ้ ว เพ ช ร ช้ี ไ ป ยั ง หัวหนาที่มีอํานาจแลวใชไปในทางท่ีไม ปราบนนทก เทวดานางฟาลมตายจํานวน ถกู ตอง มาก ตารางท่ี 3 แสดงตวั อยา งการเลา เรอ่ื งวรรณคดไี ทยโดยใชการเปรียบเทยี บอปุ มา ตัวอยางการเลาโดยการเปรียบเทียบอุปมา 1. เรอ่ื ง พระอภัยมณี ตอนหนีนางผีเสอ้ื 1. นักเรยี นสังเกตภาพนแ้ี ลวเหน็ ลักษณะตัวละครอยา งไรบาง แนวคําตอบ ตวั ละครมีลักษณะสีแดง มีไฟลกุ โชนอยูบนศรี ษะ 2. ตัวละคร “แองเกอร” จากภาพยนตรเ รือ่ ง Inside Out น้มี ีไฟบนหวั นักเรยี นรหู รือไมไฟแทนความรสู กึ อะไร แนวคาํ ตอบ โกรธแคน ทําลายลาง 3. ไฟมีลักษณะอยา งไรบาง แนวคําตอบ รอ น เผาไหม ทาํ ลายลา ง 4. ตัวอยา งการเลาเร่ือง ตัวละครแองเกอรทําใหครูนึกถึงตัวละครในเร่ืองพระอภัยมณีที่มีลักษณะคลายกันก็คือนางผีเส้ือสมุทรเปน ผูหญิงทมี่ ีอารมณรุนแรง เมื่อพบเหตุการณท่ีไมพึงพอใจก็แสดงความโกรธและสามารถทายลางส่ิงรอบตัวได ดัง เหตุการณท น่ี างกลับมาพบวาพระอภัยมณีหนีไปจากถ้ํา จึงออกตามหาดวยความรสู ึกโกรธและทํารายครอบครัว เงือก และมุงจะทาํ รา ยสินสมทุ รทเี่ ปน ลูกชายอกี ดว ย 2. รามเกยี รต์ิ ตอนนารายณป ราบนนทก ครูมีเร่ืองเลาของบุคคลหนึ่งซ่ึงไดรับมอบหมายใหเปนหัวหนาในการทํางานใหสําเร็จ แตเขาไดใชอํานาจส่ังให สมาชิกคนอื่น ๆ ทําสิ่งที่ไมถูกตอง ปรากฏวามีสมาชิกบางคนไมยอมทําตาม หัวหนาไดลงโทษสมาชิกแตละคน นักเรียนคิดวาพฤติกรรมดังกลาวเหมาะสมหรือไม หัวหนาคนน้ีเหมือนกับตัวละครที่ช่ือ นนทก ท่ีไดนิ้วเพชร เสมอื นกับอาํ นาจแลว ใชชี้ใหเ หลา เทวดาท่ีเคยทาํ รายตนเองจนกระท่ังเทวดานางฟาลม ตายเปนจํานวนมาก จะเห็นไดวา การเปรยี บเทียบเปน การเช่อื มโยงเรื่องราวของตัวละครหรอื เหตุการณกับส่งิ ท่รี ว ม สมัย เชน ภาพยนตร การตนู เหตุการณจ ากสถานการณใกลต ัวหรือในชวี ิตประจําวัน โดยจะเปนการเช่ือมโยงสง่ิ ท่ี อยูไกลตัวแบบวรรณคดีโบราณ จะเห็นไดวาเมื่อมีการเปรียบเทียบตัวอยางกับบุคคล ลักษณะนิสัย หรือคุณสมบัติ ยอย ๆ ออกมาแลวเปรียบเทียบใหใกลเคียงกับสถานการณที่นักเรียนพบเห็นไดท่ัวไป หรือมีความใกลตัวก็จะชวย ใหนักเรียนมองและเขาใจตัวละครหรือเหตุการณไดมากยิ่งขึ้น โดยการเปรียบเทียบอาจจะมีคุณสมบัติหรือ รายละเอียดที่ไมสอดคลองกันทุกประเด็น แตนักเรียนจะไดฝกเปรียบเทียบและเชื่อมโยงคุณสมบัติเดน และฝก ทกั ษะการเปรยี บเทยี บและสามารถเสนอความคดิ เห็นได นอกจากการเลาโดยการเปรียบเทียบอุปมาของผูสอน นักเรียนอาจเสนอตัวอยางที่ตนเอง สามารถนึกถึงหรือเสนอความคิดเห็นเพิ่มเติมท่ีแตกตางออกไปได ซึ่งการฝกเปรียบเทียบจะชวยใหนักเรียนไดฝก กระบวนการคดิ และเชอ่ื มโยงประสบการณร ว มกันในช้นั เรียน

Journal of MCU Buddhapanya Review Vol. 6 No. 1 (January - April 2021) 205 การนําเสนอโดยการเปรียบเทียบจึงเปนการฝกฝนกระบวนการคิดเพ่ือเชื่อมโยงลักษณะสําคัญ เขากับสิ่งท่ีเปนรูปธรรมใกลตัว นักเรียนจะเขา ใจภาพหรือความหมายไดมากย่ิงข้ึนจากส่ิงที่อุปมาหรือเรื่องเลาเชิง เปรยี บเทียบซึง่ เปน การเชอื่ มโยงวรรณคดีสูช วี ิตประจาํ วันหรือใกลต วั ผเู รียนมากยง่ิ ขน้ึ 3.1.3 การเลาโดยใชสือ่ ภาพประกอบการเรียนการสอน การเลือกใชส ื่อการสอนเปนสงิ่ สาํ คญั อกี ประการหนึ่งท่ีใชประกอบการเลา เร่ืองวรรณคดีไทยให มีความนาสนใจ ดังท่ี อัจฉรา ชีวพันธ (2557: 168) ไดกลาวไว สรุปไดวา สื่อการสอนเปนสิ่งท่ีมีความสําคัญตอ การเรียนการสอนภาษาไทย เปนผูชว ยและเคร่ืองผอ นแรง หากครอู ธิบายอยา งเดยี วโดยไมมีสอ่ื การเรียนการสอน ก็คงไมเกดิ ความเปน รปู ธรรม ดงั คาํ กลา วท่วี า ภาพหนง่ึ ภาพมีคามากกวา คาํ พดู พนั คํา สื่อภาพหรือแผนภาพจัดเปนส่ือประเภทวัสดุประเภทหน่ึงที่สามารถเลือกใชไดงาย สามารถ ผลิตข้ึนเอง และกระตุนกระตุนความสนใจจากผูเรียนไดเปนอยางดี นอกจากน้ีการใชภาพประกอบการเลาเรื่อง ท้งั ในรูปแบบแผนภาพ ภาพเคล่ือนไหว หรือการนําเสนอภาพผานสื่ออิเลก็ ทรอนิกสชวยใหผูเรียนเกิดความสนใจ เรื่องราววรรณคดีไทยไดมากย่ิงข้ึน แตขอพึงระวังคือนักเรียนอาจละเลยการอานตัวบทอยางละเอยี ดซึ่งขอ จํากัดน้ี อาจใชใ นการพัฒนาสื่อประกอบการนําเสนอเรื่องราววรรณคดีไทยไดตอไป ปจจุบันมีส่ือภาพประกอบในรูปแบบ Motion Graphic ซึ่งมีลักษณะของภาพเคลื่อนไหว ประกอบการเลาเรอ่ื งราว ทําใหการเลาของผูสอนไมไดมีจุดสนใจเพียงครูผูนําเสนอเทานั้น แตครูจะเปนผูสรางสื่อ หรือเลือกใชสือ่ มาประกอบการเลาของตนเองใหมีความนาสนใจไดดีมากย่ิงขึ้น ในท่ีนผี้ ูเขยี นจะนําเสนอสื่อภาพใน ลักษณะของแผนภาพท่ีสามารถประยุกตใชเปนสื่อวัสดุ หรือส่ืออิเล็กทรอนิกส โดยครูจะตองคัดเลือกเหตุการณ สาํ คญั ของเร่อื ง จากน้ันมีการสลับแผนภาพแลวกาํ หนดใหเรียงลําดับตามเวลาหรือลําดับเหตกุ ารณที่เกิดข้ึน โดยใน ข้ันตนกอนเรียนนักเรียนจะไดฝกฝนทํานายหรือคาดเดาเหตุการณในเร่ืองโดยที่ยังไมไดเรียน จากนั้นเม่ือจบ กจิ กรรมของการอานและการฟงเร่ืองราวแลว นกั เรียนจะไดทดสอบการสรุปเน้ือหาหรือเหตุการณสําคญั ของเร่ือง และสามารถเขียนหมายเลขหรอื เรียงลําดบั แลวพดู หรือเขียนนําเสนอเหตุการณตามลาํ ดบั เวลาใหถูกตอง ขอควรพจิ ารณาในการเลือกใชส ื่อภาพประกอบการเลา เรื่อง คือผสู อนสามารถใชเทคนิคการใช คําถามมาประกอบการนําเสนอสื่อไดในทุกขั้นตอนเชนเดียวกับการใชคําถามประกอบการเลาเรื่อง การนําเสนอ วรรณคดีไทยผานส่ือภาพประกอบนี้จะเปนการเปลี่ยนบทบาทจากการเลาเร่ืองโดยผูสอน เปนการเลาเร่ืองโดยใช ส่ือและผูสอนเปนผูจัดการหองเรียนและใชเทคนิคการนําเสนอประกอบคําถามมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรู ทั้งน้ีนักเรียนจะไดเปล่ียนไปมีปฏิสัมพันธกับสื่อเพ่ิมเติม และผูสอนสามารถเช่ือมโยงมาสูตัวบทท่ีนาสนใจได อกี ครง้ั หน่งึ การใชสอ่ื ภาพประกอบการนําเสนอจะชวยกระตนุ ความสนใจและกระบวนการคิดเพื่อคาดเดา คําตอบ และใชภาพเปนตัวนําความสนใจ นอกจากน้ีครูยังสามารถพัฒนาส่ือเปนภาพเคลื่อนไหว หรือดัดแปลง รปู แบบการนําเสนอที่ทันสมัยซึ่งนาํ ไปสูค วามเขาใจเน้ือหาไดอยางรวดเร็ว และสรุปเนื้อหาในตอนทายผา นการเลา เร่ืองไดอ ีกครงั้ หนึ่ง 3.2 การเลาเรื่องในฐานะ “ผูเรยี น” การจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง (Student-centered learning) ควรมีการสงเสริมให ผเู รียนไดม ีปฏิสมั พนั ธท ั้งกบั บคุ คลและสอ่ื ดงั น้นั ในหองเรียนภาษาไทยจึงควรเปดโอกาสใหน กั เรียนไดมปี ฏสิ ัมพันธ กับเน้ือหาตัวบทวรรณคดีไทย ครู และเพ่ือนในหองเรียนผานการลงมือปฏิบัติกิจกรรม และใชทักษะการสื่อสาร รวมไปกับการพัฒนากระบวนการคิด ทั้งจากการรับสารผานการอานหรือการฟง และสามารถสงสารสรุปเน้ือหา ผานการเลา เร่ืองดว ยการพูดและการเขียนในรปู แบบตาง ๆ โดยผูเขียนไดน ําเสนอแนวทางการประยกุ ตใชเทคนิคที่

206 วารสาร มจร พทุ ธปญญาปริทรรศน ปท ี่ 6 ฉบับท่ี 1 (มกราคม – เมษายน 2564) ชวยสงเสริมการสรุปเน้ือหาวรรณคดีและวรรณกรรมผานการเลาเรื่องในรูปแบบตาง ๆ โดยนําเสนอหลักการและ ข้ันตอนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู ดังตวั อยา งตอไปนี้ 3.2.1 กจิ กรรมเลาเร่อื งตอ เนอ่ื งกันคนละประโยค วรรณคดีไทยสวนหน่ึงมีลักษณะของเนื้อหาท่ีเปนเรื่องราวตามลําดับเหตุการณเอ้ือตอการเลา เรื่อง ผูสอนสามารถใหนักเรียนสรุปเหตุการณสําคัญของเร่ืองเรียงลําดับตามเวลา โดยกิจกรรมการเรียนรูควรจะ เปดโอกาสใหผูเรียนไดฝกทักษะการคิดเพ่ือสรุปใจความสําคัญหรือเหตุการณสําคัญที่มีความเปนเหตุเปนผล ตอเน่ืองกัน จากการตอบคําถามสําคัญ 5W1H ไดแก “ใคร ทําอะไร ที่ไหน อยางไร เพราะเหตุใด อยางไร” ทง้ั น้ผี ูเรยี นจะไดฝก เรียบเรียงประโยคทเ่ี ปน เหตกุ ารณส ําคญั ใหเกิดความเขาใจจนจบเร่ือง ตัวอยา งการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูสรปุ เน้ือหาเรอ่ื ง ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา 1. ใหผูเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-8 คน กําหนดใหแตละคนอานหรือฟงเรื่องราชาธิราช ตอน สมงิ พระรามอาสา 2. สมาชิกแตละคนจับสลากเพื่อกําหนดหมายเลขเรียงลําดับเหตุการณที่ 1 – เหตุการณที่ 8 (ปรับตามความสอดคลอ งกับโครงเรอ่ื ง) 3. แตละคนเรียบเรียงประโยคเหตุการณสําคัญตอเน่ืองกัน โดยกําหนดใหคนท่ีไดหมายเลข 1 สรปุ เหตุการณใหเปน ประโยคท่ีสือ่ ความหมายและถูกตองตามหลักการใชภ าษาเปนคนแรก จากนั้นใหสมาชกิ ท่ีจับ ไดห มายเลขตอ ไปสรปุ เหตุการณตอ เนอ่ื งกนั จนจบ โดยสมาชิกคนสดุ ทา ยจะตอ งสรปุ เหตกุ ารณป ดเรือ่ ง ตวั อยางการแตงประโยคสรปุ เนอ้ื เรื่อง - พระเจากรุงจีนยกกองทัพมายังกรุงอังวะแลวทาพระเจาฝร่ังมังฆองสงคนมารําเพลง ทวนสกู นั - พระเจากรุงจีนตงั้ เงอ่ื นไขวา หากฝายองั วะแพจะตองถกู ยึดเมือง - พระเจา กรุงองั วะประกาศหาผูมีฝม ือมาประชนั กับกามะนีของฝายกรุงจนี - สมิงพระรามเปนทหารมอญถกู คุมขงั ไวขออาสาราํ เพลงทวนสูกบั กามะนี - สมิงพระรามรบชนะและตัดศรี ษะกามะนีทําใหฝายกรงุ องั วะชนะการประชนั - พระเจากรงุ องั วะพระราชทานรางวลั และใหส มิงพระรามอภิเษกกับพระราชธดิ า - พระเจา กรงุ อังวะตรสั เรยี กพระนัดดาวาเปนลูกเชลยเมอื่ ตอนซุกซนไปเลนผมพระองค - สมิงพระรามนอ ยใจจงึ หนกี ลบั ไปยงั กรงุ หงสาวดี 4. ใหสมาชิกแตละคนนําเหตุการณมาเรียงตอกันทีละขอลงในกระดาษ จากนั้นใหรวมกัน ปรับเปลยี่ นประโยคและใจความสาํ คญั ของแตละเหตุการณใ หส มบูรณทส่ี ดุ 5. ตัวแทนกลุมนําเสนอโดยการเลาเรื่องสรุปเน้ือหาเร่ืองราววรรณคดีไทย โดยสามารถใชสื่อ ประกอบ เชน รูปภาพ หรือแผนผังตัวละครประกอบการเลาเร่ือง จากนั้นประเมินผลการสรุปเน้ือเรื่องของ แตล ะกลมุ 3.2.2 กิจกรรมนกั เลา นิทานผานผงั กราฟก ผังกราฟก (Graphic Organization) เปนเคร่ืองมือที่ใชในการจัดการขอมูล โดยนํามาสรุป ตีความ หาความหมาย และการเช่ือมโยงความสัมพันธระหวางขอมูลตาง ๆ และสุดทายนําขอมูลที่ไดถูกจัดเปน ระบบโดยผา นกระบวนการคดิ นาํ มาใชใ นการแกปญ หาหรือนาํ มาใชง านได (วลยั อิศรางกูร ณ อยธุ ยา, 2555) ผังกราฟกจึงเปนลักษณะของการจัดกลุมขอมูล โดยการวิเคราะหลักษณะของเน้ือหา จากนั้น จึงกําหนดคําสําคัญและเช่ือมโยงคํา ขอความ ประโยคเหลานั้นเขาดวยกันเปนกลุม สามารถใชเสนและสีโยงกลุม ขอ ความท่ีเปนหมวดหมูเดยี วกันเขา ไวด วยกัน ผงั กราฟกสามารถใชเปน ส่อื ที่นกั เรยี นออกแบบเพอ่ื ประกอบการพูด นําเสนอสรปุ เนื้อหาวรรณคดี โดยมีขั้นตอนในการประยุกตใชเทคนิค ดังน้ี 1) แบง กลุมระดมสมองกาํ หนดคาํ สาํ คัญ

Journal of MCU Buddhapanya Review Vol. 6 No. 1 (January - April 2021) 207 2) เลือกรูปแบบแผนผังและสรางผังกราฟก 3) ลําดับเหตุการณของตัวละครตามเนื้อหาและลําดับเวลา 4) ออกแบบผงั กราฟกและเตรยี มนําเสนอ และ 5) พูดนาํ เสนอเรื่องราวผา นผังกราฟก ตัวอยางการจัดกิจกรรมการเรียนรูสรุปเน้ือหาบทละครในเรื่อง รามเกียรต์ิ ตอนนารายณ ปราบนนทก 1. ใหผูเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน กําหนดใหแตละคนอานหรือดูสื่อวีดิทัศนบทละครใน เรอื่ ง รามเกยี รต์ิ ตอนนารายณป ราบนนทก 2. สมาชิกระดมสมองกําหนดคําสําคัญ เชน ชื่อตัวละคร สถานท่ีสําคัญ เหตุการณสําคัญ จากนั้นใหร วมกันสรปุ เน้ือเรอื่ งยอเขียนเรียบเรยี งลงในกระดาษ 3. ผูสอนนําเสนอผังกราฟกแตละแบบ โดยเสนอตัวอยางผังเร่ืองราว (Story Map) แตละ รูปแบบ จากนัน้ ใหแ ตล ะกลมุ เลอื กแผนผงั ท่ีตนเองพจิ ารณาเหน็ วา เหมาะสมกับเน้ือเรื่อง 4. ใหสมาชิกแตละคนรวมกันเขียนแยกแยะเหตุการณจากเน้ือเรื่องยอเปนประโยค เรียง ตามลําดับเวลาและความตอ เนื่องกัน จากนั้นนาํ มาเขียนลงในผังกราฟก หรือออกแบบผงั กราฟกเปน แผนโปสเตอร ใหส วยงามและส่อื สารเหตกุ ารณไ ดอ ยางเปน ระบบ 5. ตัวแทนกลุมนําเสนอโดยการเลาเร่ืองตามลําดับเหตุการณในผังกราฟก โดยอาจใชส่ือ อปุ กรณอ่นื ๆ ประกอบ เชน ภาพเหตกุ ารณสําคัญประกอบการเลาเรื่อง จากนัน้ ประเมนิ ผลการสรปุ เนอ้ื เร่อื งในผัง กราฟก และการพูดนําเสนอของแตล ะกลุม 3.3.3 กจิ กรรมตวั ตอเรื่องราวเลาวรรณคดี การเลาเร่ืองราววรรณคดีไทยตองอาศัยการเชื่อมโยงเหตุการณคําสําคัญในเรื่อง ผูเลาจึงตอง สามารถระบุเหตุการณท่ีเกี่ยวของกับตัวละครและเหตุการณในเรื่องไดถูกตองตามลําดับเวลา อยางไรก็ตาม การ เ ล า ส รุ ป เ นื้ อ เ ร่ื อ ง ว ร ร ณ ค ดี ไ ท ย ต อ ง อ า ศั ย ก า ร อ า น เ พื่ อ ค ว า ม เ ข า ใ จ แ ล ะ ส า ม า ร ถ เ ช่ื อ ม โ ย ง คํ า สํ า คั ญ ตาง ๆ ในเรื่องเขาไวดวยกันได การสรุปเน้ือเร่ืองจากคําสําคัญที่แบงเปนช้ินสวนจึงเปรียบเสมือนตัวตอท่ีใช ประกอบกันเปนเรื่องราว โดยประสานเนื้อหาเขาดวยกนั ใหสมบรู ณเหมือนการตอภาพจิ๊กซอว ทัง้ น้ีชิ้นสวนตาง ๆ จะไมใชเหตุการณท่ีถูกแบงเปนสวน ๆ แตจําเปนตองเขาใจเรื่องราวและปะติดปะตอเน้ือเร่ืองและตอบคําถาม ทบทวนความเขาใจใหส มบูรณม ากทสี่ ดุ หลังการปฏบิ ัติกจิ กรรม ตัวอยา งการจัดกจิ กรรมการเรยี นรสู รุปเนอื้ หาเร่อื ง พระอภัยมณี ตอนหนนี างผเี สอ้ื 1. ใหผูเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน สงตัวแทนรับอุปกรณโดยมีซองกระดาษประกอบดวย คาํ สาํ คัญในเร่อื ง พระอภัยมณี ตอนหนนี างผเี สื้อ ดงั นี้ พระอภัยมณี พอแมเ งือก วางแผน สินสมุทร นางเงือก ถาํ้ ใตทะเล เกาะแกวพิสดาร นางผีเสื้อ 2. สมาชิกแตละกลุมคาดเดาเหตุการณจากคําสาํ คัญที่กําหนดให จากน้ันเขียนสรุปเนื้อเรื่องลง ในกระดาษ 3. ใหสมาชิกแตละกลุมศึกษาส่ือหรืออานเน้ือเร่ือง พระอภัยมณี ตอนหนีนางผีเส้ือ จากน้ันให ตอบคําถามวา เร่อื งราวตรงกับทีค่ าดเดาไวตอนตนหรือไม 4. ใหสมาชิกแตละคนนํากระดาษคําสําคัญมาเรียงลําดับลงในประดาษแผนใหญ จากนน้ั เขียน สรปุ เหตุการณเช่ือมโยงจนจบเรื่อง และตกแตง ภาพตัวละครหรอื ฉากสาํ คญั ลงในกระดาษ 5. ตัวแทนกลุมนําเสนอโดยการเลาเรื่องสรุปเนื้อหาเรื่องราววรรณคดีไทย โดยใชสื่อ ประกอบการเลา เรือ่ งจากกรดาษทแ่ี ตล ะกลุม ออกแบบรว มกัน จากนน้ั ประเมินผลการสรุปเนอ้ื เรอ่ื งของแตล ะกลุม

208 วารสาร มจร พุทธปญ ญาปรทิ รรศน ปที่ 6 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม – เมษายน 2564) 4. ทักษะการเลาเรอ่ื งวรรณคดไี ทย: การนําเสนอในฐานะผสู ง สาร เปาหมายสําคัญของการจัดกิจกรรมการเรียนรูรายวิชาภาษาไทยคือ ผูเรียนควรไดรับการพัฒนาทักษะ กระบวนการคิดควบคูไปกระบวนการส่ือสาร การสรุปเนื้อหาผานกิจกรรมตา ง ๆ ดงั ทน่ี าํ เสนอมาในหัวขอทผี่ านมา ขา งตนเปนแนวทางข้ันตน ที่จะเห็นไดวา ผเู รียนสามารถใชกระบวนการสื่อสารเพ่ือสรปุ เน้อื หาไดห ลากหลายทกั ษะ ดงั แผนภาพสรปุ องคค วามรตู อไปน้ี แผนภาพแสดงกิจกรรมทักษะทางภาษาท่ีสัมพนั ธกับการสรุปเนือ้ หาวรรณคดีและวรรณกรรม จากแผนภาพขางตนจะเหน็ ไดวา การสงสารเพือ่ สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมสามารถสรางช้นิ งาน หรอื ภาระงานผานทกั ษะทางภาษาทีส่ ําคญั ดังนี้ 1. การพูด เปนการสงสารทส่ี ําคัญและสามารถใชเพื่อนําเสนอในชน้ั เรยี น ท้ังการเปดโอกาสใหนักเรียนพูด เด่ียว/คู/กลุม โดยสามารถใชการพูดสรุปความ หรือพูดรายงานเร่ืองจากการฟงโดยใชแผนผังประกอบการสรุป เนื้อหา การสงเสริมทักษะดังกลาวจะชวยใหนักเรียนไดใชวรรณคดีเปนสื่อในการอานเรื่องที่มีความยาก และ สามารถท่ีจะสรุปแลวนํามาพูดถายทอดนําเสนอดวยวิธีการตาง ๆ ผูเรียนจะไดฝกฝนทักษะการคิดเพื่อแปลความ ตีความจากการอาน จากน้ันจึงมีการวิเคราะหเพ่ือสรุปประเด็นหรือเหตุการณสําคัญ ตอมาผูเรียนตองมีการ เตรยี มการกอนการนาํ เสนอ สามารถใชน้าํ เสียงผานการสือ่ สารวัจนภาษา และเลือกใชอวัจนภาษาประกอบการพูด ไดอ ยา งเหมาะสม 2. การเขียน เปน การถายทอดกระบวนการคิด และนําเสนอขอความทเี่ รยี บเรยี งข้ึนอยา งถกู ตองตามหลัก ไวยากรณและสื่อความไดตรงตามจุดประสงค ทั้งน้ีอาจกําหนดใหผูเรียนสรุปเปนแผนผังความคิด ผังลําดับ เหตุการณ ซึง่ ถือเปนการสรา งช้ินงานท่ีสามารถประเมินทง้ั ทักษะและกระบวนการคิดวิเคราะหควบคูกนั เน่ืองจาก การเขียนแผนผงั เปนกระบวนการท่ีตอเนอ่ื งจากการอา นหรือการฟงสาร และสามารถสรุปเน้อื หาในรูปแบบแผนผัง ซ่ึงเปนเทคนิคหนึ่งที่ผูเรียนจะไดเชื่อมโยงความคิดขององคประกอบตาง ๆ หรือเหตุการณสําคัญที่มีความ ตอเนื่องกัน จากนั้นนําเสนอผานแผนผังที่ชวยใหผูเรียนฝกการวิเคราะหและจัดลําดับขอมูล หรือการเขียนสรุป ความใหถูกตอง สละสลวย สามารถเรียบเรียงประโยค ขอความที่มีความเปนเหตุเปนผลกัน และ สามารถสราง เสริมความคิดสรางสรรคและพัฒนาการสรางแผนผังในรูปแบบตาง ๆ ท่ีนักเรียนออกแบบเพ่ือสื่อสารความเขาใจ เนอ้ื หาอยางมีปฏสิ มั พันธในชน้ั เรยี นไดตอ ไป

Journal of MCU Buddhapanya Review Vol. 6 No. 1 (January - April 2021) 209 3. การอาน การอานโดยท่ัวไปเปนการรับสารเพ่ือรับรูความหมาย แตการอานออกเสียงนับเปนการอาน อกี ประเภทหนึ่งทีส่ ามารถนํามาใชใ นการประเมนิ ทกั ษะของผูเรยี นในฐานะผูสงสารได เชน ในการนาํ เสนอการสรุป เน้ือหาวรรณคดีและวรรณกรรม ผูสอนอาจกําหนดใหคัดเลือกวรรคทองหรือวรรคสําคัญท่ีสัมพันธกับเหตุการณ หลักในเร่ืองมาอานประกอบการนาํ เสนอ โดยนักเรียนตอ งฝกฝนการอา นออกเสียงบทรอยกรองใหถกู ตอ งตามฉนั ท ลักษณ และสามารถถา ยทอดอารมณความรูสึกไดสัมพันธกับเหตุการณในเร่ืองได วธิ ีการดังกลาวจะทําใหนักเรียน ไมเพียงสรุปเน้ือหาเพื่อใหเขาใจเทาน้ัน แตยังไดพิจารณาตัวบทวรรณคดีรอยกรองและใชทักษะการคิดเพ่ือ วิเคราะหบทรอยกรองท่ีมีความสําคัญ และสัมพันธกับเหตุการณที่จะนําเสนอ ทําใหผูเรียนไดศึกษาตัวบทอยาง ละเอียดและชวยใหเ กดิ การอา นอยางละเอยี ดไดอกี ดวย บทสรปุ แนวทางการประยกุ ตศาสตรการเลาเรอ่ื งสกู ารสอนวรรณคดีไทยในระดับมธั ยมศึกษา เปนการนําหลักการ ของ “ศาสตรการเลาเร่ือง” มาใชในหองเรียนภาษาและวรรณคดีไทย เพื่อสงเสริมความรูความเขาใจเน้ือหา เหตุการณ อารมณความรูสึกของตัวละครจากตัวบท โดยจะตองคํานึงถึงปจจัยตาง ๆ ของเน้ือเร่ือง ไมตีความ ผดิ เพี้ยนไปจากเดิม และนําองคความรูนั้นมาประยกุ ตเ ปนการจดั กิจกรรมการเรียนรูในหองเรียนที่สามารถกระตุน ความคิดและพัฒนาความสามารถในการรับสาร และสามารถสงสารเพ่ือสรุปเน้ือหาของวรรณคดีและวรรณกรรม ตามที่ตัวช้วี ดั ไดระบไุ วเ พื่อใหส อดคลองกบั มาตรฐานการเรียนรู การเปดโอกาสใหนักเรียนไดเปนผูเลาเรื่องเพ่ือสรุปเนื้อหานับเปนกิจกรรมสําคัญประการหนึ่งที่นักเรียน จะไดตอบสนองตอวรรณคดีท่ีอานในขั้นตน เพ่ือทดสอบความเขาใจ และเพ่ือใหผูเรียนมีความเขาใจมโนทัศนของ เน้ือหาที่ถูกตอง กอนจะลงมือปฏิบัติกิจกรรมเพื่อแสดงความคิดเห็นและวิเคราะหเพื่อใหฝกฝนการตอบสนองตอ วรรณคดีในขนั้ สงู ตอไป ทั้งน้ีบทบาทของผูเรียนที่สามารถสรุปเนื้อหาและตอบสนองขั้นตนตอวรรณคดีผานการเลาเร่ืองได อยางมีประสิทธิภาพ จะสงผลใหเกิดความสนุกสนานในการศึกษาวรรณคดี เราความสนใจ และเปนการสราง แรงจูงใจใหผูเรียนรักการอานผานงานวรรณกรรม สามารถนําไปสูความรูสึกในเชิงบวกตอวรรณคดีในฐานะมรดก ทางวฒั นธรรม เกิดความซาบซงึ้ และนาํ ความประทับใจไปสรางสรรคในรปู แบบใหมท่ีตอบสนองตอโลกในศตวรรษ ที่ 21 รายการอา งอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหง ประเทศไทย. ชนาธิป พรกุล. (2557). การสอนกระบวนการคิด: ทฤษฎีและการนําไปใช. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแหง จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลัย. พรทิพย แข็งขัน และเฉลมิ ลาภ ทองอาจ. (2553). โมดูล 5 การจัดการเรียนรูภาษาไทยเพื่อพัฒนากระบวนการคิด ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน ใน คูมอื ฝกอบรมภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนตน. กรุงเทพมหานคร: คณะ ครศุ าสตร จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลยั . พัชรา วาณิชวศิน. (2562). เทคนิคการเลาเร่ือง: เคร่ืองมือสอนที่มีศักยภาพ. ใน วารสารครุศาสตร อุตสาหกรรม. 18(3): 281-291. ยพุ ร แสงทกั ษณิ . (2559). แมเล้ียงเดย่ี วในวรรณคดีไทย. กรงุ เทพมหานคร: สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ัน พ้ืนฐาน.

210 วารสาร มจร พุทธปญญาปริทรรศน ปท ี่ 6 ฉบบั ท่ี 1 (มกราคม – เมษายน 2564) วลยั อิศรางกรู ณ อยุธยา. (2555). ครสู งั คมศึกษากบั การพัฒนาทักษะแกนกั เรียน. กรุงเทพมหานคร: สาํ นกั พมิ พ แหง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. อัจฉรา ชีวพันธ. (2557). ภาษาพาสอน: เร่ืองนารูสําหรับครูภาษาไทย. พิมพครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร: สาํ นกั พมิ พแหงจฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย.

พุทธวธิ ใี นการจดั การทนุ มนุษยในพุทธศาสนา Buddhist methods of managing human capital in buddhism วิภาวดี สตี นไชย1, และ กัมปนาท วงษว ัฒนพงษ Wipawadee Seetonchai1, kampanart wongwatthanaphong วทิ ยาลยั การจดั การและพฒั นาทอ งถิน่ มหาวยิ าลัยราชภัฏพิบูลสงคราม College of Local Management and Development Pibulsongkram Rajabhat University 1E-mail : [email protected] Received 23 August 2020; Revised 21 January 2021; Accepted 23 March 2021 บทคัดยอ บทความน้ีมีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษาระบาวนการจัดการทุนมนุษยตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา พบวา พุทธวิธีในการจัดการทุนมนุษยในพุทธศาสนา เปนกระบวนการจัดการทุนมนุษยท่ีพระพุทธองคนํา หลักธรรมมาเปนหลักในการจัดการทุนมนุษยโดยนําหลักบัว 4 เหลามาวิเคราะหจําแนกอุปนิสัยคนเพื่อเตรียม ความพรอมในการสรางรากฐานของทุนมนุษยท่ีมุงเนนไปที่ใจซึ่งเปนดังเข็มทิศช้ีนําทางมุงไปสูการกําหนดรู ขันธ 5 ซึ่งหลักเหลาน้ีเปนรากฐานท่ีสําคัญในการสรางทุนมนุษย การนําเอาหลักพุทธเศรษฐศาสตรมาตีเปน กรอบสําคัญในการดําเนินชีวิตประจําวันของทุนมนุษยบนพื้นฐานเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน และประการ สดุ ทายการพัฒนาทุนมนุษย จําตองอาศยั หลักปญญา 3 ท่ีจะคอยชวยฝกอบรมพัฒนาศักยภาพใหกบั ทุนมนุษย เองใหเปนทุนมนุษยทสี่ มบูรณดวยความรูและความประพฤติกลา วคอื รูดีและประพฤติชอบ รวมท้ังใหทุนมนุษย รูจักแกไขปญหาดวยตนเองตามหลักอริยสัจ 4 ทั้งนี้เม่ือทุนมนุษยไดถูกพัฒนาใหเปนทุนมนุษยท่ีสมบูรณแลวก็ จะเปนกลไกที่สําคัญในการขับเคลื่อนองคกรกอใหเกิดประสิทธิภาพในการทํางานในองคกรทุกระดับภาคบน เงอ่ื นไขกระแสยุคโลกาภิวัตน คําสาํ คญั : พุทธวธิ ี, การจดั การ, ทุนมนุษย, พุทธศาสนา Abstract This article aims to study human capital management processes according to Buddhist principles. Buddhist methods of managing human capital in Buddhism It is the human capital management process in which the Buddha brings the principles as the principle of human capital management by applying the four lotus principles to analyze and classify human traits in order to prepare them for the foundation of human capital focused on the mind, which is the compass. Guiding the path towards determining the knowledge of Khan 5, these principles are the cornerstone of human capital building. Applying the principles of Buddhist economics as a key framework for the daily life of human capital based on the globalized economy. And lastly, human capital development It is necessary to rely on the three principles of wisdom that will help train and develop the potential of human capital itself to become a complete

212 วารสาร มจร พุทธปญ ญาปรทิ รรศน ปท ่ี 6 ฉบับท่ี 1 (มกราคม – เมษายน 2564) human capital through knowledge and behavior, that is, knowing and behaving. Including human capital to solve problems on their own according to the four noble truths, when human capital has been developed into a complete human capital, it will be an important mechanism in driving the organization to create efficiency in organizations at all levels. On the conditions of globalization Keyword : Buddhist method, Management, Human Capital, Buddhism บทนํา “มนษุ ย” (Human) จดั วาเปน “ทุน” (Capital) ทีส่ ําคญั ที่สุดในการขับเคลื่อนองคก ร เน่อื งจากมนษุ ย เปนส่ิงมีชีวิตชนิดเดียวในโลกท่ีสามารถสรางสรรคส่ิงอันเปนประโยชนอเนกอนันตใหกับองคการได อนงึ่ ประโยชนท่ีมนุษยสรางใหก ับองคก รนั้นหาใชม าจากกําลังกายแตเพียงอยางเดียวไม สงิ่ ท่ีสําคญั ย่งิ กวาน้นั ก็ คือกําลังสมองที่มีอยูในตัวมนุษยน่ันเอง ซึ่งถือวาเปนทรพั ยภายในอันจะกอใหเกิดประโยชนตอองคกรมากมาย โดยเฉพาะอยางยิ่งในยุคปจจุบันซ่ึงถือวาเปนยุคแหงการเปลี่ยนแปลงที่เรียกกันวา“กระแสโลกาภิวัตน” (Globalization) ตองยอมรับวา “ทุนทางปญญา” (Intellectual Capital) ซ่ึงเปนสินทรัพยท่ีจับตองไมได (Intangible Asset) มีความสําคัญมากขึ้นเรื่อย ๆ (จิรประภา อัครบวร, 2552) โดยเฉพาะอยางย่ิงสังคมและ เศรษฐกิจปจจุบันกําลังมุงเขาสูยคุ เศรษฐกิจฐานความรู ทุกองคกรไมวาภาครัฐ เอกชน องคกรรัฐวิสาหกิจ ตาง ลวนใหความสําคัญเรื่องการบริหาร “คน” อันเปนเร่ืองท่ีทุกองคกรไมสามารถหลีกเลี่ยงไดอีกตอไป เฉก เชนเดียวกับรถที่ตองการนํามันในการการขับเคล่ือน องคกรตองการบุคลากรท่ีมีความรู ความคิด ผลงาน เพื่อใหองคกรบรรลุวัตถุประสงค หรือวิสัยทัศนขององคกรได ดังน้ันทุกองคกรจึงตองพ่ึงพิงทุนมนุษย(Human Capital) เพื่อจะทําใหองคกรสามารถประสบความสําเร็จไดในสภาพเศรษฐกิจปจจุบัน (จิรประภา อัครบวร, 2552) ดวยเหตุนี้ก็ย่ิงเปนเหตุทําใหสินทรัพยท่ีจับตองไมได เชน ความรู (Knowledge) ทักษะ (Skill) ความสามารถ (Competency) ตลอดจนประสบการณ (Experiences) กลายเปนส่ิงท่ีมีพลังอํานาจมหาศาล ซ่ึงส่ิงที่กลาวมาท้ังหมด ไมวาจะเปน ความรู ทักษะ ความสามารถ ลวนแลวแตเปนทรัพยที่มีอยูในตัวมนุษย ทงั้ น้ัน รวมเรยี กวา “ทนุ มนษุ ย” (Human Capital) นน่ั เอง ในปจจุบันแตละองคกรเร่ิมเปดเวทีแขงขันกันอยางไรพรมแดน แตในความเปนจริงเปนท่ีนาผิดหวัง เพราะนโยบาย กระบวนการ โครงการและกิจกรรมทางการบริหารทรัพยากรบุคคล (HRM) ของหลาย ๆ องคกรไมไดเอื้อเฟออํานวยใหนําทรัพยากรบุคคลเหลานั้นมาใชในฐานะท่ีเปน “ทุน” (Human Capital) เน่ืองจาก “ฝายบุคคล” ขององคกรสวนใหญยังเนนงานปฏิบัติ (Operational Focus) อยางเชน การสรรหา คัดเลือก พัฒนา รักษา และใชทรัพยากรบุคคลใหงานไดสําเร็จไดลุลวง ถา HRM ไมสามารถปรับเปลี่ยนให สอดคลองกับส่ิงท่ีทาทายในยุคเศรษฐกิจท่ีเนนองคความรู (Knowledge Economy) ไดแลว แทนที่ HRM จะชวยใหองคกรไดเปรียบเชิงการแขงขัน (Competitive Advantage) กลับกลายเปนตัวถวงขององคกร (สํานักงานพัฒนาและวจิ ัยระบบงานบุคคล สํานักงานขาราชการพลเรือน, 2547) ทุกองคกรใหความสาํ คญั ก็คือ “การจัดการทุนมนุษย” วาองคกรของตนจะสรางธนาคารทุนมนุษยขึ้นมาไดอยางไร ทั้งนี้เพ่ือเตรียมพรอมกับ การสูรบในการแขงขัน อน่ึง หลักการและทฤษฎีการจัดการทุนมนุษยท่ีแตละองคนํามาใชลวนแลวแตเปน หลกั การและทฤษฎที ่ีมาจากตะวันตกท้ังส้ิน ซึ่งทุนมนุษยทีน่ ักวิชาการตะวนั ตกกลา วถึงกค็ ือสินทรัพยภายในอัน ไดแก ความรู ทักษะ ความสามารถ ตลอดจนประสบการณ ซ่ึงเปนคุณสมบัติของ “คนเกง” (Talent) การสรา งคนเกง เพื่อมาเปน ทุนมนุษยใ นองคก รเปน เรอื่ งทท่ี ุกองคกรกระทําไดโ ดยไมยากนัก แตการที่จะสรางคน ที่ทั้งเกงท้ังดีใหเปนทุนมนุษยในองคกรเปนเรื่องที่ทําไมงายเลย ในบางองคกรประสบปญหาการจัดการทุน

Journal of MCU Buddhapanya Review Vol. 6 No. 1 (January - April 2021) 213 มนุษยทั้ง ๆ ท่ีก็มีคนเกงอยเู ปนจํานวนมากแตก ็ไมสามารถจัดการกับคนเกงเหลานั้นใหอยูกับองคกรไดตลอดไป เพราะความเกงยังไมถูกเติมเต็มดวยความดีท่ีจะทําใหเปนทุนมนุษยท่ีสมบูรณได ดวยเหตุน้ีพระพุทธศาสนา จึงเขามามีบทบาทมากในการจัดการทุนมนุษยในยุคโลกาภิวัตนท่ีมีการเปล่ียนแปลงอยูเสมอ เพราะ พระพุทธศาสนาเปนศาสนาแหงการสรางความเกง (วิชชา) และความดี (จรณะ) ทําใหผ ูที่ปฏิบัติตามเปนท้ังคน เกงและคนดี (วิชชาจรณสัมปนโน) ในคนคนเดียวกัน ดวยเหตุท่ีวาพระพุทธศาสนาเปนศาสนาแหงการกระทํา เปนศาสนาแหงความเพียร ที่มีความเชื่อท่ีวา มนุษยสามารถเรียนรู ฝกอบรม จนกลายเปนทุนมนุษยที่สําคัญ ของมวลมนุษยโลกได ดังเรื่องเวรัญชพราหมณ กลาววา “กิตติศัพทอันงามขจรไปอยางน้ีวา พระผูมีพระภาค เปนพระอรหันตตรัสรูดวยพระองคเองโดยชอบเพียบพรอมดวยวิชชาและจรณะเสด็จไปดี เปนสารถีฝกผูที่ควร ฝก ไดอยา งยอดเย่ียม เปนศาสดาของเทวดาและมนุษยทั้งหลาย เปนพระพุทธเจา เปนพระผูมีพระภาค พรอมรู แจงโลกท้ังเทวโลก มารโลก พรหมโลก และหมูสัตวพรอมทั้งสมณพราหมณเทวดาและมนุษย ดวยพระองคเอง แลว จึงทรงประกาศใหผูอื่นรูตาม ทรงแสดงธรรมมีความงามในเบ้ืองตน มีความงามในทามกลางและมีความ งามในท่ีสุด ทรงประกาศพรหมจรรย พรอมท้ังอรรถและพยัญชนะ บริสุทธิ์บริบูรณครบถวน การไดพบ พระอรหันตท งั้ หลายเชน นี้เปนความดอี ยางแทจริง” (ว.ิ มหา. (ไทย) 1/1/1-2) จะเห็นไดว าในเร่ืองนี้พระพุทธองคท รงกระทาํ ตนใหเ ปน ตัวอยางทรงสรางพระองคเ องใหเ ปนทุนมนุษย ในพระพุทธศาสนาและทรงแสดงธรรมสรางใหผ ูอนื่ ใหเปน ทนุ มนุษยต ามอกี ท้ังยังทรงมพี ุทธวิธีในการจัดการทุน มนุษยในพระพุทธศาสนา ดวยเหตุน้ีจึงอาจกลาวไดวาหากในองคกรใดมีทุนมนุษยที่ทั้งเกงและดีเชนนี้ และ องคกรเองก็มีกลยุทธที่ดีในการจัดการทุนมนุษย ก็เปนท่ีแนนอนวาองคน้ันยอมประสบความสําเร็จในการ แขงขันทุกๆ เวทีแหง การแขง ขัน และในทางพระพทุ ธศาสนายงั มีระบบการใหรางวลั และการลงโทษ ซึ่งเทียบได กับการใชพ ระเดชพระคณุ ในสมยั ปจจบุ ันนนั่ คือ ใครทาํ ดีกค็ วรไดรบั การยกยอ ง ใครทําผิดก็ควรไดรับการลงโทษ ดังพระบาลีท่ีวา “นิคฺคณฺเห นิคฺคหารหํ ปคฺคณฺเห ปคฺคหารหํ ขมคนท่ีควรขม ยกยองบุคคลที่ควรยกยอง” (ขุ. ชา. (บาลี) 27/254/531) ดังนั้นในการจัดการทุนมนุษยตามทฤษฎีตะวันตกพรอมทั้งหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาท่ีจะอนุโลม เขากับการจัดการทุนมนุษย เพื่อบูรณาการท้ังสองศาสตรเขาดวยกันสรางเปนโมเดลการจัดการทุนมนุษยที่ ย่ังยนื ทงั้ นีเ้ พ่อื รองรบั กับสภาวะความเปลี่ยนแปลงของโลกทเี่ กดิ ขึ้นอยตู ลอดเวลา การจัดการทุนมนุษย คํ า ว า “ทุ น ม นุ ษ ย ”(Human Capital) ป ร า ก ฏ ข้ึ น ค ร้ั ง แ ร ก ใ น บ ท ค ว า ม ใ น ป ค . ศ . 1961 ช่อื “Investment in Human Capital” โดยนักเศรษฐศาสตรท่ีไดร ับรางวัลโนเบลชอื่ ทโี อดอร ดับเบลิ ยู ชูลซ (Theodore W. Schultz) (อางใน นิสดารก เวชยานนท, (2551) โดยตีพิมพลงในวารสารชื่อวา “American Economic Review” โดยใหความหมายของทุนมนุษยวา “ความสามารถหลายๆอยางที่อยูในตัวคน ท้ังที่ติด ตัวมาแตกาํ เนิด (Innate) หรอื เกิดจากการส่ังสมเรยี นรโู ดยแตละบุคคลทีเ่ กดิ มาจะมียีนสเฉพาะของแตละบุคคล ซ่ึงจะเปนตัวบงชี้ความสามารถ คณุ ลกั ษณะเหลานี้เปนคุณลกั ษณะที่ทรงคุณคา ซงึ่ คุณคาน้ีจะเพิ่มขนึ้ เมื่อ มีการ ลงทุนเหมาะสม” โดย Schultz ใหความหมายคาวา “ทุนมนุษย” วา ความสามารถหลาย ๆ อยางที่อยู ในตัวคน ท้ังท่ีติดตัวมาแตกําเนิด (Innate) หรือเกิดจากการสะสมเรียนรู โดยแตละบุคคลท่ีเกิดมาจะมียีนส เฉพาะของแตละบุคคลซ่งึ จะเปนตวั บง ชี้ความสามารถ คุณลักษณะเหลานเ้ี ปน คุณลักษณะท่ีมีคณุ คา ซงึ่ คุณคา นี้ จะเพ่ิมข้ึนเมื่อมีการลงทุนที่เหมาะสม นอกจากนี้ Lynda Gratton และ Sumantra Ghoshal ไดอธิบายถึง องคประกอบของทุนมนุษย วาหมายถึงสวนผสมของ 3 ส่ิงคือทุนทางปญญา (Intellectual Capital) ทุนทาง

214 วารสาร มจร พทุ ธปญ ญาปริทรรศน ปท ่ี 6 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2564) สังคม (Social Capital) และ ทุนทางอารมณ (Emotional Capital) (อา งใน นิสดารก เวชยานนท, (2551) ซ่ึง มอี งคประกอบสาํ คัญไดแ ก 1. ทุนทางปญญา (Intellectual Capital) ประกอบดว ย ความรแู ละความสามารถในการเรยี นรู ความ เช่ียวชาญเฉพาะ ทักษะ (Skills) ประสบการณที่คนสะสมไว รวมทั้งความรูท่ีอยูในตัวเราที่เรียกวา Tacit Knowledge 2. ทุนทางสังคม (Social Capital) ประกอบดวยเครือขายความสัมพันธ การมีเครือขายทางสังคม สามารถทํางานเปน ทมี (Teamwork) รวมกับผอู ืน่ ได 3. ทนุ ทางอารมณ (Emotional Capital) ประกอบดว ยคณุ ลกั ษณะการรับรูตนเอง (Self-Awareness) การยดึ ม่นั ในความถกู ตอ งชอบธรรมและจริยธรรม (Integrity) ทุนมนุษยเปนแนวคิดที่เกี่ยวกับ “คน” หรือ “มนุษย” ในยุคใหมที่มองคนวาเปนทรัพยสิน หรือ สินทรัพย (Assets) ท่ีสําคัญที่สุดสําหรับทุกองคกร เปนทรัพยสินที่มีคาแตมีคุณสมบัติบางอยางที่แตกตางจาก ทรัพยสินอื่น (ธํารงศักดิ์ คงคาสวสั ดิ,์ 2550) ดงั นี้ 1) เปนทรพั ยสินทจ่ี บั ตอ งไมได (Intangible) โดยทว่ั ไปเรามกั จะแบงทรัพยสินออกเปน 2 ประเภท ใหญๆ คือ ทรัพยสินท่ีจับตองได เชน รถยนต บาน ปากกา นาฬิกา เครื่องจักร เคร่ืองคอมพิวเตอร ฯลฯ และ ทรัพยสินที่จับตองไมได เชน คาความนิยมในทางการคา ภาพลักษณช่ือเสียง ความนาเชื่อถือขององคกร ฯลฯ หรือแมแตมนุษยก็ถือวาเปนสินทรัพยที่จับตองไมไดเชนเดียวกัน ก็เพราะวาในแตละคนน้ันจะประกอบไปดวย ความรู ทักษะหรือความชํานาญ ความสามารถ ตลอดจนประสบการณ (ซึ่งเปนสนิ ทรัพยท ่ีนบั ไมได แตสามารถ ดึงออกมาใชสรรสรา งประโยชนใ หเกดิ แกองคก รอีกมากมายมหาศาล) 2) ไมมีคาเสื่อมเหมือนทรัพยสินอ่ืน เวลาเราซ้ือสิ่งของตาง ๆ ไมวาจะเปนอาคาร รถยนต เคร่ืองจักร เครื่องคอมพิวเตอร เคร่ืองมือ เคร่ืองใช หรืออุปกรณตางๆ เพื่อนํามาใชในการทํางานนั้นเรามักจะ ตองมีการคิดคา เส่ือมราคาทุกป โดยทางบัญชีกจ็ ะตองมีการตัดคาเสื่อมราคาทุกป เชน ซ้ือรถยนตม าใชงานของ บริษทั ก็จะกําหนดอายุงานไว 5 ป โดยตัดคาเส่ือมปล ะ 20 เปอรเซน็ ต เมื่อครบ 5 ปก ถ็ อื วาตดั คา เสื่อมหมดแลว แต “คน” เปนทรัพยสินท่ีไมมีการเส่ือมคาลงตามระยะเวลาเหมือนทรัพยสินอ่ืน เพราะ “คน” จะมีมูลคาใน ตัวเองเพิ่มมากข้ึนตามระยะเวลาท่ีผานไป ย่ิงนานวัน นานเดือน นานป ก็จะพบวาคนจะมีทั้งความรู ประสบการณ ความสามารถที่เพิ่มข้ึนเร่ือย ๆ ในขณะท่ีคนเหลาน้ีจะเปนกําลังสําคัญในดานตาง ๆ ขององคกร ไมวา จะเปนผูบ รหิ าร หรือเปนผูเช่ียวชาญประจําองคก รในที่สดุ 3) สราง “มูลคา เพ่ิม” ไดเสมอ เครือ่ งมือเคร่อื งใชเครื่องจักร หรอื ทรัพยสินอ่ืน ๆ นน้ั เมื่อซื้อมาใช งานก็จะทํางานไปตามกําลังความสามารถหรือคุณสมบัติที่มีอยู แต “คน” เปนทรัพยสินท่ีไมไดมีการทํางาน แบบเครอ่ื งจักร องคก รสามารถจะพัฒนาคนใหม ี “มูลคาเพิม่ ” ไดเสมอ ทุนมนุษย คือ คุณลักษณะตาง ๆ รวมถึงความสามารถท่ีมีอยูในตัวมนุษย อันไดแก ความรู ทักษะ ความสามารถ ซึ่งสวนหน่ึงเกิดมาจากมนุษยผูน้ัน หรือใชเวลาและเงินในการสรางเสริม สะสม คงไว ทุนมนุษย ไมไดเกิดขึ้นเฉพาะการเรียนในโรงเรียนเทาน้ัน แตทุนมนุษยถูกสะสมข้ึนมาหลายทาง เชน การศึกษา ประสบการณในการทํางาน การยายถ่ินฐาน ประสบการณชีวิต การรักษาสุขภาพ รวมทั้งการคนควาหาขอมูล ตาง ๆ สาเหตุท่ีนักเศรษฐศาสตรใชคําวา “ทุน” เน่ืองจากตองมีเรื่องของเวลา ความพยายาม เงิน ในการ เสริมสรางทุนมนุษย ซึ่งเปนการลงทุนเชนเดียวกับการลงทุนปกติ เพ่ือใหไดคืนมาทีหลัง และการไดคืนมาไม จําเปนจะตองอยูในรูปของการคืนทุนเปนรูปตัวเงินอยางเดียว เงินเปนเพียงสวนหนึ่งเทาน้ัน คนที่มีทุนมนุษย มากจะมีความสามารถและแนวโนมท่ีจะมีรายไดมากกวาคนท่ีมีทุนมนุษยนอย จากการศึกษาของ นักเศรษฐศาสตร พบวา คนที่จบปริญญาตรีหรือสูงกวา มักจะมีรายไดในชีวิตสูงกวา นอกจากน้ี

Journal of MCU Buddhapanya Review Vol. 6 No. 1 (January - April 2021) 215 นักเศรษฐศาสตรยังพบอีกวา การศึกษาเปนการลงทุนท่ีทําใหเกิดผลกําไรเชนเดียวกับการลงทุนดานสุขภาพ เพราะทําใหคนสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น (นิสดารก เวชยานนท, 2551) อีกท้ังเปน ทรัพยากรอยางหน่ึงและเปนทรัพยากรที่ทําใหเกิดมูลคาเพ่ิมในตัวมันเอง และมนุษยมีความตองการไมสิ้นสุด เรม่ิ จากความตองการขน้ั พืน้ ฐานจนสุดทา ยความตอ งการบรรลุผลสาํ เรจ็ ในชวี ิต (ดนยั เทียนพฒุ , 2553) ในขณะเดียวกันมีทฤษฎีที่เก่ียวกับทุนมนุษย ซึ่งเปนทฤษฎีที่มองวาบุคลากรในองคกรไมไดเปนเพียง ตนทุนหรือคาใชจายที่องคกรตองจายเปนคาจางคาตอบแทนเทาน้ัน แตมนุษยเปรียบเสมือนหน่ึง “ทุน” ท่ีสามารถทําใหงอกเงยเพิ่มคุณคาข้ึนไดดวยการ “พัฒนา” และจะไดผลตอบแทนที่คุมคาดวย ดังนั้น บทบาท ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษยจึงอยูท่กี ารลงทุนพัฒนาความรูความเช่ยี วชาญใหกับบุคลากรขององคก ร นน่ั จึง แสดงใหเห็นวาทฤษฎีทุนมนุษยน้ันเนนที่ความสําคัญของบุคคลในการพิจารณาคนเหมือนผูลงทุนแตละบุคคล จะลงทุนในการศึกษาและการฝกอบรมเพ่ือที่จะบรรลุประโยชนในอนาคต ดวยเหตุน้ีทุนมนุษยจึงเปนการ พิจารณาเหมือนสินทรัพยท่ีคลายกับสินทรัพยทางกายภาพหรือการเงิน ทุนมนุษยไดกลายเปนบทบาทใน กระบวนการของการเติบโตทางเศรษฐกิจ เปนดังสตอกของทักษะที่สรางขึ้นจากการศึกษา และการฝกอบรม เปนปจจัยการผลิตท่ีประสานรวมในการผลิตผลสุดทาย และยังเปนสตอกของความรูที่สามารถสะสมใหเปน แหลงของนวัตกรรมที่เปนพ้ืนฐานในการเติบโตของเศรษฐกิจ (Torraco, R.J., 1998) ทฤษฎีทุนมนุษย จึงเปนทฤษฎีทางดานเศรษฐศาสตรท่ีไดถูกนํามาใชมากที่สุด โดยการพิจารณาถึงผลผลิตท่ีไดรับจากบุคลากร เปรียบเทียบกับส่ิงท่ีไดลงทุนไปในรูปแบบของการฝกอบรมและการศึกษาเปนการวิเคราะหประสิทธิภาพของ ตนทุน หรือ Cost–Effectiveness Analysis ทฤษฎีน้ีแสดงถึงความสัมพันธระหวางการเรียนรูท่ีเพ่ิมข้ึนกับ ผลผลิตของบคุ ลากรที่เพ่ิมขึ้นสูงขึ้นตามไปดวยและเม่ือมีผลผลิตท่ีเพ่มิ สูงข้ึน ผลตอบแทนทบ่ี ุคลากรจะพงึ ไดรับ ยอมเพิ่มสูงขึ้นดวยเชนเดียวกัน พบวาผลผลิตของบุคลากรที่สูงขึ้นจะนําไปสูผลผลิตและผลประกอบการของ หนวยงานและขององคกรเพิ่มสูงขึ้นตามลําดับ (อาภรณ ภูวิทยพันธุ, 2551) ดังภาพแสดงความสัมพันธ ดังตอไปนี้ ภาพท่ี 1 ตวั แบบทฤษฎที ุนมนุษย ที่มา : กลยทุ ธการพัฒนาทรัพยากรมนุษย, อาภรณ ภวู ิริยะพนั ธ.ุ

216 วารสาร มจร พุทธปญญาปรทิ รรศน ปท ่ี 6 ฉบับท่ี 1 (มกราคม – เมษายน 2564) จากภาพแสดงใหเห็นวา ทฤษฎีทุนมนุษยมีจุดเนนไปยังทรัพยากรทุน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย ยุทธศาสตรใหคาตอบแทน และการทํางาน ขอจํากัดของทุนมนุษยที่มีผลกระทบตอการวางแผนธุรกิจตาง ๆ น้ัน ประกอบดวย การขาดคนมีทักษะ ปญหาการแสวงหาบุคลากร ผลผลิตตกตํ่า อัตราการขาดงานสูง ไรประสิทธิภาพไมยืดหยุน จึงกลาวไดวายุทธศาสตรเก่ียวกับทรัพยากรข้ึนอยูกับการวางแผนทรัพยากรมนุษย เพื่อประกันวาทุนมนุษยตองการที่จะทําใหเกิดการวางแผน เพ่ือสรางความพึงพอใจแกบุคลากรทุกองคกรตอง มุง เนนสรางคนเกงของตน และเล่ือนตําแหนงพวกเขาจากคนภายในนั้นตองขึ้นอยูกับหลักการสรางเอง การหา ซื้อหรือการตัดสินใจ ถาจําเปน ตอ งไปหาซ้ือคนเกง ๆ จากภายนอกมาตองซือ้ เพราะยทุ ธศาสตร โดยมีเปาหมาย เพอ่ื ดงึ ดดู ความสนใจรักษาคนดีคนเกงไว คือ แนวคดิ เกย่ี วกบั การลงทนุ มนษุ ย (บุญทัน ดอกไธสง, 2551) ดังน้ัน ทฤษฎีทุนมนุษย จึงเปนการวิเคราะหจากแนวคิดของตนทุนและผลประโยชนท่ีไดรับ (Cost – Benefit Analysis) และการวิเคราะหบนพื้นฐานของผลตอบแทนที่ไดรับจากการลงทุน (ROI : Return on Investment) พบวากิจกรรมหรือโครงการตาง ๆ ที่เกิดขึ้นเพ่ือการพัฒนาทรัพยากรมนุษยจําเปนอยางยิ่งท่ี จะตองคํานึงถึงการเพ่ิมมูลคาของมนุษยท่ีเปนบุคลากรในองคการ ดวยการเรียนรูผานการศึกษา การฝกอบรม และการพัฒนาตาง ๆ อันนําไปสูผลลัพธหรือผลผลิตที่องคกรตองการ จะเห็นไดวาทุนมนุษยเปนเรื่องที่มุงเนน ความสัมพันธระหวางการลงทุนในมนษุ ยกับผลสําเร็จท่ีเกิดข้ึน ซึ่งกรอบความคิดดานทุนมนุษยไดเปล่ียนแปลง ไปตามสภาพแวดลอ มที่เปลย่ี นไป จากกรอบความคิดในอดตี จนถงึ ปจ จุบันท่ีมคี วามแตกตา งกนั ในประเดน็ ตางๆ การจัดการทุนมนุษย (Human Capital Development) เปนกลยุทธการจัดการคนท่ีเพ่ิมผลการ ดําเนินงานขององคกร คือ ทุนมนุษย เพ่ือรวบรวมกลยุทธดานคนทั้งหมดขององคกร (ดนัย เทียนพุฒ, 2553) อีกท้ังเปนการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ อยางเปนกระบวนการ เพื่อใหไดมาซ่ึงบุคลากรท่ีมีคุณภาพตรงกับความ ตอ งการและการสนับสนนุ ใหบคุ ลากรเหลา น้นั มีบทบาทในการดําเนินกลยทุ ธต าง ๆ เพอ่ื ใหองคก รบรรลุไปตาม เปาหมายตามท่ีกําหนดไว โดยคํานึงถึง ผลกระทบทั้งจากสภาพแวดลอมภายในและภายนอกกิจการ (โชคชัย สุเวชวัฒนกูล และกนกกานต แกวนุช, 2555) ถือไดวาเปนการเชื่อมโยงระหวางคนกับกระบวนการ ดว ยหลักการสรา งความเก่ียวพัน (Involvement) โดยเปดโอกาสใหทุกฝา ยในองคกรไดแสดงความคดิ เห็นและ เสนอแนะการวางแผนกลยุทธ หลักการเช่ือมโยง ซึง่ เปนการเชื่อมโยงกลยทุ ธตาง ๆ ท่ีทุกฝายรวมกันกําหนดให สอดคลองกับทุกระบบในองคกร และหลักการมีพันธะผูกพัน(Commitment)เปนหลักท่ีจะทําใหบุคลากรใน องคกรมีความผูกพันกับองคกร เพ่ือใหคนเหลานั้นทุมเทตองานที่ทําอยางเต็มท่ีและโอกาสที่แผนกลยุทธจะ บรรลุผลก็มีมากข้ึน เปนผลทําใหคนเกิดความสมัครใจที่จะพัฒนาตนเอง เพ่ือมุงสูเปาหมายขององคกรรวมกัน (นิสดารก เวชยานนท, 2551) โดยการเชื่อมโยงระหวางองคกรและพนักงานน้ันประกอบไปดวย 3 สวน คือ เอกลักษณและคานิยมของเอกลักษณและคานยิ มขององคกร (Corporate Identity and Values) มีเปาหมาย เพื่อใหพนักงานมีความผูกพัน (Commitment)อตอองคกร องคประกอบทส่ี องคือ การปฏิบัติการดา นบุคลากร (Human Operation) มีจุดมุงหมายเพื่อใหพนักงานมีความเสียสละ (Dedication) และองคประกอบสุดทาย คือ การพฒั นาบคุ ลากร (Human Development) เพ่อื ใหพ นักงานเกดิ แรงจงู ใจ (Motivation) ดังนั้น การจัดการทุนมนุษยจึงใหความสําคัญตอการวิเคราะหการจัดการคนในการปฏิบัติในองคกร ตามความมุงหมายสูงสุดของทุนมนุษย เพราะทุนมนุษย ก็คือ ความรู ความสามารถ ทักษะหรือความชํานาญ ประสบการณของแตละคนที่มีส่ังสมอยูในตัวเอง การจัดการทุนมนุษยคือการรูจักใชประโยชนจากความรู ความสามารถของบุคลากรที่มีอยภู ายในองคก ารเพื่อใหงานขององคกรสมั ฤทธผ์ิ ลอยางมปี ระสทิ ธิภาพ

Journal of MCU Buddhapanya Review Vol. 6 No. 1 (January - April 2021) 217 พุทธวธิ ใี นการจดั การทุนมนุษยในพทุ ธศาสนา พระพุทธศาสนาเปนศาสนาแหงการกระทํา เปนศาสนาแหงความเพียร ท่ีมีความเชื่อที่วา มนุษย สามารถเรียนรู ฝกอบรม จนกลายเปนทุนมนุษยที่สําคัญของมวลมนุษยโลก ในการจัดการการทุนมนุษยของ พระพุทธเจานั้นพระองคทรงพิจารณาเปรียบเทียบบุคคลเหมือน บัว 4 เหลา ซ่ึงหลักในการสรรหาทุนมนุษย หลังจากที่พระพุทธองคตรัสรูใหม ๆ ไดทรงพิจารณาพระธรรมท่ีพระองคตรัสรูแลววาเปนคุณธรรมอันลึกซึ้ง ยากที่โลกซึ่งยุงยากนี้จะรูและเขาใจได แตเม่ือพิจารณาพื้นฐานของมนุษยก็ทรงทราบดวยพระญาณวา คนใน โลกน้มี ีความแตกตา งกนั ดังทพ่ี ระองคท รงเปรยี บไวกับดอกบวั 4 เหลา (อง.ฺ จตุกฺก. (ไทย) 21/133/202) คือ 1. อุคฆฏิตัญู จําพวกท่ีมีคุณสมบัติพิเศษ ก็สามารถรับรูส่ิงตาง ๆ ไดรวดเร็ว แมฟงเพียงครั้งเดียว เทานั้น ก็สามารถท่ีจะเขาใจได เปรียบดอกบัวท่ีชูดอกข้ึนพนน้ําแลว สามารถท่ีจะบานสะพร่ังไดทันทีที่ไดรับ แสงจากพระอาทิตย 2. วิปจิตัญู จําพวกที่มีคุณสมบัติปานกลาง เมื่อไดรับการแนะนําอบรมเพ่ิมเติม หรือช้ีแนะเล็กนอย ก็สามารถที่จะเขาใจในเร่ืองนั้นได เปรียบดอกบัวที่ต้ังอยูเสมอนํ้า เม่ือไดรับแสงจากพระอาทิตยยามอรุณ ก็จะ บานไดเ ชน กนั 3. เนยยะ จําพวกที่มีคุณสมบัติพอแนะนําได เมอื่ ไดรับการอบรมเสมอ ๆ บอ ย ๆ จํา้ จ้ีจําใช ก็สามารถ ที่จะเขา ใจในหนาทกี่ ารงานได เหมือนดอกบัวท่ียงั จมอยใู นน้ํา รอวนั ทจี่ ะพนนํ้าในวันตอ ๆ ไป 4. ปทปรมะ จําพวกที่ขาดคุณสมบัติ พวกหัวด้ือ ไมยอมรับคําแนะนําหรือการพัฒนาอยางใด มีทิฏฐิ มานะดื้อรั้นอยา งแรงกลา เหมือนดอกบวั ทีอ่ ยูใตน ้าํ และยงั อยูในโคลนตมทีค่ อยเปนอาหารของปลาและเตา ในขณะเดียวกันพระองคทรงใชหลัก จริต 6 (ขุ.ม. (ไทย) 29/727/435) ในการคัดเลือกทุนมนุษย ใน ดานสาเหตุความแตกตางกันของมนุษยน้ัน พระพุทธเจาไดจําแนกความแตกตางระหวางบุคคลออกตามจริต 6 กลุมดว ยกนั บุคคลแตละคนอาจมีจริตอยางใดอยางหน่ึงเดนชัด อาจมีจริตหนึ่งอยางหรือสองอยางสามอยา งใน ตัวบุคคลคนเดยี ว แตจะมจี ริตที่เดนชัดเพียงหน่ึงเดยี วซึง่ เปน พนื้ เพดงั้ เดิมของจิตใจ ซึง่ จะไดอธิบายดังตอ ไปนี้ 1. ราคจริต คือ คนรักรักงาน มักทําอะไรประณีต เรียบรอยและใจเย็น คนพวกนี้ชอบทํางานท่ีตองใช ความละเอียดประณีต 2. โทสจริต คือ พวกใจรอน ชอบความเร็ว และมักหงดุ หงดิ งา ยถา ถูกขัดใจ คนพวกนีช้ อบทํางานที่ตอ ง ใชค วามรวดเร็ว 3. โมหจริต คอื พวกเขลาซมึ ขาดความกระตอื รอื รน ทํางาน อดื อาด เฉ่อื ยชา ชอบหลบั ในทีท่ าํ งานเปน ประจาํ 4. สัทธาจรติ คือ พวกเช่อื งา ย เวลามขี าวเร่ืองแปลกแตจ ริง - เชื่อหรือไมพวกนี้จะเชอื่ กอนใคร คนพวก นีถ้ า ชอบใครจะทํางานใหเตม็ ท่ี 5. พุทธิจริต คือ พวกใฝรู เปนคนชางสงสัย รักการศึกษา หาความรู มักตองการายละเอียดมากวาคน อื่น คนพวกนี้ถนดั ทาํ งานดานวิชาการ 6. วิตกจริต คือ พวกชางกงั วล เปน คนไมกลา ตัดสนิ ใจมักปลอยเรื่องคา งไวเปนเวลานาน โดยไมยอมลง นาม หรือดําเนินการอยางใดอยางหนึ่ง ถาเราตองการคนใสเบรคใหกับการตัดสินใจของเราบางลองปรึกษาคน พวกนี้ (พระธรรมโกศาจารย (ประยรู ธมมจฺ ิตฺโต), 2549) เมื่อไดทราบวามนุษยนั้นตางกันไมเหมือนกัน ตามหลักจริต 6 ที่พระพุทธองคทรงตรัสไว ในเรื่องของ การจัดการทนุ มนุษย ก็เปนเร่อื งท่ีไมยากนักท่ีจะจัดสรรงานใหเหมาะแกจรติ ของพนักงานภายในองคการแตละ คน แนนอนวางานแตล ะอยางยอมเหมาะแกคนท่ีมจี ริตตางกนั คนจรติ ตา งกนั ยอ มไมอาจทํางานที่เหมือนกนั ได

218 วารสาร มจร พุทธปญ ญาปรทิ รรศน ปที่ 6 ฉบับท่ี 1 (มกราคม – เมษายน 2564) หลกั แหงการศึกษาเพ่ือพัฒนาศกั ยภาพทุนมนุษย กระบวนการพัฒนาศักยภาพทุนมนษุ ยนนั้ ตองพัฒนา สัมพันธเชื่อมโยงกับโลกภายนอก และดานภายในชีวิตมนุษยที่ประกอบดวยขันธ 5 ของบุคคลน้ี ทางพระพุทธศาสนาเรียกวา อายตนะ (พระธรรมปฎ ก (ป.อ. ปยุตโฺ ต), 2546) คอื เครื่องตอ เปนที่สืบตอ แหงจิต และเจตสิก คือ เปนท่ีที่จิตและเจตสิกทําหนาที่กันงวน เปนท่ีแผขยายจิตและเจตสิกใหกวางขวางออกไป เปน ตวั การนําสังสารทุกขอันยึดเย้ือใหดําเนินสืบตอไปอกี เปน บอเกิด แหลงที่ชมุ ชน เปนตน หรือทวาร 6 อายตนะ ภายใน ไดแก ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ สําหรับรูและสนองตอบตอสิ่งเราภายนอกเขาสูภายในคือ อายตนะ ภายนอก (ที.ปา. (ไทย) 11/323/315 – 316) ไดแ ก รูป เสยี ง กล่นิ รส โผฏฐพั พะ และธรรมารมณ การพัฒนาตามหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนา เริ่มท่ีหลักการของการศึกษา เพราะการภาวนาหรือ การพัฒนานั้น แทท่ีจริงก็คือส่ิงเดียวกันกับการศึกษา หรือสิกขา สิ่งที่ตองศึกษา หรือส่ิงท่ีตองพัฒนา แยก ออกไปเปน 3 ดานใหญ ๆ โดยสอดคลองกับองคประกอบแหงการดําเนินชีวิตของมนุษยที่มี 3 ดาน คือ พฤติกรรม จติ ใจ และปญญา เรียกวา ไตรสกิ ขา ซง่ึ มสี าระสาํ คัญ ดังนี้ 1) ศีล คือ การฝกฝนพัฒนาดานพฤติกรรม หมายถึง การพัฒนาพฤติกรรมทางกายและวาจาใหมี ความสัมพันธกับสิ่งแวดลอ มอยา งถกู ตอ งมีผลดี สิง่ แวดลอมท่ีเราเกย่ี วของสัมพันธ มี 2 ประเภทคอื สิ่งแวดลอม ทางสงั คม ไดแก เพ่อื นมนุษย 2) สมาธิ หมายถึง การฝกพัฒนาในดานจิตใจ มีความสําคัญอยางย่ิงเพราะจิตใจเปนฐานของ พฤติกรรม เน่ืองจากพฤติกรรมทุกอยางเกิดข้ึนจากความตั้งใจหรือเจตนา และเปนไปตามเจตจํานงและ แรงจูงใจทอ่ี ยูเบือ้ หลงั ถาจติ ใจไดรบั การพัฒนาใหด งี ามแลว ก็จะควบคุมดแู ลและนําพฤตกิ รรมไปในทางท่ีดงี าม ดวย แมความสุขความทุกขในท่ีสุดก็อยูที่ใจย่ิงกวานั้นปญญาจะเจริญงอกงามได ตองอาศัยจิตใจท่ีเขมแข็งสู ปญหา เอาใจใส มีความเพียรพยายามท่ีจะคิดคนไมทอถอย ยิ่งเรื่องที่คิดหรือพิจารณานั้นยาก หรือละเอียด ลึกซ้ึง ก็ย่ิงตองมีจิตใจท่ีสงบแนวแนไมฟุงซานไมพลุงพลานกระวนกระวาย คือ ตองมีสมาธิจึงจะคิดได ชัดเจน เจาะลึกทะลุไดและมองเห็นท่ัวตลอด จิตท่ีฝกดีแลว จึงเปนฐานท่ีจะใหปญญาทํางานและพัฒนาอยาง ไดผ ล 3) ปญญา หมายถึง การพัฒนาปญญา ซ่ึงมีความสําคัญสูงสุดเพราะปญญาเปนตัวนําทางและ ควบคุมพฤติกรรมทั้งหมด คนเราจะมีพฤติกรรมอะไร อยางไร และแคไหน ก็อยูท่ีวาจะมีปญญาชี้นําหรือบอก ทางใหเทาใด และปญญาเปนตัวปลดปลอยจิตใจใหทางออกแกจิตใจ เชน เมื่อจิตใจอึดอัดมีปญหาติดตันอยู พอเกิดปญญารูวาจะทําอยางไร จิตใจก็โลงเปนอิสระไดการพัฒนาปญญาเปนเร่ืองกวางขวางแยกออกไปได หลายดา นและมหี ลายข้ันหลายระดบั การจัดการทุนมนุษยตามหลักพระพุทธศาสนานั้นมีหลักการและวิธีการที่คลายคลึงกับกระบวนการ จัดการทนุ มนุษยตามทฤษฎีตะวนั ตกจะแตกตา งกแ็ ตเพยี งเนือ้ หาสาระทีเ่ ปน หลักของพระพุทธศาสนา เริม่ ต้งั แต การสรรหา ซ่ึงพระพุทธองคก็จะทรงตรวจดูอุปนิสัยของเวไนยสัตวเพื่อจะรับมาเปนทุนมนุษยในองคกรได หรือไม ซึ่งหลักการก็คือ หลักบัว 4 เหลา เพราะพระพุทธองคไดทรงพิจารณาดวยพระญาณวาพื้นฐานของ มนุษยมีความแตกตางกัน ดังน้ันพระธรรมที่พระองคทรงตรัสรูแลวเปนธรรมลึกซ้ึง จึงเปนเรื่องยากท่ีจะรูและ เขาใจไดโดยงาย ดังที่พระพุทธองคเปรียบมนุษยเหมือนบัว 4 เหลา และหลักการน้ีก็กลายเปนบรรทัดฐานใน การสรรหาทนุ มนษุ ยเขามาในองคกรพระพทุ ธศาสนา หลักจริต 6 หลกั ในการคัดเลือก ซ่ึงความสามารถในการ ทํางานใด ๆ ของแตละบุคคลยอมถูกกํากับดวยหลักจริต 6 ซึ่งเปนพ้ืนฐานทางดานจิตใจของแตละคนดังน้ันจึง ตองทําความเขาใจเก่ียวกับจริตของแตละคนแลวมอบหมายงานใหเหมาะสมแกจริตของแตละบุคคล หลักใน การอบรมพัฒนา ซ่ึงก็ไดแก หลักอายตนะ 12 อันเปนทฤษฎีการเรียนรูของทวารทั้ง 6 หรือที่เรียกวาอายตนะ ภายใน 6 ประกอบไปดวย ตา หู จมูก ลน้ิ กาย ใจ ซึ่งปฏสิ ัมพันธกับสิ่งเราภายนอก อันไดแก รปู เสยี ง กลน่ิ รส

Journal of MCU Buddhapanya Review Vol. 6 No. 1 (January - April 2021) 219 โผฏฐัพพะและธรรมารมณ ซึ่งเรียกวา อายตนะภายนอก หลักไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปญญา) เปนหลักที่ทุน มนุษยตองฝกฝนและพัฒนา โดยกระบวนการพัฒนาตามหลักไตรสิกขามีดังนี้ ศีล คือ การฝกฝนพัฒนาดาน พฤติกรรม สมาธิ คือ การฝกฝนพัฒนาดานจิตใจ และปญญา คือ การพัฒนาปญญา ซ่ึงมีความสําคัญสูงสุด เพราะปญญาเปนตัวนาํ ทางและควบคุมพฤติกรรมทั้งหมด สรปุ การจัดการทุนมนุษย (Human Capital Management) เปนการเชื่อมโยงระหวางตัวองคกรและ พนกั งาน ตองอาศัยความเชื่อมโยง ภายใตค วามสัมพันธแ บบสมคั รใจ (Volunteer Model) บุคคลตองกาวขา ม ใหพนจากความคิดท่ีวาตนเปนเพียงสินทรัพย (Asset) ขององคกร บุคคลตองพยายามเปดใจรับรูและเรียนรูส่ิง ใหม ๆ ความรูท่ีใชในการแกปญหาท่ีเกิดขึ้นในปจจุบันมกั จะเกิดจากการบูรณาการองคความรูจากหลากหลาย สาขาในทางพระพุทธศาสนาน้ัน การจัดการทุนมนุษยน้ันมีกฎเกณฑหรือมาตรการในการจัดการทุนมนุษย ภายในองคก รพระพุทธศาสนาอยา งชัดเจน เร่ิมตงั้ แตในยคุ เร่ิมตนของการกอต้ังศาสนา เน่ืองดว ยพุทธสาวกยงั มี ไมมาก จึงมิไดมีกฎเกณฑซึ่งพระพุทธองคทรงบัญญัติขึ้นมากมาย คงมีแตกรอบหลักการ หรืออุดมการณและ วิธีการที่พระพุทธองคทรงบัญญัติแกสาวกทั้งหลายท่ีเรียกวา โอวาทปาติโมกข ซ่ึงถือวาเปนหัวใจหลักของ พระพุทธศาสนา ในยุคที่พระพุทธองคทรงประกาศศาสนาใหม ๆ ตอมาเม่ือพุทธสาวกเพ่ิมมากขึ้น เนื่องจาก กุลบุตรมากหลายออกบวชจากตระกูลตาง ๆ เปรียบเหมือนดอกไมหลากสีท่ีถกู นาํ มารอยในพวงเดียวกัน ดังนั้น จึงมี พระวินัยบัญญัติ เกิดขึ้น ซึ่งนับไดวาเปนเหมือนกฎหมายในทางพระพุทธศาสนา เพื่อเอาไวควบคุมเหลา สาวกใหมีความประพฤติเรียบรอ ยดีงาม เปนไปเพ่ือยงั ศรัทธาไทยใหเกดิ ซ่ึงในการบัญญัติพระวินัยนั้นพระพุทธ องคทรงอาศัยเรื่องเกิดมีขึ้นจึงทรงบัญญัติ ดังน้ันในองคกรพระพุทธศาสนานั้นมีกฎเกณฑในการจัดการทุน มนุษยภายในองคกรอยางชัดเจน เปนแบบแผนท่ียึดถือปฏิบัติกันมาจนถึงทุกวันน้ี แมวาพระพุทธองคจะทรง ประนิพพานนานแลวกวา 2,500 ป แตพุทธสาวกก็ยังมีพระธรรมวินัย ซึ่งเปรียบเสมือนกฎหมายที่ดังเปน แกนกลางในการประพฤติปฏบิ ัติตนใหเ ปน ท่ีนาเล่อื มใสศรทั ธาของเหลา ศาสนิก และธํารงรักษาพระพทุ ธศาสนา ทําศาสนกิจตราบจนถึงทุกวันนี้ เฉกเชนเดียวกับเวลาท่พี ระพทุ ธองคยังทรงพระชนมอยู เพราะมีพระธรรมวินัย ซ่ึงเปน ตวั แทนของพระพทุ ธองค เอกสารอา งอิง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรราชวิทยาลัย เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจาสิริกิตต พระบรมราชินีนาถ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. จริ ประภา อัครบวร. (2552). คุณคาคนคณุ คางาน. กรุงเทพมหานคร: สํานกั พิมพ เตา (2000). โชคชยั สุเวชวัฒนกลู และกนกกานต แกวนชุ . (2555). ทางเลือก-ทางรอดจากวิกฤติเศรษฐกิจของกิจกรรมทุน มนุษยในอุตสาหกรรมการทองเที่ยวและบริการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง: กิจ กรรมการบริหารและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย. กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร ศาสตร. ดนยั เทียนพุฒ. (2553). ทุนมนษุ ยจัดการใหดสี ูด เี ลศิ . กรุงเทพมหานคร: โครงการฮวิ แมนแคปปตอล. ธํารงศักดิ์ คงคาสวัสด์ิ. (2550). ทุนมนุษยการกําหนดตัวช้ีวัดเพื่อพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: สมาคมสงเสริม เทคโนโลยี (ไทย - ญป่ี ุน).

220 วารสาร มจร พุทธปญ ญาปรทิ รรศน ปที่ 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2564) นิสดารก เวชยานนท. (2551). มิติใหมในการบริหารทุนมนุษย. กรุงเทพมหานคร: บริษัทกราฟโก ซิสเต็มส จํากัด. บุญทนั ดอกไธสง. (2551). การจัดการทุนมนษุ ย. กรุงเทพมหานคร: สํานกั พิมพพมิ พตะวนั . พระธรรมโกศาจารย (ประยูร ธมมจฺ ิตฺโต). (2549). พุทธวิธีในการบริหาร. พิมพคร้ังท่ี 5. กรุงเทพมหานคร: โรง พมิ พม หาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั . พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2546). พุทธธรรม (ฉบับปรับปรุงขยายความ). กรุงเทพมหานคร: บริษัท สหธรรมมกิ จาํ กัด. สํานักงานพัฒนาและวิจัยระบบงานบุคคล สํานักงานขาราชการพลเรือน. (2547). ทุนมนุษยกับการพัฒนา สมรรถนะการบรหิ ารทรัพยากรบคุ คล. กรุงเทพมหานคร: บรษิ ทั พี.เอ. ลฟี วิง่ จาํ กัด. อาภรณ ภูว ทิ ยพันธุ. (2551). กลยุทธการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย. กรุงเทพมหานคร: เอช อาร เซ็นเตอร. Torraco, R.J., (1998). Economic Human Capital Theory and HumanResource Development. San Fracisco : Berrett - Koehler.

การจดั การสงั คมในยุค New Normal Social management in the New Normal era อาํ นาจ ทาปน , พระครูโกวิทบุญเขต และพมิ พพร แสนคาํ หลา Amnaj Thapin, Phrakhru Kowitbunkhet, Pimphorn Saenkhamla มหาวทิ ยาลัยมหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย หนว ยวทิ ยบริการวทิ ยาลัยสงฆพุทธชนิ ราช วัดทานา จงั หวดั ตาก Mahachulalongkornrajavidyalaya University Buddhachinaraj Buddhist College Wat Tana Tak Unit 1E-mail : [email protected] Received 3 February 2021; Revised 17 March 2021; Accepted 23 March 2021 บทคัดยอ บทความน้ีมุงศึกษาสังคม (Social) ในปจจุบันท่ีเปรียบเสมือนองคกรในรูปแบบลักษณะสังคมระบบ เปด (Open society) เพราะองคกรสังคมตองถูกกํากับโดยสภาพแวดลอมอยางหลีกเลี่ยงไมได โดยเฉพาะ สภาพแวดลอมภายนอก (External environment) จากกระบวนการพัฒนารูปแบบของระบบและกลไกการ พัฒนา บนพ้ืนฐานของสภาพแวดลอมทางการแขงขัน (Competitive environment) ของกลุมอํานาจนิยม และทุนนิยม ที่มีการพัฒนารูปแบบและนวัตกรรมทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสารสนเทศเปนสําคัญ เพ่ือสรางความย่ิงใหญแ ละการเปนผูนําสมัยใหม (Modernity) ในการพัฒนา ดวยเหตุน้ีจึงเปนปจจัยสําคัญท่ีมี ผลกระทบตอทุก ๆ สังคม ทั้งทางบวกและทางลบ สงผลใหสังคมตองสรางและพัฒนารูปแบบสังคมแหงการ เรียนรู (Learning society) บนพ้นื ฐานของสงั คมแหง การเรียนรูต ลอดชีวิต (A lifelong learning society) ใน การปรับตัวและเปล่ียนแปลงตอสภาพการณและสภาพแวดลอมที่กดดัน และโดยเฉพาะอยางยิ่งสงผลโดยตรง ตอวิถีชีวิตของประชากรในสังคม พัฒนาสูความเปนสังคมแหงคุณคา (Value Society) บนฐานการมีสวนรวม ของสงั คมยุค New Normal ปจจุบนั คาํ สาํ คัญ: การจัดการสังคม Abstract Society today is like an organization in the form of an open society. Because social organizations inevitably have to be governed by the environment. Especially in the external environment From the development process, the system model and the development mechanism On the basis of the competitive environment Of power and capitalism With the development of patterns and innovations in science and information technology To create greatness and modern leadership in development, it is therefore a critical factor that affects every society both positively and negatively. As a result, society has to create and develop a

222 วารสาร มจร พทุ ธปญญาปริทรรศน ปท ี่ 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2564) learning society model. On the basis of a lifelong learning society In adapting and changing to stressful situations and environments And in particular, it directly affects the way of life of the population in society. Developed to be a Value Society based on the participation of the present New Normal society. Keywords: Social management บทนาํ รปู แบบของสังคมถูกกาํ หนดดว ยวฒั นธรรม ประเพณี คานิยม ศาสนา วถิ ชี ีวติ ฯ ตามสภาพการณของ สังคมน้ันๆ มาหลายยุคหลายสมัยตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ดวยเหตุนี้ ในแตละสังคมจึงมีอัตลักษณที่แตกตาง กันบนพ้ืนฐานของสภาพแวดลอมที่แตกตางกันนั้นเอง โดยหลักการสภาพแวดลอมมีผลสําคัญตอการจัดการ อง ค กร (Organization management) ทั้ ง ส ภ า พแ ว ดล อ ม ภ า ย ใน (Internal environment) แ ล ะ สภาพแวดลอ มภายนอก (External environment) ซง่ึ อยูในระบบสังคมโลก (Global society) ทีม่ ปี ฏิสมั พนั ธ รว มกนั สงั คม (Social) ในปจจุบนั ท่ีเปรยี บเสมือนองคก รในรูปแบบลักษณะสังคมระบบเปด (Open society) เพราะองคกรสังคมตองถูกกํากับโดยสภาพแวดลอมอยางหลีกเล่ียงไมได โดยเฉพาะสภาพแวดลอมภายนอก (External environment) จากกระบวนการพัฒนารูปแบบของระบบและกลไกการพัฒนา บนพื้นฐานของ สภาพแวดลอมทางการแขงขัน (Competitive environment) ของกลุมอํานาจนิยมและทุนนิยม ท่ีมีการ พัฒนารูปแบบและนวัตกรรมทางดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสารสนเทศเปน สาํ คัญ เพื่อสรางความยงิ่ ใหญ และการเปนผูนําสมัยใหม (Modernity) ในการพัฒนา ดวยเหตุน้ีจึงเปนปจจัยสําคัญท่ีมีผลกระทบตอทุกๆ สังคม ท้ังทางบวกและทางลบ สงผลใหสังคมตองสรางและพัฒนารูปแบบสังคมแหงการเรียนรู (Learning society) บนพ้ืนฐานของสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต (A lifelong learning society) พัฒนาสูสังคม ปฏิบัติการเรียนรู (Social learning practice) ในการปรับตัวและเปลี่ยนแปลงตอสภาพการณและ สภาพแวดลอมท่ีกดดัน และโดยเฉพาะอยางย่ิงสงผลโดยตรงตอวิถีชีวิตของประชากรในสังคม พัฒนาสูความ เปน สงั คมแหงคุณคา (Value Society) บนฐานการมสี ว นรวมของสังคมยุค New Normal ปจ จบุ ัน ในบทความนี้ สภาพการณและสภาพแวดลอม ท่ีสงผลกระทบตอสังคมจนกลายเปนสังคมยุคใหมที่ เรยี กวา “สงั คมยคุ New Normal” ผเู ขยี นมุง หมายถงึ สองประเด็นหลัก คือ ประเดน็ แรก การแพรระบาดของ โรคไวรสั โคโรนา (Covid - 19) ทีม่ ีการแพรระบาดอยูตลอดเวลาท้ังในประเทศและนอกประเทศ ถึงแมจะมีการ ผลิตวัคซีนและฉีดวัคซีนก็ไมส ามารถจะการนั ตีไดวา จะไมมีการแพรเชือ้ อีก ประเด็นที่สอง สังคมดิจิทลั (Digital society) ท่ีเปนภาพรวมของการนาํ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ มาเปนสวนประกอบสาํ คญั ในการตดิ ตอ ส่ือสาร การพัฒนาระบบโครงสรางพ้ืนฐานทางเศรษฐกิจ สังคมและประเทศ ในโลกศตวรรษท่ี 21 ซึ่งทั้งสองประเด็นน้ี ผเู ขียนเห็นวา สงผลกระทบตอสังคมในภาพรวมท้ังหมดในทุกๆ สังคม ท้ังระดับโลก และระดับประเทศ ทั่วทุก มุมโลก โดยเฉพาะสังคมไทย จนกลายเปนสวนประกอบหน่ึงในบริบทของสังคมในยุค New Normal ปจจุบัน และมีผลโดยตรงตอสังคมในการท่ีจะสรางและพัฒนารูปแบบการจัดการสังคม (Social management) ให สังคมเกดิ กระบวนการเรยี นรู เพื่อปรับตวั ตอ สภาพการณแ ละสภาพแวดลอมท่ีหลีกเลยี่ งไมได

Journal of MCU Buddhapanya Review Vol. 6 No. 1 (January - April 2021) 223 New normal คืออะไร New normal เปนวลีและเปนสํานวน ซึ่ง Oxford dictionary ไดใหคํานิยามวา “A previously unfamiliar or atypical situation that has become standard, usual, or expected.” ห ม า ย ถึ ง สถานการณหรือปรากฏการณ ท่ีแตเดิมเปนส่ิงท่ีไมปรกติ ผูคนไมคุนเคย ไมใชมาตรฐาน ตอมา มีเหตุหรือเกิด วิกฤติบางอยาง จึงมีการเปลี่ยนแปลง ทําใหสถานการณหรือปรากฏการณน้ันกลายเปนสิ่งท่ีปรกติและเปน มาตรฐาน กรรมการไดใหความเห็นวาคาํ จาํ กัดความของคาํ วา New normal เปน พลวัตและคํานมี้ ที ีใ่ ชใ นหลาย บริบท ไมใชเฉพาะในทางธุรกิจหรือวิถีชีวิตเทา นั้น จึงเปนการยากที่จะหาคํากลางๆท่ีจะใชไดในทุกบริบท จึงมี ขอ สรุปรว มกันวา ควรจะเขียนคาํ นี้ทับศัพทภาษาอังกฤษวา “นิวนอรมัล” จะสอื่ ความหมายไดดีกวา อยางไรก็ ตามคณะกรรมการบัญญัติศัพทนิเทศศาสตรไดบัญญัติคําน้ีไวแลววา ความปรกติใหม, ฐานวิถีชีวิตใหม (ราช บัณฑติ ยสภา, 2563) New Normal ในทางเศรษฐศาสตร หมายถึง อัตราการหมุนเวียนทางเศรษฐกิจแบบเดิมๆ จน สามารถเติบโตไดในระยะหนึ่ง แตเมื่อเกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจ ระบบจะปรับตัว เปลี่ยนแปลง จนทําใหสภาพ ทางเศรษฐกจิ กลับมาฟน ตวั ไดอีก จนกลายเปนวงจรปกติ (Bill Gross, 2008) จากความหมายของ New Normal ผูเขียนสรุปไดวา “เปนการดําเนินชีวิตแบบใหม ในสังคมเกา บนพนื้ ฐานของการปรับตวั ภายใตส ภาพแวดลอมที่เปลยี่ นแปลง” ในสงั คมยุค New Normal 1. การดําเนินชีวิตแบบใหม วิถีชีวิตใหม ตองใสหนากากอนามัย ตองเวนระยะหาง ตองหมั่นลางมือ บอยๆ ตองใชแอปพลิเคช่ัน ตองสแกนคิวอารโคด จนเกิดมีปจจัยท่ีจําเปนสําหรับการดําเนินชีวิตมากขึ้น นอกจากอาหาร ทอ่ี ยอู าศัย เคร่ืองนงุ หม และยารักษาโรค ท่ีสง ผลตอ พฤติกรรมโดยภาพรวม 2. ในสังคมเกา ลักษณะการอยูรวมกันบนโลกใบเดิม ภายใตโครงสรางทางสังคมเดิมในระดับ ครอบครวั ชมุ ชน องคกร เมอื ง ประเทศ และโลก ในรปู แบบของการตดิ ตอ ส่อื สารกนั แบบไรพรมแดน ทั้งทีเ่ ปน ทางการและไมเ ปนทางการ และรปู แบบของการพาณชิ ยอเิ ล็กทรอนิกส (E-commerce) 3. มีการปรับตัว พัฒนารูปแบบและระบบกลไกในการจัดการสังคมยุค New Normal ภายใต สภาพแวดลอมที่มีความกดดันและเปลี่ยนแปลง ดวยกระบวนการสรางเครือขายการมีสวนรวมทางสังคม ใหสงั คมสามารถสรางกระบวนการเรยี นรูและจดั การตนเองบนพนื้ ฐานตนทุนท่ีมีอยูของสงั คม แนวคิดการจดั การสังคม สังคม (Social) ในปจจุบันมีรูปแบบลักษณะของสังคมแบบระบบเปด (Open society) เพราะถูก กาํ กับและตองอาศยั สภาพแวดลอมอยางหลีกเลย่ี งไมไ ด ถงึ แมจ ะเปนสงั คมแบบพหุนิยม (Pluralism) ทม่ี ีความ หลากหลายของกลุมคนก็ตาม สภาพแวดลอม (Environment) ลวนสงผลตอสงั คมน้นั ๆ ไมทางตรงก็ทางออม ไมทางบวกท่ีสงผลดีหรือทางลบที่สงผลเสีย การจัดการสังคม (Social management) จึงเปนแนวทางหนึ่งใน การปรับตัวเพ่ือเรียนรูที่จะเปลี่ยนแปลงตามสภาวการณของความไรระเบียบและสภาพแวดลอมที่เปล่ียนไป เพื่อวเิ คราะหและประเมินสภาวการณและการเปลย่ี นแปลงใหส ามารถรับรูไดอ ยางทันทวงที สังคมมีลักษณะเดียวกันกับองคกร เพราะมีการอยูรวมกัน ทํางานรวมกัน มีเปาหมายวัตถุประสงค เดียวกัน มีการติดตอสื่อสารกัน มีผูนําผูปกครอง นอกจากนี้ยังมีวัฒนธรรมเปนตัวกําหนดรูปแบบองคกร ดวย เหตุนี้ ผูเขียนจึงแสดงใหเห็นวา สังคมมีลักษณะเดียวกันกับองคกร การจัดการสังคม (Social management) สามารถนําหลักการจัดการองคกร (Organization management) มาใชเปนแนวทางได ดังท่ี Gareth Morgan ไดอธิบายเกี่ยวกับองคกรโดยอุปมาอุปมัย (Metaphor) ลักษณะธรรมชาติของกลุมองคกร ประการ หน่ึงวา องคกรเทียบเทาวัฒนธรรม (Organizations as The Cultures) โดยใหเหตุผลวา วัฒนธรรมเปนส่ิงท่ี

224 วารสาร มจร พุทธปญ ญาปรทิ รรศน ปที่ 6 ฉบบั ที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2564) มนุษยสรางขน้ึ มา ไดแก ประวตั ิศาสตรประเพณี ความเช่ือ คานยิ ม ซึ่งเปรียบเสมือนเปน บรรทดั ฐานของสงั คม หรือวัฒนธรรมเปรียบเสมือนวิถีชีวิตของคนทํางาน ที่มีปฏิสัมพันธและอยูในวงจรเดียวกัน (รงค บุญสวยขวัญ, มปป) การจัดการสังคม (Social management) ภายใตสภาพการณและสภาพแวดลอม ที่สงผลกระทบตอ สังคมจนกลายเปนสังคมยุคใหมท่ีเรียกวา “สังคมยุค New Normal” ที่ผูเขียนนําเสนอไว ในสองประเด็น คือ ประเด็นแรก การแพรระบาดของโรคไวรัสโคโรนา (Covid - 19) ประเด็นทสี่ อง สังคมดิจทิ ลั (Digital society) ตามแนวทางท่ี ศูนยบริหารสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) กระทรวง สาธารณสุข คณะกรรมการโรคติดตอจังหวัด และหนวยงานท่ีเกีย่ วของ ไดกําหนดนโยบายบริหารสถานการณ ตามหลักการจัดการองคก ร (Organization management) โดยการบูรณาการความรวมมือภายใตหลักการมี สวนรวม แสดงใหเห็นถงึ พลงั สังคมบนพื้นฐานแหงความสามคั คีในการมีสวนรว มในการขับเคล่อื นมาตรการการ ดําเนินงานตางๆ และการใหความรวมมือบนพ้ืนฐานของการเปนสวนหน่ึงของสังคมในลักษณะอิงอาศัยกัน ระหวางฝายสนับสนุนท่ีประกอบดวยสวนราชการและหนวยงานที่เกี่ยวของ กับฝายปฏิบัติการคือสังคม ใน ลักษณะหุนสวนแหงการพัฒนา (Development partner) กอใหเกิดพลังพลิกฟนความเปนไทยจากลักษณะ วัฒนธรรมการอิงอาศัยกันและกันในอดีต สรางความตระหนักในการมีสวนรวมขับเคล่ือนมาตรการปองกัน ระดับสังคม ชุมชน ครอบครัว ในรูปแบบของการพัฒนาระบบคัดกรอง การใชแอปพลิเคชั่น การสแกนคิวอาร โคด สรา งความเขม แขง็ ใหกับสงั คมในยุค New normal สังคมแหง การเรยี นรู สังคมในศตวรรษท่ี 21 ปจจุบัน อยูในรูปแบบสังคมแหงการเรียนรู (Learning society) บนพื้นฐาน ของสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต (A lifelong learning society) เพราะองคความรูและแหลงเรียนรูมีอยู รอบตัวเรา สังคมจึงเปนศูนยรวมขององคความรูและแหลงเรียนรูจากวัฒนธรรม ประเพณี ศาสนา ประวัติศาสตร ความเช่ือ วิถีชีวิต ปราชญชุมชนโดยมีการสังเคราะหคุณลักษณะเดนของสังคมแหงองคความรู ในการบรหิ ารจัดการสงั คมแหงอนาคต ดังนี้ 1. การไรพ รมแดน เน่อื งจาก “ความรู” เดนิ ทางไดร วดเรว็ และเรว็ กวา “เงนิ ตรา” 2. การเล่อื นชนชั้นสงู ขึ้น เปดกวา งใหท กุ คนทไ่ี ดรับการศกึ ษาภาคบังคับ 3. ศักยภาพท่ีเทาเทียมกันระหวางความลมเหลวกับความสําเร็จทุกคนสามารถเขาถึง “วิถีการผลิต” ซึง่ หมายถงึ การแสวงหาความรูเพ่อื ทาํ งาน แตไมใ ชว า ทุกคนจะสําเร็จได องคความรูจะกลายเปนทรัพยากรที่มีความสําคัญและมีบทบาทสูงในการแขงขัน (Prter F. Drucker, โดย กนลา สุขพานิช ขันทปราบ, 2546) สังคมแหงการเรียนรู (Learning society) ภายใตสภาพการณและสภาพแวดลอม ท่ีสงผลกระทบตอ สังคมจนกลายเปนสังคมยุคใหมที่เรียกวา “สังคมยุค New Normal” ท่ีผูเขียนนําเสนอไว ในสองประเด็น คือ ประเดน็ แรก การแพรระบาดของโรคไวรัสโคโรนา (Covid - 19) ประเด็นที่สอง สังคมดิจิทัล (Digital society) จะเห็นไดวา จากยุคสูยุคลวนใหความสําคัญกับการศึกษา ซึ่งเปนสวนหน่ึงแหงบอเกิดขององคความรู จาก พัฒนาการกรอบนโยบายดานการศึกษาจากอดีตท่ีผานมา แตก็ยังไมสามารถพัฒนาดานการศึกษาใหมี ประสิทธิภาพได กระทัง่ มีการช่ืนชมผทู ี่สามารถประสบความสาํ เรจ็ ไดโ ดยไมไ ดอ ิงอาศัยคุณวฒุ ิทางการศึกษาแต ดวยกระบวนการเรียนรูดวยตนเองจากสิ่งท่ีสนใจ และการศึกษานอกชั้นเรียนที่เปนกระแสในปจจุบัน จึงไม สามารถปฏิเสธไดวาการเรียนรูมีอยูรอบตัว ทุกที่ทุกเวลาสามารถสรางกระบวนการในการเรยี นรูได สังคมแหง การเรียนรู (Learning society) เริ่มตนจากบุคคลแลวสามารถนาํ มาเผยแพรและถายทอดสูบุคคลและสังคมได

Journal of MCU Buddhapanya Review Vol. 6 No. 1 (January - April 2021) 225 หรือสรางกระบวนการเรียนรูรวมกัน (Collaborative learning process) แบบบูรณาการความรวมมือใน ลักษณะสหวิทยาการ (Interdisciplinary) หลอหลอมองคความรูที่มีอยูในบุคคล สังคม องคกร หนวยงาน พัฒนาเปนนวัตกรรม (Innovation) ผลผลิต (Out put) เพื่อลดการพึ่งพาและตอบสนองความตองการของ สังคม ตามหลักการจัดการความรู (Knowledge management) ขับเคล่ือนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต (A lifelong learning society) เพื่อขยายโอกาสของการเรียนรูอยางเทาเทียมและทั่วถึง บนพื้นฐานของการ ปรับตัวตอสถานการณหรือสภาพแวดลอมที่เปล่ียนแปลง นํามาใชประโยชนหรือเปนแนวทางในการพัฒนา สงั คมในยุค New Normal สงั คมปฏบิ ตั กิ ารเรยี นรู สังคมปฏิบัติการเรียนรู (Social learning practice) ผลของการพัฒนาจากนามธรรมสูรูปธรรม ดวย การนําองคความสูท่ีเกิดขึ้นจากการเรียนรูพัฒนาเปนแนวคิด เทคนิค สูกระบวนการปฏิบัติ สามารถสรางเปน เครื่องมือสําคัญในการพฒั นาสังคมใหเปนสังคมแหงปญญา โดยเชื่อมโยงองคประกอบตางๆจากสังคมแหงการ เรียนรู (Learning society) การจัดการความรู (Knowledge management) โดยคํานึงตนทุนของสังคมเปน สําคัญ จากประสบการณความลมเหลวจากผลการพัฒนาในอดีตที่ละเลยตนทุนทางสังคมจากความผิดพลาด ของชุดขอมูลที่ขาดความแมนยําสงผลใหการกําหนดนโยบายการพัฒนาลมเหลวจากความเปนสมัยใหม (Modernity) จนทําใหเ กิดทางตัน สคู วามพออยูพอกินบนพนื้ ฐานของความพอเพยี ง (Sufficiency economy) โดยกลับมาใหความสําคัญกับตนทุนของสังคมมากขึ้น ตามหลักการจัดการความรู (Knowledge management) 7 ข้ันตอน ประกอบดวย การคนหาความรู (Knowledge identification) การสรางและการ แสวงหาความรู (Knowledge creation and Acquisition) การจัดความรูใหเปนระบบ (Knowledge organisation) การประมวลและกล่ันกรองความรู (Knowledge codification and Refinement) การเขาถึง ความรู (Knowledge Access) การแบงปนแลกเปล่ียนเรียนรู (Knowledge sharing) และการเรียนรู (Learning) ในรูปแบบเคร่ืองมือในการจัดทําชุมชนปฏิบัติการดานการเรียนรูประกอบดวย แผนท่ีชุมชน (Community map) แ ผ นผั ง ระ บ บค ว า ม สัม พั นธ (Social network) แผ นผั ง ทา ง สัง ค ม ( Social epidemiology) ประวัตบิ คุ คลสําคัญ ผังโครงสรา งกลุมและองคก รชุมชน ผงั ระบบสุขภาพชมุ ชน ปฏิทินชุมชน โดยสังคมปฏิบัติการเรียนรู (Social learning practice) ใหความสําคัญกับองคความรูในฐานะท่ีเปนมิติทาง วัฒนธรรมของสังคม ในรูปแบบของชุมชนแนวใหมท่ีสามารถปรับตัวไดตลอดเวลาในลักษณะของชุมชนแบบ จินตภาพ (Imaginary community) อันจะเปนกลไกหลักในการเช่ือมโยงสังคมกับสภาพแวดลอม (พัชรินทร สริ สุนทร, 2552) สังคมปฏิบัติการเรียนรู (Social learning practice) ภายใตสภาพการณและสภาพแวดลอม ท่ีสงผล กระทบตอสังคมจนกลายเปนสังคมยุคใหมที่เรียกวา “สังคมยุค New Normal” ท่ีผูเขียนนําเสนอไว ในสอง ประเด็น คือ ประเด็นแรก การแพรระบาดของโรคไวรัสโคโรนา (Covid - 19) ประเด็นท่ีสอง สังคมดิจิทัล (Digital society) เมื่อสังคมมีการเรียนรู ยอมเกิดองคความรูข้ึน และความรูท่ีเกิดข้ึนจะสงผลชัดเจนตองเปน ความรูท่ีสามารถจับตองได สัมผัสได แนวทางที่จะทําใหองคความรูเปนรูปธรรมชัดเจนจะตองเกิดขึ้นจากการ ปฏิบัติ ทดลอง ตามกระบวนการทางวิทยาศาสตรผานกระบวนการเรียนรูทางสังคม (Social learning process) โดยพิจารณาจากหลักการจัดการความรู (Knowledge management) 7 ขั้นตอน ผูเขียน สังเคราะห ไดดังน้ี การคนหาความรู (Knowledge identification) จากความตองการและตนทุนพ้ืนฐานของ สงั คมโดยการมีสว นรวมของคนในสังคม จะสามารถสรา งและกอใหเ กิดแรงจูงใจในกระบวนการแสวงหาความรู (Knowledge creation and Acquisition) เพื่อนําองคความรูมาสังเคราะหและจัดการองคความรูใหเปน

226 วารสาร มจร พทุ ธปญ ญาปริทรรศน ปท่ี 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2564) ระบบหมวดหมู (Knowledge organisation) เพ่ือประมวลและกล่นั กรองความรู (Knowledge codification and Refinement) ใหเปนผลผลิตท่สี ามารถจะพฒั นาเปนนวัตกรรมของสังคมน้ัน ๆ ได ใหเกิดความเทาเทียม และทั่วถึงกันในการเขาถึงความรู (Knowledge Access) เพ่ือการแบงปน แลกเปล่ียนเรียนรูและสามารถนาํ ไป ตอยอดใหเกิดองคความรูหรือนวัตกรรมใหมๆ (Knowledge sharing) นําเขาสูระบบการเรียนรูรวมกัน (Learning) สูสังคมแหงการเรียนรู (Learning society) เพื่อแสดงใหเห็นถึงศักยภาพของสังคมในการพัฒนา ตนเอง อีกท้ังยังสามารถเปนเครื่องมือในการจัดการชุมชนจากกลุมอํานาจตาง ๆ สรางเง่ือนไขและอํานาจ ตอรองในทรัพยากรและองคความรูที่มีอยูและเปนของสังคม และสามารถเปลี่ยนแปลงระบบความคิดเพ่ือ ความอยูรอดของสงั คมในยคุ New Normal สังคมแหง คุณคา การจัดการสังคม (Social management) การพัฒนาสังคมแหงการเรียนรู (Learning society) รปู แบบสังคมปฏบิ ัตกิ ารเรียนรู (Social learning practice) ในการจัดการสังคมยุค New Normal นาํ ไปสูก าร สรางคุณคาใหกับสังคมในรูปแบบของสังคมแหงคุณคา (Value Society) จากผลของการสานพลังรวม (Synergy) ระหวางสังคมกับสวนงานท่ีเกี่ยวของในการดําเนินกิจกรรมที่เก่ียวของกับการพัฒนาสังคม ใน รูปแบบของการสรางพันธกิจรวมกันและการเปนหุนสวนในการพัฒนา (Development partner) โดยมี เปาหมายในการมอบผลตอบแทนสูสงั คมในรูปแบบ (Corporate Social Responsibility) บนพ้ืนฐานของการ พัฒนาองคกรสมัยใหม ในการสรางประโยชนตอสังคม แนวความคิดเกี่ยวกับการสรางคุณคารวม (Creative shared value) พัฒนาจากการมอบผลตอบแทนสงั คม (Corporate Social Responsibility) ซง่ึ อยูใ นลกั ษณะ การมอบผลตอบแทนสงั คมทางเดียว (One direction) น่ันหมายถึง มีผใู ห คือ องคกร หนว ยงาน และผรู ับ คือ สงั คม แตแ นวความคดิ การสรางคณุ คา รวม (Creative shared value) นน้ั ระหวางผูให คอื องคก ร หนวยงาน กับผูรับ คือ สังคม รวมกันในการกําหนดกิจกรรมรวมท่ีมีคุณคาทางสังคม สามารถตอบโจทยปญหาความ ตองการของสงั คมไดเ ปน อยางดี (พรชัย ศรีประไพ, พรอ มบุญ พานิชภักด,์ิ 2555) สังคมแหงคุณคา (Value Society) ภายใตสภาพการณและสภาพแวดลอม ที่สงผลกระทบตอสังคม จนกลายเปนสังคมยุคใหมท่ีเรียกวา “สังคมยุค New Normal” ที่ผูเขียนนําเสนอไว ในสองประเด็น คือ ประเดน็ แรก การแพรระบาดของโรคไวรัสโคโรนา (Covid - 19) ประเด็นท่ีสอง สังคมดิจิทลั (Digital society) ดว ยการสรางคุณคา แกสังคมรวมกนั จากนโยบายสูการปฏิบตั ิ สําหรบั สังคมไทยท่ีมวี ิวัฒนาการการนํานโยบาย ไปสูการปฏิบัติในลักษณะ “แบบพิมพเขียว” สูกระบวนการมีสวนรวมตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 เปนตนมา ในรูปแบบการมีสวนรวม “แบบผูกขาด” ในการใชอํานาจบริหารนโยบายจากองคกร หนวยงานท่ีเกี่ยวของ สรา งกระบวนการมีสวนรวมใหแ กส งั คมภายใตขอจาํ กัด คุณคาที่เกิดขึน้ จากนโยบายจึงไรป ระสทิ ธิผล ผลลทั ธที่ เกิดข้ึนจึงไมตอบโจทยปญหาและความตองการของสังคม เพราะรูปแบบของการดําเนนิ งานไมใชเรื่องของการ ย่ืนมือชวยเหลือเพียงอยางเดียว แตจะตองใหสังคมเขาไปมีบทบาทตอกระบวนการชวยเหลือนั้นๆ ดวย เพื่อ สังคมจะไดตอยอดและสามารถสรางสรรคส่ิงที่มีคุณคาจากตนทุนท่ีมีอยูผนวกกับการชวยเหลือตามนโยบาย จากองคกร หนวยงานที่เก่ียวของน้ัน ๆ ใหส ามารถพัฒนาไปสูความเจริญกาวหนาเติบโตไดอยางเขมแข็งและ ยั่งยืน โดยเฉพาะในรูปแบบสารสนเทศ (Information) ท่ีสังคมสามารถเขาถึงไดอยางเทาเทียม และท่ัวถึงได อยางมีประสิทธิภาพ ไมถูกปดก้ันโดยขอจํากัดตางๆ ตามยุทธศาสตรการบริหารงานในรูปแบบรัฐบาลดิจิทัล (Digital government) ท่ีเปนกระแสในปจจุบัน เกี่ยวกับการเขาถึงระบบสารสนเทศของประชาชนบางกลุม สังคมแหงคุณคา (Value Society) คือภาพรวมแหงผลประโยชนทั้งหมดที่จะเกิดขึ้นแกสังคมในยุค New Normal

Journal of MCU Buddhapanya Review Vol. 6 No. 1 (January - April 2021) 227 สงั คมไรระเบยี บ ปญหาหน่ึงในการจัดการสังคมยุค New Normal ในปจจุบัน คือสภาพความไรระเบียบของสังคม ผล จากการใชสิทธิมนุษยชนตามรัฐธรรมนูญและกฎหมายอันเปนกรอบกฎเกณฑท่ีศักด์ิสิทธ์ิสําคัญในการอยู รวมกัน ตามเจตคติและความคิดเห็นภายใตกระบวนทัศนและมุมมองที่มีความแตกตางกัน บนพื้นฐานของ ความสลับซับซอนท่ีทับถมกันมานานแสนนานจากอดีตสูปจจุบัน ซ่ึงเปนรูปแบบความคิดแบบกระบวนระบบ (Systematic thinking) ที่ Peter Henningsen ไดแบงออกเปนสองระดับ คือ ระดับโครงสราง กับระดับ กระบวนการ อธิบายถึงความไรเ สถยี รภาพของสภาพเคา โครง (State of order) ซึ่งมปี จ จัยสาํ คัญสองประการ คือ 1. พลวัตของตัวระบบนั้นเองแปรเปล่ียนไป สาเหตุอาจเกิดจากการนํากระบวนการใหมเขามาใน ระบบ หรือกระบวนการที่มีอยูเกิดการเปล่ียนแปลงทางคณุ สมบัติ 2. เงื่อนไขขอบเขต (Boundary condition) ของระบบมีการเปลีย่ นแปลง สาเหตุอาจเกิดจาก สภาพ เคาโครงของระบบใหญเกิดการเปลี่ยนแปลง ดวยเหตุท่ีระบบเปดท้ังหลายมีปฏิสัมพันธตอกันหลากหลายวิธี และอยูภายใตการเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา (ชัยวฒั น ถริ ะพันธุ, 2553) สงั คมไรระเบียบ (Lawless society) ภายใตสภาพการณแ ละสภาพแวดลอม ที่สงผลกระทบตอสังคม จนกลายเปนสังคมยุคใหมที่เรียกวา “สังคมยุค New Normal” ที่ผูเขียนนําเสนอไว ในสองประเด็น คือ ประเด็นแรก การแพรร ะบาดของโรคไวรัสโคโรนา (Covid - 19) ประเดน็ ที่สอง สังคมดิจทิ ลั (Digital society) จัดเปนปญหาสําคัญในการจัดการสังคมในยุค New Normal ปจจุบัน จากสภาพการณในการใชมาตรการ ปองกันการแพรระบาดของโรคไวรัสโคโรนา (Covid - 19) การใชระบบการบริหารงานภาครัฐในรูปแบบ รัฐบาลดิจิทัล (Digital government) สภาพแวดลอมทางการเมือง สังคม เศรษฐกิจระหวางประเทศ ในการ เปล่ียนอํานาจทางการบริหารของสหรัฐอเมริกา และการยึดอํานาจรัฐบาลของพมา ผนวกกับสภาพแวดลอม ทางการเมือง สังคม เศรษฐกิจในประเทศไทย จึงเปนตัวแปรสําคัญที่จะกอใหเกิดปญหาในการจัดการสังคม กอตัวใหสังคมไรระเบียบ (Lawless society) สรางความแตกแยกใหเกิดขึ้นบนพื้นฐานของปญหาที่มีถาโถม มากมายในสังคมปจ จุบนั สรปุ บทความนี้ ไดขอคนพบในการจัดการสังคมในยุค New Normal คือ รูปแบบแหงการพัฒนาสังคมให เปนผูนําแหงการเปลี่ยนแปลง จากนวัตกรรมที่เกิดขึ้นจากการจัดการสังคม (Social management) โดยให ความสําคัญกับหลักการมีสวนรวม บนพื้นฐานแหงความสามัคคีในการขับเคล่ือนมาตรการตางๆรวมกัน ใน ลักษณะอิงอาศัยกันระหวางฝายสนับสนุนที่ประกอบดวยสวนราชการและหนวยงานที่เกี่ยวของ กับฝาย ปฏิบัติการคือสังคม ในลักษณะหุนสวนแหงการพัฒนา (Development partner) ดวยรูปแบบสังคมแหงการ เรยี นรู (Learning society) จากคนสูคน สรา งกระบวนการเรียนรูรวมกัน (Collaborative learning process) แบบบูรณาการในลักษณะสหวิทยาการ (Interdisciplinary) หลอหลอมองคความรูที่มีอยูในบุคคล สังคม องคกร หนวยงาน พัฒนาเปนนวัตกรรม (Innovation) หรือผลผลิต (Output) เพื่อลดภาวการณพึ่งพา และ ตอบสนองความตองการของสังคม

228 วารสาร มจร พทุ ธปญญาปรทิ รรศน ปท ี่ 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2564) Collaborative learning proces Innovation/Output Interdisciplinary การจัดการความรู (Knowledge management) เพื่อขับเคล่ือนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต (A lifelong learning society) พัฒนารูปแบบสังคมปฏิบัติการเรียนรู (Social learning practice) ผลจากการ คน หาความรู (Knowledge identification) จากความตองการและตนทุนพื้นฐานของสงั คม สรางกระบวนการ แสวงหาความรู (Knowledge creation and Acquisition) เพื่อนําองคความรูมาสังเคราะหและจัดการองค ความรูใหเปนระบบหมวดหมู (Knowledge organization) เพื่อประมวลและกลั่นกรองความรู (Knowledge codification and Refinement) ใหเปนผลผลิตที่สามารถจะพัฒนาเปนนวัตกรรมของสังคมน้ัน ๆ ใหเกิด ความเทาเทียมในการเขาถึงความรู (Knowledge Access) แบงปนแลกเปลี่ยนเรียนรูและสามารถนําไปตอ ยอดใหเกิดองคความรูหรือนวัตกรรมใหม ๆ (Knowledge sharing) สูสังคมแหงการเรียนรู ในรูปแบบสังคม แหงคณุ คา (Value Society) Knowledge Knowledge Knowledge management organization codification and Refinement A lifelong Knowledge Knowledge learning creation and Access society Acquisition Social Knowledge Knowledge learning identification sharing practice

Journal of MCU Buddhapanya Review Vol. 6 No. 1 (January - April 2021) 229 เอกสารอางอิง ชัยวัฒน ถิระพันธุ. (2553). ทฤษฏีไรระเบียบกับทางแพรงของสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพอุดม ปญญา. พรชยั ศรีประไพ. พรอ มบญุ พานชิ ภกั ดิ์. (2555). วาดว ยเร่อื ง CSR. กรงุ เทพมหานคร: มูลนธิ ิรกั ษไทย. พัชรินทร สิรสุนทร. (2552). ชุมชนปฏิบัติการดานการเรียนรู แนวคิด เทคนิค และกระบวนการ. กรงุ เทพมหานคร: สาํ นักพมิ พแ หง จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลยั . ราชบัณฑิตยสภา. (2563). เบื้องหลังการบัญญัติศัพทคําวา New normal. สืบคน 31 มกราคม 2564 จาก https://royalsociety.go.th รงค บุญสวยขวัญ. (มปป). การจัดการทางสังคม : สังเคราะหแนวคิดเพื่อการอธิบายการจัดการกลุมองคกร ประชาชนในสงั คมชนบทไทย. วารสารมนษุ ยศาสตรและสงั คมศาสตร. Bill Gross. (2563). New Normal คืออะไร? วิถีชีวิตใหมในสังคมเปลี่ยนแปลงไปแคไหน !!. สืบคน 31 มกราคม 2564, จาก https://www.egat.co.th Prter F. Drucker. โดย กนลา สุขพานิช ขันทปราบ. (2546). การบริหารการจัดการสังคมแหงอนาคต. กรุงเทพมหานคร: บริษัท เอ.อาร.บิซิเนส เพรช จาํ กดั .